45
รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน คณะแพทยศาสตร์ วงรอบปีการศึกษา 2553 ระหว่างวันที17 และ 21 เดือนมิถุนายน .. 2554 เสนอต่อ คณะแพทยศาสตร์

ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

  • Upload
    others

  • View
    15

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน คณะแพทยศาสตร์

วงรอบปีการศึกษา 2553

ระหว่างวันที่ 17 และ 21 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2554 เสนอต่อ

คณะแพทยศาสตร์

Page 2: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

คํานํา

คณะแพทยศาสตร์ ได้ดําเนินการประเมินคุณภาพภายในระดับคณะหน่วยงานเทียบเท่า ประจําปีการศึกษา 2553 ระหว่างวันที่ 17 และ 21 เดือนมิถุนายน พ.ศ.2554 โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามเงื่อนไขของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาในครั้งนี้ นับได้ว่าเป็นกลไกหนึ่งที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เนื่องจากเป็นกระบวนการตรวจสอบยืนยันสภาพจริงของคณะแพทยศาสตร์ และสะท้อนให้เห็นจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา อันจะเป็นแนวทางให้คณะแพทยศาสตร์ ได้นําผลการประเมินคุณภาพภายในมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการบริหารจัดการ เพื่อนําไปสู่เป้าหมายของคณะแพทยศาสตร์ต่อไป

ผลการประเมินคุณภาพภายในมีรายละเอียดปรากฏในรายงานผลการประเมนิคุณภาพภายใน ฉบับนี้แล้ว

(รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จิตเจริญ ไชยาคํา) ประธานกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ปีการศึกษา 2553

Page 3: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

สารบญั ส่วนที่ หน้า

คํานาํ ก สารบัญ ข 1 รายนามคณะกรรมการผู้ประเมนิคุณภาพการศึกษาภายใน 1 2 บทนาํ • ข้อมูลทั่วไป 2 3 วิธีการประเมิน • การวางแผนและการประเมิน 12 • วิธีการตรวจสอบความถูกต้องน่าเชื่อถือของข้อมูล 12 4 ผลการประเมิน ตามตาราง ป. 1 - ป. 5ก • ตาราง ป. 1 ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของสํานักงานคณะกรรมการ

การอดุมศึกษา 13

• สรุปผลการประเมินตามตารางที่ ป. 2ก 23 • สรุปผลการประเมินตามตารางที่ ป. 3ก 24 • สรุปผลการประเมินตามตารางที่ ป. 4ก 25 • สรุปผลการประเมินตามตารางที่ ป. 5ก 26 5 ภาคผนวก • ตารางการตรวจเยี่ยม 27 • ตาราง ป.1 – ป.5 ทีร่วมคะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 และ 7.3 แล้ว 29

Page 4: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

1

ส่วนที่ 1 รายนามคณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

ปีการศึกษา 2553

ลงนาม ................................................................................. ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จิตเจริญ ไชยาคํา)

ที่ปรึกษาคณะกรรมการจัดการความรู้ (หน่วยงาน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น)

ลงนาม ................................................................................. กรรมการ (อาจารย์ กนกกลุ มาเวียง)

รองคณบดีฝา่ยประกันคุณภาพ (หน่วยงาน คณะมนษุยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)

ลงนาม .............................................................................. กรรมการ

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนงค์ฤทธ์ิ แข็งแรง) รองคณบดีฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ

(หน่วยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)

กองเลขานุการ 1. นางสาววรรณิภา ถิ่นมกุดา พนักงานการศึกษา

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 5: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

2

ส่วนที่ 2 บทนํา

1. วัน เดือน ปี และสถานที่ในการตรวจประเมนิ วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2554 ณ โรงพยาบาลร้อยเอ็ด อําเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด และ

โรงพยาบาลกาฬสินธ์ุ อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธ์ุ วันอังคารที่ 21 มิถุนายน 2554 ณ ME 305 ชั้น 3 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มหาสารคาม (เขตพื้นที่ในเมือง) ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

2. รอบการประเมิน

ปีการศึกษา 2553 (ผลการดําเนินงาน 1 มิถุนายน 2553 - 31 พฤษภาคม 2554)

3. คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินคณุภาพภายใน

1. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จิตเจริญ ไชยยาคํา ประธานกรรมการ (ที่ปรึกษาคณะกรรมการจดัการความรู้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) 2. อาจารย์ กนกกุล มาเวียง กรรมการ

(รองคณบดฝี่ายประกันคุณภารพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)

3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนงค์ฤทธ์ิ แขง็แรง กรรมการ (รองคณบดีฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) กองเลขานุการ

1. นางสาววรรณิภา ถิ่นมกุดา (พนักงานการศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม)

Page 6: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

3

4. วัตถุประสงค์ในการประเมินคุณภาพ 4.1 เพื่อให้ คณะแพทยศาสตร์ ดําเนินการตามมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่ว่า “ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศกึษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถ้ือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดําเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก

4.2 เพื่อให้ คณะแพทยศาสตร์ ทราบสัมฤทธิผลในการดําเนนิงานของตนเอง ทราบจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุง สําหรับเป็นข้อมูลในการวางแผนการดําเนินงานในปีต่อไป

4.3 เพื่อให้ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่เป็นต้นสังกัดของคณะแพทยศาสตร์ มีข้อมูลพ้ืนฐานที่จําเป็นสําหรับการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการอุดมศึกษาในแนวทางที่เหมาะสม 5. ข้อมูลทั่วไป 5.1 ชื่อหน่วยงาน ที่ต้ัง และประวัติความเป็นมาโดยย่อ

ชื่อหน่วยงาน : คณะแพทยศาสตร์ ที่ต้ัง : อาคารศูนย์บริการทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

(เขตพื้นที่ในเมือง) ถนนนครสวรรค์ ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000 โทรศัพท์ 0-4371-2992 โทรสาร 043-712-991

ประวัติความเป็นมา : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จัดต้ังคณะแพทยศาสตร์ขึ้นในสมัยของอธิการบดีรองศาสตราจารย์ ดร.ภาวิช ทองโรจน์ โดยทาบทาม ศาสตราจารย์ นายแพทย์สมพร โพธินาม มาเป็นประธานโครงการจัดต้ัง โดยมีแนวคิดที่จะให้เป็นสถาบันที่เป็นเลิศทางวิชาการด้านเวชศาสตร์ครอบครัว ผลิตบัณฑิตและแพทย์เฉพาะทาง ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนที่มีคุณภาพ กอปรด้วยคุณธรรมและจริยธรรม สร้างงานวิจัยที่มีคุณค่า เป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการของท้องถิ่น ประเทศชาติ และนานาชาติ คณะแพทยศาสตร์ ได้รับการจัดต้ังเป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตามมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 10/2546 เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2546 โดยดําเนินการในรูปแบบหน่วยงานนอกระบบราชการที่เน้นความคล่องตัว มีประสิทธิภาพและพึ่งตนเองมากที่สุด คณะแพทยศาสตร์ได้ดําเนินการจัดทําหลักสูตร แพทยศาสตร์บัณฑิต (6 ปี) ได้รับการรับรองหลักสูตร(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2549) จากแพทยสภาเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2549 และเปิดทําการเรียนการสอนนิสิตรุ่นแรกในปีการศึกษา 2549 นอกจากนี้ยังได้รับโอนหลักสูตรสาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์จากคณะเภสัชศาสตร์มาไว้ใน คณะแพทยศาสตร์ และดําเนินการจัดการเรียนการสอน ต้ังแต่วันที่ 15 มกราคม 2547 ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์ มีศูนย์กลางบริหารจัดการต้ังอยู่ในบริเวณมหาวิทยาลัย เขตพื้นที่ ในเมือง เลขที่ 269 ถนนนครสวรรค์ ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ประกอบด้วย อาคารศูนย์บริการทางการแพทย์ และกลุ่มอาคารสาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์ และดําเนินการจัดการเรียนการสอน 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2549) หลักสูตร 6 ปี, หลักสูตรแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) หลักสูตร 4 ปี, หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชกิจฉุกเฉิน (หลักสูตรแรกในประเทศไทย) หลักสูตร 4 ปี และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ พ.ศ. 2549

Page 7: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

4

นอกจากนี้คณะแพทยศาสตรยั์งได้เปิดศูนย์บริการ เพื่อให้บริการประชาชนทั่วไปดังนี้ 1 . การบริ การทางการแพทย์ แผนปั จจุ บัน 2 แห่ ง ไ ด้แ ก่ ศูนย์บริ การทางการแพทย์

ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(เขตพื้นที่ขามเรียง) ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม เปิดให้บริการต้ังแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2547 และศูนย์บริการทางการแพทย์ (เขตพื้นที่ในเมือง) ณ อาคารศูนย์บริการทางการแพทย์ ถนนนครสวรรค์ ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เปิดให้บริการต้ังแต่ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2549 2. ศูนย์เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เปิดให้บริการมาต้ังแต่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2552 ณ บริเวณที่ต้ังศูนย์บริการทางการแพทย์ ถนนนครสวรรค์ ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

3. การบริการทางการแพทย์แผนไทยประยุกต์ 1 แห่ง คือ คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ ณ อาคารคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ ถนนนครสวรรค์ ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เริ่มเปิดให้บริการต้ังแต่วันที่ 12 กรกฎาคม 2549 โดยให้บริการตรวจรักษาโรคตามหลักภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย ซึ่งรวมทั้ง การรักษาโรคด้วยยาสมุนไพร หัตถบําบัด การส่งเสริมสุขภาพ และการผลิตยาสุมนไพรตามตํารับยาไทย

ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์ ได้เริ่มก่อสร้างตึกโรงพยาบาล ขนาด 200 เตียง เป็นอาคาร 12 ช้ัน เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ฝึกงานของนิสิต

แผนพัฒนาคณะในระยะเริ่มต้น 2547 - 2552 มุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อาคาร สํานักงาน สถานที่ ครุภัณฑ์ต่างๆ การวางรากฐานของการศึกษาหลักสูตรเบื้องต้น เทคโนโลยีสารสนเทศ เกณฑ์การรับ และคัดเลือกผู้เรียน ตลอดจนการเตรียมการเพื่อให้บริการแก่ประชาชน ในแผนระยะต่อไป 2553 - 2556 มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ สร้างผลงานทางวิชาการ และงานวิจัย ให้ เป็นที่ประจักษ์ เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ รวมทั้งร่วมมือกับ องค์กรภายนอกและชุมชนโดยรอบ ในการผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ สร้างผลงานวิชาการ งานวิจัย และกระจายการให้บริการวิชาการด้านการแพทย์และสาธารณสุข สู่ชุมชนทุกระดับ อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยยึดแนวทางการพัฒนาให้เป็นองค์กรที่มีความซื่อสัตย์ สามัคคี มีวินัย ใส่ใจสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพ เป็นองค์กรที่ พ่ึงตนเองและชี้แนะสังคมได้อย่าง เต็มภาคภูมิ

5.2 ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์

ปรัชญา : ผู้มีปัญญา พึงเป็นอยู่เพื่อสุขภาพมหาชน วิสัยทัศน์ : คณะแพทยศาสตร์ จะอยู่ในอันดับ 1 ใน 10 ของคณะแพทยศาสตร์ในประเทศ

ไทย ด้านผลการสอบใบประกอบวิชาชีพของนิสิตแพทย์ ภายในปี พ.ศ. 2558 โดยมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตตามเป้าประสงค์ สร้างเสริมสุขภาพทุกระดับ บูรณาการการให้บริการด้านสุขภาพทั้งแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและแพทย์แผนไทยประยุกต์ รวมทั้ งทําวิจัยเพื่อแก้ ปัญหาด้านสุขภาพของประชาชน ครอบครัว และชุมชน

Page 8: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

5

พันธกิจ :

1. ผลิตบัณฑิตแพทย์ แพทย์แผนไทยประยุกต์ เวชกิจฉุกเฉิน วิทยศาสตร์การแพทย์

บัณฑิตศึกษา และวุฒิบัตรสาขาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวให้สอดคล้องกับการปฏิรูป

ระบบสาธารณสุขของประเทศ

2. วิจัยและพัฒนา เพื่อก้ไขปัญหาด้านสุขภาพและการศึกษาของสัมคม

3. บริการวิชาการแก่สังคมและผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพรวมทั้งประชาชนทั่วไป

4. ให้บริการวิชาชีพด้านสุขภาพโดยบูรณาการแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทยประยุกต์

แก่ประชาชนทั่วไป

5. อนุรักษ์ ส่งเสรมิ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

6. สร้างเสริมสุขภาพ และใส่ใจสิ่งแวดล้อม

7. บริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล และพัฒนาภาพลักษณ์ขององค์กร

ยุทธศาสตร์ :

1. การผลิตบัณฑิตแพทย์ แพทย์แผนไทยประยุกต์ เวชกิจฉุกเฉิน วิทยาศาสตร์การแพทย์

บัณฑิตศึกษา และวุฒิบัตรสาขาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ให้สอดคล้องกับการปฏิรูป

ระบบสาธารณสุขของประเทศ

2. การวิจัยและพัฒนา เพื่อก้ไขปัญหาด้านสุขภาพและการศึกษาของสัมคม

3. การบริการวิชาการแก่สังคมและผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพรวมทั้งประชาชนทั่วไป

4. การให้บริการวิชาชีพด้านสุขภาพโดยบูรณาการแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทยประยุกต์

แก่ประชาชนทั่วไป

5. การอนุกษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

6. การสร้างเสริมสุขภาพ และใส่ใจสิ่งแวดล้อม

7. การบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล และพัฒนาภาพลักษณ์ขององค์กร

5.3 ที่ต้ัง อาคารศูนย์บริการทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (เขตพื้นที่ในเมือง) ถนน นครสวรรค์ ตําบล ตลาด อําเภอ เมือง จังหวัด มหาสารคาม 44000 โทรศัพท์ 0-4371-2992 โทรสาร 043-712-991

5.4 สีประจําคณะ สีเขียว

Page 9: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

6

5.5 รายชื่อผู้บริหารชุดปัจจุบัน และรายชื่อคณะกรรมการประกันคุณภาพ 5.5.1 รายชื่อผู้บริหารชุดปัจจุบนั

ศ.นพ.ดร.เรือน สมณะ (ราชบัณฑิต) คณบดีคณะแพทยศาสตร์ รศ.ดร.ชยันต์ พิเชียรสุนทร รองคณบดีฝ่ายบริหาร รศ.นพ.กิจประมุข ตันตยาภรณ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ผศ.นพ.เทพลักษ์ ศิริธนะวุฒิชัย รองคณบดีฝ่ายบริการทางการแพทย ์รศ.ดร.ราโมทย์ ทองกระจาย รองคณบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพ อ.นพ.วิทยา จารุพูนผล รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิตและกิจการพิเศษ

5.5.2 รายชื่อคณะกรรมการประกันคุณภาพ ปีการศึกษา 2553 รศ.ดร.ปราโมทย์ ทองกระจาย ประธานกรรมการ ผศ.ดร.ฐานยา โกมุทรินทร์ กรรมการ ผศ.ดร.พิศมัย หอมจําปา กรรมการ อ.สุมาลี ชัยชนะดี กรรมการ อ.ดร.ดรุณี พ่วงพรพิทักษ์ กรรมการ อ.ดร.รติกร ชาติชนะยืนยง กรรมการ อ.พญ.สุกัญญา ชูคันหอม กรรมการ อ.อําภา คนซื่อ กรรมการ อ.ณรงค์ศักด์ิ จันทะวัง กรรมการ คุณอุราภรณ์ ยาตรา กรรมการ คุณอาทิตยา รัตนโรจนากุล กรรมการ คุณวรรณิภา ถิ่นมุกดา กรรมการและเลขานุการ

5.6 หลักสูตรและสาขาที่เปิดสอน 1. หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลกัสูตร 6 ปี 2. หลักสูตรการแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต หลักสูตร 4 ปี 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชกิจฉุกเฉิน หลักสูตร 4 ปี 4. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

Page 10: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

7

5.7 นิสิต

ลําดับ หลักสูตร ระดับ จํานวนนสิิต (คน) รวม 1 แพทยศาสตรบัณฑิต ป.ตรี ช้ันปีที่ 1 49

ช้ันปีที่ 2 48 ช้ันปีที่ 3 48 ช้ันปีที่ 4 47 ช้ันปีที่ 5 46

238

2 หลักสูตรการแพทย์ แผนไทยประยกุต์บัณฑิต

ป.ตรี ช้ันปีที่ 1 37 ช้ันปีที่ 2 33 ช้ันปีที่ 3 32 ช้ันปีที่ 4 85

187

3 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชกิจฉุกเฉิน

ป.ตรี ช้ันปีที่ 1 40

40

4 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

ป.เอก ช้ันปีที่ 3 3 ช้ันปีที่ 4 5

9

รวม 474

5.8 จํานวนอาจารย์ / วุฒิการศึกษา และจํานวนบุคลากร

วุฒิการศึกษา อยู่ปฏิบัติงานจริง ลาศึกษาต่อ รวม

ปริญญาตร ีปริญญาโท ปริญญาเอก

5 6

32.5

9.5 4 2

14.5 10

34.5 รวม 43.5 15.5 59

ที่มา : งานบคุคล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ตําแหน่งวิชาการ วุฒิการศึกษา

ศ. รศ. ผศ. รวม

ปริญญาตร ีปริญญาโท ปริญญาเอก

- 1 1

- 1 3

- - 3

- 2 7

รวม 2 4 3 9 ที่มา : งานบคุคล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 11: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

มติทีป่ระชุมคณะกรรมการประจําคณะ ครั้งที ่1/2553 วันที่ 22 มี.ค. 53 7

คณะกรรมการบริหารคณะ

คณะกรรมการประจําคณะ คณะกรรมการบัณฑิตประจําคณะ

โครงสรางองคกรของคณะแพทยศาสตร

- งานบัญชี - งานการเงิน - งานงบประมาณ

- งานนโยบายและแผน - งานการเจาหนาที่ - งานสารบรรณและยานยนต - งานประชาสัมพันธและวิเทศสัมพันธ - งานนิติการ

- งานคลินิกบริการ - งานการพยาบาล - งานเภสัชกรรม - งานเวชระเบยีนและสถิติ - งานหองปฏิบัติการ - งานรังสีวินิจฉัย - งานทันตกรรม - งานกายภาพบําบดั - งานเวชกรรมสังคม - งานพัฒนาคุณภาพการบริการ

กลุมงานการคลัง

- งานบริหารหลักสูตรและบริการการศึกษา - งานเวชนิทัศนและพิพิธภัณฑ - งานคอมพิวเตอร - งานฝกทักษะทางคลินิก - งานหองศึกษาดวยตนเอง - งานแพทยศาสตรศึกษาและนวัตกรรม

สถานบริการทางการแพทย

กลุมงานวิชาการ

กลุมงานพัสดุและอาคารสถานที ่

- งานพัสดุ - งานอาคารสถานที่และซอมบํารุง

- งานประกันคุณภาพการศึกษา - งานบริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม

- งานสรางเสริมสุขภาพ - งานกิจการนิสิต - งานกิจการพิเศษ

- งานเลขานุการคณบดี

คณะแพทยศาสตร

สํานักงานเลขานุการคณะ

- งานวิจัย - งานตํารา

กลุมงานคลินิกบริการทางการแพทย

- งานบริการแพทยแผนไทยประยุกต - งานผลิตยาและผลิตภัณฑสมุนไพร - งานบริหารทั่วไป

กลุมงานคลินิกบริการแพทยแผนไทย

ประยุกตและผลิตภัณฑสมุนไพร

กลุมงานวิจัยและตํารา

กลุมงานประกันคุณภาพ

กิจการนิสิต และกิจการพิเศษ

กลุมงานบริหารและแผนงาน

กลุมสาขาวิชาคลินกิ - อายุรศาสตร - กุมารเวชศาสตร - จิตเวชศาสตร - จักษุวิทยา - นิติเวชศาสตร - รังสีวิทยา - วิสัญญีวิทยา - ศัลยศาสตร - สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา

- โสต ศอ นาสิกวิทยา - ออรโธปดิกส - เวชศาสตรครอบครัว - เวชศาสตรฟนฟ ู- ตจวิทยา

กลุมสาขาวิชา แพทยแผนไทยประยุกต

- เภสัชกรรมแผนไทย - เวชกรรมแผนไทย - หัตถเวชกรรมแผนไทย - ผดุงครรภแผนไทย

กลุมสาขาวิชาบัณฑิตศึกษา - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต - วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต - วุฒิบัตรวิชาชีพชั้นสูง

กลุมสาขาวิชา เวชกิจฉุกเฉิน

- เวชกิจฉุกเฉิน

กลุมสาขาวิชาปรีคลินิก - กายวิภาคศาสตร - จุลชีววิทยา - ชีวเคม ี- ปรสิตวิทยา - พยาธิวิทยา - เภสัชวิทยา - สรีรวิทยา - ประสาทวิทยา

กลุมสาขาวิชาคลินิก

กลุมสาขาวิชาปรคีลินิก

กลุมสาขาวิชาบณัฑิตศึกษา

กลุมสาขาวิชา

แพทยแผนไทยประยุกต

กลุมสาขาวิชา

เวชกิจฉุกเฉิน

สาขาวิชา

Page 12: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

มติทีป่ระชุมคณะกรรมการประจําคณะ ครั้งที ่1/2553 วันที่ 22 มี.ค. 53 7

โครงสรางการบริหารงานของคณะแพทยศาสตร

รองคณบด ี

ผูชวยคณบด ี

หัวหนาสํานักงานเลขานุการคณะ

หัวหนากลุมงาน

หัวหนางาน

คณบดี

Page 13: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

หนาที่ 1

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10)=(1)+(5)+(6)+(7) (11) (12)=(10)-(11)

คาธรรม

เนียม/

หนวยกิต

คาบริหาร

จัดการ

ODOD

คาบริการทาง

การแพทย

ศึกษา

ทั่วไป

บํารุง

กิจกรรมนิสิต

บํารุงกีฬา คาธรรมเนียม

สมัครสอบ

เขาศึกษาฯ (*)

อื่นๆ

(**)

รายไดคณะ (ป.ตรี) 5,819,833.00 3,330.00 100,400.00 89,483.00 657,400.00 399,404.00 6,013,046.00 5,335,903.74 677,142.26 -

รายไดคณะ (บัณฑิตศึกษา) 734,958.00 1,510.00 970.00 737,438.00 375,229.07 362,208.93 -

ศูนยบริการทางการแพทย 16,097,929.00 20,337,975.42 16,097,929.00 9,158,086.62 6,939,842.38 45.03

ศูนยบริการแพทยแผนไทย

ประยุกต 2,196,500.00 1,548,120.00 2,196,500.00 1,136,340.21 1,060,159.79 73.40

เงินแผนดิน (ปกติ) 2,042,670.00 2,042,670.00 1,997,989.82 44,680.18 -

เงินแผนดิน (ผลิตแพทย) 57,600,000.00 57,600,000.00 45,806,461.92 11,793,538.08 -

แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง

ป 53 20,000,000.00 20,000,000.00 18,733,000.00 1,267,000.00 93.67

งบคาเสื่อม สปสช. ป53 1,386,653.29 1,386,653.29 745,400.00 641,253.29 53.76

เงิน ODOD ปการศึกษา53 5,620,000.00 5,620,000.00 3,057,283.53 2,562,716.47 54.40

เงินรับฝากคณะฯ ป 53 80,000.00 80,000.00 80,000.00 - 100.00

เงินรับฝากคณะฯ ป 52 2,000,000.00 2,000,000.00 - 2,000,000.00 -

รวมทั้งสิ้น 84,491,890.00 - - 21,886,095.42 3,330.00 101,910.00 90,453.00 657,400.00 29,486,057.29 113,774,236.29 86,425,694.91 27,348,541.38 -

สรุปการใชงบประมาณของคณะแพทยศาสตร ปงบประมาณ 2553

ประจําเดือน กันยายน 2553

ประเภทเงิน

งบประมาณ

วงเงินสภาฯ

อนุมัติ

รายรับจริงที่ตรวจสอบได

รวมงบประมาณรายจายจริง+

ผูกพันแตตนปคงเหลือ

รอยละ

การใชงบ

ประ มาณ

จาก

รายรับจริง

Page 14: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

หนาที่ 2

หมายเหตุ

1. เงินรับฝากคณะฯ ป 53 เปนเงินบริการวิชาการจาก สปสช. ของ อ.วิทยา 80,000 บาท

2. เงินรับฝากคณะฯ ป 52 คงเหลือไวตามนโยบายของคณบดี 2,000,000 บาท

3. (*)คาธรรมเนียมสมัครสอบหลักสูตรแพทย 231,000 บาท ไดบรรจุในคําขอตั้งงบประมาณป 2553 แลว ในสวนคาธรรมเนียมสมัครสอบหลักสูตรเวชกิจฉุกเฉิน ป53 347,500 บาท ไมไดตั้งในงบประมาณ ป 2553 เนื่องจากรับสมัครเปนปแรก

คาสมัครสอบเวชกิจฉุกเฉิน ป 54 78,900 บาท

4. (**) เงินรายไดคณะฯ(ป.ตรี) รายการอื่นๆ เปนเงินจัดสรรจาก สสส. ผาน สกอ. สนับสนุนโครงการรณรงคไขหวัดใหญ (จัดโครงการโดยใชเงินรายไดคณะฯไปกอน) จํานวน 49,404 บาท และ

คาบริหาจัดการ ODOD ป 52 จํานวน 350,000 บาท

5. เงินสวัสดิการทั้งสิ้น จํานวน 233,246.81 บาท ประกอบดวย เงินฝากธนาคาร จํานวน 188,246.81 บาท ลูกหนี้เงินยืมคงคาง จํานวน 16,000 บาท , เงินยืมหมุนเวียน 29,000 บาท

6. เงินทดรองราชการ ประกอบดวย เงินฝากธนาคาร 2,931,222.55 บาท ใบสําคัญ จํานวน 913,462.45 บาท ลูกหนี้เงินยืม จํานวน 155,315 บาท ภาษีหัก ณ ที่จายรอนําสง - บาท

Page 15: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

12

ส่วนที่ 3 วิธีการประเมิน

3.1 การวางแผนและการประเมนิ - การเตรียมการและการวางแผนก่อนการตรวจเยี่ยม - การดําเนินการระหว่างตรวจเยี่ยม มีการสัมภาษณ์ผู้ทีม่สี่วนได้ส่วนเสียในคณะแพทยศาสตร์ 3.2 วิธีการตรวจสอบความถูกต้องน่าเชือ่ถือของข้อมูล - คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในพิจารณาผลการดําเนินงานตามที่คณะแพทยศาสตร์เตรียมข้อมูล เอกสารหลักฐานตามองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ทั้งในส่วนของข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น Common data set และข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น กระบวนการและกิจกรรมการดําเนินงานที่สื่อให้คณะกรรมการตรวจประเมินเห็นภาพการดําเนินงาน - คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในดําเนินการสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดําเนินงานประกันคุณภาพภายในตามองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ ตลอดจนสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น คณาจารย์คณะแพทยศาสตร์ ข้าราชการและศิษย์ปัจจุบัน เป็นต้น - คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในเปิดโอกาสให้บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ได้อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นเพื่อสร้างความกระจ่างในการดําเนินงานของหน่วยงานในทุกประเด็น เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องของบุคลากร

Page 16: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ตาราง ป.1 ผลการประเมนิตัวบ่งชี้ ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิยาลัยมหาสารคาม วงรอบปีการศึกษา 2553

ผลการดําเนนิงาน ตัวตั้ง

ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุ

เปาหมาย

( / = บรรลุ ,

X = ไมบรรลุ)

คะแนนการ

ประเมินโดย

คณะกรรมการ

ขอที่ได

คะแนน

กรรมการ

หมายเหตุ

(เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการ พัฒนาแผน

7 5 4 X 3 2 / 3 / 5 / 6

ข้อ 1 ขาดคู่ความร่วมมือ ตัวแทนนิสิตในแต่ละหลักสูตรรวมทัง้ศิษย์เก่าไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม ข้อ 4 ไม่มีการกําหนดค่าเป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผน ตามเกณฑ์แพทยสภา เช่น จาํนวนเตียง จํานวนอาจารย์ประจําสาชาวิชา จํานวนคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ข้อ 7 ขาดการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ ข้อ 8 ไม่ผ่านเนื่องจากไม่ได้ดําเนินการในข้อ 7

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 1 5.00 3.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

4 5 2 X 2 1 / 2 ข้อ 3 อาจารย์ประจําทุกหลักสูตรไม่เป็นปัจจุบันในวงรอบปีการศึกษา หลักสูตรเวชกิจฉุกเฉินไม่มีการประเมินผลตามตัวบ่งชี้ ข้อ 4 กรรมการรับผิดชอบหลักสูตรไม่ครบถ้วน ต้องมีอาจารย์จากโรงพยาบาลร่วมผลิตด้วย ข้อ 5 มีกรรมการประจําหลักสูตร แต่ไมม่กีารกํากับติดตาม ต้องมีอาจารย์จากโรงพยาบาลร่วมผลิต ร่วมเป็นกรรมการกํากับติดตามด้วย

Page 17: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน ตัวตั้ง

ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุ

เปาหมาย

( / = บรรลุ ,

X = ไมบรรลุ)

คะแนนการ

ประเมินโดย

คณะกรรมการ

ขอที่ได

คะแนน

กรรมการ

หมายเหตุ

(เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR)

33 55.08 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

30 % 5 59

/ 5 - -

9 15.25 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ประจําที่ดํารง ตําแหน่งทางวิชาการ

60 % 1.27 59

X 1.27 - -

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

6 3 2 X 2 3 / 5 ข้อ 1 ไม่มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน ข้อ 2 ไม่มี ซึ่งเป็นผลมาจากไม่มีข้อ 1 ข้อ 4 ไม่มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนําความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนิสิต ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

Page 18: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู ้

6 5 ข้อมูลส่วนกลาง - - - -

ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

6 4 3 X 2 3 / 4 / 5 ข้อ 1 ไม่มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ทุกหลักสูตร ข้อ 2 ไม่มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม ครบทุกหลักสูตร ในภาคการศึกษา ตามที่กําหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ข้อ 6 การประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน ไม่ครบทุกรายวิชา ขาดของโรงพยาบาลร่วมผลิต ข้อ 7 ไม่มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา

Page 19: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธผิลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

4 4 1 X 1 5 ข้อ 1 ไม่มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ในหลักสูตร แพทย์แผนไทยประยุกต์ซึ่งมีนิสิตสําเร็จการศึกษาแล้ว ข้อ 2 และ ข้อ 3 ไม่มี ซึ่งเป็นผลมาจาก ไม่มีข้อ 1 ข้อ 4 ไม่มีระบบและกลไกการที่ชัดเจนในการส่งเสริมให้นิสิตระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานทางวิชาการ

ตัวบ่งชีท้ี่ 2.8 ระดับความสาํเร็จของการเสริมสรา้งคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนสิิต

4 5 4 / 4 1 / 2 / 3 / 5

ข้อ 4 ไม่มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กําหนดในเกณฑข์้อ 3 โดยต้องมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 2 4.03 2.47

Page 20: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์

การบรรลุ

เปาหมาย

( / = บรรลุ ,

X = ไมบรรลุ)

คะแนนการ

ประเมินโดย

คณะกรรมการ

ขอที่ได

คะแนน

กรรมการ

หมายเหตุ

(เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการให้คําปรึกษาและบริการด้านข้อมลูข่าวสาร

6 4 5 X 3 1 / 2 / 3 / 4 / 5

ข้อ 6 ไม่มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการ ตามเกณฑ์ข้อ 1 – 3 ทุกข้อไม่ต่ํากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 ข้อ 7 ไม่มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการมาใชเ้ป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการที่สนองความต้องการของนิสิต

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนิสิต

5 5 5 / 4 1 / 2 / 3 / 4 / 5

ข้อ 6 ไม่มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานิสิต

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 3 4.50 3.50

Page 21: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางาน วิจัยหรือ งานสร้างสรรค ์

7 5 8 / 5 1 - 8 -

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค ์

4 5 5 / 5 1 - 5 ควรเขียน Flowchart แสดงระบบและกลไก

2,135,900 4.91 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 เงินสนบัสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ต่อจํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจัยประจาํ

4 4.91 43.5

/ 4.91 - ให้เขียนตารางสรุปเงินวิจัยในวงรอบทัง้ภายในและภายนอก แสดงก่อนนําเอกสารมาแนบ เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบ

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 4 4.97 4.97

Page 22: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม

4 5 5 / 5 1 - 5 ควรมีการเขียนรายงานการประเมินตนเองให้ชัดเจนว่างานวิจัยที่มีนั้น นําไปใช้ในการจัดการเรียน การสอนในรายวิชาใดบ้าง

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม

4 5 5 / 5 1 - 5 -

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 5 5.00 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

4 5 5 / 5 1 - 5 ควรมีการเขยีนรายงานการประเมินตนเองใหช้ัดเจน ว่ามีการบรูณาการงานทํานุบํารงุฯ ในการจัดการเรยีนการสอนรายวิชาใดบ้าง และในการจัดทาํ AAR ให้ตอบวัตถุประสงค์ ของโครงการด้วยว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม ่

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 6 5.00 5.00

Page 23: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นําของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบนั

6 4 4 X 3 2 / 3 / 4 / 5

ข้อ 1 ไม่มีประเด็นประเมินตนเอง ให้กรรมการประจําคณะกําหนดหลักการประเมินตนเอง ข้อ 6 ให้เขียนรายงานในส่วนของหลักธรรมาภิบาล 10 ด้าน ให้ชัดเจนทุกด้าน ข้อ 7 ขาดการประเมินผลการบริหารงานและ นําผลไปปรับปรุง

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบนัสู่สถาบนัเรยีนรู ้

4 4 4 / 4 1 / 2 / 3 / 4

-

ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารและการตัดสินใจ

4 5 ข้อมูลส่วนกลาง - - - -

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง

5 5 6 / 5 1 - 6 -

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 7 4.50 4.00

Page 24: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงนิและงบประมาณ

6 5 4 X 3 2 / 3 / 6 / 7

ข้อ 1 ไม่มีแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ข้อ 4 ไม่มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ ข้อ 5 ไม่มีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหลักสตูร

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 8 5.00 3.00 ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

8 5 7 / 4 2 - 8 ข้อ 9 ไม่มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น ควรดําเนินการในส่วนนี้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1. ให้แต่ง ตั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการเป็นกรรมการประกันคุณภาพ เช่น ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน โรงพยาบาลร่วมผลิตทั้ง 2 แห่ง 2. ให้จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพที่เป็นปัจจุบัน 3. ให้กําหนดตัวบ่งชี้ในส่วนของโรงพยาบาลร่วมผลิตที่ชัดเจน โดยกรรมการแนะนําว่ามีจํานวน 10 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 2.1/2.5/2.6/2.7/2.8/3.1/3.2/7.3/8.1/9.1 4 . ค ว ร จั ด ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ไ ข ว้ ทุ ก ห ลั ก สู ต ร (มี 4 หลักสูตร แต่ประเมินไป 3 หลักสูตร)

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 9 5.00 4.00

Page 25: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 4 5 5 / 5 1 – 5 - ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 4 5 5 / 5 1 - 5 -

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 10 5.00 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 4 2 2 X 2 1 / 3 - ตัวบ่งชี้ที่ 11.4 8 5 9 / 5 1 - 9 -

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 11 3.50 3.50

คะแนนเฉลี่ย 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี ้

4.53 3.63

คะแนนเฉลี่ย 10 องค์ประกอบ 25 ตัวบ่งชี ้

4.57 3.75

คะแนนเฉลี่ย 11 องค์ประกอบ 27 ตัวบ่งชี ้

4.49 3.73

หมายเหตุ : คะแนนเฉลี่ยโดยคณะกรรมการประเมิน ยังไม่รวมคะแนนในตัวบ่งชี้ที่ 2.5 และ 7.3

เพราะเป็นคะแนนที่ใช้ในระดับสถาบัน ซึ่งจะรับการประเมิน ในวันที ่27 – 28 มิถุนายน 2554 คะแนนในช่อง “คะแนนการประเมินโดยคณะกรรมการ” ได้ใช้ตัวหาร 21 ตัวบ่งชี้

Page 26: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ปัจจัยนําเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ คะแนนเฉลี่ย

1. ปรัชญา ปณิธาน วัตุประสงค์และแผนการดําเนินการ

- 3.00 - 3.00 พอใช้

2. การผลิตบัณฑิต 3.14 1.75 4.00 2.47 ต้องปรับปรุง

3. กิจกรรมการพัฒนานิสิต - 3.50 - 3.50 พอใช้

4. การวิจัย 4.91 5.00 - 4.97 ดีมาก

5. การบริการวิชาการแก่สังคม - 5.00 - 5.00 ดีมาก

6. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม - 5.00 - 5.00 ดีมาก

7. การบริหารและการจัดการ - 4.00 - 4.00 ดี

8. การเงินและงบประมาณ - 3.00 - 3.00 พอใช้

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - 4.00 - 4.00 ดี

คะแนนเฉลี่ย 3.73 3.59 4.00 3.63 ดี

ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี ดี

องค์ประกอบคุณภาพคะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ตาราง ป. 2 ก ผลการประเมินตาม 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้

Page 27: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ปัจจัยนําเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ คะแนนเฉลี่ย

มาตรฐานที่ 1 - - 4.00 4.00 ดี

มาตรฐานที่ 2 ก - 3.33 - 3.33 พอใช้

มาตรฐานที่ 2 ข 3.73 3.56 - 3.60 ดี

มาตรฐานที่ 3 - 4.50 - 4.50 ดี

คะแนนเฉลี่ย 3.73 3.59 4.00 3.63 ดี

ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี ดี

องค์ประกอบคุณภาพคะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ตาราง ป. 3 ก ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 23 ตัวบ่งชี้

Page 28: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ปัจจัยนําเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ คะแนนเฉลี่ย1. ด้านนิสิตและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - 3.33 4.00 3.43 พอใช้2. ด้านกระบวนการภายใน #DIV/0! 3.63 - 3.63 ดี3. ด้านการเงิน 4.91 3.00 - 3.96 ดี4. ด้านบุคลากร การเรียนรู้และนวัตกรรม 3.14 4.50 - 3.82 ดีคะแนนเฉลี่ย 3.73 3.59 4.00 3.63 ดี

ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี ดี

องค์ประกอบคุณภาพคะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ตาราง ป.4 ก ผลการประเมินตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ 23 ตัวบ่งชี้

Page 29: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ปัจจัยนําเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ คะแนนเฉลี่ย

(1) ด้านกายภาพ #DIV/0! - - #DIV/0! #DIV/0!

(2) ด้านวิชาการ 3.14 2.00 - 2.45 ต้องปรับปรุง

(3) ด้านการเงิน - 3.00 - 3.00 พอใช้

(4) ด้านการบริหารจัดการ - 3.80 - 3.80 ดี

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ 1 3.14 3.11 3.12 พอใช้

ระดับคุณภาพ พอใช้ พอใช้ - พอใช้

(1) ด้านการผลิตบัณฑิต - 2.67 4.00 3.00 พอใช้

(2) ด้านการวิจัย 4.91 5.00 - 4.97 ดีมาก

(3) ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม - 5.00 - 5.00 ดีมาก

(4) ด้านการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม - 5.00 - 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ 2 4.91 4.13 4.00 4.19 ดี

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี ดี ดี

คะแนนเฉลี่ยรวม 40 ตัวบ่งชี้ 3.73 3.59 4.00 3.63 ดี

ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี ดี

1. มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา

2. มาตรฐานด้านการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา

องค์ประกอบคุณภาพคะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ตาราง ป. 5 ก ผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 23 ตัวบ่งชี้

Page 30: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

27ส่วนที่ 5 ภาคผนวก

ตารางการตรวจเยี่ยม

วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2554 07.30 น. รับ รศ.นพ.จติเจริญ ไชยยาคํา ประธานกรรมการประเมิน

ณ โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม

07.45 น. รับ อ.กนกกุล มาเวียง รับ ผศ.ดร.อนงค์ฤทธ์ิ แข็งแรง รับ รศ.ดร.ปราโมทย์ ทองกระจาย รับ อ.ดร.ดรุณี พ่วงพรพิทักษ์ ที่ อาคารที่พักอาศัยบุคลากร มมส.ใหม ่ 07.45 – 08.45 น. ออกเดินทางจาก มมส.ใหม ่ ไปยัง ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก

โรงพยาบาลกาฬสินธ์ุ จังหวัดกาฬสินธ์ุ 08.45 - 12.00 น. ตรวจประเมิน โรงพยาบาลร่วมผลิต แห่งที่ 1

“ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกาฬสินธ์ุ” 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.00 น. เดินทางจาก จังหวัดกาฬสินธ์ุ ไปยัง ศนูยแ์พทยศาสตรศกึษาชั้นคลินิก

โรงพยาบาลร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด 14.00 - 17.00 น. ตรวจประเมิน โรงพยาบาลร่วมผลิต แห่งที่ 2

“ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลร้อยเอ็ด”

17.00 - 18.00 น. เดินทางจาก จังหวัดร้อยเอ็ด กลับสู ่ จังหวัดมหาสารคาม 1. ส่งกรรมการ 2 ท่าน ณ ม.ใหม ่2. ส่ง รศ.นพ.จิตเจริญ ไชยยาคํา ณ จังหวัดขอนแก่น

หมายเหตุ : เวลาตั้งแต่ 09.00 - 17.00 น. ประธานกรรมการประเมิน ปรับได้ตามความเหมาะสม

Page 31: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

28วันอังคารที่ 21 มิถุนายน 2554 08.00 น. รับ รศ.นพ.จติเจริญ ไชยยาคํา ประธานกรรมการประเมิน

ณ โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม มายัง คณะแพทยศาสตร ์ 08.30 – 09.00 น. บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ ร่วมต้อนรับคณะกรรมการผูป้ระเมิน 09.00 – 12.00 น. คณะกรรมการผู้ประเมิน ตรวจประเมินผลการดําเนินงาน

การประกันคุณภาพการศึกษา คณะแพทยศาสตร์ ตามวงรอบปีการศึกษา 2553

12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 15.00 น. คณะกรรมการผู้ประเมิน ตรวจประเมินผลการดําเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา คณะแพทยศาสตร์ ตามวงรอบปีการศึกษา 2553 (ต่อ)

15.00 – 16.00 น. คณะกรรมการผู้ประเมินสัมภาษณ์นิสิต และบุคลากรภายในคณะฯ

16.00 – 17.00 น. บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ เข้ารับฟังผลการประเมิน ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และรับฟังข้อเสนอแนะ จากกรรมการผู้ประเมิน

17.00 น. ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.เรือน สมณะ (ราชบัณฑิต) คณบดีคณะแพทยศาสตร์

กล่าวขอบคุณคณะกรรมการผู้ประเมิน มอบของที่ระลึก และกล่าวปิดการประเมิน พร้อมกันนี้ร่วมกันถ่ายรูปที่ระลกึ

หมายเหตุ : เวลาตั้งแต่ 09.00 - 17.00 น. ประธานกรรมการประเมิน ปรับได้ตามความเหมาะสม

Page 32: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ตาราง ป.1 ผลการประเมนิตัวบ่งชี้ ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิยาลัยมหาสารคาม วงรอบปีการศึกษา 2553

ผลการดําเนนิงาน ตัวตั้ง

ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุ

เปาหมาย

( / = บรรลุ ,

X = ไมบรรลุ)

คะแนนการ

ประเมินโดย

คณะกรรมการ

ขอที่ได

คะแนน

กรรมการ

หมายเหตุ

(เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการ พัฒนาแผน

7 5 4 X 3 2 / 3 / 5 / 6

ข้อ 1 ขาดคู่ความร่วมมือ ตัวแทนนิสิตในแต่ละหลักสูตรรวมทัง้ศิษย์เก่าไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม ข้อ 4 ไม่มีการกําหนดค่าเป้าหมายของแต่ละตัวบ่งชี้เพื่อวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผน ตามเกณฑ์แพทยสภา เช่น จาํนวนเตียง จํานวนอาจารย์ประจําสาชาวิชา จํานวนคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ข้อ 7 ขาดการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ ข้อ 8 ไม่ผ่านเนื่องจากไม่ได้ดําเนินการในข้อ 7

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 1 5.00 3.00 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

4 5 2 X 2 1 / 2 ข้อ 3 อาจารย์ประจําทุกหลักสูตรไม่เป็นปัจจุบันในวงรอบปีการศึกษา หลักสูตรเวชกิจฉุกเฉินไม่มีการประเมินผลตามตัวบ่งชี้ ข้อ 4 กรรมการรับผิดชอบหลักสูตรไม่ครบถ้วน ต้องมีอาจารย์จากโรงพยาบาลร่วมผลิตด้วย ข้อ 5 มีกรรมการประจําหลักสูตร แต่ไมม่กีารกํากับติดตาม ต้องมีอาจารย์จากโรงพยาบาลร่วมผลิต ร่วมเป็นกรรมการกํากับติดตามด้วย

Page 33: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน ตัวตั้ง

ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุ

เปาหมาย

( / = บรรลุ ,

X = ไมบรรลุ)

คะแนนการ

ประเมินโดย

คณะกรรมการ

ขอที่ได

คะแนน

กรรมการ

หมายเหตุ

(เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR)

33 55.08 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

30 % 5 59

/ 5 - -

9 15.25 ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ประจําที่ดํารง ตําแหน่งทางวิชาการ

60 % 1.27 59

X 1.27 - -

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

6 3 2 X 2 3 / 5 ข้อ 1 ไม่มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน ข้อ 2 ไม่มี ซึ่งเป็นผลมาจากไม่มีข้อ 1 ข้อ 4 ไม่มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนําความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนิสิต ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

Page 34: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู ้

6 5 6 (ข้อมูลส่วนกลาง)

/ 4 1 / 2 / 4 / 5 / 6 /

7

-

ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน

6 4 3 X 2 3 / 4 / 5 ข้อ 1 ไม่มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ทุกหลักสูตร ข้อ 2 ไม่มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม ครบทุกหลักสูตร ในภาคการศึกษา ตามที่กําหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ข้อ 6 การประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน ไม่ครบทุกรายวิชา ขาดของโรงพยาบาลร่วมผลิต ข้อ 7 ไม่มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา

Page 35: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธผิลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต

4 4 1 X 1 5 ข้อ 1 ไม่มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ในหลักสูตร แพทย์แผนไทยประยุกต์ซึ่งมีนิสิตสําเร็จการศึกษาแล้ว ข้อ 2 และ ข้อ 3 ไม่มี ซึ่งเป็นผลมาจาก ไม่มีข้อ 1 ข้อ 4 ไม่มีระบบและกลไกการที่ชัดเจนในการส่งเสริมให้นิสิตระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานทางวิชาการ

ตัวบ่งชีท้ี่ 2.8 ระดับความสาํเร็จของการเสริมสรา้งคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนสิิต

4 5 4 / 4 1 / 2 / 3 / 5

ข้อ 4 ไม่มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนิสิตตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กําหนดในเกณฑข์้อ 3 โดยต้องมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 2 4.03 2.66

Page 36: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์

การบรรลุ

เปาหมาย

( / = บรรลุ ,

X = ไมบรรลุ)

คะแนนการ

ประเมินโดย

คณะกรรมการ

ขอที่ได

คะแนน

กรรมการ

หมายเหตุ

(เหตุผลของการประเมินที่ตางจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการให้คําปรึกษาและบริการด้านข้อมลูข่าวสาร

6 4 5 X 3 1 / 2 / 3 / 4 / 5

ข้อ 6 ไม่มีผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการ ตามเกณฑ์ข้อ 1 – 3 ทุกข้อไม่ต่ํากว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5 ข้อ 7 ไม่มีการนําผลการประเมินคุณภาพของการให้บริการมาใชเ้ป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการที่สนองความต้องการของนิสิต

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนิสิต

5 5 5 / 4 1 / 2 / 3 / 4 / 5

ข้อ 6 ไม่มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานิสิต

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 3 4.50 3.50

Page 37: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางาน วิจัยหรือ งานสร้างสรรค ์

7 5 8 / 5 1 - 8 -

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค ์

4 5 5 / 5 1 - 5 ควรเขียน Flowchart แสดงระบบและกลไก

2,135,900 4.91 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 เงินสนบัสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ต่อจํานวนอาจารย์ประจําและนักวิจัยประจาํ

4 4.91 43.5

/ 4.91 - ให้เขียนตารางสรุปเงินวิจัยในวงรอบทัง้ภายในและภายนอก แสดงก่อนนําเอกสารมาแนบ เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบ

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 4 4.97 4.97

Page 38: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม

4 5 5 / 5 1 - 5 ควรมีการเขียนรายงานการประเมินตนเองให้ชัดเจนว่างานวิจัยที่มีนั้น นําไปใช้ในการจัดการเรียน การสอนในรายวิชาใดบ้าง

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม

4 5 5 / 5 1 - 5 -

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 5 5.00 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

4 5 5 / 5 1 - 5 ควรมีการเขยีนรายงานการประเมินตนเองใหช้ัดเจน ว่ามีการบรูณาการงานทํานุบํารงุฯ ในการจัดการเรยีนการสอนรายวิชาใดบ้าง และในการจัดทาํ AAR ให้ตอบวัตถุประสงค์ ของโครงการด้วยว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม ่

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 6 5.00 5.00

Page 39: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นําของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบนั

6 4 4 X 3 2 / 3 / 4 / 5

ข้อ 1 ไม่มีประเด็นประเมินตนเอง ให้กรรมการประจําคณะกําหนดหลักการประเมินตนเอง ข้อ 6 ให้เขียนรายงานในส่วนของหลักธรรมาภิบาล 10 ด้าน ให้ชัดเจนทุกด้าน ข้อ 7 ขาดการประเมินผลการบริหารงานและ นําผลไปปรับปรุง

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบนัสู่สถาบนัเรยีนรู ้

4 4 4 / 4 1 / 2 / 3 / 4

-

ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารและการตัดสินใจ

4 5 5 (ข้อมูลส่วนกลาง)

/ 5 1 - 5 -

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง

5 5 6 / 5 1 - 6 -

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 7 4.50 4.25

Page 40: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงนิและงบประมาณ

6 5 4 X 3 2 / 3 / 6 / 7

ข้อ 1 ไม่มีแผนกลยุทธ์ทางการเงิน ข้อ 4 ไม่มีการจัดทํารายงานทางการเงินอย่างเป็นระบบ ข้อ 5 ไม่มีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายตามหลักสตูร

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 8 5.00 3.00 ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

8 5 7 / 4 2 - 8 ข้อ 9 ไม่มีแนวปฏิบัติที่ดีด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น ควรดําเนินการในส่วนนี้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1. ให้แต่ง ตั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในการเป็นกรรมการประกันคุณภาพ เช่น ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน โรงพยาบาลร่วมผลิตทั้ง 2 แห่ง 2. ให้จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพที่เป็นปัจจุบัน 3. ให้กําหนดตัวบ่งชี้ในส่วนของโรงพยาบาลร่วมผลิตที่ชัดเจน โดยกรรมการแนะนําว่ามีจํานวน 10 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 2.1/2.5/2.6/2.7/2.8/3.1/3.2/7.3/8.1/9.1 4 . ค ว ร จั ด ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ไ ข ว้ ทุ ก ห ลั ก สู ต ร (มี 4 หลักสูตร แต่ประเมินไป 3 หลักสูตร)

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 9 5.00 4.00

Page 41: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ผลการดําเนนิงาน

ตัวตั้ง ตัวบ่งชี ้ เป้าหมาย

คะแนนการประเมนิโดยคณะแพทย ์ ตัวหาร

ผลลัพธ์ (% หรือสัดส่วน)

การบรรลุเป้าหมาย

( / = บรรลุ , X = ไม่บรรลุ)

คะแนนการประเมนิโดย

คณะกรรมการ

ข้อที่ได้คะแนนกรรมการ

หมายเหต ุ(เหตุผลของการประเมนิที่ต่างจากที่ระบุใน SAR)

ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 4 5 5 / 5 1 – 5 - ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 4 5 5 / 5 1 - 5 -

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 10 5.00 5.00 ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 4 2 2 X 2 1 / 3 - ตัวบ่งชี้ที่ 11.4 8 5 9 / 5 1 - 9 -

คะแนนเฉลี่ยองค์ที่ 11 3.50 3.50

คะแนนเฉลี่ย 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี ้

4.53 3.70

คะแนนเฉลี่ย 10 องค์ประกอบ 25 ตัวบ่งชี ้

4.57 3.81

คะแนนเฉลี่ย 11 องค์ประกอบ 27 ตัวบ่งชี ้

4.49 3.78

Page 42: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ปัจจัยนําเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ คะแนนเฉลี่ย

1. ปรัชญา ปณิธาน วัตุประสงค์และแผนการดําเนินการ

- 3.00 - 3.00 พอใช้

2. การผลิตบัณฑิต 3.42 1.75 4.00 2.66 พอใช้

3. กิจกรรมการพัฒนานิสิต - 3.50 - 3.50 พอใช้

4. การวิจัย 4.91 5.00 - 4.97 ดีมาก

5. การบริการวิชาการแก่สังคม - 5.00 - 5.00 ดีมาก

6. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม - 5.00 - 5.00 ดีมาก

7. การบริหารและการจัดการ - 4.25 - 4.25 ดี

8. การเงินและงบประมาณ - 3.00 - 3.00 พอใช้

9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - 4.00 - 4.00 ดี

คะแนนเฉลี่ย 3.80 3.67 4.00 3.70 ดี

ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี ดี

องค์ประกอบคุณภาพคะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ตาราง ป. 2 ก ผลการประเมินตาม 9 องค์ประกอบ 23 ตัวบ่งชี้

Page 43: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ปัจจัยนําเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ คะแนนเฉลี่ย

มาตรฐานที่ 1 - - 4.00 4.00 ดี

มาตรฐานที่ 2 ก - 3.57 - 3.57 ดี

มาตรฐานที่ 2 ข 3.80 3.56 - 3.63 ดี

มาตรฐานที่ 3 - 4.50 - 4.50 ดี

คะแนนเฉลี่ย 3.80 3.67 4.00 3.70 ดี

ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี ดี

องค์ประกอบคุณภาพคะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ตาราง ป. 3 ก ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา 23 ตัวบ่งชี้

Page 44: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ปัจจัยนําเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ คะแนนเฉลี่ย1. ด้านนิสิตและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - 3.33 4.00 3.43 พอใช้2. ด้านกระบวนการภายใน 4.00 3.78 - 3.80 ดี3. ด้านการเงิน 4.91 3.00 - 3.96 ดี4. ด้านบุคลากร การเรียนรู้และนวัตกรรม 3.14 4.50 - 3.82 ดีคะแนนเฉลี่ย 3.80 3.67 4.00 3.70 ดี

ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี ดี

องค์ประกอบคุณภาพคะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ตาราง ป.4 ก ผลการประเมินตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ 23 ตัวบ่งชี้

Page 45: ปก - qa.msu.ac.thqa.msu.ac.th/e-qa/agency/uploads/016_2553_02_765_CAR 2553.pdf · ข สารบัญ ส่วนที่ หน้า คํานํา ก สารบัญ

ปัจจัยนําเข้า กระบวนการ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ คะแนนเฉลี่ย

(1) ด้านกายภาพ 4.00 - - 4.00 ดี

(2) ด้านวิชาการ 3.14 2.00 - 2.45 ต้องปรับปรุง

(3) ด้านการเงิน - 3.00 - 3.00 พอใช้

(4) ด้านการบริหารจัดการ - 4.00 - 4.00 ดี

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ 1 3.42 3.30 3.33 พอใช้

ระดับคุณภาพ พอใช้ พอใช้ - พอใช้

(1) ด้านการผลิตบัณฑิต - 2.67 4.00 3.00 พอใช้

(2) ด้านการวิจัย 4.91 5.00 - 4.97 ดีมาก

(3) ด้านการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม - 5.00 - 5.00 ดีมาก

(4) ด้านการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม - 5.00 - 5.00 ดีมาก

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ของมาตรฐานที่ 2 4.91 4.13 4.00 4.19 ดี

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี ดี ดี

คะแนนเฉลี่ยรวม 40 ตัวบ่งชี้ 3.80 3.67 4.00 3.70 ดี

ระดับคุณภาพ ดี ดี ดี ดี

1. มาตรฐานด้านศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษา

2. มาตรฐานด้านการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา

องค์ประกอบคุณภาพคะแนนการประเมินเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ตาราง ป. 5 ก ผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 23 ตัวบ่งชี้