65
รายงานวิจัย ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน รายวิชา สังคมภิวัตน ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา The student’s satisfaction in learning and teaching management on Learner-centered approach of the socialization course, YalaRajabhat University โดย ศุภรัตน มฤคี ไดรับทุนอุดหนุนจากงบประมาณบํารุงการศึกษาประจําป 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

รายงานวิจัย

ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

รายวิชา สังคมภิวัตน ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

The student’s satisfaction in learning and teaching

management on Learner-centered approach of the

socialization course, YalaRajabhat University

โดย

ศุภรัตน มฤคี

ไดรับทุนอุดหนุนจากงบประมาณบํารุงการศึกษาประจําป 2559

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Page 2: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

สารบัญ

บทที่ หนา

1 บทนํา 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

วัตถุประสงคของการวิจัย 4

ขอบเขตการวิจัย 4

ประโยชนท่ีไดรับ 4

นิยามศัพทเฉพาะ 4

2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 6

กลยุทธการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 6

การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง 7

หลักการและแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนรวมสมัย 8

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง 13

ความพึงพอใจ 17

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ 20

3 วิธีดําเนินการวิจัย 24

ประชากรและกลุมตัวอยาง 24

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 24

การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 25

การเก็บรวบรวมขอมูล 26

การวิเคราะหขอมูลและประมวลผล 27

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 27

4 ผลการวิจัย 29

วิเคราะหขอมูลท่ัวไปของนักศึกษาเพ่ือหาคารอยละ 29

วิเคราะหความพึงพอใจของนักศึกษา 31

ขอเสนอแนะดานความพึงพอใจของนักศึกษา 38

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 40

สรุปผล 40

อภิปรายผล 41

ขอเสนอแนะ 47

บรรณานุกรม

Page 3: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

ภาคผนวก

Page 4: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 แสดงจํานวนและคารอยละของขอมูลท่ัวไป ดานเพศ 29

2 แสดงจํานวนและคารอยละของขอมูลท่ัวไป ดานสังกัดคณะ 30

3 แสดงจํานวนและคารอยละของนักศึกษา ดานหลักสูตร 30

4 แสดงจํานวนและคารอยละของขอมูลท่ัวไป ดาน นักศึกษาชั้นป 31

5 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจเก่ียวกับคุณภาพการสอน

ของอาจารยท่ีจัดการเรียนการสอนยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง 6 ดาน

31

6 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานผูสอน

32

7 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานกิจกรรมการเรียนการสอน

33

8 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานเนื้อหาสาระ

35

9 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอน

36

10 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ี

ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานการวัดและประเมินผล

37

11 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ี

ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานผูเรียน(สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง)

38

Page 5: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดีดวยความกรุณาอยางยิ่งจาก ผูชวย

ศาสตราจารยสุพร สุนทรนนท คณบดี คณาจารย และเจาหนาท่ีของคณะมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ท่ีใหการสนับสนุนและอํานวยความสะดวกในการทําวิจัย

ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย ดร.วิชิต เรืองแปน ผศ.ดร.นิตยา เรืองแปน และ ผศ.ดร. เนาวรัตน

ตรีไพบูรณ ท่ีกรุณาใหคําแนะนํา และเสนอขอคิดเห็นท่ีเปนประโยชน ตลอดจนตรวจความ

เหมาะสมท้ังดานเนื้อหา ภาษาท่ีใช และตรวจสอบความสอดคลองกับวัตถุประสงคและผูวิจัยได

นํามาปรับปรุงใหงานวิจัยครั้งนี้มีความสมบูรณยิ่งข้ึน

ขอขอบคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.สมบัติ โยธาทิพย อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ยะลาท่ีสนับสนุนบุคคลากรใหทํางานวิจัยท่ีเปนประโยชนมหาวิทยาลัย และเพ่ือพัฒนาการศึกษาใน

พ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต

สุดทายนี้ ผูวิจัยขอบคุณ คณาจารยหลักสูตรสังคมศึกษา ขอบคุณนักศึกษา เพ่ือนพ่ี

นองคณาจารยรวมสถาบันท่ีใหกําลังใจ ความชวยเหลือ ท้ังแรงกายแรงใจเสมอมา ความรู ความดี

ความสําเร็จ และคุณประโยชนท่ีไดรับจากการทําวิจัยฉบับนี้ผูวิจัยขอมอบแดทานท้ังหลาย

ศุภรัตน มฤคี

Page 6: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

หัวขอวิจัย ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผู เ รียนเปน

ศูนยกลางในรายวิชา สังคมภิวัตน ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราช

ภัฏยะลา

ช่ือผูวิจัย นางสาวศุภรัตน มฤคี

คณะ/หนวยงาน มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา

ปงบประมาณ 2559

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้มุงเนนศึกษาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางในรายวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามีวัตถุประสงคของการวิจัย

คือ(1) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง และ (2)เพ่ือ

ศึกษาขอเสนอแนะตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในรายวิชาสังคมภิวัตนของ

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาใชกลุมตัวอยางในการศึกษาจํานวน 124 คน ใชเครื่องมือในการ

วิจัยคือ แบบสอบถามความพึงพอใจ นํามาวิเคราะหผล คารอยละ คาเฉลี่ย (𝑥) และสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน(S.D.)

ผลการวิจัยพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียน

เปนศูนยกลางท้ัง 6 ดาน คือ คือ ดานผูสอน ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดานเนื้อหาสาระ

ดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอนดานการวัดและประเมินผล และ ดานผูเรียน (สําหรับ

ผูเรียนประเมินตนเอง) อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.20 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D.)เทากับ 0.72ดานท่ีมีคาเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุดคือ ดานการวัดและประเมินผล (𝑥= 4.36, S.D.=

0.68) รองลงมาคือ ดานผูสอน (𝑥= 4.24, S.D.= 0.71)และดานท่ีมีคาเฉลี่ยความพึงพอใจต่ําสุดคือ

ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (𝑥= 4.13, S.D.= 0.72)การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอ

การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในครั้งนี้ชี้ใหเห็นวา ผูสอนนั้นควรพัฒนาการจัดการ

เรียนการสอนใหทันสมัยโดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายและควรใหนักศึกษาไดเขามา

มีสวนรวมในทุกข้ันตอน ผูสอนควรผลิตสื่อนวัตกรรมในรายวิชาท่ีตนเองสอน และการวัดผล

ประเมินผลในรายวิชานั้นควรประเมินผลตามสภาพจริง

Page 7: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

Research Title The student’s satisfaction in learning and teaching

management on the Learner-centered approach of the

socialization course, YalaRajabhat University

Researcher Suparust Marukee

Faculty/Section Humanities and Social Sciences

University Yala Rajabhat

Year 2016

ABSTRACT

This research focuses on the satisfaction in learning and teaching

management on the learner-centered approach of the socialization

course,YalaRajabhat University. The purposes of the research are 1-To study the

student-centered teaching-learning satisfaction 2-To study the recommendations for

student-centered instructional management for socialization course. The samples

used in this study were the 124 students of YalaRajabhat University. The instruments

of this study are questionnaire, the analyzing of the results, percentage and standard

deviation (S.D.).

The research found that students are satisfied with the teaching

and learning-centered instruction in all six areas, which are instructor, the activities of

teaching, the contents, media and media support teaching and learning in

measurement and evaluation and the learner. (For self-assessment learners) was at a

high level with an average (𝑥) of 4.20 and standard deviation (S.D.) is 0.72, the highest

average satisfaction level was measurement and evaluation 𝑥 = 4.36, S.D. = 0.68).

Followed by the instructor (𝑥 = 4.24, S.D. = 0.71) and the aspect with the lowest

mean satisfaction is the teaching activities (𝑥 = 4.13, S.D. = 0.72). This student-

centered study of student-centered instructional management emphasized that the

instructor should develop teaching and learning by providing various teaching

activities and allow the students to participate in all stages. The instructor should

produce innovative media in self-taught courses and evaluation of the course should

be evaluated according to the actual conditions.

Page 8: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

1

บทท่ี 1

บทนํา

1.ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

สังคมโลกในปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว การรับรูขอมูลขาวสารของมนุษยชาติ

ก็เปนอยางรวดเร็ว ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทําใหโลกท่ีกวางใหญ เปนโลก

ท่ีไรพรมแดนแหงการเรียนรู สังคมโลกมีท้ังการแขงขันและความรวมมือกันมากข้ึน การจัดศึกษาจึง

จําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลง ผูเรียนจําเปนตองมีทักษะการเรียนรูเพ่ิมมากข้ึน อาทิ ทักษะในการ

แสวงหาความรูดวยตนเองทักษะในการใชเทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศตาง ๆ รวมท้ังทักษะในการ

ปรับตัว ทักษะในการแกปญหาอยางมีสติ มีเหตุผล มีวิจารณญาณในการแยกแยะขอมูลขาวสาร เลือก

รับสิ่งทีดีงาม สิ่งท่ีเปนคุณประโยชน ผูเรียนควรไดรับการพัฒนาใหเปนผูมีความรูทันโลกไปพรอม ๆกับ

การเปนพลเมืองดีของสังคม สามารถครองตนอยูในความดีงาม ความถูกตองรอดพนจากอบายมุข

สิ่งเสพติด สิ่งยั่วยุในทางเสื่อม สังคมโลกในปจจุบันและในอนาคตเปนสังคมแหงการผสมผสานทาง

วัฒนธรรมตางชาติตางภาษา ผูเรียนจึงตองเรียนรูท่ีจะรักเพ่ือนมนุษยเรียนรูท่ีจะเขาใจความแตกตาง

ทางวัฒนธรรม เรียนรูท่ีจะเลือกรับแตสิ่งท่ีดีงามมีประโยชนโดยคงรักษาไวซ่ึงคุณคาแหงมรดกทาง

วัฒนธรรมและภูมิปญญาของสังคมไทย

สภาพการดังกลาวสงผลใหมีการเรียกรองใหมีการปฏิรูปการศึกษา เพ่ือใหการศึกษาเปน

เครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองการปกครองอยางแทจริงเปาหมาย

ของการจัดการศึกษาจะตองมุงสรางสรรคสังคมใหมีลักษณะท่ีเอ้ือตอการพัฒนา “คน” ซ่ึงเปนผลผลิต

โดยตรง ใหมีคุณลักษณะมีศักยภาพและความสามารถท่ีจะพัฒนาตนเองและสังคมไปสูความสําเร็จได

การศึกษาพัฒนาคนไดจริงหรือ “ไม” ผูวิจัยทดลองพัฒนาการเรียนการสอนของตนเอง จากการ

จัดการเรียนการสอนท่ีผานมา ใชหลักการจัดการเรียนการสอนโดยยึดครูเปนศูนยกลาง การจัดการ

เรียนการสอนในลักษณะครูเปนศูนยกลางนั้น ยึดครองอํานาจในการเรียนรูของผูเรียนมาเปนเวลาท่ี

ยาวนาน ถาพิจารณาตามวิวัฒนาการของทฤษฏีหลักการและแนวคิดทางการศึกษาแลว ควรหมด

อํานาจไปนานแลว แตในความเปนจริงในประเทศไทย การจัดการเรียนการสอนในลักษณะท่ีครูเปน

ศูนยกลางยังครองอํานาจอยูอยางเหนียวแนน ผูวิจัยก็เปนคนหนึ่งท่ีจัดการเรียนการสอนท่ียึดครูเปน

ศูนยกลาง โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดเนื้อหาของหลักสูตรอยางเครงครัด วิธีสอนเนน

การบรรยาย ซักถามนักศึกษาเปนระยะ เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับนักศึกษาและใหนักศึกษา

ปฏิสัมพันธกับเพ่ือน โดยใชกระบวนการกลุม แตสิ่งท่ีผูวิจัยดอย ๆมาก ก็คือการวัดและประเมินผล

การมอบหมายงานใหนักศึกษาคนควาดวยตนเอง ก็ละเลยจุดประสงคการเรียนรู สงผลใหผูเรียน

พัฒนาการเรียนรูไมครบองคประกอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสะทอนใหเห็นขอเท็จจริงวา จัดการ

Page 9: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

2

เรียนการสอนไมสมบูรณแบบ แตมีความเห็นวา การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยยังมี

ประโยชนสําหรับนักศึกษาบางกลุมท่ียังตองอาศัยครูเปนผูชี้ทางการเรียนรูผูวิจัยจึงไมละท้ิงรูปแบบ

การสอนนี้จึง นํามาผสมผสานกับการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลาซ่ึงเปนท่ียอมรับ

กันวา การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง คือ วิธีการสําคัญท่ีสามารถสรางและพัฒนา

ผูเรียนใหเกิดคุณลักษณะตาง ๆท่ีตองการในยุคโลกาภิวัฒน เนื่องจากเปนการจัดการเรียนการสอนท่ี

ใหความสําคัญกับผูเรียน สงเสริมใหผูเรียนรูจักเรียนรูดวยตนเอง เรียนในเรื่องท่ีสอดคลองกับ

ความสามารถและความตองการของตนเอง และไดพัฒนาศักยภาพของตนเองไดอยางเต็มท่ี ซ่ึง

แนวคิดการจัดการศึกษานี้เปนแนวคิดท่ีมีรากฐานจากปรัชญาการศึกษาและทฤษฏีการเรียนรูตาง ๆ ท่ี

ไดพัฒนามาอยางตอเนื่องยาวนาน เปนแนวคิดท่ีไดรับการพิสูจนวาสามารถพัฒนาผูเรียนใหมี

คุณลักษณะท่ีตองการอยางไดผล Carl R. Rogers คือผูคิดคนและใชคําวา “เด็กเปนศูนยกลาง”

(Child-centered) เปนครั้งแรก ในวิธีการนี้ผูเรียนจะไดรับการสงเสริมใหมีความรับผิดชอบและมีสวน

รวมอยางเต็มท่ีตอการเรียนรูของตน ผูเรียนทุกคนมีคุณคาสมควรไดรับการเชื่อถือไววางใจ แนวทางนี้

จึงเปนแนวทางท่ีจะผลักดันผูเรียนไปสูการบรรลุศักยภาพของตน โดยสงเสริมความคิดของผูเรียนและ

อํานวยความสะดวกให เขาไดรับการพัฒนาศักยภาพของตนเองอยางเต็มท่ีโดยใชรูปแบบ

“The Master Teaching Program ” หรือโปรแกรมการสอนเพ่ือการรูจริง เปนรูปแบบท่ีพัฒนาโดย

ฮันเทอร (Hunter) ผูใชทฤษฏีการเรียนรูและการสอนของกานเย (Gagne) ประกอบดวย 4ข้ันตอน ท่ี

ผูวิจัยไดนํารูปแบบการสอนนี้ มาปรับใชเปนของตนเองโดยใชข้ันตอนการสอนการสอนแบบ Master

Teaching Programคือ (1). ข้ันเตรียมความพรอมของผูเรียน(2). ข้ันการใชขอมูลและการแสดงตัว

แบบ (3).ข้ันตรวจสอบความเขาใจ และมีข้ันตอนการสอนของผูวิจัยท่ีพัฒนามาจากแบบการสอนเพ่ือ

การรูจริงคือ (1). ข้ันเตรียมความพรอม วางแผน ศึกษาหลักสูตร วิเคราะหหลักสูตร จัดทําหนวยการ

เรียนรู เขียนวัตถุประสงคสอดคลองกับเนื้อหาสาระแตละหนวย จัดทํา มคอ3(2). ข้ันจัดกิจกรรมการ

เรียนการสอนทดสอบกอนเรียน ใชวิธีการสอนท่ีหลากหลาย ท้ังวิธีสอนท่ียึดครูเปนศูนยกลาง และยึด

ผูเรียนเปนศูนยกลาง (3) นําเสนอผลงานกลุม จากประเด็นท่ีไดรับมอบหมาย อภิปราย ซักถามใน

ประเด็นท่ียังไมเขาใจ และ (4) สรุปบทเรียน ดวยเทคนิคผังความคิดเปน

สิ่งท่ีคนพบอีกอยางหนึ่งจากการจัดการเรียนการสอนรูปแบบนี้พบวาวิธีการสอนแบบ

เดียวกันกับนักศึกษาท้ังชั้น ท้ัง ๆท่ีความเปนจริงแลว นักศึกษาแตละคนมีอัตราการเรียนรูท่ีตางกัน

นักศึกษาท่ีเรียนรูไดเร็วก็จะทําคะแนนในการสอบไดดี ตรงกันขามกันนักศึกษาท่ีเรียนรูขาจึงทํา

คะแนนไดนอย แตเม่ือใหเวลาท่ีเพ่ิมข้ึนกับนักศึกษาท่ีเรียนชา นักศึกษาเหลานั้นก็สามารถเรียนไดดี

ข้ึน ผูเชี่ยวชาญบางทานใหความเห็นวา หากใหเวลาเพียงพอแลวนักศึกษาจํานวนมากก็สามารถเรียน

ไดสําเร็จและสามารถพัฒนาการเรียนรูได ผูวิจัยพบวานักศึกษาท่ีประสบความลมเหลวในการเรียน

Page 10: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

3

ไมใชเพราะนักศึกษาขาดทัศนคติตอการเรียนหรือขาดความรูความสามารถท่ีจะเรียน แตเพราะให

เวลาแกนักศึกษาไมเพียงพอนั่นเอง นักศึกษาแตละคนตองการเวลาในการเรียนรูสิ่งตาง ๆไมเทากัน

เพ่ือแกปญหาในเรื่องนี้ผูวิจัย ไดนํารูปแบบการสอนเพ่ือการรูจริงเชื่อมโยงเขากับการสอนท่ี

เรียกวาPersonalized System of Instruction (PSI) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา Keller Plan

สอนแบบ PSIเปนการสอนท่ีเนนความเปนเอกัตภาพของผูเรียน โดยการจัดการเรียนการสอน โดยแบง

เนื้อหาของวิชา เปนหนวยยอย ๆแตละหนวยการเรียนรู ผูเรียนสามารถใชเวลาในการศึกษาแตละ

หนวยไดอยางเต็มท่ี เม่ือพรอมแลวจึงมีการทดสอบวานักศึกษามีความรูความเขาใจตามเกณฑท่ี

กําหนดไวหรือไม ถาสอบไมผาน นักศึกษาสามารถใชเวลาศึกษาเพ่ิมเติมกับเพ่ือนคนอ่ืน ๆแลวแกตัว

ใหมจนกวาจะผาน ผูท่ีสอบผานจะไดเรียนในหนวยยอยตอไปจนครบ เม่ือครบแลวจะมีการทดสอบ

ปลายภาคเพ่ือวัดความรูความเขาใจเนื้อหาท่ีเรียนมาท้ังหมดในวิชานั้น ๆ คะแนนจากการทดสอบยอย

ท่ีผานมาแลวแตละครั้งไมมีผลตอคะแนนหรือเกรดท่ีจะไดสําหรับแตละบทเรียน ท้ังนี้ เพราะ

จุดประสงคในการทดสอบยอยมิไดมีไวเพ่ือเก็บคะแนนแตเพ่ือตองการจะทราบวาผูเรียนแตละคน

จําเปนตองใชเวลาเพ่ิมหรือไม ซ่ึงเปนตัวชี้วัดการกําหนดเวลาท่ีเหมาะสมในการเรียนรูใหผานตาม

เกณฑตามท่ีกําหนดไวในแตละหนวยเทานั้น ผลจากการจัดการเรียนการสอนPSI ทําใหผลผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนของนักศึกษาดีข้ึน

ผูวิจัยใหความสําคัญกับกระบวนการการเรียนการสอนแบบ PSIเพราะเปนการสอน

รายบุคคลอีกมิติหนึ่งของการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง การสอนรายบุคคล เปนการ

สอนท่ีเนนความเปนเอกทัคคะบุคคลของผูเรียน เพ่ือใหผูเรียนจะไดรับสาระความรูและปรับการเรียนรู

ใหหลากหลายเหมาะสมกับตน เปดโอกาสใหผู เรียนรูไดเรียนรูดวยตนเอง ไดพัฒนาไปตาม

ความสามารถของแตละคน ไดเห็นความกาวหนาในการเรียนของตนเองตลอดเวลา อีกท้ังยังไดพัฒนา

คุณธรรมจริยธรรมของตนเอง ในดานความรับผิดชอบ ยิ่งไปกวานั้นท่ีผูวิจัยนําวิธีการสอนนี้มาใชกับ

นักศึกษาท่ีเรียนในรายวิชาสังคมภิวัตนเพราะนักศึกษาสวนหนึ่งตองการเวลาในการเรียนเนื้อหาสาระ

เพ่ิมข้ึน และตองการตัวชวย คัวชวยในรายวิชานี้ คือ เอกสารประกอบการสอนผูเรียนสามารถศึกษา

เพ่ิมเดิมดวยตนเองตลอดเวลา เนนวินัยความรับผิดชอบอันเปนหัวใจสําคัญของการจัดการศึกษา เปน

กลไกสําคัญในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ เปนคนดี มีความรู ความคิด และความสามารถในการ

พัฒนาตนเอง และอาชีพการงาน ใหอยูในสังคมอยางมีความสุข แตสภาพสังคม เศรษฐกิจท่ี

เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว กระบวนการเรียนการสอนจึงตองมีการพัฒนาหารูปแบบการสอน

“คน “ใหสามารถเผชิญชีวิตอยูในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะสังคมในยุคโลกาภิวัตนการ

จัดการเรียนการสอนรายบุคคลเปนการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนในลักษณะดังตอไปนี้ (1) มีการ

ระบุจุดประสงคในการเรียนอยางชัดเจน (2) มีการวินิจฉัยความรูความสามารถของผูเรียนกอนการ

เรียนการสอน (3) มีการวัดและประเมินผลการเรียนการสอนดวยวิธีการท่ีหลากหลายตอเนื่อง

Page 11: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

4

(4) มีการกําหนดเกณฑการเรียนรูท่ีผูเรียนจะตองผาน (5) มีการเรียนรูท่ีเปนตามลําดับข้ันตอนของ

เนื้อหา หลักการและทักษะ(6)มีการใหขอมูลยอนกลับเก่ียวกับความกาวหนาในการเรียนของผูเรียน

อยางสมํ่าเสมอ (7) มีการปรับขยายเวลาใหกับผูเรียนท่ีไมผานเกณฑการเรียนรูตามท่ีกําหนดเพ่ือให

สามารถผานได (พิมพันธ เตชะคุปต และคณะ :2544)

การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางท่ีผูวิจัยไดกลาวมาแลวขางตน เปนการ

สงเสริมการเรียนรูใหนักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังทางดานรางกาย

และจิตใจ เพราะกระบวนการเรียนรูดังกลาวเปนการพัฒนาผูเรียนท้ัง 5 ดานไปพรอม ๆ กันทุกดาน

คือดานคุณธรรม จริยธรรมดานความรู ดานทักษะทางปญญาดานความสัมพันธระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

มีข้ันตอนการเรียนดังนี้ (1) มีการทดสอบกอนเรียน (2) มีการอบรมมรรยาทการเคารพครูอาจารย

โดยนักศึกษาทุกคนยืนทําความเคารพผูสอนกอนเรียนทุกครั้ง(3) ผูสอนบรรยายกรอบเนื้อหาแตละ

หนวยการเรียนรูเพ่ือผูเรียนมีความรูพ้ืนฐานของเนื้อหาใหเทาเทียมกันกอน (4) เขาสูกระบวนการกลุม

สมาชิกทุกคนรวมมือในการทํางาน ทุกคนมีสวนรวมเทาเทียมกัน สมาชิกทุกคนมีโอกาสพูด แสดงออก

แสดงความคิดเห็น ลงมือทํางานอยางเทาเทียมกัน เสริมใหมีความชวยเหลือกันรวมกันคิดทุกคน ทําให

เกิดการระดมความคิด นําขอมูลท่ีไดมาพิจารณารวมกัน เพ่ือประเมินคําตอบท่ีเหมาะสม (5)นําเสนอ

ผลงานกลุม สมาชิกทุกคนตองนําเสนอผลงานหนาชั้นไดทุกคน (6) สรุปเนื้อหาสาระของบทเรียน ดวย

เทคนิคผังความคิด (Mind Mapping) (7) และมีการสอบหลังเรียนทุกหนวยการเรียนรู มีการบันทึก

ผลการประเมินอยางเปนระบบจากการจัดการเรียนการสอนดังกลาว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ

นักศึกษาสูงข้ึน และมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางอยูในระดับ

มาก

2. วัตถุประสงคของการวิจัย

2.1 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชา

สังคมภิวัตนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

2.2 เพ่ือศึกษาขอเสนอแนะตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

รายวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

3. ขอบเขตในรายการวิจัย

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เปนการมุงศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาทีมีตอการจัดการเรียน

การสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน กลุมเรียนท่ี 02, 03, 04, 24 และ36 ภาคเรียน

ท่ี 1 ปการศึกษา 2559 โดยกําหนดขอบของการศึกษาวิจัยดังนี้

ตัวแปรตาม ไดแก ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

Page 12: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

5

ประชากรท่ีใชในการวิจัย คือ นักศึกษาท่ีเรียนในรายวิชาสังคมภิวัตน กลุมเรียนท่ี 02, 03,

04, 24 และ 36 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2559 จํานวน 124 คน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

ระยะเวลาท่ีใชในการวิจัย ใชเวลา 7 เดือน ตั้งแต เดือนมีนาคม 2559 ถึง เดือนเมษายน

2560

4. ประโยชนที่ไดรับจากงานวิจัย

6.1 ผลผลิต (Output) ผลท่ีเกิดข้ึนทันทีหรือผลท่ีเกิดข้ึนโดยตรง หลังจากดําเนินการวิจัย

เสร็จสิ้น

-ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษากลุมเรียนท่ี 02,03,04,24 และ 36 จํานวน 124 คน ดีข้ึน

-นักศึกษามีความพึงพอใจอยูในระดับมาก

6.2 ผลลัพธ (Outcome) ผลท่ีเกิดตอเนื่องมาจากผลผลิต

- ไดนําขอมูลมาใชในการจัดกระบวนการเรียนการสอนตอไป

6.3 กลุมเปาหมายการใชประโยชนจากผลงานวิจัย

-นักศึกษาทุกกลุมท่ีผูวิจัยจัดการเรียนการสอนในภาคเรียนถัดไป

5. นิยามศัพทเฉพาะที่ใชในการวิจัย

5.1 ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึก ความคิด อารมณทางดานบวกท่ีมีตอการจัดการ

เรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางของนักศึกษา ท่ีเรียนวิชาสังคมภิวัตน กลุมเรียนท่ี 02, 03, 04,

24 และ 36 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2559

5.2 การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง หมายถึง การจัดการเรียนการ

สอนท่ียึดผูเรียนเปนตัวตั้ง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมกับผูเรียนและประโยชนสูงสุดท่ีผูเรียนควรจะ

ไดรับ และมีการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนมีบทบาทสําคัญในการเรียนรู ไดมีสวน

รวมในกิจกรรมการเรียนรูอยางตื่นตัว และไดใชกระบวนการเรียนรูคาง ๆ อันจะนําผูเรียนไปสูการเกิด

การเรียนรูท่ีแทจริง

5.3 การใชส่ือการเรียนการสอน หมายถึง การใชสื่อการสอนท่ีหลากหลาย เชน เอกสาร

ประกอบการสอน เปนเอกสารหลัก เอกสารประเภทวารสาร หนังสื่อพิมพรายวัน ขาวและเหตุการณ

รายวัน สื่อเทคโนโลยี เชนPower Point วีดีทัศนรูปแบบตาง ๆท่ีเหมาะสม ศึกษาแหลงเรียนรู และ

เชิญวิทยากรมาใหความรู เปนตน

7.4 การวัดและการประเมินผล หมายถึงการทดสอบกอนเรียน–หลังเรียนทุกหนวยการ

เรียนรู มีการสอบกลางภาค สอบปลายภาค สัดสวน 70:30 มีการประเมินตามสภาพจริงทุกกิจกรรมท่ี

ใชในการจัดการเรียนการสอน การทําแบบฝกหัดทายบทเรียน การศึกษาคนควาดวยตนเองใชการ

ประเมินแบบรูบิคส

Page 13: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

6

Page 14: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

6

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

รายวิชา สังคมภิวัตน ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีวัตถุประสงคของการวิจัยเพ่ือคือ (1)

เพ่ือศึกษาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตนของ

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และ (2) เพ่ือศึกษาขอเสนอแนะตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในรายวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผูวิจัยตองการ

พัฒนาบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของไทย (TQF) โดยนําเอาแนวปรัชญา

อุดมศึกษาไทย: 5 กลุม คือ ปรัชญากลุมอุดมคติ กลุมปญญานิยม กลุมชุมชนนิยม กลุมปฏิบัตินิยม

และกลุมเทคโนโลยีนิยม โดยจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง บนฐานแนวทางการผลิต

บัณฑิต 5 รูปแบบ และศึกษาเอกสาร ตํารา หนังสือท่ีเก่ียวของกับ การจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลาง ดังนี้

1. กลยุทธการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

2. การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

3. หลักการและแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนรวมสมัย

3.1 หลักการจัดการเรียนการสอนโดยยึดครูเปนศูนยกลาง

3.2 การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

4. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

4.1 ความหมาย

4.2 บทบาทของผูสอน

4.3 ลักษณะการจัดกิจกรรม

4.4 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

5.ความพึงพอใจ

5.1 ความหมาย

5.2 แนวคิดทฤษฏท่ีีเก่ียวของกับความพึงพอใจ

6.งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

1.กลยุทธการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

ไพฑูรย สินลารัตน ไดกลาวถึงการพัฒนาบัณฑิตไทยตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษา ไววาคุณภาพบัณฑิตไทยตามเกณฑ (1) ดานคุณธรรมจริยธรรม มีความประพฤติ

Page 15: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

7

อยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบสามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแยงกับคานิยมไดตาม

นิสัยและการสอนตามศีลธรรม (2) ดานความรู ตองมีความเขาใจ นึกคิดได วิเคราะหจํานวน แลวแต

ยุทธศาสตรในแตละดาน (3) ดานทักษะทางปญญา เนนความคิดเปนหลัก (4) ดานทักษะทาง

ความสัมพันธระหวางบุคคล และความรับผิดชอบซ่ึงสําคัญในการทํางาน (5) ดานทักษะการวิเคราะห

เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางมีผูใหความหมายเก่ียวกับการจัดการ

เรียนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ดังนี้

กาญจนา บุญสง (2542) ไดกลาวถึงรูปแบบของกิจกรรมการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางแบงได 2 ประเภท คือ (1) กิจกรรมท่ียึดกลุมผูเรียนเปนศูนยกลาง เปนกิจกรรมท่ีแบง

ผูเรียนออกเปนกลุมใหปฏิบัติงาน โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือฝกการทํางานรวมกับผูอ่ืน ฝกใหรูจักหนาท่ี

บทบาทของตนเอง ในการทํางานกลุม ฝกการวางแผนงานการจัดระบบงานกลุมกับผูอ่ืน และฝกการมี

มนุษยสัมพันธกับผูอ่ืน แบงได 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมกลุมใหญ และกิจกรรมกลุมยอย การจัด

กิจกรรมกลุมใหญและกลุมยอยข้ึนอยูกับจุดประสงคการสอน ลักษณะเนื้อหาวิชา เวลาท่ีกําหนด

ทักษะท่ีตองการฝก และปริมาณความยากงายของงาน ถามีจุดประสงคใหทุกคนไดแสดงออก ไดฝก

อยางจริงจัง การแบงกลุมยอยจะเหมาะสม ผูสอนจะไดสังเกตไดท่ัวถึงและชัดเจน แตถามีจุดประสงค

ใหขาวสารขอมูล แนวคิดอยางกวาง ๆ และมีเวลาจํากัด การแบงกลุมใหญก็นํามาใชได (2) กิจกรรมท่ี

ยึดผูเรียนเปนรายบุคคล เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมความแตกตางระหวางบุคคล มุงใหผูเรียนไดปฏิบัติงาน

ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจของแตละบุคคล ผูเรียนจะไดพัฒนาความสามารถของ

ตนเองอย าง เต็ม ท่ี เชน กิจกรรมการพูด การอ าน การแต ง คําประพันธ การ เล านิทาน

การรายงาน เปนตน

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2547) กลาวสรุปถึงลักษณะของการจัดกระบวนการ

ไววาเปนการจัดกระบวนการเรียนรูท่ี (1) มุงประโยชนสูงสุดแกผูเรียน (2) ผูเรียนไดพัฒนาเต็ม

ศักยภาพ (3) ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย (4) ผูเรียนสามารถ

นําวิธีการเรียนรูไปใชในชีวิตจริงได (5) ทุกฝายมีสวนรวมในทุกข้ันตอนเพ่ือพัฒนาผูเรียน

พิมพพันธ เตชะคุปตและคณะ (2554) ใหความหมายไววา การจัดการเรียนการสอนทียึด

ผูเรียนเปนสําคัญ (child Centered Approach) คือแนวการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนสราง

องคความรู ใหม และสิ่งประดิษฐใหม โดยการใชกระบวนการทางปญญา (กระบวนการคิด)

กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลุม) และใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธและมีสวนรวมในการเรียน

สามารถนําความรูไปประยุกตใชได โดยครูมีบทบาทเปนผูอํานวยการความสะดวกจัดประสบการณ

การเรียนรูใหแกผูเรียน

Page 16: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

8

ทิศนา แขมมณี (2557) การจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนเปนศูนยกลาง เปนการ

จัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนตัวตั้ง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมกับผูเรียนและประโยชนสูงสุดท่ี

ผูเรียนควรจะไดรับ และมีการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนมีบทบาทสําคัญในการ

เรียนรู ไดมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูอยางตื่นตัวและไดใชกระบวนการเรียนรูตาง ๆ อันจะนํา

ผูเรียนไปสูการเกิดการเรียนรูท่ีแทจริง

ดวงกมล สินเพ็ง (อางใน พิมพันธ เตชะคุปตและคณะ: 2554) ไดใหความหมายวาการเรียน

การสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง เนนใหผูเรียนสรางความรูใหม สรางสิ่งประดิษฐใหม โดยการใช

กระบวนการทางปญญา กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุม ผูเรียนสามารถนํา

ความรูไปประยุกตใชได โดยครูมีบทบาทเปนผูอํานวยความสะดวก

สรุป ความหมายของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง หมายถึงการ

จัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนตัวตั้ง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและผลประโยชนท่ีผูเรียนจะ

ไดรับ โดยมีครูเปนผูอํานวยความสะดวกในการจัดประสบการณใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรม

อยางตื่นตัว และใชกระบวนการเรียนรูดวยวิธีการท่ีหลากหลายนําผูเรียนไปสูการเรียนรูท่ีแทจริง

3.หลักการและแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนรวมสมัย

3.1 หลักการจัดการเรียนการสอนโดยยึดครูเปนศูนยกลาง (Teacher-Centered

Instruction)

ทิศนา แขมมณี ไดกลาววา การจัดการเรียนการสอนในลักษณะท่ีครูเปนศูนยกลาง

นั้นยึดครองอํานาจในการเรียนรูของผูเรียนมาเปนเวลานาน ซ่ึงหากจะพิจารณาตามวิวัฒนาการของ

ทฤษฏีหลักการและแนวคิดทางการศึกษาควรจะหมดอํานาจไปนานแลว แตในความเปนจริงใน

ประเทศไทยการจัดการเรียนการสอนในลักษณะท่ีครูเปนศูนยกลาง หาหมดอํานาจไม ยังคงครอง

อํานาจอยูอยางเหนียวแนน เปนเหตุใหตองมีการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู ความพยายามในการ

ปฏิรูปการศึกษาไดสงผลใหประเทศไทยมีพระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ.2542 เปนกฎหมาย

การศึกษาฉบับแรกของประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้ ไดระบุไวอยางชัดเจนวากระบวนการเรียน

การสอนจะตองยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง อยางไรก็ตามผูเขียนมีความเห็นวา การจัดการเรียนการสอน

หรือวิธีสอนทุกแบบ ลวนมีประโยชนและใชได หากทําไดดีและเหมาะสมกับเนื้อหา ผู เรียน

สถานการณ และวัตถุประสงค ดังนั้นครูจึงไมควรละท้ิงวิธีใด ๆ แตควรศึกษาวิธีการท่ีมีอยูอยาง

หลากหลายใหเขาใจ และฝกฝนตนเองใหทําไดดี เพ่ือท่ีจะสามารถเลือกมาใชใหเหมาะสมกับเนื้อหา

สาระ ผูเรียน สถานการณ และวัตถุประสงค ท่ีมีอยูอยางหลากหลาย

นอกจากนี้ยังไดนําเสนอหลักการจัดการเรียนการสอนทางตรง ซ่ึงนับวาเปนการ

จัดการเรียนการสอนท่ียึดครูเปนศูนยกลาง และไดรับความนิยมมาก เนื่องจากเปนการจัดการเรียน

การสอนท่ีมุงใหผูเรียนไดเรียนรูตามเนื้อหาสาระ ขอความรู ขอมูล ขอเท็จจริง รวมทักษะตาง ๆ ได

Page 17: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

9

อยางรวดเร็วและเปนท่ีเขาใจของผูเรียน ผูสอนตองมีการวางแผนอยางดีในการนําเสนอขอมูลความรู

อยางกระซับ ชัดเจน และนําเสนออยางเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการเรียนรูและวัยของผูเรียน

การสอนแบบนี้ไดรับการนําไปใชและพิสูจนทดสอบแลววามีประสิทธิภาพจริง โดยมีรูปแบบการ

จัดการเรียนการสอนทางตรง (Direct Instruction) ดังนี้

ก. หลักการ

(1) การจัดเนื้อหาสาระอยางเหมาะสม เปนไปตามลําดับข้ันตอน หรือลําดับของมโน

ทัศนจากข้ันท่ีเปนพ้ืนฐานไปสูข้ันสูงซับซอนข้ึน จะชวยใหผูเรียนสามารถเขาใจเนื้อหาสาระนั้นไดดี

(2)การตรวจสอบพ้ืนฐานความรูเดิมท่ีผูเรียนจําเปนตองใชในการทําความเขาใจ

ความรูใหมเปนสิ่งจําเปนในการเรียนรูสิ่งใหม ชวยใหเรียนรูสิ่งใหมไดดีและรวดเร็วข้ึน

(3)การนําเสนอเนื้อหาสาระอยางกระซับ ชัดเจน โดยมีตัวอยางประกอบ รวมท้ังให

ผูเรียนซักถาม จะชวยใหผูเรียนเรียนรูไดเร็วข้ึน

(4)การฝกปฏิบัติท่ีใชความรูหรือทักษะท่ีเรียนรุ เปนสิ่งจําเปน การฝกปฏิบัติชวยให

ผูเรียนสามารถนําความรู ขอมูล หรือ ทักษะสูการกระทํา และชวยทําใหเกิดความเขาใจในขอความรู

นั้นอยางลึกซ้ึง

(5)การไดรับขอมูลปอนกลับหรือทราบผลการปฏิบัติของตนเองจะชวยใหผูเรียนเกิด

การเรียนรู และสารมารถปรับปรุงการปฏิบัติของตนใหอยูในระดับท่ีตองการ

(6) การฝกปฏิบัติอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอ ชวยใหเกิดทักษะความชํานาญ

สรุป หลักการจัดการเรียนการสอนตรง มีหลักการท่ีสําคัญคือ เนื้อหาสาระท่ีจะใช

สอนไดจัดลําดับจากงายไปสูยาก ตองประเมินความรูเดิมของผูเรียนกอนเพ่ือใหผูเรียนตอยอดความรู

ใหมไดอยางชัดเจน ผูสอนตองนําเสนอเนื้อหาอยางกระซับตรงตามวัตถุประสงค เปดโอกาสใหผูเรียน

ไดฝกปฏิบัติจริง ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และปรับปรุงการปฏิบัติของตนใหอยูในระดับท่ีตองการ

ผูเรียนไดปฏิบัติอยางตอเนื่องจนเกิดความชํานาญ

ข. นิยาม

การจัดการสอนการสอนทางตรง หมายถึงการดําเนินการใหผูเรียนสามารถเรียนรู

ขอมูลความรู ขอเท็จจริงหรือวิธีการ กระบวนการตาง ๆอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยการ

ถายทอดขอมูลนั้นอยางตรงไปตรงมาดวยวิธีการหรือกระบวนการท่ีไดรับการยอมรับวาใชไดผลผลจาก

งานวิจัย หรือจากขอความรูทางทฤษฏีหรือหลักการตาง ๆ

อนึ่งหนึ่งการถายทอดขอมูล ความรูดังกลาว ไมไดหมายถึงการถายทอดดวยการ

บรรยายท่ียาวเปนชั่วโมง โดยท่ีผูบรรยายพูดไปเรื่อย ๆ แตเปนการบรรยายท่ีกระทําอยางกระซับ ตรง

ประเด็นและมีความเหมาะสมกับวัยของผูเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งเปนการบรรยายอยางเหมาะสมกับ

Page 18: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

10

เนื้อหาและเหมาะสมกับเวลา เหมาะสมกับวัตถุประสงค การบรรยายในลักษณะของการสอนโดยตรง

นี้ ควรใชวัตถุประสงคในการถายทอดเนื้อหาสาระท่ีไมอยูในตําราเรียน แบบเรียน หรือแบบฝกหัด

ในกรณีท่ีเนื้อหาสาระในตําราหรือบทเรียนมีมากเกินไป หรือยากเกินไปสําหรับ

ผูเรียน ผูสอนและสามารถใชสอนตรงบรรยายอธิบายเนื้อหาสาระเหลานั้นอยางกระซับ ดวยภาษาท่ี

งายสําหรับผูเรียนท่ีจะเขาใจ กรณีท่ีเหมาะสมอีกกรณีหนึ่งก็คือ การสอนทางตรงดวยการกระตุนให

ผูเรียนสนใจ ในกรณีท่ีผูเรียนเกิดความเบื่อหนายหรือทอแทในการท่ีจะอานเอกสารท่ีไดรับมอบหมาย

ผูสอนใชการบรรยายนําเสนอเนื้อหานั้นโดยการปรุงแตง เพ่ิมเติมสิ่งท่ีนาสนใจ หรือสื่อท่ีสามารถจูงใจ

ผูเรียนเขาไป หรืออาจจะชี้ใหเห็นถึงประโยชนท่ีผูเรียนจะไดรับหากไมไดอานเนื้อหาสาระนั้น ท่ีกลาว

มาท้ังหมดนับเปนกรณีท่ีเหมาะสมสําหรับสอนทางตรงในขณะเดียวกันผูสอนตองตระหนักวา การ

เรียนรูมีหลายประเภท หากวัตถุประสงคในการสอนไมใชเปนการใหผูเรียนรูขอมูลความรูแตตองให

ผูเรียนไดเรียนรูในระดับสูงข้ึน เชน กระบวนการแกปญหา การวิเคราะหสังเคราะห หรือการสรางเจต

คติ คานิยมตาง ๆการใชการสอนทางตรง อาจจะไมเหมาะสมหรือไมเพียงพอตอการบรรลุจุดประสงค

ดังกลาว

ค ตัวบงชี้ของการจัดการเรียนการสอนทางตรง

กระบวนการจัดการเรียนการสอนทางตรงโดยท่ัวไปมี 7 ข้ันตอน ตังบงชี้ท่ีสําคัญของ

การจัดการเรียนการสอน จึงประกอบดวย

(1) มีการจูงใจผูเรียนใหความสนใจตอสิ่งท่ีนําเสนอ

(2) มีการแจงวัตถุประสงคของการเรียนการสอน

(3) มีการทบทวนความรูเดิมท่ีเปนพ้ืนฐานของความรูใหม

(4) มีการนําความรูใหมหรือเนื้อหาสาระท่ีตองการถายทอดใหผูเรียนโดยการสอน

(5) มีการใหผูเรียนแสดงพฤติกรรมการเรียนรู ซ่ึงเปนการนําความรูไปใชหรือเปนการ

ฝกทักษะท่ีไดเรียนรูไป

(6) ผูสอนใหขอมูลปอนกลับเก่ียวกับพฤติกรรมการเรียนรูท่ีผูเรียนแสดงออก

(7) ผูสอนประเมินการเรียนรู

ในการจัดการเรียนการสอนทางตรง ผูวิจัยนํารูปแบบการเรียนการสอนทางตรงท่ียึด

ครูเปนศูนยกลางผสมกับการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยนําเอาความเชื่อท้ัง

สองอยาง คือความเชื่อแรกท่ีเชื่อวา การสอนทางตรงควรจะศึกษาจากครูผูสอนท่ีสามารถสอนไดผลดี

และความเชื่อท่ีสองท่ีเชื่อวา ควรจะจัดตามทฤษฏีหรือหลักการสอนท่ีเปนท่ียอมรับกันแลว โดยผูวิจัยมี

ความเชื่อวา การจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางตื่นตัวนั้น สวนหนึ่งมาจากการ

จัดการเรียนรูทางตรงจากครูผูสอนเปนครูตนแบบในการจัดการเรียนการสอน ครูตนแบบจึง

จําเปนตองศึกษาทฤษฏีและหลักการสอนอยางตื่นตัวและมีความเขาใจในทฤษฎีและหลักการ แลวจึง

Page 19: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

11

คิดหารูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยการทําวิจัยแบบทดลองจนมีรูปแบบการสอนเปนของ

ตนเอง ผูวิจัยเปนบุคคลหนึ่งท่ีจัดการเรียนการสอนทางตรงแบบใชทฤษฏีการเรียนรูรูปแบบ

The Mastery Teaching Program หรือการสอนเพ่ือการรูจริง และการจัดการเรียนการสอนทียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยใชรูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนกระบวนการกลุม (Group-

Process Based Instruction) และรูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยเนนกระบวนการเรียนรูดวย

ตนเอง (Instruction Emphasizing Self –Learning Process) ซ่ึงมีรายละเอียดของรูปแบบ

ดังตอไปนี้

(1) การจัดการเรียนการสอนทางตรงแบบใชทฤษฏีการเรียนรู (Learning Theory-

Based Direct Instruction)

รูปแบบ “The Mastery Teaching Program” หรือโปรแกรมการสอนเพ่ือการรู

จริงเปนรูปแบบท่ีพัฒนาโดย ฮัมเทอร (Hunter) ใชทฤษฏีการเรียนรูของกานเย (Gagne) ประกอบ

ดัวยข้ันตอนสําคัญ คือ (1) ข้ันเตรียมความพรอมของผูเรียน (2) ข้ันการใหขอมูลและการแสดงตัวแบบ

(3) ข้ันตรวจสอบความเขาใจ (4) ข้ันใหผูเรียนฝกปฏิบัติตามคําแนะนําการจัดการเรียนการสอนโดยยึด

ผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student-Centered Instruction)

(2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยเนนกระบวนการกลุม (Group Process-

Based Instruction)

ก. หลักการ กระบวนการกลุม เปนกระบวนการในการทํางานรวมกันของบุคคล

ตั้งแตสองคนข้ึนไป โดยมีวัตถุประสงครวมกัน และมีการดําเนินงานรวมกัน โดยผูนํากลุม และสมาชิก

กลุมตางก็ทําหนาท่ีของตนอยางเหมาะสม และมีกระบวนการทํางานท่ีดี เพ่ือนํากลุมไปสูวัตถุประสงค

ท่ีกําหนดไว การเปดโอกาสใหผูเรียนเรียนรูกระบวนการทํางานกลุมท่ีดีจะชวยใหผูเรียนเกิดทักษะทาง

สังคม และขยายขอบเขตการเรียนรูใหกวางขวางข้ึน

ข นิยาม การจัดการเรียนการสอนโดยเนนกระบวนการดลุม คือการดําเนินการเรียน

การสอนโดยท่ีผูสอนใหผูเรียนทํางาน/กิจกรรมกันเปนกลุม พรอมท้ังสอน/ฝก/แนะนําใหผูเรียนเกิด

การเรียนรูเก่ียวกับกระบวนการทํางานกลุมท่ีดีควบคูไปกับการชวยใหผูเรียนเกิดเรียนรูเนื้อหาสาระ

ตามวัตถุประสงค

ค. ตัวบงชี้ (1) ผูเรียนมีปฏิสัมพันธ/ทํางาน/ทํากิจกรรม/รวมกันเปนกลุม เพ่ือใหเกิด

การเรียนรูตามวัตถุประสงค (2) ผูสอนมีการฝก/ชี้แนะ/สอนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเก่ียวกับ

กระบวนการทํางานกลุมท่ีในจุดใดจุดหนึ่งของกระบวนการ เชน ในเรื่องของบทบาทผูนํากลุม บทบาท

สมาชิกกลุมกระบวนการทํางานกลุม องคประกอบอ่ืน ๆท่ีเก่ียวของ (3) ผูเรียนมีการวิเคราะหการ

เรียนรูของตนเองท้ังในดานเนื้อหา สาระท่ีเรียน และกระบวนการทํางานรวมกัน (4) ผูสอนมีการ

วิเคราะหและประเมินผลการเรียนท้ังในดานเนื้อหา และกระบวนการกลุม

Page 20: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

12

(3) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยเนนกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง

(Instruction Emphasizing Self-Learning Process)

ก. หลักการ ผูเรียนทุกคนมีความสนใจใฝรูเปนธรรมชาติ หากไดรับกาสงเสริมให

รับผิดชอบการเรียนรูของตนและไดรับการฝกฝนทักษะท่ีจําเปนตอการศึกษาหาความรูดวยตนเอง

ผูเรียนสามารถเรียนรูในสิ่งท่ีตนสนใจไดตลอดชีวิต

ข. นิยามการจัดการเรียนการสอนโดยเนนกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง หมายถึง

การจัดสภาพการณของการเรียนการสอนท่ีผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนดําเนินการศึกษาหาความรูดวย

ตนเองผูเรียนสามารถเลือกหัวขอ เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไดตามความสนใจ โดยมี

ผูสอนชวยสงเสริมใหผูเรียนเกิดความใฝรู ชวยพัฒนาทักษะในการเรียนรู ดวยตนเอง และชวยให

คําปรึกษาแนะนําตามความเหมาะสมเก่ียวกับการหาแหลงความรู วิธีการศึกษาคนควาหาความรู การ

วิเคราะหและสรุปขอความรู

ค. ตัวบงชี้ (1) ผูเรียนมีการเลือกหัวขอ เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนได

ตามความสนใจหรือความถนัด (2) ผูเรียนมีการจัดเตรียมหรือออกแบบเนื้อหา/วัสดุ/สื่อ/กิจกรรมให

ผูเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเอง(3) ผูสอนมีการพูดคุยกับผูเรียนเก่ียวกับศึกษาหาความรูดวยตนเอง

โดยใหคําแนะนําหรือใหความรูเก่ียวกับหัวขอ เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนท่ีผูเรียนเลือก

(4) ผูเรียนดําเนินการศึกษาหาความรูดวยตนเอง (5) ผูสอนมีการพบปะกับผูเรียนเปนระยะ ๆ มีการ

นําผลการศึกษาคนควาดวยตนเองมาพูดคุยกัน อภิปรายในแงมุมตาง ๆ เพ่ือตรวจสอบความเขาใจ

และความถูกตองของขอความรู มีการชี้แนะสิ่งท่ีผิดพลาด มีการพูดคุยกันถึงประเด็นปญหาตาง ๆ

และมีการกระตุนใหผูเรียนเกิดความใฝรูใฝเรียนตอไป(6)ผูสอนมีการวัดและประเมินผลการเรียน ท้ัง

ทางดานเนื้อหาและกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง

สรุปรูปแบบการจัดการเรียนการสอนท้ัง 3 รูปแบบ เปนกระบวนการจัดการเรียน

การสอนท้ังยึดครูเปนศูนยและยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง เปนกระบวนการเรียนรูท้ังทางตรงท่ีทําให

ผูเรียนรูไดเร็วและมีความเขาใจในเนื้อหาสาระ ขอความรู ขอมูลขอเท็จจริง รวมท้ังทักษะตาง ๆ ทําให

ผูเรียนมีพ้ืนฐานความรูท่ีเทาเทียมกัน ทําใหผูเรียนทํางานรวมกับบุคคลอ่ืนอยางมีความสุข และมีความ

รับผิดชอบตามบทบาทหนาท่ีอยางเหมาะสม มีกระบวนการทํางานท่ีดี นําไปสูวัตถุประสงคท่ีกําหนด

ไว ทําใหผูเรียนไดเรียนรูกระบวนการทํางานกลุมท่ีดี เม่ือผูเรียนมีทักษะในเนื้อหาความรูท่ีเรียนดี มี

กระบวนการเรียนรูท่ีดี ครูผูสอนกระตุนใหผูเรียนศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมดวยตนเองในเรื่องท่ีตนเอง

ชื่นชอบ เพ่ือพัฒนาทักษะในการเรียนรูดวยตนเอง สอดคลองกับหลักการท่ีวา หากผูเรียนไดรับการ

สงเสริมใหรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง และไดรับการฝกฝนทักษะท่ีจําเปนตอการศึกษาหาความรู

ดวยตนเอง ผูเรียนจะสามารถเรียนรูในสิ่งท่ีตนสนใจไดตลอดชีวิต

Page 21: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

13

3.2 การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student–Centered

Instruction)

ทิศนา แขมมณี ไดกลาวแลววา แนวคิดเรื่อง การจัดการเรียนรูดวยการกระทําการ

สอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางนั้น เริ่มมาตั้งแตมีการใชคําวา “instruction” หรือ การเรียนการสอน

แทนคําวา “Teaching”หรือ การสอน โดยมีแนวคิดวา ในการสอนครูตองคํานึงถึงการเรียนรูของ

ผูเรียนเปนสําคัญ และชวยใหผูเรียนเกิดเรียนรูดวยวิธีการตาง ๆมิใชเพียงแตการถายทอดความรู

เทานั้น เชน การใหผูเรียนเรียนรูดวยการกระทํา แตเนื่องจากการเรียนการสอนท่ียึดครูเปนศูนยกลาง

เปนวิธีท่ีสะดวกและงายกวา รวมท้ังครูมีความเคยชินกับการปฏิบัติแบบเดิม ประกอบกับการไมรับ

การสนับสนุนสงเสริมใหปฏิบัติตามแนวคิดใหมอยางเพียงพอ การสอนท่ียึดครูเปนศูนยกลางจึงยัง

ครองอํานาจอยางเหนียวแนนมาจนถึงปจจุบัน

ในทางปฏิบัติ ประเทศไทยมิไดมีการปฏิบัติกันตามแนวคิดของ “instruction”

เพียงแตใชคํานี้ในความหมายของ “Teaching” แตดั้งเดิมหรือพูดงาย ๆวาเราใชศัพทใหมใน

ความหมายเดิม โดยไมไดเปลี่ยนกระบวนทัศน (paradigm) ไปตามศัพทใหมท่ีนํามาใช ดังนั้น จึง

จําเปนทีจะตองสรางความเขาใจในเรื่องการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลางอีกครั้งหนึ่ง แม

แนวคิดจะยังเปนเชนเดิม แตก็ไดขยายขอบเขตออกไปกวางขวางกวาเดิมเม่ือมีการประกาศวา ครู

จะตองปฏิรูปกระบวนการเรียนรู โดยการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ครูตางก็ถาม

กันวาสอนอยางไรท่ีจะใหผูเรียนเปนศูนยกลาง ปญหาประการหนึ่งเกิดข้ึน คือ คําตอบมีหลากหลาย

ตรงกันบางไมตรงกันบาง ทําใหครูเริ่มสับสน ในแงท่ีตนเองทําลงไปนั้นถูกตองหรือไม ดังนั้น จึงตองทํา

ความเขาใจในความหมายใหตรงกันกอนวา “ผูเรียนเปนศูนยกลาง” นั่นคืออะไร เพ่ือจะไดเขาใจใน

เนื้อหาสาระท่ีจะนําเสนอ

การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง เปนจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนตัวตั้ง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมกับประโยชนสูงสุดท่ีผูเรียนควรจะไดรับ และมีการจัด

กิจกรรมการเรียนรูท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนมีบทบาทสําคัญในการเรียนรู มีสวนรวมในกิจกรรมการ

เรียนรูอยางตื่นตัว และใชกระบวนการเรียนรูตาง ๆอันจะนําผูเรียนไปสูการเกิดเรียนรูท่ีแทจริงจาก

ขอความดังกลาวนั่น มี“คํา”ท่ีจําเปนตองทําความเขาใจ เชน “การมีสวนรวมอยางตื่นตัว” และ“การ

เรียนรูท่ีแทจริง”

คําวาการมีสวนรวมอยางตื่นตัวมาจากศัพทภาษาอังกฤษคือactive participation

หมายถึงการมีสวนรวมท่ีผูเรียนรูเปนจัดกระทํากับสิ่งเรามิใชเพียงแตรับจากสิ่งเราหรือการมีสวนรวม

อยางเปนผูรับเทานั้นการมีสวนรวมอยางตื่นตัวจะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางแทจริง ควรเปน

การตื่นตัวอยางรอบดานท้ังทางดานกาย สติปญญา สังคมและอารมณ เพราะพัฒนาการท้ัง 4 ดานมี

ความสัมพันธตอกันและกัน สงผลตอการเรียนรูของผูเรียน ดังนี้

Page 22: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

14

(1) การมีสวนรวมอยางตื่นตัวทางกาย คือ การใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการ

เรียนรูท่ีชวยผูเรียนไดเคลื่อนไหวรางกายทํากิจกรรตาง ๆท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะของ

ผูเรียน เพ่ือชวยใหรางกายและประสาทการรับรูตื่นตัว พรอมท่ีจะรับรูและเรียนรูไดดี

(2) การมีสวนรวมในการตื่นตัวทางสติปญญา คือ การใหผูเรียนมีสวนในกิจกรรมการ

เรียนรูท่ีชวยใหผูเรียนไดมีการเคลื่อนไหวทางสติปญญา หรือสมอง ไดคิด ไดกระทําโดยใชความคิด

เปนการใชสติปญญาของตนสรางความหมาย ความเขาในสิ่งท่ีเรียนรู

(3) การมีสวนรวมอยางตื่นตัวทางอารมณ คือ การใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียนรูท่ีชวยใหผูเรียนไดมีการเคลื่อนไหวทางอารมณหรือความรูสึก เกิดรูสึกตาง ๆอันจะนําผูเรียน

เกิดการเรียนรูท่ีดีในเรื่องท่ีเรียนรูอารมณและความรูสึกของบุคคลชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท่ีดีใน

เรื่องท่ีเรียนรูอารมณและความรูสึกของบุคคลชวยใหการเรียนรูมีความหมายตอตนเอง และตอการ

ปฏิบัติมากข้ึน

(4) การมีสวนรวมอยางตื่นตัวทางสังคม คือ การใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการ

เรียนรู ท่ีชวยใหผู เรียนมีการเคลื่อนไหวทางสังคมหรือการปฏิสัมพันธทางสังคมกับผู อ่ืน และ

สิ่งแวดลอมรอบตัว เนื่องจากการเรียนรูเปนกระบวนการทางสังคม การไดแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกัน

และกัน จะขวนขยายขอบเขตการเรียนรูของบุคคลใหกวางขวางข้ึน และการเรียนรูเปนกระบวนการท่ี

สนุก มีชีวิตชีวามากข้ึน หากผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน

หากผูสอนสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรูท่ีสงเสริมใหผูเรียนมีบทบาทสําคัญ

ในการเรียนรู โดยมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูอยางตื่นตัวใน 4 ดาน คือ การเคลื่อนไหวปฏิบัติ

กิจกรรมตาง ๆ (กาย) ไดใชความคิด (สติปญญา) ไดมีปฏิสัมพันธแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูอ่ืน (สังคม)

และเกิดอารมณความรูสึกอันจะชวยใหการเรียนรูมีความหมายตอตน (อารมณ) การมีสวนรวมใน

ลักษณะดังกลาวจะเปนปจจัยสงผลใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท่ีแทจริงไดดี

คําวาการเรียนรูท่ีแทจริง หมายถึง ผลการเรียนท่ีเกิดข้ึน (ซ่ึงอาจจะเปนความรู

ความเขาใจ ทักษะ เจตคติ คุณลักษณะ เปนตน) จากกระบวนท่ีบุคคลไดรับรู และจัดกระทําตอสิ่งเรา

ตาง ๆเพ่ือสรางความหมายของสิ่งเรา(สิ่งท่ีเรียนรู) นั้นเชื่อมโยงกับความรูและประสบการณเดิมของ

ตน จนเกิดเปนความหมายท่ีตนเขาใจ อยางแทจริง และสามารถอธิบายตามความเขาใจของตนไดจาก

คําอธิบายขางตน จะเห็นไดวา การมีสวนรวมอยางตื่นตัวเปนกระบวนการท่ีชวยนําผูเรียนไปสูการเกิด

การเรียนรูท่ีแทจริง ปกติโดยท่ัวไปแลว ครูผูสอนจะจัดการเรียนการสอนเชนนี้ได ก็ตองดําเนินการท่ี

สําคัญ 2 ประการ คือ

(1) ครูตองจัดเตรียมกิจกรรม ประสบการณท่ีจะเอ้ือใหผูเรียนมีสวนรวมอยางตื่นตัว

และไดใชกระบวนการเรียนรูท่ีเหมาะสมเพ่ือนําไปสูการเกิดการเรียนรูท่ีแทจริงตามจุดประสงคท่ีตั้งไว

Page 23: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

15

(2) ในขณะดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ครูควรลดบทบาทของตนเองลงและ

เปลี่ยนแปลงบทบาทจากการถายทอดความรูไปเปนผูอํานวยความสะดวก ชวยใหผูเรียนดําเนิน

กิจกรรมการเรียนรูไดอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ

4.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

มัทนิน วรมาลา (2558) กลาววา การจัดการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงประโยชนของผูเรียน

เปนปราการสําคัญ ใครก็ตามท่ีเปนคนสําคัญของเรา เรายอมมีความรักความปรารถนาใหแกเขา จะ

คิดจะทําอะไรก็มักจะคิดถึงเขากอนคนอ่ืน และคิดถึงประโยชนท่ีเขาควรจะไดรับ การเปลี่ยนบทบาท

การเรียนรูของผูเรียนจากการเปน “ผูรับ” มาเปน “ผูเรียน”และเปลี่ยนบทบาทของครู จาก “ผูสอน”

หรือ ผูถานทอดขอมูลความรู มาเปน “ผูจัดประสบการณเรียนรู” ใหผูเรียน ซ่ึงการเปลี่ยนแปลง

บทบาทนี้เทากับเปนการเปลี่ยนแปลงจุดเนนของการเรียนรูวา อยูท่ีผูเรียนมากวาผูสอน ดังนั้น ผูเรียน

จึงกลายเปนศูนยกลางของการสอน เพราะบทบาทในการเรียนรูสวนใหญ จะอยูท่ีตัวผูเรียนเปนสําคัญ

การท่ีครูจะจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลางใหไดผลดีสูงสุดนั้น กอนอ่ืนตองมีความ

เขาใจท่ีถูกตองวา “ศูนยกลาง” นั้นคืออะไร หรือเปนอยางไร การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียน

เปนศูนยกลางโดยการใหผูเรียนเปนจุดสนใจ หรือเปนผูมีบทบาทในท่ีนี้คงไมไดหมายถึงการบทบาท

อันใด นอกจากในการเรียนรู

4.1 ความหมาย

นักการศึกษาหลายทานไดใหความหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียน

เปนศูนยกลางมีดังนี้

วัฒนาพร ระวันทุกข (2542) กลาววา การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

หมายถึง การจัดการเรียนการสอนท่ีมุงเนนการจัดกิจกรรมท่ีสอดคลองกับการดํารงชีวิต เหมาะสมกับ

ความสามารถและความสนใจของผูเรียน โดยใหผูเรียนมีสวนรวมและลงมือปฏิบัติจริงทุกข้ันตอน จน

เกิดการเรียนรูดวยตนเอง

กระทรวงศึกษาธิการ(2542) กลาวสรุปถึงลักษณะของการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีผูเรียน

สําคัญท่ีสุดไววาเปนการจัดกระบวนการเรียนรูท่ี (1) มุงประโยชนสูงสุดแกผูเรียน (2) ผูเรียนไดพัฒนา

เต็มตามศักยภาพ (3) ผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย (4) ผูเรียน

สามารถนําวิธีการเรียนรูไปใชในชีวิตจริงได (5) ทุกฝายมีสวนรวมในทุกข้ันตอนเพ่ือพัฒนาผูเรียน

พิมพิมพ เตขะคุปตและคณะ (2554) ใหความหมายไววา การเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง คือแนวการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนใหผูเรียนสรางความรูใหม และสิ่งประดิษฐใหม โดย

การใชกระบวนการทางปญญา (กระบวนการคิด) กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลุม) และให

ผูเรียนมีปฏิสัมพันธและมีสวนรวมในการเรียน สามารถนําความรูไปประยุกตใชได โดยครูมีบทบาท

เปนผูอํานวยความสะดวกจัดประสบการณการเรียนรูใหแกผูเรียน

Page 24: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

16

สรุป การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง หมายถึง การจัดกิจกรรมโดยวิธี

ตาง ๆ อยางหลากหลาย ท่ีผูเรียนมีบทบาทสําคัญในการเรียนรู ไดคิด คนควา ไดปฏิบัติและ

ปฏิสัมพันธกับกลุม เพ่ือใหเกิดการเรียนรูอยางแทจริง และสามารถนําความรูไปประยุกตใชไดในชีวิต

จริง

4.2 บทบาทของผูสอน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการจัดการเรียนรู โดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ผูสอน

จะเปลี่ยนบทบาทจากการเปนผูชี้นํา ผูถายทอดความรู ไปเปนผูชวยเหลือสงเสริมและสนับสนุนผูเรียน

ในการแสวงหาความรูจากสื่อและแหลงเรียนรูตาง ๆ และใหจอมูลท่ีถูกตองแกผูเรียน เพ่ือนําขอมูล

เหลานั้นไปสรางสรรคความรูของตน ซ่ึงอาจกลาวไดวา ผูสอนมีบทบาทเปนผูอํานวยความสะดวกใน

การเรียนรูใหแกผูเรียน ดังท่ี

ชาติ แจมนุช และคณะ (ม.ป.ท.) ไดกลาววาวา ครูผูสอนเปนผูอํานวยความสะดวกและทํา

หนาท่ีตอไปนี้ (1) เปนผูจัดการ (Manager) เปนผูกําหนดบทบาทใหนักเรียนทุกคนไดมีสวนเขารวม

ทํากิจกรรมแบงกลุมหรือจับคูเปนผูมอบหมายงานหนาท่ีรับผิดชอบแกนักเรียนทุกคน จัดการใหทุกคน

ไดทํางานท่ีเหมาะสมกับความสามารถและความสนใจของตน (2) เปนผูรวมทํากิจกรรม (An active-

participant) เขารวมทํากิจกรรมในกลุมจริง ๆ พรอมท้ังใหความคิดและความเห็นหรือเชื่อมโยง

ประสบการณสวนตัวของนักเรียนขณะทํากิจกรรม(3) เปนผูชวยเหลือและเปนแหลงวิทยาการ

(Helper and resource) คอบใหคําตอบเม่ือนักเรียนตองการความชวยเหลือทางวิชาการ การให

ขอมูลความรูในขณะท่ีนักเรียนตองการซ่ึงจะชวยใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพมากข้ึน (4) เปน

ผูสนับสนุนและเสริมแรง (Supporterand encourager) ชวยสนับสนุนสื่ออุปกรณหรือใหคําแนะนําท่ี

ชวยกระตุนใหนักเรียนสนใจเขารวมกิจกรรมหรือฝกปฏิบัติดวยตนเอง(5) เปนผูติดตามตรวจสอบ

(Monitor) คอยตรวจสอบผลงานท่ีนักเรียนผลิตข้ึนมากอนท่ีจะสงตอไปใหนักเรียนคนอ่ืน ๆ

สรุป บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง เปนผูจัดการ

เปนผูชวยทํากิจกรรม เปนผูชวยเหลือและแหลงวิทยาการ เปนผูสนับสนุนและเสริมแรง และเปน

ติดตามตรวจสอบ และท่ีสําคัญตองเปนครูสอนผูเรียนโดยวิธีบูรณาการเนื้อหาวิชา ใหนักเรียนมีสวน

รวมในการวางแผนของหลักสูตร มีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนสอนทุกข้ันตอน มุงเนนใหผูเรียน

ทํางานเปนกลุม และสรางองคความรูไดดวยตนเอง

4.3 ลักษณะการจัดกิจกรรม

อาภรณ ใจเท่ียง (2555) ไดนําเสนอลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียน

เปนศูนยกลาง มีลักษณะสรุปไดเปนคํา CHART PIG ดังนี้

(1) C= Construct หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีใหผูเรียนไดคนพบสาระสําคัญหรือ

ความรูใหมดวยตนเอง อันเกิดจากการไดศึกษาคนควาทดลอง แลกเปลี่ยนเรียนรูและลงมือปฏิบัติจริง

Page 25: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

17

ทําใหผูเรียนรักการอาน รักการศึกษาคนควา เกิดทักษะในการแสวงหาความรู และเห็นความสําคัญ

ของการเรียนรู ซ่ึงนําไปสูบุคคลแหงการเรียนรูทีพึงประสงค

(2) H= Happiness หมายถึงการจัดกิจกรรมท่ีผูเรียนไดเรียนอยางมีความสุข

เปนความสุขท่ีเกิดจาก ประการท่ีหนึ่ง ผูเรียนไดเรียนในสิ่งท่ีตนสนใจ สาระการเรียนรูชวนใหสนใจ

ใฝศึกษาคนควา ทาทายใหแสดงความสามารถและใหใชศักยภาพของตนอยางเต็มท่ี ประการท่ีสอง

ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูสอนระหวางผูเรียนกับผูเรียนเปนแบบกัลยาณมิตร มีการชวยเหลือ

เก้ือกูลซ่ึงกันและกัน มีกิจกรรมรวมดวยชวยกันทําใหผูเรียนรูสึกมีความสุขสนุกกับการเรียน

(3) A= Active Learning หมายถึงการจัดกิจกรรมท่ีผูเรียนเปนผูกระทํา หรือปฏิบัติ

ดวยตนเอง ดวยความกระตือรือรน เชน ไดคิด ไดคนควา ทดลอง รายงาน ทําโครงการ สัมภาษณ

แกปญหา เปนตน ไดใชประสาทสัมผัสตาง ๆ ทําใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองอยางแทจริง ผูสอนทํา

หนาท่ีจัดบรรยากาศการเรียนรู จัดสื่อ จัดสิ่งเรา เสริมแรง ใหคําปรึกษาและสรุปการเรียนรูรวมกัน

(4) R= Resources หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีผูเรียนไดเรียนรูจากแหลงเรียนรูตาง

ๆ ท่ีหลากหลาย ท้ังบุคคลและเครื่องมือ ท้ังในหองเรียนและนอกหองเรียน ผูไดสัมผัสและสัมพันธกับ

สิ่งแวดลอมท้ังเปนมนุษย ธรรมชาติและเทคโนโลยี ตามหลักการท่ีวา “การเรียนรูเกิดข้ึนไดทุกท่ี

ทุกเวลา และทุกสถานการณ

(5)T= Thinking หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีสงเสริมกระบวนการคิด ผูเรียนไดฝก

วิธีการคิดหลายลักษณะ คิดคลอง คิดหลากหลาย คิดละเอียด คิดชัดเจน คิดถูกทาง คิดกวาง

คิดลึกซ้ึง คิดไกล คิดอยางมีเหตุผล เปนตน (ทิศนา แขมมณี: 2543) การสงเสริมใหผูเรียนไดคิดอยู

เสมอ ชวยใหผูเรียนเปนผูคิดเปนแกปญหาเปน มีเหตุมีผล มีวิจารณญาณในการคิด

(6) P= Participation หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีผูเรียนมีสวนรวมในการวางแผน

กําหนดงาน วางเปาหมายรวมกัน มีโอกาสเลือกทํางานหรือศึกษาคนควาในเรื่องท่ีถนัด ความสามารถ

และความสนใจของตน ทําใหผูเรียนรูอยางกระตือรือรน มองเห็นคุณคาในสิ่งท่ีเรียน และสามารถ

ประยุกตใชประโยชนในชีวิตจริง

(7) I=Individualization หมายถึง การจัดกิจกรรมท่ีผูสอนใหความสําคัญกับผูเรียน

ในความเปนเอกัตบุคคล ผูสอนยอมรับในความสามารถความคิดเห็น ความแตกตางระหวางบุคคลของ

ผูเรียน มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองไดเต็มศักยภาพ มากกวาเปรียบเทียบแขงขันระหวางกัน มีความ

เชื่อม่ันวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรูและมีวิธีการเรียนรูท่ีตางกัน

(8) G= Good Habit หมายถึงการจัดกิจกรรมท่ีผูเรียนไดพัฒนาคุณลักษณะนิสัยท่ีดี

เชน ความรับผิดชอบ ความเมตตากรุณา ความมีน้ําใจ ความขยัน ความมีระเบียบวินัย ความเสียสละ

ลักษณะนิสัยในการทํางานรวมกับผูอ่ืน การฝกการเปนผูนําและผูตาม และ การเห็นคุณคาของงาน

เปนตน

Page 26: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

18

4.4 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

ชาญชัย ยมดิษฐ (2548) ไดกลาวถึงการจัดการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง สามารถแบง

ออกเปน3 แบบ ดังนี้

(1) แบบเนนตัวผูเรียน

(1.1) การจัดการเรียนการสอนตามเอกัตภาพ การจัดแบบนี้สนองความ

ตองการของผูเรียนเปนรายบุคคล และไดเรียนตามสติปญญา ภูมิหลัง ความสามารถ ความถนัดและ

ความสนใจ ซ่ึงแตละคนมีไมเหมือนกัน การเรียนรูดังกลาวจะเรียนไดดีถาสอดคลองกับภูมิหลัง วิธี

เรียนจะทําใหการพัฒนาเปนไปตามความสามารถและศักยภาพของแตละบุคคล

(1.2) แบบผูเรียนแนะนําตนเอง การจัดการเรียนการสอนแบบนี้เปนการเรียน

ท่ีผูเรียนเกิดแรงจูงใจภายใน สามารถพึงพาตนเองสูการเรียนรูจนสามารถพัฒนาตนเองได การเรียน

แบบนี้เปนการเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ เพราะสรางแรงจูงใจภายใน

(2) แบบเนนความรูความสามารถ

(2.1) การจัดการเรียนรูแบบรูจริง การจัดการเรียนรูแบบนี้เนนผูเรียนไดรับ

ความสําเร็จท่ีไดจากการสอนท่ีมีคุณภาพ โดยใชปฏิสัมพันธระหวางความตองการท่ีจะจัดการเรียนรู

กับการใชเวลาใหประสบความสําเร็จ ดังนั้นการท่ีครูสามารถใชวิธีการสอนใหสอดคลองกับวิธีเรียน

ของแตละคนยอมชวยใหผูเรียนสามารถรูจริงไดตามความตองการของทุกคน

(2.2) การจัดการเรียนการสอนแบบรับประกันผล การจัดการเรียนการสอน

แบบนี้มีหลักการดังนี้

(2.2.1) ผูเรียนทุกคนมีศักยภาพในการเรียนรู และประสบความสําเร็จ

จากการเรียนรูหากไดรับความชวยเหลือตามปญหาและความตองการของเขา

(2.2.2) การท่ีผูเรียนมีวัตถุประสงคท่ีชัดเจนสามารถท่ีจะพิสูจนทดสอบ

ได และแจงความคาดหวังของตนจากเปาหมายในการสอนจะพยายามปฏิบัติใหไปสูสิ่งท่ีคาดหวังนั้น

(2.2.3) การทดสอบชวยใหผูเรียนนั้นทราบถึงปญหาความตองการ

และเปนขอมูลใหผูสอนชวยเหลือผูเรียนใหถูกตอง

(3) แบบเนนประสบการณ

(3.1) การจัดการเรียนการสอนแนวนี้มุงใหผูเรียนผานประสบการณ เพราะ

ชวยใหเกิดความคิดความรูและการกระทําตางๆ จะคนพบดวยตนเอง มีความหมายและความรูสึก

ผูกพัน เกิดความตองการและความรับผิดชอบท่ีจะเรียนรูตอไป

(3.2) การจัดการเรียนรูแบบรับใชสังคม การจัดการเรียนการสอนแบบนี้

มุงเนนใหผูเรียนออกไปใชประสบการณในการรับใชสังคมตามท่ีสังคมตองการ เปนประสบการณท่ีมี

ความหมายสรางจิตสํานึกท่ีมีคุณคาทําใหเกิดประสบการณตรง เรียนรูตามสภาพของสังคม

Page 27: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

19

(3.3) การจัดการเรียนรูตามสภาพจริง มีหลักการ คือ (1) การเรียนรูยอม

สัมพันธกับบริบทแวดลอม (2) สภาพการณจริง ปญหาจริง (3) การเรียนรูความเปนจริง ของจริง

เปนการเรียนรูท่ีมีความหมายเพราะสามารถนําไปใชได เปนประโยชนตอผูเรียน (4) การใหผูเรียน

เผชิญปญหา และแกปญหาจะชวยใหผูเรียนพัฒนาทักษะท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิต

(3.4) การสอนท่ีเนนปญหา การจัดการเรียนการสอนท่ีใชปญหาเปนหลัก

ผูสอนนําผูเรียนไปเผชิญปญหาท่ีตองเผชิญ จัดกระบวนการคิดแกปญหา ลงมือแกไข เกิดความรูเกิด

ทักษะ ความคิด และกระบวนการแกปญหาตางๆไดอยางมีทักษะ

(3.5) แบบเนนทักษะกระบวนการ เปนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน

กระบวนการสืบสวน สอบสวน การฝกคิด เนนกระบวนการกลุม เนนกระบวนการวิจัย

และกระบวนการเรียนรูดวนตนเอง

(3.6) แบบเนนการบูรณาการ หลักการจัดธรรมชาติของการเรียนรูทุกสิ่งท่ีมี

ความเชื่อมโยงกันตองไปดวยกัน ไมแยกจากกัน การเรียนรูจะไมเกิดประโยชนถาไมบูรณาการ

เชื่อมโยงกับการบูรณาการ เปดโอกาสใหผูเรียนแกปญหาไดโดยใชความรูหลายดานมาประกอบกันทํา

ใหเกิดความรู

5.ความพึงพอใจ

5.1 ความหมายของความพึงพอใจ

ความพึงพอใจ คําวา “ความพึงพอใจ” ตรงกับภาษาอังกฤษวา “Satisfaction” ซ่ึงมี

ความหมายโดยท่ัวไปวา “ระดับความรูสึกในทางบวกของบุคคลตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง” และมีนักวิชาการ

และนักจิตวิทยาใหความหมายไวดังตอไปนี้

ศิริวรรณ เสรีรัตน ไดกลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกท่ีดีของบุคคลท่ีไดรับการ

ตอบสนองเม่ือบรรลุวัตถุประสงคในสิ่งท่ีตองการ และคาดหวัง ความพึงพอใจเปนความชอบของแตละ

บุคคลซ่ึงระดับความพึงพอใจของแตละบุคคลยอมแตกตางกันอาจเนื่องมาจกพ้ืนฐานทางการศึกษา

ทางดานเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอมพฤติกรรมความพึงพอใจของมนุษยเปนความพยายามท่ีจะขจัด

ความตึงเครียด (Tension) หรือความกระวนกระวาย (Discomfort) หรือภาวะไมไดดุลภาพ

(Unequilibrium) ในรางกาย เม่ือมนุษยสามารถขจัดสิ่งตาง ๆเหลานี้ไปไดแลว มนุษยยอมจะไดรับ

ความพึงพอใจในสิ่งท่ีตนเองตองการ

วัฒนา เพ็ชรวงศ กลาววา ไดใหความหมายวา ความพึงพอใจ เปนความรูสึก หรือ ทัศนคติ

ทางดานบวกของบุคคลท่ีมีตอสิ่งหนึ่ง ซ่ึงจะเกิดข้ึนเม่ือสิ่งนั้นสามารถตอบสนองความตองการใหแก

บุคคลนั้นได แตท้ังนี้ความพึงพอใจของแตละบุคคล ยอมมีความแตกตางกันข้ึนอยูกับคานิยมและ

ประสบการณท่ีไดเรียนรู

Page 28: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

20

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหความหมาย ความพึงพอใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ

พฤติกรรมเก่ียวกับความพึงพอใจของมนุษย คือ ความพยายามท่ีจะขจัดความเตรียด หรือ ความ

กระวนกระวาย หรือภาวะไมไดดุลยภาพในรางกาย ซ่ึงเม่ือมนุษยสามารถขจัดสิ่งตาง ๆดังกลาวไดแลว

มนุษยยอมไดรับความพึงพอใจในสิ่งท่ีตนตองการ

กรชกร ชวดี กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกท่ีดี หรือเจตคติท่ีดีของบุคคลนั้น ๆ

เม่ือไดรับการตอบสนองตามความคาดหวังและตามความตองการของตนเองจึงทําใหเกิดความรูสึกดี

ตอสิ่งนั้น ๆ

ทัศนีย ศิละวรรณโส กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลตอ

สิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือปจจัยตาง ๆท่ีเก่ียวของกับความรูสึกพอใจ จะเกิดข้ึนเม่ือความตองการของบุคคลนั้น

ไดรับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุงหมายในระดับหนึ่ง ความรูสึกดังกลาวจะลดลง หรือไมเกิดข้ึนหาก

ความตองการ หรือจุดมุงหมายนั้นไมไดรับการตอบสนอง

นิธิมา คงสวัสดิ์ กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ผลของความสนใจ เอาใจใสในเรื่องนั้น ๆ

ความรูสึกในทางท่ีดีมีความสุข มีความชอบ มีความพอใจ ของบุคคลท่ีมีตอปจจัยตาง ๆ ท่ีมีสวน

เก่ียวของกับการทํางาน หรือการเรียน ซ่ึงความรูสึกมีแรงจูงใจของเขาเหลานั้น ไดรับการตอบสนองทํา

ใหการปฏิบัติงาน หรือการเรียน เกิดความรูสึกตั้งใจเต็มใจ และสามารถปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายได

อยางมีประสิทธิภาพ

พัลลภ ลีลาวัฒนานนท กลาววา ความพึงใจ หมายถึงสภาพของจิตใจ ท่ีปราศจาก

ความเครียด ท้ังนี้เพราะธรรมชาติของมนุษยนั้นมีความตองการ ถาความตองการไดรับการตอบสนอง

ท้ังหมด หรือบางสวนนอยลง ความเครียดก็จะนอยลง ความพึงใจจะเกิดข้ึน และในทางกลับกัน

ถาความตองการนั้นไมไดรับการตอบสนองความเครียด และความไมพึงพอใจจะเกิดข้ึน

ศิราณี ภูพันชิต กลาววา ความพึงใจ หมายถึง ความชอบ ความสนใจ ความยินดีของบุคคล

ท่ีเกิดจากการไดรับการตอบสนองตอสิ่งท่ีตองการท้ังดานรางกายและจิตใจ

กูดกลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง คุณภาพหรือระดับความพึงพอใจ ซ่ึงเปนผลมาจาก

ความสนใจตาง ๆและทัศนคติของบุคคลท่ีมีตอกิจกรรมของเขา

วอลแมนกลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกมีความสุขหรือเม่ือไดรับผลสําเร็จตาม

ความมุงหมาย ตามความตองการหรือมีแรงจูงใจ

Vroom กลาววา ทัศนคติและความพึงพอใจในสิ่งหนึ่งสามารถใชแทนกันได เพราะท้ังสอง

คํานี้ จะหมายถึงผลท่ีไดจากการท่ีบุคคลเขาไปมีสวนรวมในสิ่งนั้น ทัศนคติดานบวกจะแสดงใหเห็น

สภาพความพึงพอใจในสิ่งนั้น และทัศนคติดานลบจะแสดงใหเห็นสภาพความไมพอใจ

Shallyไดศึกษาแนวคิดเก่ียวกับความพึงพอใจ สรุปไดวา ความพึงพอใจเปนความรูสึกสอง

แบบของมนุษย คือ ความรูสึกทางบวกและความรูสึกทางลบ ความรูสึกทางบวก เปนความรูสึกท่ี

Page 29: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

21

เกิดข้ึนแลวทําใหมีความสุข ความสุขนี้เปนความรูสึกท่ีแตกตางจากความรูสึกทางบวกอ่ืน ๆ กลาวคือ

เปนความรูท่ีมีระบบยอนกลับ ความสุขสามารถทําใหเกิดความสุขทางบวกเพ่ิมข้ึนไดอีก ดังนั้นจะเห็น

ไดวาความสุขเปนความรูสึกท่ีซับซอนและความสุขนี้จะมีผลตอบุคคลมากกวา ความรูสึกทางบวกอ่ืน

ๆ ความรูสึกทางลบ ความรูสึกทางบวกและความรูสึกมีความสัมพันธของความรูท้ังสามนี้เรียกวา

ระบบความพ่ึงพอใจ โดยความพึงพอใจจะเกิดข้ึนเม่ือระบบความพึงพอใจมีความรูสึกทางบวกมากกวา

ทางลบ

สรุปไดวา ความพึงพอใจตอการเรียนการสอนของผูวิจัย เปนเรื่องของความรูสึกท่ีมีตอ

ความรูสึกของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอน และความพึงพอใจของแตละบุคคลไมมีวัน

สิ้นสุดเปลี่ยนแปลงไดเสมอตามกาลเวลาลา สภาพแวดลอมบุคคลจึงมีโอกาสท่ีจะมีความพึงพอใจในสิ่ง

ท่ีเคยพึงพอใจมาแลว

จากความเห็นของนักวิชาการดังกลาวขางตัน จะเห็นไดวา ความรูสึก ทัศนคติของบุคคลท่ีมี

ตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งท่ีตอบสนองความตองการของตนเอง และมีความสุขกับสิ่งนั้น จึงเกิดความพึงพอใจ

ดังนั้นความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ข้ึนอยูกับวา

ผูเรียนเกิดการเรียนรูและนําความรูท่ีไดไปปฏิบัติไดผลสําเร็จตามท่ีตั้งใจไวหรือไม ผูวิจัยไดนํากรอบ

การศึกษาความหมายของความพึงพอใจดังกลาว เปนแนวทางเพ่ือนําไปสรางเครื่องมือในการวิจัย

ตอไป

5.2 แนวคิดทฤษฏีท่ีเกี่ยวของกับความพึงพอใจ

(1) ทฤษฏีของมาสโลว (Maslows general theory of human motivation)กลาวถึง

ความตองการพ้ืนฐานของมนุษย (Human basic needs)แบงออกเปน 5 ข้ัน และความตองการข้ัน

แรกจะตองไดรับการตอบสนองกอนจึงสามารถตอบสนองความตองการข้ันตอไปได โดยแบงความ

ตองการข้ันพ้ืนฐานของมนุษยออกเปน 5 ข้ันดังนี้ (1) ความตองการทางกาย (Physical needs)เปน

ความตองการข้ันพ้ืนฐานท่ีเปนความจําเปนตอการอยูรอดของชีวิตมนุษย ไดแก ความตองการอากาศ

อาหาร น้ํา ยารักษาโรค เครื่องนุงหม ท่ีอยูอาศัยการขับถาย การพักผอน การหลีกหนีความเจ็บปวด

การเคลื่อนไหวและความตองการทางเพศ (2) ความตองการความม่ันคงปลอดภัย (Safety and

security needs) ไดแกความตองการความม่ันคง ความเทาเทียม และความเสมอภาค ความไววางใจ

ตลอดจนถึงความปลอดภัยจากสิ่งแวดลอมท่ีอันตราย (3) ความตองการความรักและความเปนเจาของ

(Love and Belonging) ไดแกความตองการความรักความใกลชิด ความอบอุนเห็นอกเห็นใจ

ความเปนเจาของ (4) ความตองการยอมรับนับถือ (Esteem needs) ไดแกความตระหนักในคุณคา

และความสามารถ ตองการไดรับการยอมรับจากผูอ่ืน การไดรับความเปนอิสระ (5) ความตองการท่ี

จะบรรลุถึงความสําเร็จสมหวังในชีวิต (Self-actualization) ไดแกความตองการท่ีอยากสําเร็จตาม

ความนึกความนึกคิดหรือความคาดหวังทะเยอทะยานใฝฝนภายหลังจากมนุษยไดรับการตอบสนอง

Page 30: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

22

ความตองการท้ัง 4 ข้ัน อยางครบถวนแลว ความตองการในข้ันนี้จะเกิดข้ึนและมักเปนความตองการท่ี

เปนอิสระเฉพาะแตละคนซ่ึงตางมีความนึกคิดใฝฝนท่ียากไดรับผลสําเร็จในสิ่งสูงสุดในทัศนะของตน

(2) ทฤษฏีความตองการของเมอรเลย (Murrey’s Manifestneeds Theory) ประกอบดวย

ความตองการ 4 ประการ คือ ความตองการความสําเร็จ ความตองการความสัมพันธ ความตองการ

อิสระ และความตองการอํานาจ ซ่ึงความตองการเหลานี้อาจเกิดข้ึนพรอมกัน โดยบางดานสูง บางดาน

ต่ํา ก็ได ไมจําเปนตองเกิดข้ึนเรียงเปนลําดับ

(3) ทฤษฏีความพึงพอใจในงานหรือทฤษฏีสองปจจัยท่ีมีผลตอความพึงพอใจในงาน

(Herzberg Tow Factors Theory) อธิบายวา ความพึงพอใจนานเกิดข้ึนจากสองปจจัย คือ ปจจัยคํ้า

จุนหรือปจจัยทางกายภาพและสิ่งแวดลอม และปจจัยจูงใจ ซ่ึงเกิดจากความรูสึกภายในของบุคคล

(4) Maynard W.Shelly (1975 :252-268)ไดกลาวถึงทฤษฏีความเปนพึงพอใจวามี

ความรูสึกสองแบบของมนุษย คือ ความรูสึกทางบวกและความรูสึกทางลบ ความรูสึกทางบวกเปน

ความรูสึกท่ีเม่ือเกิดข้ึนแลวจะทําใหเกิดความสุข ความสุขนี้เปนความสุขท่ีแตกตางจากความรูสึก

ทางบวกอ่ืน ๆ กลาวคือ เปนความรูสึกท่ีมีระบบยอนกลับ ความสุขสามารถทําใหเกิดความสุขหรือ

ความรูสึกทางบวกเพ่ิมข้ึนไดอีก ดังนั้นจะเห็นไดวาความสุขเปนความรูสึกท่ีสลับซับซอน และความสุข

นี้จะมีผลตอบุคคลมากกวาความรูทางบวกอ่ืน ๆ สิ่งหนึ่งท่ีจะทําใหเกิดความรูสึกพึงพอใจของมนุษย

ไดแก ทรัพยากร หรือสิ่งเรา การวิเคราะหระบบความพึงพอใจคือ การศึกษาวาทรัพยากรหรือสิ่งเรา

แบบใดเปนสิ่งท่ีตองการท่ีจะทําใหเกิดความพอใจ และความสุขแกมนุษย ความพอใจจะเกิดไดมาก

ท่ีสุด เม่ือทรัพยากรทุกอยางท่ีเปนความตองการครบถวนข้ึนอยูกับแรงจูงใจในการทํางาน การสราง

สิ่งจูงใจหรือแรงกระตุนใหเกิดกับผูปฏิบัติงานเปนสิ่งจําเปนเพ่ือใหเปนศูนยกลาง ผูสอน คิดหาวิธีการ

จัดการเรียนการสอนใหผูเรียนเกิดความพึงพอใจ วิธีการท่ีสําคัญท่ีสําคัญคือใหผูเรียนมีความรูเทาเทียม

กันกอน โดยการทดสอบกอนเรียน บรรยายสรุปในแตหนวยใหผูเรียนไดรับทราบ จากนั้นใชกระบน

การกลุม นําเสนอผลงานกลุม สรางบทเรียนดวยตนเอง การจัดบรรยากาศภายในหองเรียนนาเรียน

มีอุปกรณเทคโนโลยีพรอม ผูเรียนมีสวนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกข้ันตอน ทําใหผูเรียน

เกิดความรูสึกภาคภูมิใจในความสําเร็จ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีข้ึน มีความพอใจในการเรียน

6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ฉันทนา ปาปดถา (2554)ไดศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มีวัตถุประสงคเพ่ือ (1) เพ่ือ

ศึกษาความคิดเห็นเก่ียวกับประสิทธิภาพ ของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของ

คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (2) เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพ

การเรียนรูท่ีเพ่ิมข้ึนหลังเขารวมกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของนักศึกษา

คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (3) เพ่ือเปรียบเทียบความ

Page 31: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

23

แตกตาง ศึกษาความสัมพันธ และการทํานายประสิทธิภาพการเรียนรูท่ีเพ่ิมข้ึนหลังเขา รวมกิจกรรม

การจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของนักศึกษา กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาท่ีกําลังศึกษา

ในระดับปริญญาตรีของคณะเทคโนโลยี สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

ปการศึกษา 2552 จํานวน 300 คน โดยกําหนดสัดสวนของกลุม ตัวอยางเปนจํานวน 50% ของ

นักศึกษาท่ีมีอยูจริง เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา (1) ความคิดเห็น

เก่ียวกับประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผูเรียนเปนสําคัญของคณะเทคโนโลยี

สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยูในระดับมาก (2) ประสิทธิภาพ การ

เรียนรูท่ีเพ่ิมข้ึนหลังเขารวมกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของ นักศึกษา

คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครอยูในระดับมาก (3) ปจจัย

สวนบุคคล ไดแก ชั้น ปท่ีศึกษาตางกันมีมุมมองตอประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียน

เปนสําคัญแตกตางกัน สวนเพศ สาขาวิชาท่ีศึกษา และระดับผลการเรียน พบวา ไมแตกตางกัน

สวนการศึกษาความสัมพันธ พบวา นักศึกษาคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน ท้ังในภาพรวมและราย

ดานมีความสัมพันธทางบวกกับ ประสิทธิภาพการเรียนรูท่ีเพ่ิมข้ึนของนักศึกษาอยางมีนัยสําคัญทาง

สถิติท่ีระดับ .05 และปจจัยท่ีมีผลตอ ประสิทธิภาพการเรียนรูท่ีเพ่ิมข้ึนของนักศึกษาอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติท่ีระดับ .05 มี 2 ปจจัย ไดแก ทัศนคติ และระดับชั้นปท่ี 2

สุจินต ใจกระจาง . (2554). ศึกษาเรื่องสภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน

สําคัญของ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค (1) เพ่ือศึกษา

สภาพการจัดการเรียนการสอนทีเนน ผูเรียนเปนสําคัญ ตามความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอน

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง (2) เพ่ือศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน

สําคัญ ตามความ คิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง (3) เพ่ือเปรียบเทียบ

ความคิดเห็น ของผูบริหารและครูผูสอนเก่ียวกับสภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน

สําคัญ ตามตัวแปร สถานภาพ วุฒิการศึกษา และระยะเวลาท่ีปฏิบัติงาน (4) เพ่ือเปรียบเทียบความ

คิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหงเก่ียวกับสภาพการจัดการเรียนรู ท่ีเนน

ผูเรียนเปนสําคัญ ตามตัวแปร ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนและชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยเปนผูบริหารและครูผูสอนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย

รามคําแหงท่ีกําลังปฏิบัติงานในภาคเรียนที 1 ปการศึกษา 2552 โดยการสุมแบบงาย (simple

random sampling) ใชวิธีจับฉลาก ท่ีระดับความเชื่อม่ัน 95% ขนาดประชากร 188 คน กําหนด

กลุมตัวอยางไดจํานวน 127 คน และนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหงท่ีกําลังศึกษาอยู

ในระดับมัธยมศึกษาปท่ี1-6 ในภาคเรียนท่ี1 ปการศึกษา 2552 จํานวน 2,400 คน กําหนดกลุม

ตัวอยางไดจํานวน 331 เครื่องมือท่ีใชในการ วิจัย เปนแบบสอบถามผูบริหารและครูผูสอนเก่ียวกับ

สภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน ผูเรียนเปนสําคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหงใน

Page 32: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

24

5 ดาน ไดแก ดานความพรอมของสถานศึกษา ดานการพัฒนาครูในสถานศึกษา ดานการสงเสริมการ

เรียนรูท่ีเนน ผูเรียนเปนสําคัญ ดานการวิจัยเพ่ือการเรียนรู และดานการประเมินผลในการจัดการ

เรียน การสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ การวิเคราะหขอมูลใชวิธีคํานวณหาคาสถิติท่ีตองการ คือ คา

รอยละ คาความถี คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและหาคาความแตกตาง โดยใชสถิติ t-test

ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้ (1) ความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนเก่ียวกับสภาพการ

จัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง ท้ัง 5 ดานคือ

ดานการ เตรียมความพรอมของสถานศึกษา ดานการพัฒนาครูในสถานศึกษา ดานการสงเสริมการ

เรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ดานการวิจัยเพ่ือการเรียนรู และดานการประเมินผลในการจัดการเรียน

การสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญพบวาอยูในระดับมาก (2) ความคิดเห็นของนักเรียนเก่ียวกับสภาพการ

จัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปน สําคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหงอยูในระดับ

ปานกลาง ยกเวนขอกิจกรรม การเรียนการสอนกระตุนใหนักเรียนไดคิดวิเคราะห สังเคราะห พบวา

อยูในระดับมาก (3) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผูบริหารและครูผูสอนเก่ียวกับสภาพการ

เรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหงท่ีมีวุฒิการศึกษาและ

ระยะเวลาท่ีปฏิบัติงานตางกันพบวา แตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .05 (4) ผลการ

เปรียบเทียบความคิดเห็นของนักเรียนเก่ียวกับสภาพการจัดการเรียนการ สอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง ท่ีมีระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนและชั้นมัธยมศึกษาตอน

ปลายตางกันพบวามีแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

แสงดาว ถ่ินหารวงษ (2558)ไดศึกษาการเรียนรูแบบมีสวนรวม: จากทฤษฏีสูการปฏิบัติใน

รายวิชา วรรณคดีสําหรับเด็กการเรียนรูแบบมีสวนรวม (Participatory Learning: PL) เปนการ

จัดการเรียนรูท่ียึดผูเรียนเปน ศูนยกลางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซ่ึงประกอบดวยข้ันตอน

4 ข้ันตอน ไดแกข้ัน ประสบการณ (Experience) ข้ันการสะทอนและอภิปราย (Reflection and

Discussion) ข้ันความคิด รวบยอด (Concept) และข้ันการทดลอง/การประยุกตแนวคิด

(Experimentation/Application) บทความ นี้มีวัตถุประสงคเพ่ืออภิปรายขอดีของการจัดการเรียนรู

แบบมีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอน รายวิชาวรรณคดีสาหรับเด็ก ซ่ึงการสอนโดยใชการเรียนรู

แบบมีสวนรวมชวยใหผูเรียนมีสวนรวมในการ แสดงความคิดเห็น มีความรับผิดชอบตอการเรียนรูของ

ตนเอง ไดฝกปฏิบัติวางแผนการทํากิจกรรม กลุม แสวงหาความรูดวยตนเองและรายงานผลการเรียนรู

เปดโอกาสใหผูเรียนเชื่อมโยงประสบการณ เดิมกับความรูใหม มีสวนรวมในการอภิปรายประเด็น

ปญหาภายหลังจากการศึกษาเนื้อหานิทานในชั้นเรียน ไดเรียนรูกระบวนการทางานกลุมผานการแตง

นิทานและการจัดกิจกรรมโดยใชหนังสือนิทานท่ีแตงข้ึน และรวมกันอภิปรายประเด็นปญหาและ

ขอเสนอแนะภายหลังจากการจัดกิจกรรมรวมกัน ซ่ึง กระบวนการเหลานี้จะชวยใหผูเรียนเกิดการ

พัฒนาท้ังดานพุทธิพิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัย

Page 33: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

25

มัทนิน วรมาลา (2558)ไดศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการการจัดการเรียนการ

สอนรายวิชา SDM 452 สาขาออกแบบกราฟก มหาวิทยาลัยศรีปทุมจํานวน 7 คน โดยใชเครื่องมือ

ประเมินในชั้นเรียน ประกอบดวย (1) ตารางสงงานของนักศึกษาแตละคน (2) ระบบประเมินการสง

งาน 3) แบบประเมินคุณภาพงาน ผลการวิจัยพบวา (1) นักศึกษามีความเคารพกับตารางของแตละ

คน ท่ีกําหนดไวเอง โดยสงงานท่ีมีคุณภาพตรงตามเวลาท่ีกําหนดมากกวาเทอมกอน แตงยังมีปจจัยอ่ืน

ๆท่ีทําใหนักศึกษาบางรายท่ีบางครั้งสงงานลาชา เชน สงงานในวิชาอ่ืนในเวลาท่ีใกลเคียงกัน (2) จาก

เหตุผลขอแรกท่ีนักศึกษาสงงานลาชา คือ การทํางานในวิชาปฏิบัติซ่ึงนักศึกษาเองจะใหความสําคัญ

กับวิชาเหลานั้นมากกวาวิชาทฤษฏี (3) นักศึกษาท่ีรับผิดชอบสงงานครบทุกครั้ง จะมีงานสรุปปลาย

เทอมท่ีมีคุณภาพตรงตามท่ีกําหนดไว

อัญชลี พริ้มพรายและคณะ (2548) ไดศึกษาวิจัยเรื่องความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอ

คุณภาพการสอนและปจจัยสนับสนุนการเรียนรูของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฎ

นครศรีธรรมราชโดยศึกษา 4 ดานคือดานบุคคลดานสถานท่ีดานสื่อวัสดุดานงบประมาณผลการวิจัย

พบวา (1) ดานบุคคล พบวานักศึกษามีความพึงพอใจดานบุคคลอยูในระดับมาก และระดับความพึง

พอใจของนักศึกษาท่ีมีตอคุณภาพการเรียนการสอนของอาจารยทุกขออยูในระดับมากเชนเดียวกัน

โดยท้ังสองดานนี้จะมีความสอดคลองกันคือวุฒิการศึกษาของอาจารยผูสอนนํา จะสงผลใหอาจารยมี

ความรูเรื่องเทคนิควิธีการสอน มีการชี้แจงแผนการสอนอธิบายจุดประสงคการเรียนและเกณฑการ

วัดผลประเมินผลใหนักศึกษาทราบมีเทคนิคการสอนและกิจกรรมการเรียนท่ีหลากหลายมีความ

เหมาะสมกับเนื้อหารวมท้ังพึงพอใจในบุคลิกของอาจารยผูสอน (2) ดานสถานท่ีพบวานักศึกษามีความ

พึงพอใจดานสถานท่ีในภาพรวมอยูในระดับปานกลางนักศึกษาท่ีมีความพึงพอใจมากกับสถานท่ีตั้ง

ของอาคารและจํานวนเกาอ้ีในหองเรียนสวนความพึงพอใจท่ีมีตอโรงฝกงานนักศึกษามีความพึงพอใจ

ในระดับต่ํา (3) ดานสื่อวัสดุพบวานักศึกษามีความพึงพอใจดานสื่อวัสดุอยูในระดับปานกลางสิ่งท่ี

นักศึกษาพึงพอใจมากท่ีสุดคือความทันสมัยของสื่อท่ีใชสอนสวนท่ีนักศึกษามีความพึงพอใจในลําดับ

สุดทายคือความเพียงพอของเครื่องจักรตอจํานวนนักศึกษา (4) ดานงบประมาณ พบวานักศึกษามี

ความพึงพอใจดานงบประมาณทุกขออยูในระดับปานกลางระดับความพึงพอใจระดับท่ีต่ําท่ีสุดไดแก

การแจงรายละเอียดของยอดงบประมาณตางๆตอนักศึกษา

วาสนระรวย อินทรสงเคราะห (2554) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราช

พฤกษศูนยการศึกษานอกท่ีตั้งวิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ตท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนของอาจารย

ผูสอนผลการวิจัยพบวา ผลการวิเคราะหระดับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดการเรียนการ

สอนของอาจารยผูสอนในดานตางๆ พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนของ

อาจารยผูสอน ในดานตางๆ ไดแกดานการสอนของอาจารยดานสื่อการสอนและอุปกรณการสอนดาน

การวัดผลและประเมินผล ดานบุคลิกลักษณะของอาจารย และดานประโยชนท่ีนักศึกษาไดรับจากการ

Page 34: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

26

เรียนในรายวิชานั้น ในภาพรวมอยูในระดับมากทุกสาขาวิชา โดยนักศึกษามีความพึงพอใจดาน

บุคลิกลักษณะของอาจารยสูงท่ีสุด เม่ือพิจารณาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดการเรียน

การสอนของอาจารยผูสอน จําแนกตามสาขาวิชา ในภาพรวมแตละสาขา พบวา นักศึกษามีความพึง

พอใจในระดับมากทุกสาขาวิชา และเม่ือพิจารณาจําแนกเปนรายดาน พบวานักศึกษามีความพึงพอใจ

ในระดับมากทุกดาน

จากการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนของ

อาจารยผูสอนในแตละสาขาวิชา พบวา ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดการเรียนการ

สอนของอาจารยผูสอนแตละสาขาวิชา ในดานตางๆ แตกตางกัน เกือบทุกดาน ยกเวนดานสื่อการ

สอนและอุปกรณการสอน ท่ีระดับความพึงพอใจของนักศึกษาทุกสาขาวิชาไมแตกตางกัน การหา

ความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษกับความพึงพอใจท่ีมีตอ

การจัดการเรียนการสอนของอาจารยผูสอน พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาไมมี

ความสัมพันธกับระดับความพึงพอใจท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนของอาจารยผูสอน

Page 35: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

24

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

รายวิชา สังคมภิวัตน ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีวัตถุประสงคของการวิจัยเพ่ือคือ (1)

เพ่ือศึกษาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตนของ

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และ (2). เพ่ือศึกษาขอเสนอแนะตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในรายวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ผูวิจัยดําเนินการ

วิจัยดังตอไปนี้

1.ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรกลุมตัวอยางท่ีใชในงานวิชัยครั้งนี้ คือ นักศึกษา กลุมเรียนท่ี 02,03,04,24 และ

36 ท่ีเรียนในรายวิชาสังคมภิวัตน ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จํานวน

124 คน

2.เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

2.1 แผนการจัดการเรียนรู มคอ3 วิชาสังคมภิวัตนภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2559

รายละเอียดของรายวิชาสังคมภิวัตน ประกอบดวย

หมวดท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป (1) รหัสวิชาและชื่อรายวิชา (2) จํานวนหนวยกิติ (3) หลักสูตรและ

ประเภทของรายวิชา (4) อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน (5) ภาคการศึกษา/ชั้นปท่ี

เรียน (6) รายวิชาท่ีตองเรียนมากอน (7) รายวิชาท่ีตองเรียนพรอมกัน (8) สถานท่ีเรียน (9) วันท่ีจัดทํา

หรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด

หมวดท่ี 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค (1) จุดมุงหมายของรายวิชา (2) วัตถุประสงคในการ

พัฒนาปรับปรุงรายวิชา

หมวดท่ี 3 ลักษณะและการดําเนินการ (1) คําอธิบายรายวิชา (2) จํานวนชั่วโมงท่ีใชตอภาค

การศึกษา (3) จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหท่ีอาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษา

เปนรายบุคคล

หมวดท่ี 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา ผลการเรียนรูแตละดานท่ีมุงหวังจะพัฒนา

นักศึกษา (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู (3) ทักษะทางปญญา (4) ทักษะความสัมพันธระหวาง

บุคคลและความรับผิดชอบ (5) ทักษะวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ

Page 36: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

25

หมวดท่ี 5 แผนการสอนและการประเมินผล (1) แผนการสอน (2) แผนการประเมินผลการ

เรียนรู

หมวดท่ี 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน (1) ตําราและเอกสารหลัก (2) เอกสารและ

ขอมูลสําคัญ (3) เอกสารและขอมูลแนะนํา

หมวดท่ี 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา (1) กลยุทธการประเมิน

ประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (2) กลยุทธการประเมินผลการสอน (3) การปรับปรุงการสอน

(4) การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา (5) การดําเนินการทบทวนและการ

วางแผนปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา

หมวดอ่ืน ๆ (ถามี) (1) การบูรณาการกระบวนการวิจัยหรืองานสรางสรรคกับกระบวนการ

จัดการเรียนการสอน (2) การบูรณาการงานบริการวิชาการแกสังคมกับกระบวนการเรียนการสอน

2.2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียน ทุกหนวยการเรียนรู

จํานวน 7 หนวยการเรียนรู เปนแบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวนหนวยการเรียนรูละ 20 ขอ

แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลางภาค เปนแบบทดสอบปรนัย 5 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ

แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปลายภาค เปนแบบทดสอบปรนัย 5 ตัวเลือก จํานวน 60 ขอ

แบบฝกหัดทายบททุกหนวยการเรียนรู จํานวน 7 หนวยการเรียน เปนแบบทดสอบ แบบกาถูก และ

กาผิด และแบบจับคู

2.3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง วิชาสังคมภิวัตน กลุมท่ี 02,03,04,24 และ 36 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2559 จํานวน 3

ตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามขอมูลท่ัวไป (1) เพศ (2) นักศึกษาสังกัดคณะ (3)หลักสูตร

(4)นักศึกษาชั้นป (5) วิชาเอก

ตอนท่ี 2 แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียน

เปนศูนยกลาง กลุมเรียนท่ี 02,03,04,24 และ 36 วิชาสังคมภิวัตน ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา2559

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จํานวน 5 ดาน ดานท่ี1 ดานผูสอน ดานท่ี 2 ดานกิจกรรมการเรียนการ

สอน ดานท่ี 3 ดานเนื้อหาสาระ ดานท่ี 4 ดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ดานท่ี 5 ดาน

การวัดและประเมินผล ดานท่ี 6 ดานผูเรียน (สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง)

ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะ (1) ดานเนื้อหาสาระ (2) ดานกิจกรรมการเรียนการสอน (3) ดานการ

นําความรูไปใช (4) ประโยชนจากเทคนิคการมีสวนรวม (การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง)

3. การสรางเคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย

3.1 เอกสารประกอบการสอนวิชาวิชาสังคมภิวัตน

Page 37: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

26

ข้ันตอนในการในการจัดทําเอกสารประกอบการสอน (1) ศึกษาหลักสูตรคําอธิบายรายวิชา

สังคมภิวัตน วิเคราะหคําอธิบายรายวิชา จัดทําหนวยการเรียนรูได 7 หนวย (2) เขียนจุดประสงคการ

เรียนรูในแตละหนวย (3) ศึกษาคนควาจากสื่อตาง ๆท้ังหนังสือตําราเรียน จากสํานักพิมพตาง ๆ

ขอมูลขาวสารจากสื่อเทคโนโลยีหลากหลาย (4) นําขอมูลมาจัดลําดับตามหนวยการเรียนรูท่ีวิเคราะห

ไวแลว (5) นําเสนอเปนเอกสารประกอบการสอน วิชาสังคมภิวัตนเอกสารฉบับนี้มีผูเขียนหลายทาน

ผูวิจัยเขียนบทท่ี 1 ถึงบทท่ี 3 เปนเอกสารหลักของรายวิชานี้ มีการปรับปรุงเอกสารการสอนฉบับนี้

ทุกภาคเรียน โดยเฉพาะบทท่ี 1 ถึงบทท่ี 3 เพราะเหตุการณโลกเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

3.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ

เปนแบบสอบถามท่ีผูวิจัยสรางข้ึนเอง โดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับ

ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยมีเนื้อหา

ครอบคลุมวัตถุประสงคและเนื้อหาจากแนวคิดท่ีตองการศึกษา พรอมท้ังนําไปหาคุณภาพของ

เครื่องมือกอนนําไปใชจริง โดยแบงออกเปนตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามขอมูลท่ัวไป ไดแก เพศ นักศึกษาสังกัดคณะ หลักสูตร นักศึกษาชั้นป

วิชาเอก

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีเรียนวิชาสังคมภิวัตน กลุมเรียนท่ี

02,03,04,24 และ 36 ลักษณะแบบสอบถาม เปนแบบสอบถามประมาณคา (Rating Scale) ตาม

แนวคิดของลิเคิรท (Likert) แบบสอบถามมีจํานวน 38 ขอ แบงไดเปน 6 ดาน มีระดับการใหคะแนน

ดังนี้

5 หมายถึง ระดับการใหคะแนน มากท่ีสุด

4 หมายถึง ระดับการใหคะแนน มาก

3 หมายถึง ระดับการใหคะแนน ปานกลาง

2 หมายถึง ระดับการใหคะแนน นอย

1 หมายถึง ระดับการใหคะแนน นอยท่ีสุด

ตอนท่ี 3 เปนขอเสนอแนะของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง เปนแบบสอบถามปลายเปด (Open Questions) ซ่ึงเปดโอกาสใหผูตอบแบบสอบถาม

แสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะไดอยางอิสระ

3.3 การหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย

3.3.1 ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามท่ีผูวิจัยไดจัดทําข้ึนไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจ3 ทาน ไดตรวจสอบ

ดานเนื้อหาดังนี้ (1) รองศาสตราจารย ดร.วิชิต เรืองแปน (2) ผศ.ดร.นิตยา เรืองแปน (3)ผศ.ดร.

เนาวรัตน ตรีไพบูรณ ไดตรวจความเหมาะสมท้ังดานเนื้อหา ภาษาท่ีใช และตรวจสอบความสอดคลอง

Page 38: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

27

กับวัตถุประสงคโดยเทคนิคการหาคําดัชนีความสอดคลอง (Index Of Consistency: IOC) แลวนํามา

ปรับปรุงตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ

3.3.2 ผูวิจัยนําแบบสอบถามใหประชากรกลุมตัวอยางบางสวนตอบแบบสอบถาม เพ่ือหา

ความเหมาะสมของแบบสอบถามกอนนําไปใชจริง

4.การเก็บรวบรวมขอมูล

นําแบบสอบถามท่ีกลุมตัวอยางตอบมาตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถาม แลว

ตรวจใหคะแนนตามเกณฑท่ีกําหนดไวและนําขอมูลมาวิเคราะหทางสถิติตอไป

5.การวัดคาตัวแปร

ผูวิจัยไดวัดคาตัวแปรของการวิจัย ซ่ึงแยงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 แปลความวา มีความคิดในระดับมากท่ีสุด

คะแนนเฉลี่ย 3.50 - 4.49 แปลความวา มีความคิดในระดับมาก

คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 แปลความวา มีความคิดในระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ย 1.50 - 2.49 แปลความวา มีความคิดในระดับนอย

คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 แปลความวา มีความคิดในระดับนอยท่ีสุด

6.การวิเคราะหขอมูลและประมวลผล

ผูวิจัยไดนําการวิเคราะหขอมูล และประมวลผลแบบสอบถามดังตอไปนี้

6.1 ขอมูลท่ัวไปของนักศึกษา ซ่ึงเปนแบบสอบถามขอมูลท่ัวไป วิเคราะหขอมูท่ัวไป

ดวยการหาคารอยละ แลวนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในรูปแบบตาราง

6.2 ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางท้ัง6 ดาน เปนแบบสอบถามท่ีเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ซ่ึงแบงออก

ไดเปน 5 ระดับวิเคราะหขอมูลโดยแจกแจงความถ่ี และหาคารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบน

มาตรฐาน แลวนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในรูปของตาราง ประกอบดวยบรรยายใตตาราง

7.สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ในการวิจัยเรื่องนี้ มีสถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลดังนี้

7.1คาสถิติรอยละ(Percentage)โดยใชสูตรดังนี้

Percentage = 𝑛𝑁

× 100

เม่ือ nแทน จํานวนท่ีสนใจ

Nแทน จํานวนท้ังหมด

Page 39: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

28

7.2 คาเฉล่ียเลขคณิต(𝑥)โดยใชสูตรดังนี้

𝒙 =∑𝒙𝒏

เม่ือ𝑥แทน คาเฉลี่ย

∑𝑥แทนผลรวมของขอมูลท้ังหมด

nแทน จํานวนนักเรียนท้ังหมด

7.3 คาความเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D.)โดยใชสูตรดังนี้

𝑆.𝐷. = �∑(𝑥 − 𝑥)2

𝑁 − 1

เม่ือ S.D.แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน

xแทน ขอมูลแตละจํานวน

𝑥แทน คาเฉลี่ยของขอมูลชุดนั้น

Nแทน จํานวนขอมูลกลุมตัวอยาง

7.4เกณฑการประเมินความพึงพอใจมีดังนี้

4.50 – 5.00 หมายความวา พอใจมากท่ีสุด

3.50 – 4.49 หมายความวา พอใจมาก

2.50 – 3.49 หมายความวา พอใจปานกลาง

1.50 – 2.49 หมายความวา พอใจนอย

1.00 – 1.49 หมายความวา พอใจนอยท่ีสุด

Page 40: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

29

บทท่ี 4

ผลการศึกษา

การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

รายวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีวัตถุประสงคของการวิจัยเพ่ือคือ (1)

เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง และ (2).

เพ่ือศึกษาขอเสนอแนะของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางกลุม

ตัวอยางจํานวน 124 คน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยคือแบบสอบถามความพึงพอใจ นํามาวิเคราะหคา

รอยละ คาเฉลี่ย (𝑥) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สามารถสรุปผลอภิปรายผลการวิจัยดังนี้

โดยมีข้ันตอนการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

1. ผลการวิเคราะหขอมูลท่ัวไปของนักศึกษาเพ่ือหาคารอยละ

2. ผลการวิเคราะหความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 6 ดาน คือ ดานการสอน ดาน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดานเนื้อหาสาระดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอนดานการ

วัดและประเมินผล และ ดานผูเรียน (สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง)

3. ผลการวิเคราะหขอเสนอแนะของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 4 ดาน คือ ดาน

เนื้อหาวิชา ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดานการนําความรูไปใช ดานประโยชนจากเทคนิค

การมีสวนรวม (การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง)

1. ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไป

ผลการวิเคราะหเก่ียวกับขอมูลท่ัวไปตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

ในวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จําแนกตาม เพศ คณะ หลักสูตร ชั้นปท่ี

ปรากฏการวิเคราะหผลดังตาราง ตอไปนี้

ตารางท่ี 1 แสดงจํานวนและคารอยละของขอมูลท่ัวไป ดานเพศ

เพศ จํานวน รอยละ

ชาย 23 18.5

หญิง 101 81.5

รวม 124 100.00

Page 41: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

30

จากตารางท่ี 1พบวานักศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 101 คน คิดเปนรอยละ 81.5

เพศชาย จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 18.5

ตารางท่ี 2 แสดงจํานวนและคารอยละของขอมูลท่ัวไป ดานสังกัดคณะ

คณะ จํานวน รอยละ

ครุศาสตร 22 17.7

วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ

การเกษตร 84 67.7

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 17 13.7

วิทยาการจัดการ 1 8.0

รวม 124 100.00

จากตารางท่ี 2 พบวานักศึกษาท่ีลงเรียนวิชาสังคมภิวัตนเรียงตามจํานวนนักศึกษาจากมาก

ไปหานอย คณะวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการเกษตร จํานวน84 คน คิดเปนรอยละ 67.7 คณะครุ

ศาสตร จํานวน 22 คน คิดเปนรอยละ 17.7 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จํานวน 17 คน คิด

เปนรอยละ 13.7 คณะวิทยาการจัดการ จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 8.0

ตารางท่ี 3 แสดงจํานวนและคารอยละของนักศึกษา ดานหลักสูตร

หลักสูตร จํานวน รอยละ

นิติศาสตร 17 13.7

คอมพิวเตอร (คบ.) 19 15.3

วิทยาศาสตรท่ัวไป 30 24.2

ประถมศึกษา 21 16.9

เทคโนโลยีสารสนเทศ 35 28.2

นิเทศศาสตร 1 8.0

ฟสิกส 1 8.0

Page 42: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

31

หลักสูตร จํานวน รอยละ

รวม 124 100.00

จากตารางท่ี 3 พบวา นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศมีจํานวน 35 คน คิดเปนรอย

ละ 28.2 หลักสูตรวิทยาศาสตรท่ัวไป จํานวน 30 คน คิดเปนรอยละ 24.2 หลักสูตรประถมศึกษา

จํานวน 21 คน ติดเปนรอยละ 16.9 หลักสูตรคอมพิวเตอร (คบ.) จํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ 15.3

หลักสูตรนิติศาสตร จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 13.7 หลักสูตรนิเทศศาสตร จํานวน 1 คน คิดเปน

รอยละ 8.0 หลักสูตรฟสิกส จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 8.0

ตารางท่ี 4 แสดงจํานวนและคารอยละของขอมูลท่ัวไป ดาน นักศึกษาชั้นป

ช้ันปท่ี จํานวน รอยละ

ปท่ี 1 35 28.2

ปท่ี 2 17 13.7

ปท่ี 3 70 56.5

ปท่ี 4 2 1.6

รวม 124 100.00

จากตารางท่ี 4 พบวา นักศึกษาชั้นปท่ี 3 จํานวน 70 คน คิดเปนรอยละ 56.6 นักศึกษาชั้น

ปท่ี 1 จํานวน 35 คน คิดเปนรอยละ 28.2 นักศึกษาชั้นปท่ี 2 จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 13.7

นักศึกษาชั้นปท่ี4 จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 1.6

2. ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของนักศึกษา

ผลการวิเคราะหความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชา

สังคมภิวัตนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 6 ดาน คือ ดานผูสอน ดานการจัดกิจกรรมการ

เรียนการสอน ดานเนื้อหาสาระ ดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ดานการวัดและ

ประเมินผล และ ดานผูเรียน (สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) การวิจัยปรากฏผลดังตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ี

ยึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 6 ดาน

Page 43: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

32

ตัวแปรท่ีศึกษา คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความหมาย

1.ดานผูสอน 4.24 0.71 มาก

2.ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4.13 0.71 มาก

3.ดานเนื้อหาสาระ 4.14 0.75 มาก

4.ดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอน 4.16 0.72 มาก

5.ดานการวัดและประเมินผล 4.36 0.68 มาก

6.ดานผูเรียน (สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) 4.17 0.72 มาก

รวม 4.20 0.71 มาก

จากตารางท่ี 5 พบวาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

ในวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จากกลุมตัวอยาง 124 คน ผลการวิจัยโดย

ภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.20 และสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน (S.D.)เทากับ 0.72 สําหรับผลการพิจารณาเปนระดับ พบวา ทุกดานอยูในระดับมาก

เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ดานการวัดและประเมินผล (𝑥= 4.36, S.D.= 0.68) รองลงมาคือ

ดานผูสอน (𝑥= 4.24, S.D.= 0.71)ดานผูเรียน (สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) (𝑥= 4.17, S.D.=

0.72)ดานสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน (𝑥= 4.16, S.D.= 0.72)ดานเนื้อหาสาระ (𝑥= 4.14,

S.D.= 0.75) และดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (𝑥= 4.13, S.D.= 0.71)

ตารางท่ี 6 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียน

การสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานผูสอนเปนรายขอดังนี้

ความพึงพอใจดานผูสอน คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

ความหมาย

1.แนะนําแนวทางการสอน แจงจุดมุงหมายเชิง

พฤติกรรม การวัดและประเมินผลแกผูเรียนอยาง

ชัดเจน

4.22 0.62 มาก

2.สามารถถายทอด จัดการเรียนการสอนเปนข้ันเปน

ตอนเหมาะสมเขาใจงาย

4.20 0.62 มาก

3.เปดโอกาส สงเสริมใหนักศึกษาไดศึกษาเรียนรูจาก

เอกสารประกอบการสอน จากการทํางานจริง

4.15 0.75 มาก

Page 44: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

33

ความพึงพอใจดานผูสอน คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

ความหมาย

คนควาทางอินเตอรเน็ต ฝกปฏิบัติจริง

4.สงเสริมใหนักศึกษา ฝกการวิเคราะห การใช

ความคิด เ พ่ือหา เหตุผลและแนวการ คิดริ เริ่ ม

สรางสรรค

4.12 0.74 มาก

5.สอนโดยมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

จรรยาบรรณวิชาชีพ คานิยมท่ีดี เชนความซ่ือสัตย

ความอดทน ความพอเพียง เห็นแกสวนรวม

4.62 0.80 มากท่ีสุด

6.ความตรงตอเวลา และความสมํ่าเสมอในการสอน 4.69 0.60 มากท่ีสุด

7.เปดโอกาสใหนักศึกษาไดซักถาม แสดงความ

คิดเห็น ประชุม พูดคุย ใหคําแนะนํา และรับฟง

ขอคิดเห็นของนักศึกษาท่ีแตกตางหรือขัดแยงจาก

อาจารย

4.29 0.69 มาก

8.แจ งรายชื่ อหนั งสื อ และระบบสืบคนขอ มูล

อิเลคทรอนิกสท่ีจะศึกษาคนควาดวยตนเองได

3.71 0.79 มาก

9.อาจารยมอบหมายเนื้อหาสาระการเรียนรูใหกับ

นักศึกษาแตละกลุม แลวใหนักศึกษาออกแบบสื่อ

การเรียนการสอนดวยตนเอง สื่อท่ีออกแบบตอง

นาสนใจ ทันสมัย เหมาะสมกับเนื้อหาสาระท่ี

หลากหลาย ชวยเสริมการเรียนรู และความเขาใจ

เนื้อหามากข้ึน

4.20 0.68 มาก

รวม 4.24 0.71 มาก

จากตารางท่ี 6 พบวาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

วิชาสังคมภิวัตน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดานผูสอน โดยภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจอยูใน

Page 45: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

34

ระดับมาก มีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.24 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.)เทากับ 0.71 เม่ือพิจารณา

เปนรายขอ พบวา ทุกขอมีคาเฉลี่ยท่ีแปรผลอยูในระดับมากขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดคือขอ 6.ความตรงตอ

เวลา และความสมํ่าเสมอในการสอน (𝑥= 4.69, S.D.= 0.60) รองลงมาคือ ขอ 5.สอนโดยมีการ

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพ คานิยมท่ีดี เชนความซ่ือสัตย ความอดทน ความ

พอเพียง เห็นแกสวนรวม (𝑥= 4.62, S.D.= 0.80)และขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดคือ ขอ 8.แจงรายชื่อ

หนังสือและระบบสืบคนขอมูลอิเลคทรอนิกสท่ีจะศึกษาคนควาดวยตนเองได(𝑥= 3.71, S.D.= 0.79)

ตารางท่ี 7 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเปนรายขอดังนี้

ความพึงพอใจดาน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แปรผล

1.นักศึกษาไดรับการชี้แจงจุดประสงค และ

จุดมุงหมายของรายวิชา

4.16 0.70 มาก

2.นักศึกษาไดมีสวนรวมในการกําหนดรูปแบบ

การจัดการเรียนการสอน เกณฑการวัดและ

ประเมินผล

3.87 0.78 มาก

3.นักศึกษาไดรับการชี้แจงแนวทางการนําความรู

ของรายวิชาไปใชในสภาพจริง

4.06 0.82 มาก

4.ผูสอนมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

จรรยาบรรณ วิชาชีพในระหวางการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอน

4.24 0.74 มาก

5.นักศึกษาสอบกอนเรียนและหลังเรียนในแตละ

หนวยการเรียนรูเพ่ือศึกษาความรูข้ันพ้ืนฐานของ

ผูเรียน นําไปวางแผนจัดการเรียนการสอนตอไป

4.43 0.72 มาก

6.กอนเรียนเนื้อหาสาระในแตละหนวย ผูสอน

บรรยายสรุปเนื้อหาสาระใหนักศึกษาไดรับทราบ

พรอมชี้แจงจุดประสงคปลายทางในการเรียนรูใน

เนื้อหานั้นๆ โดยเปดโอกาสให ซักถามแนว

4.29 0.73 มาก

Page 46: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

35

ความพึงพอใจดาน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แปรผล

ทางการสืบคนขอมูล

7.ใชกระบวนการกลุมในการสืบคนและนําเสนอ

ขอมูลแบบมีสวนรวมของทุกคน แลกเปลี่ยน

เรียนรู รวมกันกอนนําเสนอหนาชั้นเรียน

4.19 0.79 มาก

8.การเสนอผลงานการคนควาของนักศึกษาสาม

รถใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือชวยสงเสริม

การเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ

4.14 0.76 มาก

9.นักศึกษาไดพัฒนาองคความรูดวยกาจัดการ

เรียนการสอนแบบประสาน 5 แนวคิดหลักโดย

ใชกิจกรรมการเรียน 7 ข้ันตอน

4.14 0.72 มาก

10.นักศึกษาไดรับการพัฒนาใหเกิดแนวคิดเชิง

วิเคราะห สังเคราะห และสรางสรรค ในการ

สร างองคความรู ใหมด วยตนเอง โดยสรุป

บทเรียน ในแตละหนวยการเรียนรูดวยผัง

ค ว ามสั ม พั น ธ ท า งค ว ามหมาย ( semantic

mapping)

4.08 0.77 มาก

11.นักศึกษาใชขอมูลสารสนเทศท่ีไดรับจากการ

เรี ยนรู ร วม ทํ าแบบทดสอบหลั ง เ รี ยนและ

แบบฝกหัดทายบทเรียนในแตละหนวยการ

เรียนรู และศึกษาเพ่ิมเติมจากแหลงเรียนรูนอก

หองเรียน

4.16 0.71 มาก

12.นักศึกษาไดเรียนรูเนื้อหาสาระจากการจัด

กิจกรรมท่ีหลากหลายในเชิงบูรณาการจากการ

4.11 0.58 มาก

Page 47: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

36

ความพึงพอใจดาน

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แปรผล

ฟงคําบรรยายของผูสอน

รวม 4.13 0.72 มาก

จากตารางท่ี 7 พบวาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

ในวิชาสังคมภิวัตน ดานกิจกรรมการเรียนการสอน โดยภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจอยูในระดับ

มาก มีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.13 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)เทากับ 0.72 เม่ือพิจารณาเปน

รายขอ พบวา ทุกขอมีคาเฉลี่ยท่ีแปรผลอยูในระดับมาก ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอ 5.นักศึกษาสอบ

กอนเรียนและหลังเรียนในแตละหนวยการเรียนรูเพ่ือศึกษาความรูข้ันพ้ืนฐานของผูเรียน นําไป

วางแผนจัดการเรียนการสอนตอไป (𝑥= 4.43,S.D.= 0.72) รองลงมาคือ ขอ 6.กอนเรียนเนื้อหาสาระ

ในแตละหนวย ผูสอนบรรยายสรุปเนื้อหาสาระใหนักศึกษาไดรับทราบพรอมชี้แจงจุดประสงค

ปลายทางในการเรียนรูในเนื้อหานั้นๆ โดยเปดโอกาสใหซักถามแนวทางการสืบคนขอมูล (𝑥= 4.29,

S.D.= 0.73)และขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดคือ ขอ 2.นักศึกษาไดมีสวนรวมในการกําหนดรูปแบบ การ

จัดการเรียนการสอน เกณฑการวัดและประเมินผล(𝑥= 3.87, S.D.= 0.78)

ตารางท่ี 8 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานเนื้อหาสาระ เปนรายขอดังนี้

ความพึงพอใจดานเนื้อหาสาระ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

ความหมาย

1.นักศึกษาสามรถเชื่อมโยงเนื้อหาสาระจาก

บทเรียนไปยังแหลงเรียนรูอ่ืนๆไดดี และเปดโอกาส

ใหนักศึกษาสามารถ เสนอแนะในระหวางการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน

4.20 0.76 มาก

2.เนื้อหาสาระในแตละหนวยการเรียนรูครอบคลุม

และสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรูของ

หลักสูตร

4.23 0.75 มาก

3.เนื้อหาสาระการเรียนการสอนมีความนาสนใจ

ชักจูงใจใหนักศึกษากระตือรือรนท่ีจะเรียนรูและ

เขารวมกิจกรรม

4.08 0.76 มาก

Page 48: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

37

ความพึงพอใจดานเนื้อหาสาระ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

ความหมาย

4.นักศึกษาสามารถนําความรูไปประยุกตใชใน

ส ถ า น ก า ร ณ อ่ื น ๆ ห รื อ วิ ช า อ่ื น ๆ ไ ด อ ย า ง มี

ประสิทธิภาพ

4.05 0.76 มาก

5.มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และแนวคิด

เศรษฐกิจพอเพียงแกผูเรียนในเนื้อหาสาระในแต

ละหนวยหารเรียนรู

4.15 0.76 มาก

รวม 4.14 0.75 มาก

จากตารางท่ี 8 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานเนื้อหาสาระ โดยภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจอยูในระดับมาก

มีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.14 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)เทากับ 0.75 เม่ือพิจารณาเปนรายขอ

พบวา ทุกขอมีคาเฉลี่ยท่ีแปรผลอยูในระดับมาก ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอ 2.เนื้อหาสาระในแตละ

หนวยการเรียนรูครอบคลุมและสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรูของหลักสูตร (𝑥= 4.23, S.D.=

0.75) รองลงมาคือ ขอ 1.นักศึกษาสามรถเชื่อมโยงเนื้อหาสาระจากบทเรียนไปยังเรียนรูอ่ืนๆไดดี และ

เปดโอกาสใหนักศึกษาสามารถ เสนอแนะในระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (𝑥= 4.20,

S.D.= 0.76)และขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดคือ ขอ 4.นักศึกษาสามารถนําความรูไปประยุกตใชใน

สถานการณอ่ืนๆหรือวิชาอ่ืนๆไดอยางมีประสิทธิภาพ(𝑥= 4.05, S.D.= 0.76)

ตารางท่ี 9 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนเปนรายขอดังนี้

ความพึงพอใจดานส่ือและส่ิงสนับสนุนการเรียน

การสอน คาเฉล่ีย

สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน ความหมาย

1.มีเอกสารและสื่อประกอบการเรียนรู 4.23 0.81 มาก

2.นักศึกษาสามารถผลิตสื่อการเรียนรูมาประกอบ

บทเรียนท่ีไดรับมอบมายไดดวยตนเองอยางมี

ประสิทธิภาพ

4.19 0.65 มาก

3.นําเสนอสื่อนวัตกรรมท่ีผลิตไดดวยตนเองและ 4.08 0.72 มาก

Page 49: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

38

นําเสนอดวยเทคโนโลยีท่ีมีความทันสมัยไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

รวม 4.16 0.72 มาก

จากตารางท่ี 9 พบวามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

ในวิชาสังคมภิวัตน ดานสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน โดยภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจ

อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.16 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)เทากับ 0.72 เม่ือ

พิจารณาเปนรายขอ พบวา ทุกขอมีคาเฉลี่ยท่ีแปรผลอยูในระดับมาก ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอ 1.มี

เอกสารและสื่อประกอบการเรียนรู(𝑥= 4.23, S.D.= 0.81) รองลงมาคือ ขอ 2.นักศึกษาสามารถผลิต

สื่อการเรียนรูมาประกอบบทเรียนท่ีไดรับมอบมายไดดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพ (𝑥= 4.19,

S.D.= 0.65)และขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอยท่ีสุดคือขอ 3.นําเสนอสื่อนวัตกรรมท่ีผลิตไดดวยตนเองและ

นําเสนอดวยเทคโนโลยีท่ีมีความทันสมัยไดอยางมีประสิทธิภาพ(𝑥= 4.08, S.D.= 0.72)

ตารางท่ี 10 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานการวัดและประเมินผลเปนรายขอดังนี้

ความพึงพอใจดานการวัดและประเมินผล คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน แปรผล

1.มีการสอบกอนเรียนและหลังเรียนทุกหนวยการ

เรียนรู มีวิธีการวัดผลประเมินผลสอดคลอง และ

เหมาะสมกับวัตถุประสงค และเนื้อหาสาระ

4.46 0.75 มาก

2.ขอสอบครอบคลุมและสอดคลองกับจุดประสงค

การเรียนรู และเนื้อหาสาระ 4.38 0.65 มาก

3.มีการประเมินผลดวยการสังเกต การนําเสนอหรือ

อภิปรายผลหนาหองเรียน พรอมกับประเมินผลงาน

ผังความสัมพันธทางความหมายโดยใชเกณฑการ

ประเมินรูบิคส

4.24 0.66 มาก

รวม 4.36 0.68 มาก

จากตารางท่ี 10 พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานการวัดและประเมินผล โดยภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจอยูใน

ระดับมาก มีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.36 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)เทากับ 0.68เม่ือพิจารณา

Page 50: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

39

เปนรายขอ พบวา ทุกขอมีคาเฉลี่ยท่ีแปรผลอยูในระดับมาก ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอ 1.มีการสอบ

กอนเรียนและหลังเรียนทุกหนวยการเรียนรู มีวิธีการวัดผลประเมินผลสอดคลอง และเหมาะสมกับ

วัตถุประสงค และเนื้อหาสาระ (𝑥= 4.46, S.D.= 0.75) รองลงมาคือ ขอ 2.ขอสอบครอบคลุมและ

สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู และเนื้อหาสาระ (𝑥= 4.38, S.D.= 0.65)และขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอย

ท่ีสุดคือ ขอ 3.มีการประเมินผลดวยการสังเกต การนําเสนอหรืออภิปรายผลหนาหองเรียน พรอมกับ

ประเมินผลงานผังความสัมพันธทางความหมายโดยใชเกณฑการประเมินรูบิคส(𝑥= 4.24,S.D.= 0.66)

ตารางท่ี 11 แสดงคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน ดานผูเรียน(สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) เปนรายขอดังนี้

ความพึงพอใจดานผูเรียน

(สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบน

มาตรฐาน

แปรผล

1.การเตรียมความพรอมกอนเรียนและหลังเรียนใน

ทุกหนวยการเรียนรู

4.13 0.74 มาก

2.การมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมในชั้นเรียนทุก

ข้ันตอนอยางกระตือรือรน

4.08 0.71 มาก

3.มีความกระตือรือรนในการศึกษาหาความรูเพ่ิมเติม

ในบทเรียนทุกหนวยการเรียนรู

4.09 0.72 มาก

4.ความตรงตอเวลาและความสมํ่าเสมอในการเขา

เรียน

4.41 0.74 มาก

5.การนําความรู ท่ีไดรับไปใชในชีวิตประจําวันได

อยางมีประสิทธิภาพ

4.16 0.75 มาก

รวม 4.17 0.73 มาก

จากตารางท่ี 11พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน(สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) โดยภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจอยู

ในระดับมากมีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.17และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)เทากับ 0.73เม่ือพิจารณา

เปนรายขอ พบวา ทุกขอมีคาเฉลี่ยท่ีแปรผลอยูในระดับมาก ขอท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ขอ 4.ความตรง

Page 51: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

40

ตอเวลาและความสมํ่าเสมอในการเขาเรียน (𝑥= 4.41, S.D.= 0.74) รองลงมาคือ ขอ 5.การนําความรู

ท่ีไดรับไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ (𝑥= 4.16, S.D.= 0.75)และขอท่ีมีคาเฉลี่ยนอย

ท่ีสุดคือ ขอ 2.การมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมในชั้นเรียนทุกข้ันตอนอยางกระตือรือรน(𝑥= 4.08,

S.D.= 0.71)

3. ผลการวิเคราะหขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชา

สังคมภิวัตน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 4 ดาน คือ ดานเนื้อหาวิชา ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการ

สอน ดานการนําความรูไปใช ดานประโยชนจากเทคนิคการมีสวนรวม (การจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลาง) ดังนี้

3.1ดานเนื้อหาวิชา

(1) ควรจัดเรียงเนื้อหาสาระตามเหตุการณท่ีเกิดข้ึน กอนและหลังอยางเปนระบบ เพ่ือ

ปองกันความซํ้าซอนของเนื้อหาสาระ และควรปรับปรุงเนื้อหาสาระใหทันสมัย ทันเหตุการณใน

สังคมไทยและสังคมโลก

(2) อยากใหเนื้อหาสาระสอดคลองกับเหตุการณในยุคปจจุบัน

(3) ควรเพ่ิมเติมเนื้อหาสาระบางตอนใหกระชับ ไมควรใหขาดหายไป ทําใหขอมูลไม

ตอเนื่อง และทําใหผูเรียนไมเขาใจสถานการณ

3.2 ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

(1) ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวยเทคนิคการสอนท่ีหลากหลาย นาสนใจ

จัดกิจกรรมใหนาสนใจ และใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรม การเรียนการสอน

(2) ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ทําใหผูเรียนเกิด

จิตสํานึกท่ีดี และเห็นคุณคาของรายวิชา

(3) อยากใหอาจารยทบทวนเรื่องท่ีสอนผานมาทุกครั้งกอนสอบเนื้อหาสาระใหม เพ่ือเชื่อม

เนื้อหาเกากับเนื้อหาใหมไดอยางกระชับ

(4) ควรสงเสริมใหนักศึกษากลาแสดงออกโดยจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดกลาแสดงออกใน

รูปแบบตางๆท่ีเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ

(5) ควรมีการวัดผลประเมินผลกอนเรียนและหลังเรียนอยางตอเนื่องและทุกหนวยการ

เรียนรู

(6) อยากใหอาจารยมีสื่อการเรียนการสอนท่ีทันสมัย เปดวีดีโอประกอบบทเรียน ทําให

บทเรียนนาสนใจ ทําใหนักศึกษาอยากเรียนมากข้ึน

Page 52: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

41

(7) ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใหนักศึกษาคิดวิเคราะหในบทเรียนอยางสมํ่าเสมอ

และตอเนื่อง

3.3 ดานการนําความรูไปใช

(1) ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใหนักศึกษาคิดวิเคราะหสังเคราะห เพ่ือใหนักศึกษา

ไดนําความรูท่ีไดศึกษานําไปใชในสถานการณท่ีเกิดข้ึนในสังคมโลกอยางรูเทาทัน

(2) ควรใหนักศึกษาคนควาเรื่องราวท่ีสนใจท่ีเกิดข้ึนในสังคมโลก แลวนํามาอภิปรายในชั้น

เรียนทําใหนักศึกษามีความภาคภูมิใจในตนเอง และอยากท่ีจะศึกษามากข้ึน

3.4 ดานประโยชนจากเทคนิคการมีสวนรวม (การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง)

(1) ควรใหนักศึกษามีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือใหผูเรียนไดกลาแสดงออก

โดยเฉพาะการสงเสริมใหนักศึกษานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน พรอมใชสื่อการนําเสนอท่ีทันสมัย

(2) ควรใหนักศึกษาไดสรางบทเรียนดวยตนเองเม่ือจบบทเรียนแตละหนวยการเรียนรู และ

ควรใหนักศึกษาสรุปบทเรียนเปนของตนเองโดยใชเทคนิค กราฟก หรือ mind mapping

(3) ควรเนนกระบวนการกลุมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพราะจะทําใหนักศึกษา

ไดมีปฏิสัมพันธกับเพ่ือนและรวมกันทํากิจกรรมสรางสรรคบทเรียนใหนาสนใจมากข้ึน

Page 53: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

40

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

รายวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีวัตถุประสงคของการวิจัยเพ่ือคือ (1)

เพ่ือศึกษาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตนของ

นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และ (2). เพ่ือศึกษาขอเสนอแนะตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึด

ผูเรียนเปนศูนยกลางในรายวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จํานวน 124 คน

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยคือแบบสอบถามความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางในรายวิชาสังคมภิวัตน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นํามาวิเคราะหหาคารอย

ละ คาเฉลี่ย(𝑥) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.)สามารถสรุปผลอภิปรายผลการวิจัยดังนี้

1.สรุปผลการวิจัย

1.1ขอมูลท่ัวไป

นักศึกษาท่ีตอบแบบสอบถาม จํานวน 124 ชุด พบวา นักศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิง คิด

เปนรอยละ 81.5 และ เพศชาย คิดเปนรอยละ 18.5 มาจากคณะท่ีแตกตางกัน คือ คณะ

วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการเกษตร คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะ

วิทยาการจัดการ จากวิชาเอกท่ีแตกตางกัน คือ จากหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตร

วิทยาศาสตรท่ัวไป หลักสูตรประถมศึกษา หลักสูตรคอมพิวเตอร หลักสูตรนิเทศศาสตร และ

หลักสูตรฟสิกส มาจากชั้นปท่ีแตกตางกันดวยคือ นักศึกษาชั้นปท่ี 1 นักศึกษาชั้นปท่ี 2 นักศึกษาชั้น

ปท่ี 3 และนักศึกษาชั้นปท่ี 4 พบวา นักศึกษาท่ีมาจากตางคณะ ตางวิชาเอกและตางชั้นปดาน

คุณธรรมจริยธรรม ความรับผิดชอบในบทบาท หนาท่ีท่ีไดรับมอบหมาย ปรากฏเดนชัดวา นักศึกษา

จากคณะตรุศาสตรมีคุณธรรมในดานนี้มากท่ีสุด (วัดจากการสังเกต เก็บขอมูลจากการสงงาน และ

นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน)

1.2 ความพึงพอใจ

จากแบบสอบถามความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

วิชาสังคมภิวัตน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ใน 6 ดานคือ ดานผูสอน ดานการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอน ดานเนื้อหาสาระ ดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ดานการวัดและประเมินผล

และ ดานผูเรียน (สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) จากแบบสอบถามท่ีไดรับกลับมาจํานวน 124 ชุด

พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในรายวิชา

สังคมภิวัตน โดยภาพรวม มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย (𝑥) เทากับ 4.20 และสวน

Page 54: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

41

เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)เทากับ 0.72 สําหรับผลการพิจารณาเปนระดับ พบวา ทุกดานอยูในระดับ

มาก เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ดานการวัดและประเมินผล รองลงมาคือ ดานผูสอน ดาน

ผูเรียน (สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) ดานสื่อและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ดานเนื้อหาสาระ

และดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

2. อภิปรายผล

การวิเคราะหขอมูล เรื่อง ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางในวิชาสังคมภิวัตน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พบประเด็นท่ีสําคัญ คือ

2.1 ระดับความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชา

สังคมภิวัตน

จากการศึกษาความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางใน

รายวิชาสังคมภิวัตนของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พบวา นักศึกษาท่ีมาจากหลายคณะ

หลายวิชาเอก หลายหลักสูตร หลายชั้นป มีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง อยูในระดับมาก เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ดานการวัดและประเมินผล ดานผูสอน

ดานผูเรียน (สําหรับผูเรียนประเมินตนเอง) ดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ดานเนื้อหา

สาระ และดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จึงทําใหคาเฉลี่ยความพึงพอใจของนักศึกษาแมจะ

อยูในระดับมากแตก็ไมสูงมากนักสอดคลองกับการรายงานการประเมินผลการปฏิรูปการเรียนรูป

2545 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ซ่ึงทําการประเมินผลการปฏิรูปการเรียนรูใน

12 ดาน พบวา มีการดําเนินงานดานการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง อยูใน

ระดับมาก (รอยละ 76.7) แตคาเฉลี่ยยังต่ํากวา รอยละ 80 เพราะหลักการจัดการเรียนรูโดยยึด

ผูเรียนเปนสําคัญนั้น เริ่มตั้งแตการใชคําวา “Instruction” หรือ การเรียนการสอน การจัดการเรียนรู

แทนคําวา “Teaching” หรือ การสอน โดยมีแนวคิดวาในการสอนครูนั้นตองคํานึงถึงการเรียนรูของ

ผูเรียนเปนสําคัญ และพยายามใหผูเรียนไดเรียนรูดวยการกระทํา แตเนื่องจากการเรียนการสอนโดย

ยึดครูเปนสําคัญจึงยังครองอํานาจอยูอยางเหนียวแนนมาจนถึงปจจุบัน ในทางปฏิบัติโดยเฉพาะใน

ประเทศไทย มิไดมีการปฏิบัติตามแนวคิดของ “Instruction” เพียงแตมีการใชคํานี้ในความหมาย

ของ “Teaching” แตดังเดิม หรือพูดงาย ๆวา เราใชศัพทใหมนํามาใชแทนคําศัพทเกา ดวยเหตุนี้ เม่ือ

มีประกาศวา ครูจะตองปฏิรูปกระบวนการเรียนรู โดยการจัดการเรียนรูท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ครู

ตางก็ถามกันวาสอนอยางไรท่ีวาใหผูเรียนเปนศูนยกลาง ปญหาประการหนึ่งท่ีเกิดข้ึน คําตอบมีความ

Page 55: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

42

หลากหลาย ตรงกันบางไมตรงกันบาง ทําใหครูเริ่มสับสนไมแนในวาสิ่งท่ีตนเองทํานั้นถูกหรือไม นี่คือ

สาเหตุหนึ่งท่ีทําใหคาเฉลี่ยต่ํากวารอยละ 80 (บุญเลี้ยง ทุมทอง :2556 :285)

2.2 ระดับความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางในวิชา

สังคมภิวัตนจําแนกเปนรายดานและรายขอดังนี้

(1) ดานผูสอน

ผลการวิจัยพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในการจัดการเรียนรูท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง ในดานผูสอนอยูในระดับมาก แตเม่ือพิจารณาในรายขอ พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจใน

ระดับมากท่ีสุด 2 ประเด็น ประเด็นแรก สอนตรงตอเวลาและสมํ่าเสมอในการสอน ประเด็นท่ี 2

ผูสอนสอนโดยมีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ คานิยมท่ีดี เชน ความชื่อสัตย

ความอดทน ความเพียร เห็นแกสวนรวม สอดคลองกับพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระ

เจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช “การศึกษาเปนเรื่องใหญ และสําคัญของมนุษย คนเราเม่ือเกิดมาก็ไดรับ

การสั่งสอนจากบิดา มารดา อันเปนความรูเบื้องตน เม่ือเจริญเติบโตข้ึนก็เปนหนาท่ีของครูและ

อาจารยสั่งสอนใหไดรับความรูสูง และอบรมจิตใจใหถึงพรอมดวยคุณธรรม เพ่ือจะไดเปนพลเมืองดี

ของชาติสืบไป งานของครูจึงเปนงานท่ีสําคัญยิ่ง ทานท้ังหลายซ่ึงจะออกไปทําหนาท่ีครูตองยึดม่ันอยู

ในหลักศีลธรรม และพยายามถายทอดวิชาความรูแกเด็กใหดีท่ีสุดท่ีจะทําได นอกจากนี้ยังตองวางตน

ใหสมกับท่ีเปนครูใหผูเรียนมีความเคารพนับถือ และเปนท่ีเลื่อมใสไววางใจของผูปกครองนักเรียนดวย

(ชาญชัย ยมดิษฐ.2548) และเม่ือพิจารณารายขอท่ีนักศึกษาพึงพอใจในระดับมาก 3 ขอแรก คือ

นักศึกษาพึงพอใจท่ีผูสอนเปดโอกาสใหนักศึกษาไดซักถาม แสดงความคิดเห็น ประชุม พูดคุย ให

คําแนะนําและรับฟงขอคิดเห็นของนักศึกษาท่ีแตกตางหรือขัดแยงจากอาจารย สอดคลองกับ

หลักการพ้ืนฐานของแนวคิด “ผูเรียนเปนศูนยกลาง” ท่ีวา “ครูคือผูอํานวยความสะดวกและเปนแหลง

เรียนรูของผูเรียน”(วัฒนาพร ระงับทุกข. 2542) รองลงมา คือ แนะนําแนวการสอน แจงจุดประสงค

เชิงพฤติกรรม การวัดและประเมินผลแกผูเรียนอยางชัดเจน (มคอ3 วิชาสังคมภิวัตน) ขอท่ีนักศึกษา

พึงพอใจในอันดับท่ี 3 อาจารยไดมอบหมายเนื้อหาสาระการเรียนรูใหกับนักศึกษาแตละกลุม แลวให

นักศึกษาออกแบบสื่อการเรียนการสอนดวยตนเอง สื่อท่ีออกแบบตองนาสนใจ ทันสมัยเหมาะสมกับ

เนื้อหาสาระท่ีมอบหมาย ไดสื่อท่ีหลากหลายชวยเสริมการเรียนรูและความเขาใจเนื้อหามากข้ึน

สอดคลองกับหลักการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง (ทิศนา แขมมณี. 2555)

Page 56: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

43

ผลจากการวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยคนพบวา การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลาง บทบาทของครูและบทบาทของผูเรียนตองมีพฤติกรรมท่ีสอดคลองกันตรงกับความคิดเห็น

ของ ทิศนา แขมมณีท่ีกลาววา ในขณะท่ีมีการเรียนการสอนเกิดข้ึน มีท้ังการเรียนรูของผูเรียนและการ

สอนของครู เรามักจะพบวา ผูเรียนจะเปนผูมีบทบาทเดน และใชเวลาของการเรียนการสอนมาก

เพราะผูเรียนจะตองเปนผูกระทําตอสิ่งเรียนรู ใชกระบวนการเรียนรูตาง ๆสรางความหมาย ความ

เขาใจใหแกตนเอง โดยมีครูทําหนาท่ีดูแลอํานวยความสะดวก กระตุนและใหคําชี้แนะหรือแนวทาง

ตาง ๆตามความจําเปน ซ่ึงภาพนี้เปนภาพหนึ่งท่ีแสดงใหเห็นถึงการลดบทบาทของครูลงไป แตใน

ขณะเดียวกันก็มิไดหมายความวา ครูมีความสําคัญนอยลง และมีงานนอยลง อันท่ีจริงแลวครูมี

บทบาทเดนและสําคัญมากตอการเรียนรูของผูเรียน เพราะหลักการและแนวคิดในการจัดการเรียน

การสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ตองคํานึงถึงการเรียนรูของผูเรียนเปนสําคัญ และชวยใหผูเรียน

เกิดการเรียนรูดวยวิธีการตาง ๆ (ทิศนา แขมมณี: 2557) เพ่ือใหนักศึกษาเกิดการเรียนรูดังกลาว

ผูวิจัยจึงจัดการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ เชน - แบบเนนตัวผูเรียน -แบบเนนความรู

ความสามารถ – แบบเนนประสบการณ – แบบเนนปญหา –แบบทักษะกระบวนการ และ–แบบเนน

บูรณาการ โดยเตรียมการสอน จัดเตรียมกิจกรรมและประสบการณตาง ๆท่ีสามารถชวยใหนักศึกษา

เกิดการเรียนรู โดยเนนใหนักศึกษาเรียนรูโดยการกระทํา (learning by doing) โดยการปฏิบัติการ

จริง รูจักการใชทักษะกระบวนการตาง ๆ รูจักใชหลักการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม หลักการวัดผล

และประเมินผลตามสภาพจริง เปนตน การเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลางผูวิจัยเนนให

นักศึกษาสรางความรูใหม โดยใชกระบวนการทางปญญา (กระบวนการคิด และกระบวนการทาง

สังคม) นักศึกษาสามารถนําความรูไปประยุกตใชได โดยผูสอนมีบทบาทเปนผูอํานวยความสะดวกใน

การจัดประสบการณใหกับผูเรียน (พิมพันธ เดชะคุปตและคณะ :2553) ดังนั้นในการพัฒนานักศึกษา

ใหบรรลุตามวัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง สามารถทําไดหลาย

ลักษณะแตกตางกัน จะใชรูปแบบใดก็ได ถาหากวิธีการและกระบวนการนั้นชวยใหนักศึกษามีบทบาท

และมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูอยางตื่นตัว และผูเรียนไดสรางความหมายของสิ่งท่ีเรียนรูจนเกิด

เปนความเขาใจท่ีแทจริง ก็ถือวาการสอนนั้น ๆเปนการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

(2) ดานกิจกรรมการเรียนการสอน

ผลการวิจัยในดานการจัดการเรียนการสอน พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจอยูใน

ระดับ มาก เม่ือแยกพิจารณาเปนรายขอ พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอน

Page 57: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

44

ท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง 3 อันดับแรก ไดแก นักศึกษาพึงพอใจท่ีไดทดสอบกอนเรียน และหลังเรียน

ในแตละหนวยการเรียนรูเพ่ือศึกษาความรูพ้ืนฐานของผูเรียนนําไปวางแผนจัดการเรียนการสอนตอไป

(มคอ.3 วิชาสังคมภิวัตน)ความพึงพอใจของนักศึกษาในขอนี้สอดคลองกับกระบวนการจัดการเรียน

การสอนของ ทิศนา แขมมณีท่ีวากระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยท่ัวไปแบงไดเปน 6ข้ันตอน คือ

ข้ันเตรียมความพรอมของนักศึกษา ผูวิจัยดําเนินการสอนดังนี้ ข้ันนําเขาสูบทเรียน ข้ันสอนตาม

รูปแบบการสอน กระบวนการเรียนรู วิธีสอน เทคนิคการสอนและศิลปะการสอนตาง ๆท่ีถูกเลือกมา

ใชในการสอนท่ีถูกออกแบบไวดังไดกลาวมาแลว โดยข้ันนี้ถือเปนการจัดประสบการณการเรียนรูท่ีดี

ท่ีสุดแกนักศึกษาดวยการบูรณาการ เนื้อหาสาระและกิจกรรมสื่อการเรียนการสอน ตลอดจนเทคนิค

วิธีท่ีสอดคลองกับธรรมชาติ วัย ประสบการณของผูเรียนอยางเหมาะสม สามารถบรรลุคุณลักษณะ

คุณภาพหรือพฤติกรรมท่ีตองการใหเกิดข้ึนตามผลการเรียนรูท่ีกําหนดไวในวัตถุประสงคโดยมีสื่อ

นวัตกรรม และเครื่องมือการวัดผลเขามารวมดําเนินการอยางเหมาะสมกับข้ันตอนท่ีกําหนด ข้ันสรุป

บทเรียน เปนข้ันท่ีใหนักศึกษาสรุปสาระการเรียนรูท่ีเกิดในตัวผูเรียนจริง ๆ โดยการทําแผนผัง

ความคิด (mind mapping) ข้ันวัดผลประเมินผล เปนข้ันท่ีนักศึกษาตองตรวจสอบตนเองวาเกิด

พฤติกรรมการเรียนรูตามเปาหมายหรือไมเพียงใดในสภาพจริง หลังกระบวนการสอนสิ้นสุดลง

สอดคลองกับแนวคิดพ้ืนฐานท่ีวา “ยิ่งผูเรียนมีวุฒิภาวะสูงข้ึน ยิ่งตองมีความรับผิดชอบท่ีจะตองคนหา

คนพบขอความรู และสรุปขอความรูจากประสบการณการเรียนรูของตนมากข้ึน (วัฒนาพร ระงับทุกข

: 2542 )

การวัดผลการเรียนรูมีวัตถุประสงคในการพัฒนาตนเองของนักศึกษาใหบรรลุ

ศักยภาพสูงสุดของการพัฒนา ดังนั้น วิธีการประเมินตองใชเครื่องมือหรือวิธีการท่ีหลากหลากหลาย

และเท่ียงตรง การประเมินผลท่ีดีตองประเมินท้ังกอนสอน ระหวางสอน และหลังกระบวนการจัดการ

เรียนการสอนสิ้นสุดลง เพ่ือนําผลการเรียนรูท่ีดีท่ีสุดของนักศึกษาไปตัดสินผลการเรียน และข้ัน

สงเสริมความแมนยําและเปดโอกาสใหใชจริงในชีวิตประจําวัน อันดับรองลงมา คือ ผูสอนมีการ

สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพในระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ความ

พึงพอใจของนักศึกษาสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 กลาวไวในมาตรา 6

วา “การจัดการศึกษาตองเปนไปเพ่ือใหคนไทยเปนมนุษยท่ีสมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา

ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิตสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมี

ความสุขในแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2545-2549 กลาวไวใน

Page 58: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

45

จุดมุงหมายและคานิยมรวมในสังคมไทยท่ีพึงประสงควา คนไทยทุกคนมีโอกาสและความเสมอภาคท่ี

จะพัฒนาตนเองเต็มศักยภาพ เพ่ือเปนคนดี คนเกง ถึงพรอมดวยคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย เคารพ

กฎหมาย มีความรับผิดชอบ และมีจิตสํานึกสาธารณะ มีความสามารถ คิด ทําเอง และพ่ึงตนเองมาก

ข้ึน ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการเรียนสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางดานการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอน อันดับท่ี 3คือ ใชกระบวนการกลุมในการสืบคนและนําเสนอขอมูลแบบมีสวนรวม

ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง ของทิศนา แขมมณี จากหนังสือ ศาสตรการสอน กลาวถึงการจัดการเรียน

การสอนโดยเนนกระบวนการกลุม กระบวนการกลุมเปนกระบวนการในการทํางานรวมกันของบุคคล

ตั้งแต 2 คนข้ึนไป โดยมีวัตถุประสงครวมกัน และมีการดําเนินงานรวมกัน โดยผูนํากลุมและสมาชิก

กลุมตางก็ทําหนาท่ีของตนอยางเหมาะสม และมีกระบวนการทํางานท่ีดี เพ่ือนํากลุมไปสูวัตถุประสงค

ท่ีกําหนดไว การเปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูกระบวนการทํางานกลุมท่ีดี จะชวยใหผูเรียนเกิดทักษะ

ทางสังคม และขยายขอบเขตของการเรียนรูใหกวางขวางข้ึน

นอกจากนี้ผูวิจัยยังไดพบวานักศึกษามีความพึงพอใจในดานการจัดการเรียนรูของครู

ทําใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูสูงข้ึน ไดแกดานสรางแรงจูงใจ และการเสริมแรงใหนักศึกษา

อยากเรียน ในการจัดการเรียนสอนท่ีผูวิจัยควรปรับปรุง คือเทคนิคในการจัดการเรียนรูใหนาสนใจ

มากข้ึน เทคนิคและวิธีสอนนั้นความสัมพันธกับแรงจูงใจในการเรียนตามท่ีชาญชัย อาจินสมาจาร

(2545) กลาวถึง กลยุทธในการสอนเปนสิ่งสําคัญ ครูควรใชเทคนิคการสอนในรูปแบบตาง ๆ เชน การ

ฝกการคิดในการทํางานท่ีตองใหผูเรียนใชความคิดในระดับสูงข้ึน

ในสวนของขอเสนอแนะของนักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปน

ศูนยกลางในดานการจัดกิจกรรมการการสอนวา ควรสอนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย ใหผูเรียนไดลงมือ

เรียนดวยการปฏิบัติจริง สนุกในการเรียน ไมเครียด ไดคนพบความสามารถของตนเอง รวมท้ังมี

โอกาสไดแสดงความคิดเห็นไดในระดับท่ีนาพอใจ ซ่ึงถือวาเปนบรรยากาศสภาพการเรียนรูท่ีมีผลใน

ทางบวก ซ่ึงนาจะมีผลตอเจตคติและแรงจูงใจในเชิงบวกตอผูเรียน ดังงานวิจัยของ แสงดาว ถ่ินหาร

วงษ (2558)

ผลการวิจัยอีกอยางหนึ่งจากการศึกษาจากขอเสนอแนะเก่ียวกับการจัดการเรียนการ

สอนเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ทําใหผูวิจัยสะทอนความคิดเห็นของนักศึกษา และนําอภิปรายเพ่ิมเติม

ดังนี้ ผูเรียนมีความรูความเขาใจในการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเปนศูนยกลางมากข้ึน แตยังมี

นักศึกษาสวนหนึ่งยังมีเจตคติไมดีตอการจัดการเรียนการสอนดังกลาว ซ่ึงอาจเปนเพราะวาการจัดการ

Page 59: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

46

เรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางจะตองไดรับการฝกทักษะท่ีจําเปนในการเรียนหรือวิธีเรียน

เชน ทักษะการพูด การสังเกต การบันทึก การฟง การอาน การคิด การสืบคน การวิเคราะห

สังเคราะห จึงยังไมเห็นประโยชนในการศึกษาคนควาดวยตนเอง และการเรียนรวมกันเทาท่ีควร อีก

ท้ังผูเรียนไมไดรับการฝกทักษะการคิด การสื่อสารความหมายอยางเหมาะสมเพียงพอ จึงไมสามารถ

สื่อสารดวยการเขียน การพูดไดดี ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของ ทิศนา แขมมณี (2555) ท่ีกลาววา การ

ปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ของผูเรียนในกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง จําเปนตองใช

ทักษะกระบวนการตาง ๆ จํานวนมาก ดวยเหตุนี้ผูเรียนบางสวน จึงยังไมตองการคิดวิเคราะหดวย

ตนเอง ยังตองการใหครูบอกหรือถายทอดความรูใหแบบเดิมและเกรงวาจะสอบเขามหาวิทยาลัยไมได

ถาตองการเรียนรูดวยตนเอง ดังนั้นการดําเนินการดังกลาวใหไดผล จึงจําเปนตองอาศัยความรวมมือ

ของท้ังสองฝาย คือ ท้ังผูเรียนและผูสอนโดยใหเวลาและโอกาสในการปรับตัวพัฒนาใหได เรียนรูและ

เห็นคุณคาของการจัดการเรียนรู โดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลางเพ่ือใหเห็นผลและนํามาใชไดอยางบรรลุ

วัตถุประสงค อยางไรก็ตาม ขอคนพบจากการวิเคราะหขอเสนอแนะ พบวา นักศึกษากลาแสดงความ

คิดเห็น และเขียนบรรยายไดมากข้ึน แสดงวาผูเรียนไดรับการฝกทักษะตาง ๆไดดีพอสมควรจากการ

จัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง

(3) ดานการวัดผลประเมินผลการเรียน

ผลการวิจัยดานการวัดผลประเมินผลการเรียน พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอ

การจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลาง อยูในระดับมากทุกขอ แตเมือแยกพิจารณาแลว

พบวา การวัดผลประเมินผลเปนการตัดสินเก่ียวกับการเรียนการสอน เพ่ือแกไขปญหาและการพัฒนา

ผูเรียนใหมีคุณภาพสูงข้ึน ความพึงพอใจของนักศึกษาดานวัดผลประเมินผลในระดับแรกสอดคลอง

ชาญชัย ยมดิษฐ ท่ีกลาววารูปแบบ การประเมินผลการเรียนการสอนท่ัวไป คือ กอนเรียน ระหวาง

การเรียนการสอน หลังเรียน การท่ีผูสอนใหผูเรียนนําผลการประเมินมาปรับปรุงผลงาน และ

พัฒนาการเรียนรูของตนเอง ครูประเมินผูเรียนจากการใหปฏิบัติจริง ขอคนพบนี้สอดคลองกับรายงาน

การประเมินผลการปฏิรูปการเรียนรู (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.2547)

การวัดผลประเมินผลท่ีสอดคลองกับแนวคิดผูเรียนเปนศูนยกลาง คือ การประเมิน

ตามสภาพจริง เพราะเปนวิธีการท่ีสามารถคนหาความสามารถและความกาวหนาในการเรียนรูท่ี

แทจริงของผูเรียน และยังเปนขอมูลสําคัญท่ีสามารถนํามาใชประกอบการตัดสินผลการเรียนของ

ผูเรียนไดอยางดีดวย(วัฒนาพร ระวันทุกข. 2542)

Page 60: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

47

(4) ดานสื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอน

นักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางดาน

สื่อและสื่อสนับสนุนการเรียนการสอน อยูในระดับมาก ทุกขอ เพราะนักศึกษาไดจัดทําและผลิตดวย

ตนเอง และนําสื่อท่ีผลิตดวยตนเองนําเสนอประกอบการบรรยายนําเสนอชิ้นงานหนาชั้นเรียน เพราะ

สื่อชวยใหเขาใจเรื่องราวไดเร็วข้ึน สอดคลองกับหลักในการใชสื่อการเรียนการสอนของวัฒนาพร

ระงับทุกข ท่ีวา สื่อแตละประเภทจะมีประสิทธิภาพในการสงเสริมการเรียนรูดานตาง ๆ ไมเทากัน

ดังนั้นในการกําหนดสื่อการเรียนการสอนหลังจากวิเคราะหจุดประสงคกกการเรียนรูและเนื้อหา เพ่ือ

กําหนดพฤติกรรมหรือทักษะท่ีมุงเนน ครูจะพิจารณาเลือกเทคนิควิธีการสอนพรอม ๆไปกับการ

กําหนดสื่อการเรียนการสอนตองสอดคลองกันวา เทคนิควิธีสงเสริมการฝกพฤติกรรมหรือทักษะ ท่ี

ตองการในขณะท่ีสื่อชวยใหผูเรียนเขาถึงเนื้อหาสาระ ความคิดหลัก หรือเอ้ือใหผูเรียนสามารถบรรลุ

จุดประสงคการเรียนรูไดเร็วยิ่งข้ึน

(5) ดานเนื้อหาสาระ

นักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางดาน

เนื้อสาระ อยูในระดับมากทุกขอ เพราะเนื้อหาสาระของนวัตกรรม (เอกสารประกอบการสอน)เปน

เนื้อสาระท่ีทันสมัย ทันเหตุการณของโลก ถึงแมวาในขอเสนอแนะนักศึกษาจะวิพากษวิจารณวา

เนื้อหาสาระบางตอนยังไมทันกับเหตุการณ ลาสมัย แตในการจัดการเรียนการสอนในดานเนื้อหาสาระ

ผูวิจัยนําเนื้อหาสาระท่ีเปนเหตุการณในปจจุบันเชื่อมโยงกับเนื้อสาระท่ีมีอยูเดิมใหนักศึกษาไดรับ

ทราบอยางเปนข้ันเปนตอน ทําใหนักศึกษาเห็นความสําคัญของนวัตกรรม ดังนั้นนวัตกรรม (เอกสาร

ประกอบการสอนวิชาสังคมภิวัตน เปนเอกสารท่ีนักศึกษาใหความสนใจและยอมรับเพราะมีลักษณะ

ตามท่ี ทิศนา แขมมณี (2555) ไดกลาววาเปนนวัตกรรมท่ีไมซับซอนและยากจนเกิดไป ความยากงาย

ของนวัตกรรมมีอิทธิพลอยางมากตอการยอมรับและนําไปใช หากนวัตกรรมนั้นมีลักษณะท่ีผูใชเขาใจ

ไดงาย ใชไดงาย ใชไดสะดวก การยอมรับนําไปใชก็เกิดข้ึนไดงายดวย ไมตองใชเวลาในการเผลแพร

มากนัก

(6) ดานผูเรียน

พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผู เรียนเปน

ศูนยกลาง ดานผูเรียน อยูในระดับมาก ทุกขอ สอดคลองหลักการจัดกิจกรรมการเรียนโดยยึดผูเรียน

เปนศูนยกลางท่ีวาผูเรียนมีสวนในการจัดการเรียนการสอนอยางตื่นตัว ท้ังทางดานกาย สติปญญา

อารมณ และสังคม ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูอยางตื่นตัวพรอมท่ีเรียนรู ท้ังทางดาน

Page 61: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

48

สติปญญา ทางดานอารมณ และทางดานสังคม (ชาญชัย ยมดิษฐ. 2548)สอดคลองกับหลักการ

พ้ืนฐานของแนวคิด “ผูเรียนเปนศูนยกลาง”ของวัฒนาพร ระงับทุกข (2542) ท่ีวา ผูเรียนมีบทบาท

รับผิดชอบตอการเรียนรูของตน ผูเรียนเปนผูเรียนรู บทบาทของครูคือผูสนับสนุน (supporter) และ

เปนแหลงความรู (resource person)ของผูเรียน ผูเรียนจะรับผิดชอบตั้งแตเลือกและวางแผนสิ่งท่ีตน

จะเรียนหรือเขาไปมีสวนรวมในการเลือก และจะเริ่มตนการเรียนรูดวยตนเอง ดวยการศึกษาคนควา

รับผิดชอบการเรียนตลอดจนประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูจะประสบความสําเร็จหาก

ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู ผูเรียนจะไดรับความสนุกสนานจากการเรียน หากไดเขาไปมี

สวนรวมในการเรียนรู ทํางานรวมกับเพ่ือน ๆ ไดคนขอคําถามและคําตอบใหมๆ สิ่งใหม ๆประเด็นท่ี

ทาทายและความสามารถในเรื่องใหม ๆท่ีเกิดข้ึน รวมท้ังการบรรลุผลสําเร็จของงานท่ีพวกเขาริเริ่ม

ดวยตนเอง และผูเรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแงมุมท่ีแตกตางจากเดิม ดังนั้นการเรียนรูท่ีเนนผูเรียน

เปนศูนยกลาง เปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาผูเรียนหลาย ๆดาน คุณลักษณะดานความรูความคิด

ดานการปฏิบัติ และดานอารมณความรูสึกจะไดรับการพัฒนาไปพรอม ๆกัน (วัฒนาพร ระงับทุกข

:2542 )

3.ขอเสนอแนะ

3.1 ดานครูผูสอน

ควรพัฒนาการจัดการเรียนการสอนใหทันสมัย ใชเทคนิคการสอนท่ีหลากหลายภายใต

จุดประสงคการเรียนรูและเนื้อหาท่ีสอดคลองกัน เพ่ือใหนักศึกษาเรียนรูอยางมีความสุข และมีความ

กระตือรือรนท่ีจะศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมอยูตลอดเวลา

3.2 ดานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ควรใหนักศึกษาไดมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนสอนทุกข้ันตอนและควรใหนักศึกษาได

สรางบทเรียนดวยตนเองหลังสิ้นสุดการเรียนการสอนทุกครั้ง เปนการฝกทักษะการสื่อสารข้ันพ้ืนฐาน

ซ่ึงมีความสําคัญมากสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ท่ีภาษาไทยยังไมเขมแข็ง

3.3 ดานการใชส่ือการสอน

ผูสอนทุกคนควรผลิตสื่อนวัตกรรมในรายวิชาท่ีตนเองสอน นวัตกรรมท่ีจัดทําข้ึนตองผาน

ผูเชี่ยวชาญ อยางนอย 3 คน นํานวัตกรรมไปทดลองใช นํากลับมาปรับปรุง จนเกิดความสมบูรณท่ีสุด

แลวจึงจะนําไปใหนักศึกษาไดประกอบการเรียนการสอน และนวัตกรรมควรมีปรับปรุงอยางนอยปละ

1 ครั้งเพ่ือเพ่ิมเติมขอมูลใหม

Page 62: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

49

3.4 ดานการวัดผลประเมินผล

ควรประเมินผลตามสภาพจริง เพราะเปนวิธีการท่ีสามารถคนหาความสามารถและ

ความกาวหนาในการเรียนรู ท่ีแทจริงของผู เรียน และยังเปนขอมูลสําคัญท่ีสามารถนํามาใช

ประกอบการตัดสินผลการเรียนของผูเรียนไดอยางดีดวย

Page 63: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ.(2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542. โรงพิมพ คุรุสภา.

กรุงเทพมหานคร

กาญจนา บุญสง. ( 2542). หลักการสอน (โครงการตําราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติ).สถาบันราช

ภัฏเพชรบุรี.เพชรบุรี

ฉันทนา ปาปดถา , ดวงตา พิริยานนท . (2554). การศึกษาประสิทธิภาพการเรียนการสอนท่ีเนน

ผูเรียนเปนสําคัญ. คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระ

นคร.กรุงเทพมหานคร

ชาญชัย ยมดิษฐ. (2548). เทคนิคและวิธีการสอนรวมสมัย. สํานักพิมพหลักพิมพ.กรุงเทพมหานคร

ชาญชัย อาจินสมาจาร.(2545).สุดยอดเทคนิคสูครูมืออาชีพ. บี อี ซี. กรุงเทพมหานคร

ชาติ แจมนุช และคณะ.(ม.ป.ป.).นักเรียนเปนศูนยกลางคืออยางไร. เอกสารอัดสําเนา

ดวงกมล สัมเพง. (2553). การพัฒนาผูเรียนสูสังคมแหงการเรียนรู การจัดการเรียนการสอนท่ีเนน

ผูเรียนเปนศูนยกลาง. สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร

ทิศนา เเขมมณี. (2555). ศาสตรการสอน. สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร

บุญเลี้ยง ทุมทอง.(2556).ทฤษฏีและการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู (พิมพครั้งท่ี 2).มหาวิทยาลัย

ราชภัฏบุรีรัมย.อําเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย.

พิมพันธ เดชะคุปต และคณะ. (2554). แนวคิดและแนวปฏิบัติสําหรับครูมัธยมศึกษาเพ่ือการปฏิรูป

การศึกษา. สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2 –กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย

มัทนินวรมาลา. (2558).การจัดการเรียนการสอนโดยใชนักศึกษาเปนศูนยกลาง รายวิชา SDM452 .

คณะดิจิทัลมีเดีย. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.กรุงเทพมหานคร

วัฒนาพร ระวันทุกข. (2542). แผนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. สํานักพิมพบริษัทแอลทีเพรส

จํากัด. กรุงเทพมหานคร

วาสนระรวย อินทรสงเคราะห. (2553). ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษศูนยการศึกษา

นอกท่ีตั้งวิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ตท่ีมีตอการจัดการเรียนการสอนของอาจารยผูสอน.ศูนย

การศึกษานอกท่ีตั้ง. วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต.ภูเก็ต

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2547).รายงานการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการเรียนรู

ครูคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา ภาพรวมปงบประมาณ 2546. หางหุนสวนภาพ

พิมพจํากัด. กรุงเทพมหานคร

Page 64: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

สุจินต ใจกระจาง . (2554). สภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของ โรงเรียนสาธิต

มหาวิทยาลัยรามคําแหง. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. กรุงเทพมหานคร

แสงดาว ถ่ินหารวงษ. (2558).การเรียนรูแบบมีสวนรวม: จากทฤษฏีสูการปฏิบัติในรายวิชา วรรณคดี

สําหรับเด็ก. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน ปท่ี 17 ฉบับท่ี 1 มกราคม – มิถุนายน .

กรุงเทพมหานคร

แสงเดือน เจริญฉิมและกนิษฐา เชาววัฒนกุล . (2555). การพัฒนารูปแบบการพัฒนาพฤติกรรมการ

จัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญของนิสิตฝกประสบการณวิชาชีพครูสาขาการ

สอนคณิตศาสตร. สถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพมหานคร

อัญชลี พริ้มพราย และคณะ. (2548).ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอคุณภาพการสอนและปจจัย

สนับสนุนการ เ รี ยนรู ของคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลั ยราชภัฏ

นครศรีธรรมราช.คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

นครศรีธรรมราช

อาภรณ ใจเท่ียง. (2555). หลักการสอน. สํานักพิมพโอเดียนสโตร. กรุงเทพมหานคร

Page 65: รายงานวิจัยwb.yru.ac.th/bitstream/yru/1172/1/010-2559 ความพึงพอใจต่อ... · รายงานวิจัย. ความพึงพอใจต

ประวัติผูเขียน

ช่ือ สกุล นางสาวศุภรัตน มฤคี

อาจารยประจําสาขาวิชา สังคมศึกษา

คณะ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา

วุฒิการศึกษา

สาขาวิชา ช่ือสถาบัน

ประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

ประวัติศาสตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยศิลปากร