52
มิ.ย.60 F-วช-100 แผนการจัดการเรียนรู รหัสวิชา 2308 - 9003 ชื่อวิชา คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบ ( 3 หนวยกิต 4 ชั่วโมง / สัปดาห ) หมวดวิชาเลือกเสรี หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชา ศิลปกรรม สาขาวิชา คอมพิวเตอรกราฟก ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปที1 โดย อาจารยทัศนีย ศรีภุมมา กลุมวิชา คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสํานักงาน วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2561

แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

แผนการจัดการเรียนรู

รหัสวิชา 2308 - 9003 ช่ือวิชา คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

( 3 หนวยกิต 4 ช่ัวโมง / สัปดาห ) หมวดวิชาเลือกเสรี

หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชา ศิลปกรรม สาขาวิชา คอมพิวเตอรกราฟก

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ัน ปที่ 1 โดย

อาจารยทัศนีย ศรีภุมมา กลุมวิชา คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสํานักงาน

วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจาภคินีเธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561

Page 2: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

แผนการจัดการเรียนรู

รหัสวิชา 2308 - 9001 ช่ือวิชา คอมพิวเตอรเพ่ือการอออกแบบ จํานวน 3 หนวยกิต 4 ช่ัวโมง/สัปดาห หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชา ศิลปกรรม สาขาวิชา คอมพิวเตอรกราฟก

จุดประสงครายวิชา เพ่ือให 1. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับคอมพิวเตอรท่ีใชในการเขียนแบบโปรแกรมสําเร็จรูปประเภท

ตางๆ 2. มีทักษะในการประยุกตใชคอมพิวเตอรในการเขียนแบบการสรางภาพและพิมพ ผลงาน

ออกทางเครื่องพิมพแบบตางๆ 3. มีกิจนิสัยท่ีดีในการทํางานและเห็นคุณคาของการใชคอมพิวเตอรในการเขียนแบบ

สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเก่ียวกับโปรแกรมสําเร็จรูปท่ีใชในการเขียนแบบ 2. ประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูปท่ีใชในการเขียนแบบ เพ่ือการสรางภาพและพิมพผลงานทาง

เครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ท ( Inkjet ) เลเซอร(Laser) และพอรทเตอร (Plotter)

คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับการใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางดานการเขียนแบบการสรางภาพการ โอนภาพการลงสีการแกไขภาพและตัวอักษรการเก็บรักษาภาพลงในดิสตการพิมพผลงานออกทาง เครื่องพิมพแบบตางๆ

Page 3: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

แผนการจัดการเรียนรูแบบฐานสมรรถนะ

หนวยท่ี 1 ชื่อวิชา คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ รหัสวิชา 2308 - 9001 สอนสัปดาหท่ี 1-2

ช่ือหนวย ทฤษฎีสีและการออกแบบ ช่ัวโมงรวม 8ช่ัวโมง ระดับ ปวช. ช่ือผูสอน ทัศนีย ศรีภุมมา จํานวน 4 ช่ังโมง/

สัปดาห

สาระสําคัญ ความรูเรื่องทฤษฎีสีเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับงานออกแบบทุกชนิดและหากตองการใหงานออกแบบดูสวยงามตองเขาใจเรื่องพ้ืนฐานของสีเพ่ืองานออกแบบกอน ฉนั้นไมควรมองขามเรื่องนี้ไป เพราะเพียงแตการเรียนรูการใชงาน โปรแกรมสําเร็จรูปในการออกแบบ จนชํานาญเทานั้นยังไมสามารถสรางสรรคงานดี ๆ ออกมาไดหากไมรูจักใชสีใหเหมาะสม โดยเรื่องท่ีนํามาอธิบายเปนทฤษฎีสีเบื้องตนจากสีวัตถุธาตุเพ่ือนํามาใชกับงานออกแบบ จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคท่ัวไป 1. รูและเขาใจหลักทฤษฎีสี 2. รูและเขาใจหลักการใชสี จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายหลักทฤษฎีสีได 2. เลือกใชสีไดตามหลักการได 3. บอกความรูสึกของสีได สมรรถนะรายหนวย

เลือกใชสีไดตามหลักและทฤษฎีได รายวิชาท่ีจัดควบคูหรือบูรณาการ - วิธีการบูรณาการ - สาระการเรียนรู 1. ทฤษฎีสี 1.1 ทฤษฎีสี 1.1.1 Primary Colors 1.1.2 Secondary Colors 1.1.3 Tertiary Colors 1.1.4 Muddy Colors

Page 4: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1.2 ประเภทของแมสี 1.2.1 แมสีวัตถุธาตุ 1.2.2 แมสีแสง 1.3 วรรณสี 1.3.1 วรรณะสีเย็น 1.3.2 วรรณะสีรอน

2. หลักการใชสี 2.1 หลักการใชสี 2.1.1 การใชสีวรรณะเดียว 2.1.2 การใชสีตางวรรณะ 2.2 ความรูสึกของสี 2.2.1 วรรณะรอน 2.2.2 วรรณะเย็น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน คุณธรรมท่ีพึงประสงค 1. ความมีน้ําใจ ความไมทอดท้ิงกัน ความมีจิตสาธารณะรับผิดชอบตอสวนรวม 2. มีความขยันขันแข็ง อดทน อดกลั้น พ่ึงตนเองได ไมมัวเมาในอบายมุข 3. มีสัมมาชีพ มีความพอเพียง 4. มีความเคารพศักดิ์ศรีและคุณคาความเปนคนของคนทุกคน สามารถรวมตัวรวมคิด รวมทําอยางเสมอภาค 5. อนุรักษวัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ มีการใชอยางเปนธรรม และยั่งยืน 6. มีความยุติธรรมและแกปญหาความขัดแยงดวยสันติวิธี 7. มีการพัฒนาจิตใจใหสูงข้ึนอยางตอเนื่อง นําปญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน ในวิชานี้ไมมีหนังสือผูเรียนตองจดหรือถาย VDO ทบทวนบทเรียน

Page 5: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....1.. ช่ัวโมงท่ี..1-4........) - ผูสอนและผูเรียนแนะนําตัว สรางบรรยายกาศ - ใหผูเรียนออกมาแนะนําสี ท่ีผูเรียนชอบจากนั้นบอกสาเหตุท่ีสอบนี้เพราะเหตุใด ทําไม - ผูสอนเริ่มบรรยาย ทฤษฎีสี จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1. ทฤษฎีสี 1.1 ทฤษฎีสี 1.1.1 Primary Colors 1.1.2 Secondary Colors 1.1.3 Tertiary Colors 1.1.4 Muddy Colors 1.2 ประเภทของแมสี 1.2.1 แมสีวัตถุธาตุ 1.2.2 แมสีแสง 1.3 วรรณสี 1.3.1 วรรณะสีเย็น 1.3.2 วรรณะสีรอน - ใหผูเรียนระบายโทนสีลง สมุดวาดเขียน - ทบทวนบทเรียน และทําแบบฝกหัด กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....2.. ช่ัวโมงท่ี..5-8........) - ผูสอนทบทวนเรื่องทฤษฎีสี ซักถาม กับผูเรียน - ผูสอนเริ่มบรรยาย หลักการใชสี จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 2. หลักการใชสี 2.1 หลักการใชส ี 2.1.1 การใชสีวรรณะเดียว 2.1.2 การใชสีตางวรรณะ 2.2 ความรูสึกของสี 2.2.1 วรรณะรอน 2.2.2 วรรณะเย็น - ใหผูเรียนระบายสีวรรณะลง สมุดวาดเขียน และบอกถึงความรูสึก - ทบทวนบทเรียน และทําแบบฝกหัด เทคนิควิธีการสอนท่ีนํามาใช ปฎิบัติการใชจากสถานการณจริง และเรียนรูดวยตนเอง

Page 6: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ส่ือการเรียนการสอนและแหลงการเรียนรู 1. สื่อสิ่งพิมพ ไดแก สมุดภาพสี 2. โสตทัศนูปกรณ ไดแก คอมพิวเตอรดูเรื่องสี 3. สื่อเทคโนโลยีข้ันสูง ไดแก Powerpoint 4. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 5. https://www.gotoknow.org/posts/381237

การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. สอบเก็บคะแนนรายหนวย 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

เอกสารอางอิง/เว็บไซต 1. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 2. https://www.gotoknow.org/posts/381237

Page 7: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ใบงาน (Job Sheet) ท่ี รหัสวิชา:2308-9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

หนวยท่ี: 1 ช่ือหนวย: ทฤษฎีและการออกแบบ

ช่ืองาน: สีในงานออกแบบ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายหลักทฤษฎีสีได 2. เลือกใชสีไดตามหลักการได 3. บอกความรูสึกของสีได

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 2 สัปดาห

คําสั่ง / แนวทางการปฏิบัต ิ 1. ใหผูเรียนผสมสี และระบายสีลงสมุดวาด ในสัปดาหท่ี 1 2. ระบายสีลงสมุดตามวรรณะของสี ในสัปดาหท่ี 2 3. บอกความรูสึกของสี อารมยของสี

แหลงคนควา 1. Internet

2 หนังสือสมุดสี

เอกสารอางอิง 1. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 2. https://www.gotoknow.org/posts/381237

การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน

การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. สอบเก็บคะแนนรายหนวย 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

Page 8: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ใบความรู (Information Sheet) ท่ี รหัสวิชา:2308-9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

หนวยท่ี: 1 ช่ือหนวย: ทฤษฎีและการออกแบบ

ช่ืองาน: สีในงานออกแบบ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายหลักทฤษฎีสีได 2. เลือกใชสีไดตามหลักการได 3. บอกความรูสึกของสีได

เนื้อหาสาระ สีและการออกแบบส่ือ เรียนรูทฤษฎีสีสําหรับงานออกแบบ (Color Theory)

ความรูเรื่องทฤษฎีสีเปนสิ่งสําคัญมากสําหรับงานออกแบบทุกชนิดและหากตองการใหงานออกแบบดูสวยงามตองเขาใจเรื่องพ้ืนฐานของสีเพ่ืองานออกแบบกอน ฉนั้นไมควรมองขามเรื่องนี้ไป เพราะเพียงแตการเรียนรูการใชงาน Photoshop จนชํานาญเทานั้นยังไมสามารถสรางสรรคงานดี ๆ ออกมาไดหากไมรูจักใชสีใหเหมาะสม โดยเรื่องท่ีนํามาอธิบายเปนทฤษฎีสีเบื้องตนจากสีวัตถุธาตุเพ่ือนํามาใชกับงานออกแบบดังนี้

Primary Colors (สีข้ันท่ี 1 แมสีวัตถุธาตุ) สีข้ันท่ี 1 คือ แมสีเปนสีชุดแรกท่ีเม่ือนํามาผสมกันจะไดสีอีกมากมายสีกลุมนี้ไดแกสีเหลือง แดงและน้ําเงิน

Secondary Colors (สีข้ันท่ี 2) สีข้ันท่ี 2 เปนสีท่ีเกิดจากการผสมกันของแมสีข้ันท่ี 1 ซ่ึงจะไดสี ดังตอไปนี้ สีสม สีแดง + เหลือง สีเขียว สีเหลือง + สีน้ําเงิน สีมวง สีน้ําเงิน + แดง

Tertiary Colors (สีข้ันท่ี 3) สีข้ันท่ี 3 เปนสีท่ีเกิดจากการผสมกันระหวางสีข้ันท่ี 1 กับสีข้ันท่ี 2 ซ่ึงจะมีชื่อเรียกตามคูท่ีผสมกัน เปนสีใหมข้ึนมา 6 สีดังนี ้สีเหลือง – สม, แดง – สม, แดง – มวง, น้ําเงิน – มวง, น้ําเงิน – เขียว และ เหลือง – เขียว

Muddy Colors เปนสีท่ีเกิดจากการผสมสีในวงจรสีท้ังหมดรวมกันในอัตราสวนเทากันเกิดเปนสีกลางหรือคาสีเฉลี่ยจากสีท้ังหมดซ่ึงจะออกสีน้ําตาลเขม (หากเปนสีขาวจะเปนสีกลางของสีแสง)

Color : แมสีแบงออกเปน 2 ประเภท 1. แมสีวัตถุธาตุ เปนสีท่ีเกิดจากธรรมชาติหรือการสังเคราะหข้ึนมาเพ่ือนํามาใชในวงการศิลปะ วงการพิมพ เปนตน แมสีกลุม

Page 9: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

นี้ไดแก แดง เหลือง น้ําเงิน 2. แมสีแสง เปนสีท่ีเกิดจากแสงสามารถเห็นไดเม่ือนําแทงแกวปริซึมมาสองกับแสงแดดหรืออาจหาดูไดจากสีรุง สีกลุมนี้นํามาใชประโยชน เชน ผลิตจอภาพโทรทัศน มอนิเตอร และใชในงานออกแบบเว็บไซตหรือภาพยนตรเปนตน แมสีกลุมนี้ไดแกสี แดง เขียว น้ําเงิน

วรรณะสี (Tone) หลังจากทราบเรื่องวงจรของสีแลวตอไปจะมาทําความเขาใจกับการใชสีในวงจรเดียวกันเริ่มตนท่ีวรรณสี แบงเปนสองวรรณะ ไดแก วรรณสีรอนกับวรรณสีเย็น โดยสามารถใชวรรณะสีในการออกแบบใหไดความรูสึกรอนและเย็นไดดังนี้

วรรณะสีเยน็ (Cold Tone) วรรณสีเย็นมีอยู 7 ชนิด ไดแกสีเหลือง เหลืองเขียว เขียว เขียวน้ําเงิน น้ําเงิน น้ําเงินมวง มวง สีกลุมนี้เม่ือใชในงานจะไดความรูสึกสดชื่น เย็นสบาย เปนตน

วรรณะสีรอน (Warm Tone) วรรณสีรอนมีอยู 7 สี ไดแกมวง มวงแดง แดง แดงสม สม สมเหลือง เหลือง สีกลุมนี้เม่ือใชในงานจะรูสึกอบอุน รอนแรง สนุกสนาน เปนตน

Color : สีท่ีเปนท้ังวรรณะรอนและวรรณะเย็น สีเหลืองและมวงจะอยูไดท้ังสองวรรณะข้ึนอยูกับสีแวดลอม เชน หากนําสีเหลืองไปไวกับสีแดงและสมก็กลายเปนสีโทนรอน แตหากนํามาไวกับสีเขียวก็จะเปนสีโทนเย็นทันที

สีกลาง (Muddy Colors) สีกลาง ในความหมายนี้เปนสีท่ีเขากับสีไดทุกสี ไดแก สีน้ําตาล สีขาว สีเทาและดํา สีเหลานี้เม่ือนําไปใชงานลดความรุนแรงของสีอ่ืนและจะเสริมใหงานดูเดนยิ่งข้ึน

เทคนิคการใชสีในวงจรสี การใชสีในวงจรสีมีหลายวิธีนอกจากการใชวรรณะสีแลว ยังมีเทคนิคการใชสีแบบอ่ืนท่ีนาสนใจอีก ดังนี้

การใชสีท่ีใกลเคียงกัน (Analog Colors) สีใกลเคียงในวงจรสี เปนสีท่ีอยูติดกันในชวง 3 สี ซ่ึงอาจจะใชถึง 5 แตตองใชสีนั้นในปริมาณเล็กนอย เชนเม่ือเลือกใชสีมวงก็จะเลือกสีในโทนเดียวกัน ไดแก สีมวงแดง กับ น้ําเงินมวง เปนตน

การใชสีคูตรงขาม (Complementary Colors) เปนคูสีตองหามแตถาใชใหถูกวิธีจะทําใหงานดูโดดเดนทันที สมมติวาเลือกใชสีแดงกับสีเขียว ก็ใหใชวิธีท่ีแนะนําดังนี้

1. เลือกสีแรก (สมมติเปนสีแดง) ในปริมาณมากกวา 80% ของพ้ืนท่ี แตสีท่ีสอง (สมมติเปนสีเขียว) ตองใชในปริมาณท่ีนอยกวา 20% 2. ผสมหรือใสสีกลางลงในงานท่ีใชสีคูตรงขามเพ่ือลดความรุนแรงของส ี3. ผสมสีคูตรงขามลงไปลดทอนความเขมขนของกันและกัน

Page 10: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

การใชสีใกลเคียงกับสีคูตรงขาม (Split Complementary) เปนการใชสีท่ีหลีกเลี่ยงการใชสีคูตรงขามโดยตรง เทคนิคนี้ทําใหงานดูนุมนวลข้ึนมีลูกเลนสรางจุดสนใจไดดี สังเกตจากภาพตัวอยางดานลางสีมวงท่ีมีพ้ืนท่ีนอยแตกลับดูโดดเดนข้ึนมาได

การใชโครงสีสามเหลี่ยมในวงจรสี (Triad Colors) เทคการใชโครงสรางสีสามเหลี่ยม คือ ใหวาดสามเหลี่ยมข้ึนมาแลวใชสีท่ีอยูบนโครงรูปสามเหลี่ยม เทคนิคนี้สีท่ีไดจะดูสนุกสนานและหลากหลายกวาแบบอ่ืน

Color : ในทุกวงจรสีสามารถใชสีกลางได เทคนิคการใชสีในวงจรท่ีนํามาอธิบาย สามารถรวมสีกลางเขาไปใชไดดวยเนื่องจากสีกลางเปนสีท่ีเขาไดกับทุกสีและอาจแทรกสีนอกโครงการสีมาใชไดข้ึนอยูกับความเหมาะสม

การใชสีเดียว (Mono Tone) เทคนิคสีเดียวเปนอีกเทคนิคท่ีนิยม การใชจะอาศัยคาความออนแกของสีแทนการใชคาสีอ่ืน สวนมากจะนําสีท่ีเลือกมาผสมกับสีกลางใหไดคาท่ีตองการ

สีและการออกแบบ

หลักการใชสี

Page 11: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

การใชสีกับงานออกมานั้น อยูท่ีนักออกแบบมีจุดมุงหมายใด ท่ีจะสรางความสนใจ ความเราใจตอผูดู เพ่ือใหเขาถึงจุดหมายท่ีตนตองการ หลักของการใชมีดังนี้

1.การใชสีวรรณะเดียว ความหมายของสีวรรณะเดียว (tone) คือกลุมสีท่ีแบงออกเปนวงลอของสีเปน 2 วรรณะ คือ วรรณะรอน (warm tone) ซ่ึงประกอบดวย สีเหลือง สีสม สีแดง สีมวง สีเหลานี้ใหอิทธิพล ตอความรูสึก ตื่นเตน เราใจ กระฉับกระเฉง ถือวาเปนวรรณะรอน วรรณะเย็น (cool tone) ประกอบดวย สีเหลือง สีเขียว สีน้ําเงิน สีมวง สีเหลานี้ดู เย็นตา ใหความรูสึก สงบ สดชื่น (สีเหลืองกับสีมวงอยูไดท้ังสองวรรณะ) การใชสีแตละครั้งควรใชสีวรรณะเดียวในภาพท้ังหมด เพราะจะทําใหภาพความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน (เอกภาพ) กลมกลืน มีแรงจูงใจใหคลอยตามไดมาก

2.การใชสีตางวรรณะ หลักการท่ัวไป ใชอัตราสวน 80% ตอ 20% ของวรรณะสี คือ ถาใชสีวรรณธรอน 80% สีวรรณะเย็นก็ 20% เปนตน ซ่ึงการใชแบบนี้สรางจุดสนใจของผูดู ไมควรใชอัตราสวนท่ีเทากันเพราะจะทําใหไมมีสีใดเดน ไมนาสนใจ 3.การใชสีตรงกันขาม สีตรงขามจะทําใหความรูสึกท่ีตัดกันรุนแรง สรางความเดน และเราใจไดมากแตหากใชไมถูกหลัก หรือ ไมเหมาะสม หรือใชจํานวนสีมากสี ขัดแยง ควรใชสีตรงขาม ในอัตราสวน 80% ตอ20% หรือหากมีพ้ืนท่ีเทากันท่ีจําเปนตองใช ควรนําสีขาว หรือสีดํา เขามาเสริม เพ่ือ ตัดเส ความสดของสีตรงขามใหหมนลงไป สีตรงขามมี 6 คูไดแก สีเหลือง ตรงขามกับ สีมวง สีแดง ตรงขามกับ สีเขียว สีน้ําเงิน ตรงขามกับ สีสม สีเขียวเหลือง ตรงขามกับ สีมวงแดง สีสมเหลือง ตรงขามกับ สีมวงน้ําเงิน

Page 12: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

สีสมแดง ตรงขามกับ สีเขียวน้ําเงิน การใชสีตัดกัน ควรคํานึงถึงความเปนเอกภาพดวย วิธีการใชมีหลายวิธี เชน ใชสีใหมีปริมาณตางกัน เชน ใชสีแดง 20 % สีเขียว 80% หรื ใชเนื้อสีผสมในกันและกัน หรือใชสีหนึ่งสีใดผสมกับสีคูท่ีตัดกัน ดวยปริมาณเล็กนอย รวมท้ังการเอาสีท่ีตัดกันมาทําใหเปนลวดลายเล็ก ๆ สลับกัน ในผลงานช้ินหนึ่ง อาจจะใชสีใหกลมกลืนกันหรือตัดกันเพียงอยางใดอยางหนึ่ง หรืออาจจะใชพรอมกันท้ัง 2 อยาง ท้ังนี้แลวแตความตองการ และความคิดสรางสรรคของเรา ไมมีหลักการ หรือรูปแบบท่ีตายตัว ในงานออกแบบ หรือการจัดภาพ หากเรารูจักใชสีใหมีสภาพโดยรวมเปนวรรณะรอน หรือวรรณะเย็น เราจะ สามารถควบคุม และสรางสรรคภาพใหเกิดความประสานกลมกลืน งดงามไดงายข้ึน เพราะสีมีอิทธิพลตอ มวล ปริมาตร และชองวาง สีมีคุณสมบัติท่ีทําใหเกิดความกลมกลืน หรือขัดแยงได สีสามารถขับเนนใหใหเกิด จุดเดน และการรวมกันใหเกิดเปนหนวยเดียวกันได เราในฐานะผูใชสีตองนําหลักการตางๆ ของสีไปประยุกตใชใหสอดคลอง กับเปาหมายในงานของเรา เพราะสีมีผลตอการออกแบบ คือ 1. สรางความรูสึก สีใหความรูสึกตอผูพบเห็นแตกตางกันไป ท้ังนี้ข้ึนอยูกับประสบการณ และภูมิหลัง ของแตละคน สีบางสีสามารถรักษาบําบัดโรคจิตบางชนิดได การใชสีภายใน หรือภายนอกอาคาร จะมีผลตอการ สัมผัส และสรางบรรยากาศได 2. สรางความนาสนใจ สีมีอิทธิพลตองานศิลปะการออกแบบ จะชวยสรางความประทับใจ และความนาสนใจเปนอันดับแรกท่ีพ 3. สีบอกสัญลักษณของวัตถุ ซ่ึงเกิดจากประสบการณ หรือภูมิหลัง เชน สีแดงสัญลักษณของไฟ หรือ อันตราย สีเขียวสัญลักษณแทนพืช หรือความปลอดภัย เปนตน 4. สีชวยใหเกิดการรรับรู และจดจํา งานศิลปะการออกแบบตองการใหผูพบเห็นเกิดการจดจํา ในรูปแบบ และผลงาน หรือเกิดความประทับใจ การใชสีจะตองสะดุดตา และมีเอกภา

1.แมสี ในวิถีชีวิตของเรา ทุกคนรูจัก เคยเห็น เคยใชสี และสามารถบอกไดวาสิ่งใดเปน สีแดง สีเหลือง สีเขียว สีฟา สีมวง สีขาว และสีอ่ืน ๆ แตเ พวกเราก่ีคนท่ีจะรูจักสีไดลึกซ้ึง เพราะ เรายังขาดสื่อการเรียนเก่ียวกับเรื่องนี้นั่นเอง ปจจุบันนี้ เรายังมองขามหลักวิชา ท่ีจําเปนตอการดํา เบื้องตนของสี จะทําใหเราสามารถเขียน ระบาย หรือ เลือกประยุกตใชสี เพ่ือสรางความสุขในการดําเนินวิถีชีวิตของเราไดดีข้ึน นักวชิากา ทฤษฎีสี ตามหลักการของนักวิชาการสาขานั้นๆ ดังนี้ 1.1 แมสีของนักฟสิกส (แมสีของแสง) (Spectrum primaries) คือสีท่ีเกิดจากการผสมกันของคลื่นแสง มีแมสี 3 สี คือ 1. สีแดง (Red) 2. สีเขียว (Green) 3. สีนํ้าเงิน (Blue) เม่ือนําแมสีของแสงมาผสมกันจะเกิดเปนสีตางๆ ดังนี้ 1. สีมวงแดง (Magenta) เกิดจากสีแดง (Red) ผสมกับสีนํ้าเงิน (Blue) 2. สีฟา (Cyan) เกิดจากสีเขียว (Green) ผสมกับสีนํ้าเงิน (Blue) 3. สีเหลือง (Yellow) เกิดจากสีเขียว (Green) ผสมกับสี แดง (Red) และเม่ือนําแมสีท้ัง 3 มาผสมกัน จะไดสีขาว 1.2 แมสีของนักจิตวิทยา (Psychology primaries) คือสีท่ีมีผลตอความรูสึกของมนุษย ในดานจิตใจ ซ่ึงจะกลาวในเรื่อง "ความรูสึกของสี 1. สีแดง (Red)

Page 13: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

2. สีเหลือง (Yellow) 3. สีเขียว (Green) 4. สีนํ้าเงิน (Blue) เม่ือนําแมสี 2 สีท่ีอยูใกลกันในวงจรสี มาผสมกันจะเกิดเปนสีอีก 4 สี ดังนี้ 1. สีสม (Orange) เกิดจากสี แดง (Red) ผสมกับสี เหลือง (Yellow) 2. สีเขียวเหลือง (yellow-green) เกิดจากสี เหลือง (Yellow) ผสมกับสีเขียว (Green) 3. สีเขียวนํ้าเงิน (Blue green) เกิดจากสี เขียว (Green) ผสมกับสีนํ้าเงิน (Blue) 4. สีมวง (Purple) เกิดจากสี แดง (Red) ผสมกับสีนํ้าเงิน (Blue) ความรูสึกของสี สีตางๆ ท่ีเราสัมผัสดวยสายตา จะทําใหเกิดความรูสึกข้ึนภายในตอเรา ทันทีท่ีเรามองเห็นสี ไมวาจะเปน การแตงกาย บานท่ีอยูอาศัย เครื่องใชตางๆ แลวเราจะ ทําอยางไร จึงจะใชสี้ไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับหลักจิตวิทยา เราจะตองเขาใจวาสีใดใหความรูสึก ตอมนุษยอยางไร ซ่ึงความรูสึกเก่ียวกับสี สามารถจําแนกออกไดดังนี้ สีแดง ใหความรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ตื่นเตน เราใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ ความม่ังค่ัง ความรัก ความสําคัญ อันตราย สีแดงชาด จะทําใหเกิดความอุดมสมบูรณ สีสม ใหความรูสึก รอน ความอบอุน ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุน ความคึกคะนอง การปลดปลอย ความเปรี้ยว การระวัง สีเหลือง ใหความรูสึก แจมใส ความราเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิตใหม ความสด ใหม ความสุกสวาง การแผกระจาย อํานาจบารมี สีเขียว ใหความรูสึกงอกงาม สดชื่น สงบ เงียบ รมรื่น รมเย็น การพักผอน การผอนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม เยือกเย็น สีเขียวแก จะทําใหเกิดความรูสึกเศราใจความแกชรา สีนํ้าเงิน ใหความรูสึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สงางาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เปนระเบียบถอมตน สีฟา ใหความรูสึก ปลอดโปรงโลง กวาง เบา โปรงใส สะอาด ปลอดภัย ความสวาง ลมหายใจ ความเปนอิสระเสรีภาพ การชวยเหลือ แบงปน สีคราม จะทําใหเกิดความรูสึกสงบ สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาติดตาม เรนลับ ซอนเรน มีอํานาจ มีพลังแฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ สีนํ้าตาล ใหความรูสึกเกา หนัก สงบเงียบ สีขาว ใหความรูสึกบริสุทธิ์ สะอาด ใหม สดใส สีดํา ใหความรูสึกหนัก หดหู เศราใจ ทึบตัน สีชมพู ใหความรูสึก อบอุน ออนโยน นุมนวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส วัยรุน หนุมสาว ความนารัก ความสดใส สีไพล จะทําใหเกิดความรูสึกกระชุมกระชวย ความเปนหนุมสาว สีเทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถอมตน สีทอง ใหความรูสึก ความหรูหรา โออา มีราคา สูงคา สิ่งสําคัญ ความเจริญรุงเรือง ความสุข ความม่ังค่ัง ความรํ่ารวย การแผกระจาย จากความรูสึกดังกลาว เราสามารถนําไปประยุกตใชไในชีวิตประจําวันไดในทุกเรื่อง และเม่ือตองการสรางผลงาน

Page 14: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ท่ีเก่ียวกับการใชสี เพ่ือท่ีจะไดผลงานท่ีตรงตามความตองการในการสื่อความหมาย และจะชวยลดปญหาในการตัดสินใจท่ี จะเลือกใชสีตางๆได เชน 1. ใชในการแสดงเวลาของบรรยากาศในภาพเขียน เพราะสีบรรยากาศในภาพเขียนนั้นๆ จะแสดงใหรูวา เปนภาพตอนเชา ตอนกลางวัน หรือตอนบาย เปนตน 2. ในดานการคา คือ ทําใหสินคาสวยงาม นาซ้ือหา นอกจากนี้ยังใชกับงานโฆษณา เชน โปสเตอรตางๆ ชวยใหจําหนายสินคาไดมากข้ึน 3. ในดานประสิทธิภาพของการทํางาน เชน โรงงานอุตสาหกรรม ถาทาสีสถานท่ีทํางานใหถูกหลักจิตวิทยา จะเปนทางหนึ่งท่ีชวยสรางบรรยากาศใหนาทํางาน คนงานจะทํางานมากข้ึน มีประสิทธิภาพในการทํางานสูงข้ึน 4. ในดานการตกแตง สีของหอง และสีของเฟอรนิเจอร ชวยแกปญหาเรื่องความสวางของหอง รวมท้ังความสุขในการใชหอง ถาเปนโรงเรียนเด็กจะเรียนไดผลดีข้ึน ถาเปนโรงพยาบาลคนไขจะหายเร็วข้ึน สีกับการออกแบบ ผูสรางสรรคงานออกแบบจะเปนผูท่ีเก่ียวของกับการใชสีโดยตรง มัณฑนากรจะคิดคนสีข้ึนมาเพ่ือใชในงานตกแตง คนออกแบบฉากเวทีการแสดงจะคิดคนสีเก่ียวกับแสง จิตรกรก็จะคิดคนสีข้ึนมาระบายใหเหมาะสมกับ ความคิด และจินตนาการของตน สีท่ีใชสําหรับการออกแบบนั้น ถาเราจะใชใหเกิดความสวยงามตรงตามความตองการของเรา มีหลักในการใชกวางๆ อยู 2 ประการ คือ การใชสีกลมกลืนกัน และ การใชสีตัดกัน 3.1. การใชสีกลมกลืนกัน การใชสีใหกลมกลืนกัน เปนการใชสีหรือนํ้าหนักของสีใหใกลเคียงกัน หรือคลายคลึงกัน เชน การใชสีแบบเอกรงค เปนการใชสีๆ เดียวท่ีมีนํ้าหนักออนแกหลายลําดับ การใชสีขางเคียง เปนการใชสีท่ีเคียงกัน 2 – 3 สี ในวงสี เชน สีแดง สีสมแดง และสีมวงแดง การใชสีใกลเคียง เปนการใชสีท่ีอยูเรียงกันในวงสีไมเกิน 5 ส ีตลอดจนการใชสีวรรณะรอนและวรรณะเย็น ( Warm tone colors and cool tone colors) 3.2. การใชสีตัดกัน สีตัดกันคือสีท่ีอยูตรงขามกันในวงจรสี (ดูภาพวงจรสี ดานซายมือประกอบ) การใชสีใหตัดกันมีความจําเปนมาก ในงานออกแบบ เพราะชวยใหเกิดความนาสนใจ ในทันทีท่ีพบเห็น สีตัดกันอยางแทจริงมี อยูดวยกัน 6 คูสี คือ 1. สีเหลือง ตรงขามกับ สีมวง 2. สีสม ตรงขามกับ สีนํ้าเงิน 3. สีแดง ตรงขามกับ สีเขียว 4. สีเหลืองสม ตรงขามกับ สีมวงนํ้าเงิน 5. สีสมแดง ตรงขามกับ นํ้าเงินเขียว 6. สีมวงแดง ตรงขามกับ สีเหลืองเขียว การใชสีตัดกัน ควรคํานึงถึงความเปนเอกภาพดวย วิธีการใชมีหลายวิธี เชน 1. ใชสีใหมีปริมาณตางกัน เชน ใชสีแดง 20 % สีเขียว 80% หรือ 2. ใชเนื้อสีผสมในกันและกัน หรือใชสีหนึ่งสีใดผสมกับสีคูท่ีตัดกัน ดวยปริมาณเล็กนอย 3. รวมท้ังการเอาสีท่ีตัดกันมาทําใหเปนลวดลายเล็ก ๆ สลับกัน ในผลงานชิ้นหนึ่ง อาจจะใชสีใหกลมกลืนกันหรือตัดกันเพียงอยางใดอยางหนึ่ง หรืออาจจะใชพรอมกันท้ัง 2 อยาง

Page 15: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ท้ังนี้แลวแตความตองการ และความคิดสรางสรรคของเรา ไมมีหลักการ หรือรูปแบบท่ีตายตัว ในงานออกแบบหากเรารูจักใชสีใหมีสภาพโดยรวมเปนวรรณะรอน หรือวรรณะเย็น เราจะสามารถควบคุม และสรางสรรคภาพใหเกิดความประสานกลมกลืน งดงามไดงายข้ึน เพราะสีมีอิทธิพลตอ มวล ปริมาตร และชองวาง สีมีคุณสมบัติท่ีทําให ใหใหเกิด จุดเดน และการรวมกันใหเกิดเปนหนวยเดียวกันได เราในฐานะผูใชสีตองนําหลักการตางๆ ของสีไปประยุกตใชใหสอดคลอง กับ ออกแบบ คือ 1. สรางความรูสึก สีใหความรูสึกตอผูพบเห็นแตกตางกันไป ท้ังนี้ข้ึนอยูกับประสบการณ และภูมิหลัง ของแตละคน สีบางสีสามารถรักษาบําบัดโรคจิตบางชนิดได การใชสีภายใน หรือภายนอกอาคาร จะมีผลตอการ สัมผัส และสรางบรรยากาศได 2. สรางความนาสนใจ สีมีอิทธิพลตองานศิลปะการออกแบบ จะชวยสรางความประทับใจ และความนาสนใจ เปนอันดับแรกท่ีพบเห็น 3. สีบอกสัญลักษณของวัตถุ ซ่ึงเกิดจากประสบการณ หรือภูมิหลัง เชน สีแดงสัญลักษณของไฟ หรือ อันตราย สีเขียวสัญลักษณแทนพืช หรือความปลอดภัย เปนตน 4. สีชวยใหเกิดการรับรู และจดจํา งานศิลปะการออกแบบตองการใหผูพบเห็นเกิดการจดจํา ในรูปแบบ และผลงาน หรือเกิดความประทับใจ การใชสีจะตองสะดุดตา และมีเอกภาพ

เอกสารอางอิง 1. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 2. https://www.gotoknow.org/posts/381237 .

แผนการจัดการเรียนรูแบบฐานสมรรถนะ

Page 16: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

หนวยท่ี 2 ชื่อวิชา คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ รหัสวิชา 2308 - 9001 สอนสัปดาหท่ี 3-4

ช่ือหนวย ทฤษฎีการจัดองคประกอบ ช่ัวโมงรวม 8ช่ัวโมง ระดับ ปวช. ช่ือผูสอน ทัศนีย ศรีภุมมา จํานวน 4 ช่ังโมง/สัปดาห

สาระสําคัญ การจัดองคประกอบทางศิลปะ เปน หลักสําคัญสําหรับผูสรางสรรค และผูศึกษางานศิลปะ เนื่องจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตาม ลวนมีคุณคาอยู 2 ประการ คือ คุณคาทางดานรูปทรง และ คุณคาทางดานเรื่องราว คุณคาทางดานรูปทรง เกิดจากการนําเอา องคประกอบตาง ๆ ของ ศิลปะ อันไดแก เสน ส ี แสงและเงา รูปราง รูปทรง พ้ืนผิว ฯลฯ มาจัดเขาดวยกันเพ่ือใหเกิดความงาม จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคท่ัวไป 1. รูและเขาใจการจดัองคประกอบศิลปะ 2. รูและเขาใจการนํารูปรางมาใชในงานออกแบบ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชองคประกอบศิลปตาง ๆ ได 2. อธิบายองคประกอบศิลปตาง ๆ ได 3. เลือกใชรูปราง ตาง ๆ มาประกอบการออกแบบตาง ๆ ได 4. อธิบายรูปราง ตาง ๆ ท่ีนํามาประกอบการออกแบบตาง ๆ ได สมรรถนะรายหนวย ออกแบบดวยรูปทรงตาง ๆ ได รายวิชาท่ีจัดควบคูหรือบูรณาการ - วิธีการบูรณาการ - สาระการเรียนรู 1. การจัดองคประกอบของศิลปะ 1.1 การจัดองคประกอบของศิลปะ 1.1.1 สัดสวน (Proportion) 1.1.2 ความสมดุล (Balance) 1.1.3 จังหวะลีลา (Rhythm) 1.1.4 การเนน (Emphasis) 1.1.5 เอกภาพ (Unity) 1.1.6 เสน (line) 1.2 รูปราง 1.2.1รูปราง (Shape)

Page 17: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1.2.2 รูปรางเรขาคณิต 1.2.3 รูปรางอิสระ (Free Shape) 1.3 รูปทรง 1.3.1 รูปทรงจากธรรมชาติ (Natural Form) 1.3.2 รูปทรงเรขาคณิต (Geometrical Form) 1.3.3 รูปทรงอิสระ (Free Form) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน คุณธรรมท่ีพึงประสงค 1. ความมีน้ําใจ ความไมทอดท้ิงกัน ความมีจิตสาธารณะรับผิดชอบตอสวนรวม 2. มีความขยันขันแข็ง อดทน อดกลั้น พ่ึงตนเองได ไมมัวเมาในอบายมุข 3. มีสัมมาชีพ มีความพอเพียง 4. มีความเคารพศักดิ์ศรีและคุณคาความเปนคนของคนทุกคน สามารถรวมตัวรวมคิด รวมทําอยางเสมอภาค 5. อนุรักษวัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ มีการใชอยางเปนธรรม และยั่งยืน 6. มีความยุติธรรมและแกปญหาความขัดแยงดวยสันติวิธี 7. มีการพัฒนาจิตใจใหสูงข้ึนอยางตอเนื่อง นําปญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอนมาปรบัปรุงการเรียนการสอน ในวิชานี้ไมมีหนังสือผูเรียนตองจดหรือถาย VDO ทบทวนบทเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....3.. ช่ัวโมงท่ี..9-12........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง ทฤษฎีสี

Page 18: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

- ผูสอนเริ่มบรรยาย การจัดองคประกอบศิลป จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1. การจัดองคประกอบของศิลปะ 1.1 การจัดองคประกอบของศิลปะ 1.1.1 สัดสวน (Proportion) 1.1.2 ความสมดุล (Balance) 1.1.3 จังหวะลีลา (Rhythm) 1.1.4 การเนน (Emphasis) 1.1.5 เอกภาพ (Unity) 1.1.6 เสน (line) - ผูสอน สอนการทําองคประกอบดวย AI - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....4.. ช่ัวโมงท่ี..13-16........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง ทฤษฎีสี - ผูสอนเริ่มบรรยาย การจัดองคประกอบศิลป จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1. การจัดองคประกอบของศิลปะ 1.2 รูปราง 1.2.1รูปราง (Shape) 1.2.2 รูปรางเรขาคณิต 1.2.3 รูปรางอิสระ (Free Shape) 1.3 รูปทรง 1.3.1 รูปทรงจากธรรมชาติ (Natural Form) 1.3.2 รูปทรงเรขาคณิต (Geometrical Form) 1.3.3 รูปทรงอิสระ (Free Form) - ผูสอน สอนการทําองคประกอบจากรูปรางและรูปทรงดวย AI - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน เทคนิควิธีการสอนท่ีนํามาใช ปฎิบัติการใชจากสถานการณจริง และเรียนรูดวยตนเอง ส่ือการเรียนการสอนและแหลงการเรียนรู 1. สื่อสิ่งพิมพ ไดแก สมุดภาพสี 2. โสตทัศนูปกรณ ไดแก คอมพิวเตอรดูเรื่องสี 3. สื่อเทคโนโลยีข้ันสูง ไดแก Powerpoint 4. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 5. https://www.gotoknow.org/posts/381237

Page 19: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. สอบเก็บคะแนนรายหนวย 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

เอกสารอางอิง/เว็บไซต 1. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 2. https://www.gotoknow.org/posts/381237

ใบมอบหมายงาน (Assignment Sheet) ท่ี รหัสวิชา: 2308 - 9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

หนวยท่ี: 2 ช่ือหนวย: ทฤษฎีการจัดวางองคประกอบ

ช่ือเรื่อง: ทฤษฎีการจัดวางองคประกอบ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชองคประกอบศิลปตาง ๆ ได 2. เลือกใชรูปราง ตาง ๆ มาประกอบการออกแบบตาง ๆ ได

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 1 สัปดาห วันท่ีมอบหมายงาน…………./…………/………. สงวันท่ี…………./…………/………. คําสั่ง / แนวทางการปฏิบัติ 1. ใหผูเรียนออกแบบปกหนังสือตามแบบรูปราง จัดองคประกอบศิลปใหสมดุล โดยครูเปนผูกําหนดหัวขอเรื่อง 2. นําเสนอชิ้นงานหนาชั้นเรียน

แหลงคนควา 1. https://sites.google.com/site/kanlayaroduphek/home/kar-cad-xngkh-prakxb-khxng-silp 2. https://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/510-483web3/.../K3.DOC เอกสารอางอิง

Page 20: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1. https://sites.google.com/site/kanlayaroduphek/home/kar-cad-xngkh-prakxb-khxng-silp 2. https://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/510-483web3/.../K3.DOC การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน

การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. ผลงานและความสรางสรร 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

ใบความรู (Information Sheet) ท่ี

รหัสวิชา: 2308 - 9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

หนวยท่ี: 2 ช่ือหนวย: ทฤษฎีการจัดวางองคประกอบ

ช่ือเรื่อง: ทฤษฎีการจัดวางองคประกอบ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชองคประกอบศิลปตาง ๆ ได 2. เลือกใชรูปราง ตาง ๆ มาประกอบการออกแบบตาง ๆ ได

เนื้อหาสาระ

การจัดองคประกอบของศิลป

การจัดองคประกอบทางศิลปะ เปน หลักสําคัญสําหรับผูสรางสรรค และผูศึกษางานศิลปะ เนื่องจากผลงานศิลปะใด ๆ ก็ตาม ลวนมีคุณคาอยู 2 ประการ คือ คุณคาทางดานรูปทรง และ คุณคาทางดานเรื่องราว คุณคาทางดานรูปทรง เกิดจากการนําเอา องคประกอบตาง ๆ ของ ศิลปะ อันไดแก เสน ส ี แสงและเงา รูปราง รูปทรง พ้ืนผิว ฯลฯ มาจัดเขาดวยกันเพ่ือใหเกิดความงาม ซ่ึงแนวทางในการนําองคประกอบตาง ๆ มาจัดรวมกันนั้นเรียกวา การจัดองค ประกอบศิลป (Art Composition) โดยมีหลักการจัดตามท่ีจะกลาวตอไป อีกคุณคาหนึ่งของงานศิลปะ คือ คุณคาทางดานเนื้อหา เปนเรื่องราว หรือสาระของผลงานท่ีศิลปนผูสราง สรรคตองการท่ีจะแสดงออกมา ใหผูชมไดสัมผัสรับรูโดยอาศัยรูปลักษณะ ท่ีเกิดจากการจัดองคประกอบศิลป นั่นเองหรืออาจกลาวไดวา ศิลปน นําเสนอเนื้อหาเรื่องราวผานรูปลักษณะท่ีเกิดจากการจัดองคประกอบทางศิลปะ ถาองคประกอบท่ีจัดข้ึนไมสัมพันธ กับเนื้อหาเรื่องราวท่ีนําเสนอ งานศิลปะนั้นก็จะขาดคุณคาทางความงามไปดังนั้นการจัดองคประกอบศิลป จึงมีความสําคัญใน การสรางสรรคงาน

Page 21: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ศิลปะ เปนอยางยิ่งเพราะจะทําใหงานศิลปะทรงคุณคาทางความงามอยางสมบูรณ

การจัดองคประกอบของศิลปะ มีหลักท่ีควรคํานึง อยู 5 ประการ คือ 1. สัดสวน (Proportion)

2. ความสมดุล (Balance)

3. จังหวะลีลา (Rhythm)

4. การเนน (Emphasis)

5. เอกภาพ (Unity)

6.เสน(line)

1. สัดสวน (Proportion) สัดสวน หมายถึง ความสัมพันธกันอยางเหมาะสมระหวางขนาดของ องคประกอบท่ีแตกตางกัน ท้ังขนาดท่ีอยูในรูปทรงเดียวกันหรือระหวางรูปทรง และรวมถึงความสัมพันธกลมกลืนระหวางองคประกอบท้ังหลายดวย ซ่ึงเปนความพอเหมาะพอดี ไม มากไมนอยขององคประกอบ ท้ังหลายท่ีนํามาจัดรวมกัน ความเหมาะสมของสัดสวนอาจ พิจารณาจากคุณลักษณะดังตอไปนี้ 1.1 สัดสวนท่ีเปนมาตรฐาน จากรูปลักษณะตามธรรมชาต ของ คน สัตว พืช ซ่ึงโดยท่ัวไป ถือวา สัดสวนตามธรรมชาติ จะมีความงามท่ีเหมาะสมท่ีสุด หรือจากรูปลักษณะท่ีเปนการ สรางสรรคของมนุษย เชน Gold section เปนกฎในการสรางสรรครูปทรงของกรีก ซ่ึงถือวา "สวนเล็กสัมพันธกับสวนท่ีใหญกวา สวนท่ีใหญกวาสัมพันธกับสวนรวม" ทําใหสิ่งตาง ๆ ท่ีสรางข้ึนมีสัดสวนท่ีสัมพันธกับทุกสิ่งอยางลงตัว 1.2 สัดสวนจากความรูสึก โดยท่ีศิลปะนั้นไมไดสรางข้ึนเพ่ือความงามของรูปทรงเพียง อยางเดียว แตยังสรางข้ึนเพ่ือแสดงออกถึง เนื้อหา เรื่องราว ความรูสึกดวย สัดสวนจะชวย เนนอารมณ ความรูสึก ใหเปนไปตามเจตนารมณ และเรื่องราวท่ีศิลปนตองการ ลักษณะเชน นี้ ทําใหงานศิลปะของชนชาติตาง ๆ มีลักษณะแตกตางกัน เนื่องจากมีเรื่องราว อารมณ และ ความรูสึกท่ีตองการแสดงออกตาง ๆ กันไป เชน กรีก นิยมในความงามตามธรรมชาติเปน อุดมคติ เนนความงามท่ีเกิดจากการประสานกลมกลืนของรูปทรง จึงแสดงถึงความเหมือน จริงตามธรรมชาติ สวนศิลปะแอฟริกันดั้งเดิม เนนท่ีความรูสึกทางวิญญานท่ีนากลัว ดังนั้น รูปลักษณะจึงมีสัดสวนท่ีผิดแผกแตกตางไปจากธรรมชาติท่ัวไป

2. ความสมดุล (Balance) ความสมดุล หรือ ดุลยภาพ หมายถึง น้ําหนักท่ีเทากันขององคประกอบ ไมเอนเอียงไปขางใดขางหนึ่งในทางศิลปะยังรวมถึงความประสานกลมกลืน ความพอเหมาะพอดีของ สวน ตาง ๆ ในรูปทรงหนึ่ง หรืองานศิลปะชิ้นหนึ่ง การจัดวางองคประกอบตาง ๆ ลงใน งานศิลปกรรมนั้นจะตองคํานึงถึงจุดศูนยถวง ในธรรมชาตินั้น ทุกสิ่งสิ่งท่ีทรงตัวอยูไดโดยไมลมเพราะมีน้ําหนักเฉลี่ย เทากันทุกดาน

Page 22: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ฉะนั้น ในงานศิลปะถามองดูแลวรูสึกวาบางสวนหนักไป แนนไป หรือ เบา บางไปก็จะทําใหภาพนั้นดูเอนเอียง และเกิดความ รูสึกไมสมดุล เปนการบกพรองทางความงาม ดุลยภาพในงานศิลปะ มี 2 ลักษณะ คือ 1.1 ดุลยภาพแบบสมมาตร (Symmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซายขวาเหมือนกัน คือ การวางรูปท้ังสองขางของแกนสมดุล เปนการสมดุลแบบธรรมชาติลักษณะแบบนี้ใน ทางศิลปะมีใชนอย สวนมากจะใชในลวดลายตกแตง ในงานสถาปตยกรรมบางแบบ หรือ ในงานท่ีตองการดุลยภาพท่ีนิ่งและม่ันคงจริง ๆ 1.2 ดุลยภาพแบบอสมมาตร (Asymmetry Balance) หรือ ความสมดุลแบบซายขวาไมเหมือนกัน มักเปนการสมดุลท่ีเกิดจาการจัดใหมของมนุษย ซ่ึงมีลักษณะท่ีทางซายและขวาจะไม เหมือนกันใชองคประกอบท่ีไมเหมือนกัน แตมีความสมดุลกัน อาจเปนความสมดุลดวย น้ําหนักขององคประกอบ หรือสมดุลดวยความรูสึกก็ได การจัดองคประกอบใหเกิดความ สมดุลแบบอสมมาตรอาจทําไดโดย เลื่อนแกนสมดุลไปทางดานท่ีมีน้ําหนักมากวา หรือ เลื่อน รูปท่ีมีน้ําหนักมากวาเขาหาแกน จะทําใหเกิดความสมดุลข้ึน หรือใชหนวยท่ีมีขนาดเล็กแตมีรูปลักษณะท่ีนาสนใจถวงดุลกับรูปลักษณะท่ี มีขนาดใหญแตมีรูปแบบธรรมดา

3. จังหวะลีลา (Rhythm) จังหวะลีลา หมายถึง การเคลื่อนไหวท่ีเกิดจาการซํ้ากันขององคประกอบ เปนการซํ้าท่ี เปนระเบียบ จากระเบียบธรรมดาท่ีมีชวงหางเทาๆ กัน มาเปนระเบียบท่ีสูงข้ึน ซับซอนข้ึนจนถึงข้ันเกิดเปนรูปลักษณะของศิลปะ โดยเกิดจาก การซํ้าของหนวย หรือการสลับกันของหนวยกับชองไฟ หรือเกิดจาก การเลื่อนไหลตอเนื่องกันของเสน สี รูปทรง หรือ น้ําหนัก รูปแบบๆ หนึ่ง อาจเรียกวาแมลาย การนําแมลายมาจัดวางซํ้า ๆ กันทํา ใหเกิดจังหวะและถาจัดจังหวะใหแตกตางกันออกไป ดวยการเวนชวง หรือสลับชวง ก็จะเกิดลวดลายท่ีแตกตางกันออกไป ไดอยางมากมาย แตจังหวะของลายเปนจังหวะอยางงาย ๆ ใหความ รูสึกเพียงผิวเผิน และเบื่องาย เนื่องจากขาดความหมาย เปนการรวมตัวของสิ่งท่ีเหมือนกัน แตไมมีความหมายในตัวเอง จังหวะท่ีนาสนใจและมีชีวิต ไดแก การเคลื่อนไหวของ คน สัตว การเติบโตของพืช การเตนรําเปน การเคลื่อนไหวของโครงสรางท่ีใหความบันดาล ใจในการสรางรูปทรงท่ีมีความหมาย

4. การเนน (Emphasis)

การเนน หมายถึง การกระทําใหเดนเปนพิเศษกวาธรรมดา ในงานศิลปะจะตองมี สวนใดสวนหนึ่ง หรือจุดใดจุดหนึ่ง ท่ีมีความสําคัญกวาสวนอ่ืน ๆ เปนประธานอยู ถาสวนนั้นๆ อยูปะปนกับสวนอ่ืน ๆ และมีลักษณะเหมือน ๆ กัน ก็อาจถูกกลืน หรือ ถูกสวนอ่ืนๆ ท่ีมีความสําคัญนอยกวาบดบัง หรือแยงความสําคัญ ความนาสนใจไปเสีย งานท่ีไมมีจุดสนใจ หรือประธาน จะทําใหดูนาเบื่อ เหมือนกับลวดลายท่ีถูกจัดวางซํ้ากัน โดยปราศจากความหมาย หรือเรื่องราวท่ีนาสนใจ ดังนั้น สวนนั้นจึงตองถูกเนน ใหเห็นเดนชัดข้ึนมา เปนพิเศษกวาสวนอ่ืน ๆ ซ่ึงจะทําใหผลงาน มีความงาม สมบูรณ ลงตัว และนาสนใจมากข้ึน การเนนจุดสนใจสามารถทําได 3 วิธี คือ

4.1. การเนนดวยการใชองคประกอบท่ีตัดกัน (Emphasis by Contrast) สิ่งท่ีแปลกแตก ตางไปจากสวนอ่ืนๆ ของงาน จะเปนจุดสนใจ ดังนั้น การใชองคประกอบท่ีมีลักษณะ แตกตาง หรือขัดแยง กับสวนอ่ืน ก็จะทําใหเกิดจุดสนใจข้ึนในผลงานได แตท้ังนี้ตอง พิจารณาลักษณะความแตกตางท่ีนํามาใชดวยวา กอใหเกิดความขัดแยงกันในสวนรวม และทําใหเนื้อหาของงานเปลี่ยนไปหรือไม โดยตองคํานึงวา แมมีความขัดแยง แตก ตางกันในบางสวน และในสวนรวมยังมีความกลมกลืนเปนเอกภาพเดียวกัน

4.2. การเนนดวยการดวยการอยูโดดเดี่ยว (Emphasis by Isolation) เม่ือสิ่งหนึ่งถูกแยก ออกไปจากสวนอ่ืน ๆ ของภาพ หรือกลุมของมัน สิ่งนั้นก็จะเปนจุดสนใจ เพราะเม่ือ แยกออกไปแลวก็จะเกิดความสําคัญข้ึนมา ซ่ึงเปนผลจากความแตกตาง ท่ีไมใชแตก

Page 23: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ตางดวยรูปลักษณะ แตเปนเรื่องของตําแหนงท่ีจัดวาง ซ่ึงในกรณีนี้ รูปลักษณะนั้นไม จําเปนตองแตกตางจากรูปอ่ืน แตตําแหนงของมันไดดึงสายตาออกไป จึงกลายเปน จุดสนใจข้ึนมา

4. 3. การเนนดวยการจัดวางตําแหนง (Emphasis by Placement) เม่ือองคประกอบอ่ืน ๆ ชี้นํามายังจุดใด ๆ จุดนั้นก็จะเปนจุดสนใจท่ีถูกเนนข้ึนมา และการจัดวางตําแหนงท่ี เหมาะสม ก็สามารถทําใหจุดนั้นเปนจุดสําคัญข้ึนมาไดเชนกัน พึงเขาใจวา การเนน ไมจําเปนจะตองชี้แนะใหเห็นเดนชัดจนเกินไป สิ่งท่ีจะตอง ระลึกถึงอยูเสมอ คือ เม่ือจัดวางจุดสนใจแลว จะตองพยายามหลีกเลี่ยงไมใหสิ่งอ่ืนมา ดึงความสนใจออกไป จนทําใหเกิดความสับสน การเนน สามารถกระทําไดดวยองค ประกอบตาง ๆ ของศิลปะ ไมวาจะเปน เสน สี แสง-เงา รูปราง รูปทรง หรือ พ้ืนผิว ท้ังนี้ข้ึนอยูความตองการในการนําเสนอของศิลปนผูสรางสรรค

5. เอกภาพ (Unity) เอกภาพ หมายถึง ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันขององคประกอบศิลปท้ังดานรูปลักษณะและดานเนื้อหาเรื่องราว เปนการประสานหรือจัดระเบียบของสวนตาง ๆใหเกิดความเปน หนึ่งเดียวเพ่ือผลรวมอันไมอาจแบงแยกสวนใดสวนหนึ่งออกไป การสรางงานศิลปะ คือ การสรางเอกภาพข้ึนจากความสับสน ความยุงเหยิง เปนการจัดระเบียบ และดุลยภาพ ใหแกสิ่งท่ีขัดแยงกันเพ่ือใหรวมตัวกันได โดยการเชื่อมโยงสวนตาง ๆใหสัมพันธกันเอกภาพของงานศิลปะ มีอยู 2 ประการ คือ 5.1เอกภาพของการแสดงออก หมายถึง การแสดงออกทีมีจุดมุงหมายเดียว แนนอน และมี ความเรียบงาย งานชิ้นเดียวจะแสดงออกหลายความคิด หลายอารมณไมได จะทําใหสับสน ขาดเอกภาพ และการแสดงออกดวยลักษณะเฉพาตัวของศิลปนแตละคน ก็สามารถทําให เกิดเอกภาพแกผลงานได 5.2. เอกภาพของรูปทรง คือ การรวมตัวกันอยางมีดุลยภาพ และมีระเบียบขององคประกอบ ทางศิลปะ เพ่ือใหเกิดเปนรูปทรงหนึ่ง ท่ีสามารถแสดงความคิดเห็นหรืออารมณของศิลปน ออกไดอยางชัดเจน เอกภาพของรูปทรง เปนสิ่งท่ีสําคัญท่ีสุดตอความงามของผลงานศิลปะ เพราะเปนสิ่งท่ีศิลปนใชเปนสื่อในการแสดงออกถึงเรื่องราว ความคิด และอารมณ ดังนั้นกฎเกณฑในการสรางเอกภาพในงานศิลปะเปนกฎเกณฑเดียวกันกับธรรมชาติ ซ่ึงมีอยู 2 หัวขอ คือ

1. กฎเกณฑของการขัดแยง (Opposition) มีอยู 4 ลักษณะ คือ 1.1 การขัดแยงขององคประกอบทางศิลปะแตละชนิด และรวมถึงการขัดแยงกันของ องคประกอบตางชนิดกันดวย 1.2 การขัดแยงของขนาด 1.3 การขัดแยงของทิศทาง 1.4 การขัดแยงของท่ีวางหรือ จังหวะ 2. กฎเกณฑของการประสาน (Transition) คือ การทําใหเกิดความกลมกลืน ใหสิ่งตาง ๆ เขากันดอยางสนิท เปนการสรางเอกภาพจากการรวมตัวของสิ่งท่ีเหมือนกันเขาดวยกัน การประสานมีอยู 2 วิธ ี คือ 2.1 การเปนตัวกลาง (Transition) คือ การทําสิ่งท่ีขัดแยงกันใหกลมกลืนกัน ดวยการใชตัวกลางเขาไปประสาน เชน สีขาว กับสีดํา ซ่ึงมีความแตกตาง ขัดแยงกันสามารถทําใหอยูรวมกันไดอยางมีเอกภาพ ดวยการใชสีเทาเขาไปประสาน ทําใหเกิดความกลมกลืนกัน มากข้ึน 2.2 การซํ้า (Repetition) คือ การจัดวางหนวยท่ีเหมือนกันตั้งแต 2 หนวยข้ึนไป เปนการสรางเอกภาพท่ีงายท่ีสุด แตก็ทําใหดูจืดชืด นาเบื่อท่ีสุด

นอกเหนือจากกฎเกณฑหลักคือ การขัดแยงและการประสานแลว ยังมีกฎเกณฑรองอีก 2 ขอ คือ

Page 24: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1. ความเปนเดน (Dominance) ซ่ึงมี 2 ลักษณะ คือ 1.1 ความเปนเดนท่ีเกิดจากการขัดแยง ดวยการเพ่ิม หรือลดความสําคัญ ความนาสนใจในหนวยใดหนวยหนึ่งของคูท่ีขัดแยงกัน 1.2 ความเปนเดนท่ีเกิดจากการประสาน 2. การเปล่ียนแปร (Variation) คือ การเพ่ิมความขัดแยงลงในหนวยท่ีซํ้ากัน เพ่ือปองกัน ความจืดชืด นาเบื่อ ซ่ึงจะชวยใหมีความนาสนใจมากข้ึน การเปลี่ยนแปรมี 4 ลักษณะ คือ 2.1 การปลี่ยนแปรของรปูลกัษณะ 2.2 การปลี่ยนแปรของขนาด 2.3 การปลี่ยนแปรของทิศทาง 2.4 การปลี่ยนแปรของจงัหวะ การเปลี่ยนแปรรูปลักษณะจะตองรักษาคุณลักษณะของการซํ้าไว ถารูปมีการเปลี่ยน แปรไปมาก การซํ้าก็จะหมดไป กลายเปนการขัดแยงเขามาแทน และ ถาหนวยหนึ่งมีการ เปลี่ยนแปรอยางรวดเร็ว มีความแตกตางจากหนวยอ่ืน ๆ มาก จะกลายเปนความเปนเดนเปนการสรางเอกภาพดวยความขัดแยง

6.เสน(line)

เสน คือ รองรอยท่ีเกิดจากเคลื่อนท่ีของจุด หรือถาเรานําจุดมาวางเรียงตอ ๆ กันไป ก็จะเกิดเปนเสนข้ึน เสนมีมิติเดียว คือ ความยาว ไมมีความกวาง ทําหนาท่ีเปนขอบเขต ของท่ีวาง รูปราง รูปทรง น้ําหนัก ส ี ตลอดจนกลุมรูปทรงตาง ๆ รวมท้ังเปนแกนหรือ โครงสรางของรปูรางรูปทรง เสนเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญของงานศิลปะทุกชนิด เสนสามารถใหความหมาย แสดง ความรูสึก และอารมณไดดวยตัวเอง และดวยการสรางเปนรูปทรงตาง ๆ ข้ึน เสนมี 2 ลักษณะคือ เสนตรง (Straight Line) และ เสนโคง (Curve Line) เสนท้ังสองชนิดนี้ เม่ือนํามาจัดวางในลักษณะตาง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกตาง ๆ และใหความหมาย ความรูสึก ท่ีแตกตางกันอีกดวย ลักษณะของเสน

1. เสนตั้ง หรือ เสนดิ่ง ใหความรูสึกทางความสูง สงา ม่ันคง แข็งแรง หนักแนน เปนสัญลักษณของความซ่ือตรง 2. เสนนอน ใหความรูสึกทางความกวาง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผอนคลาย 3. เสนเฉียง หรือ เสนทะแยงมุม ใหความรูสึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไมม่ันคง 4. เสนหยัก หรือ เสนซิกแซก แบบฟนปลา ใหความรูสึก คลื่อนไหว อยางเปน จังหวะ มีระเบียบ ไมราบเรียบ นากลัว อันตราย ขัดแยง ความรุนแรง 5. เสนโคง แบบคลื่น ใหความรูสึก เคลื่อนไหวอยางชา ๆ ลื่นไหล ตอเนื่อง สุภาพ ออนโยน นุมนวล 6. เสนโคงแบบกนหอย ใหความรูสึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทางท่ี หมุนวนออกมา ถามองเขาไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวท่ีไมสิ้นสุด 7. เสนโคงวงแคบ ใหความรูสึกถึงพลังความเคลื่อนไหวท่ีรุนแรง การเปลี่ยนทิศทาง ท่ีรวดเร็ว ไมหยุดนิ่ง

จากการท่ีเราไดเรียนรูในการจัดวางและความสําคัญขององคประกอบศิลป ในทางกลับกลับนั้นเรายังคงตองศึกษาพ้ืนฐานการเรียนทัษนศิลป ท่ีตองใชรวมกับการจัดวางองคประกอบศิลปแลว พ้ืนท่ีสําคัญจริงนั้นคือ 1.เสน 2.ส ี

Page 25: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

3.รูปราง-รูปทรง 4.คาน้ําหนัก 5.พ้ืนผิว

หลักการจัดองคประกอบทางทัศนศิลป

หลักการจัดองคประกอบทางทัศนศิลป (Composition) คือ การนําเอาทัศนะธาตุ ไดแก จุด เสน รูปราง รูปทรง น้ําหนักออนแก บริเวณวาง สี และพ้ืนผิว มาจัดประกอบเขาดวยกันจนเกิดความพอดี เหมาะสม ทําใหงานศิลปะชิ้นนั้นมีคุณคาอยางสูงสุด ประกอบดวยหลักเกณฑตอไปนี้

ความหมายของมิติ ในทางทัศนศิลป หมายถึง สิ่งท่ีทําใหภาพมีความตื้น ลึก หนา บาง ตามสภาพความเปนจริง จากการมองเห็นและจับตองได

สวนประกอบของมิติ 1. จุด (dot) 2. เสน (line) 3. รูปราง (shape) 4. รูปทรง (form)

มิติในดานรูปภาพ 1. สามมิติท่ีเกิดจากสี 2. สามมิติท่ีเกิดจากแสงและเงา 3. สามมิติท่ีเกิดจากบริเวณวาง 4. สามมิติท่ีเกิดจากการบังกัน ทับกัน หรือซอนกัน 5. สามมิติท่ีเกิดจากการแตกตางกันของขนาด 6. สามมิติท่ีเกิดจากเสนและจุดรวมสายตา 7. สามมิติท่ีเกิดจากเสน และแสงเงา 8. สามมิติท่ีเกิดจากเสน สี และแสงเงา

มิติในดานรูปทรง

1. สามมิติเกิดจากการรับรูทางการมองเห็นรูปทรงท่ีเปนปริมาตร ไดแก รูปทรงเรขาคณิต ธรรมชาติ อิสระ ท่ีมีความกวาง ยาว ลึกหรือหนา ของภาพ 2. สามมิติเกิดจากการรับรูทางการจับตองรูปทรงท่ี เปนปริมาตร ไดแก รูปทรงเรขาคณิต ธรรมชาติ อิสระ ท่ีมีความกวาง ยาว ลึกหรือหนา ตามสภาพความเปนจริง

หลัการจัดวาง ( Law of Composition)

• กฏและทฤษฏีการจัดวางองคประกอบภาพ

Page 26: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

• Rule Of Third กฏหนึ่งในสาม และจุดตัดเกาชอง เรียนรูการใชงานแบบพ้ืนฐานและประยุกต เพ่ือผลงานท่ีสวยงามและสมบูรณ

• Golden Ratio หรือ Golden Mean ความหมายและการเลือกใชในการจัดวางองคประกอบภาพ

• Brake Of Law การถายภาพท่ีคํานึงถึงอารมณ ความรูสึกและสวยงามมากกวากฏและทฤษฏี

สําหรับหลักท้ังสามประการท่ีกลาวมาแลวนั้นหากเรารูจักนําไปใช กอนท่ีเราจะลั่นซัตเตอรแตละครั้งเปนสิ่งท่ีชางภาพควรคิดและนํามาใชใหเกิดประโชยนในการถายภาพเพ่ือใหทานไดผลงานออกมาเปนท่ีพอใจชางภาพหลายคนละเลยในสวนนี้ไปทําใหเราพลาดโอกาสท่ีจะไดภาพสวย ๆ มาอวดเพ่ือน ๆ ในบางครงการถายภาพใหดีนั้นตองมีบางกรณเปนขอยกเวนนั่นก็คือการเแหกกฏของการถายภาพ (Break of Law ) ไมยึดแนวทางท้ังสามแบบท่ีกลาวมาแลวแตเปนการเดิมจินตนาการของชางภาพเองลงในแผน memory ใหออกมาเปนงานศิลปะท่ีงดงาม

สําหรัการถายภาพแลวคงไมใชเรื่องท่ียุงยากตอไปแลวเม่ือเราไดเรี่ยนรูการสิ่งท่ีกลาวมาแลวในขางตน เพียงแตชางภาพตองคิดและนําเสนอรูปแบบท่ีเราตองการสื่อออกมาใหเห็นโดยดึงเอาความรูท้ังสามอยางมารวมกันเปนความคิดหนึ่งเดียว ภายใตความคิดนี้ตองทําอยางรวดเร็วใหทันเวลากับการเปลี่ยนแปลงสภาพแสงในขณะนั้น (ผมพูดถึงการถาย Landscape) เพราะในการถาย Landscape นั้นชวงเวลาท่ีแสงสวย ประมาณ 2-5 นาทีเทานั้น เราอาจพลาดแสงท่ีสวยงาม นั่นหมายถึงพลาดท่ีจะไดภาพสวยงามเชนกันดังนั้นการท่ีจะไดภาพสวยงามนั้น ชางภาพตองฝกใหมากอยางกลัวเปลียงชัตเตอร

รูปราง รูปทรง รูปราง และรูปทรงเปนพ้ืนฐานสําคัญของการสรางสรรคงานชางและงานประดิษฐ ในการออกแบบและเขียนแบบ เพ่ือใหไดชิ้นงานท่ีมีคุณภาพ ใชงานไดจริง และมีความสวยงาม

1. รูปราง (Shape) หมายถึง เสนรอบนอก (Out Line) ของวัตถุท่ีเรามองเห็น ซ่ึงเปนลักษณะ 2 มิติ มีความกวางและความยาว ไมมีความหนาหรือความลึก นําไปใชในงานออกแบบ 2 มิติ แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1.1 รูปรางตามธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปรางซ่ึงเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติท่ีเราเห็นอยูทุกวัน เชน คน สัตว พืช เปนตน

Page 27: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1.2 รูปรางเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รูปรางท่ีมนุษยสรางข้ึน มีโครงสรางแนนอน เชน วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม เปนตน

1.3 รูปรางอิสระ (Free Shape) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา Abstract Shape หมายถึง รูปรางท่ีถูกเปลี่ยนแปลงใหงายข้ึน หรือตัดตอนใหผิดเพ้ียนไปจากความจริง อาจขยายข้ึน ตัดทอน ดัดแปลง เพ่ือใหเกิดความแปลกใหม

2. รูปทรง (Form) หมายถึง ลักษณะของวัตถุท่ีเรามองเห็นเปน 3 มิติ คือ มีความกวาง ความยาว และความหนาหรือความลึก แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 2.1 รูปทรงจากธรรมชาติ (Natural Form) หมายถึง รูปทรงท่ีเกิดจากสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ เชน คน สัตว พืช โดยการนํามาถายทอดเปนงานศิลปะในลักษณะ 3 มิติ รูปทรงประเภทนี้จะใหความรูสึกมีชีวิต

2.2 รูปทรงเรขาคณิต (Geometrical Form) หมายถึง รูปทรงท่ีมนุษยสรางข้ึนดวยเครื่องมือ ไดแก รูปทรงสามเหลี่ยม รูปทรงสี่เหลี่ยม รูปทรงกลม เปนตน รูปทรงเหลานี้จะแสดงความกวาง ความยาว และความหนาหรือความลึก มีความเปนมวลหรือมีปริมาตร

Page 28: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

2.3 รูปทรงอิสระ (Free Form) หมายถึง รูปทรงท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ หรือมนุษยสรางข้ึน ไมมีโครงสรางเปนมาตรฐานแนนอนเหมือนรูปทรงจากธรรมชาติและรูปทรงเรขาคณิต ไดแก รูปทรงของกอนหิน กอนกรวด ดิน หยดน้ํา กอนเมฆ เปลวไฟ คลื่นน้ํา คลื่นทราย รูปปน ภาพเขียน เปนตน

ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ หลักในการออกแบบเขียนแบบ คือ การมองสิ่งของหรือชิ้นงานตาง ๆ เปนภาพท่ีเปนแบบ 2 มิติ และแบบ 3 มิติ ดังนี้

Page 29: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

เอกสารอางอิง 1. https://www.youtube.com/watch?v=wVbcGqHmr-0

แผนการจัดการเรียนรูแบบฐานสมรรถนะ

หนวยท่ี 3 ชื่อวิชา คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ รหัสวิชา 2308 - 9001 สอนสัปดาหท่ี 5-6

ช่ือหนวย หลักเบญจธาตุและการออกแบบLogo ช่ัวโมงรวม 8ช่ัวโมง ระดับ ปวช. ช่ือผูสอน ทัศนีย ศรีภุมมา จํานวน 4 ช่ังโมง/

สัปดาห

Page 30: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

สาระสําคัญ ปจจุบัน การทําโลโกท่ีดีทําแลวเฮงทําแลวรวย กําลังไดรับความนิยมและเปนท่ีสนอกสนใจของนักธุรกิจมากข้ึน การออกแบบโลโกท่ีดีและถูกหลักโหราศาสตรนั้นไมใชเรื่องยากเราจึงควรให ความสนใจไมควรมองขาม เพราะถาทําไดถูกตองก็จะมีสวนชวยทําใหธุรกิจของเราประสบความสําเร็จไดดี ยิ่งข้ึน (นัยวาถาทําถูกธาตุถูกดวงชะตาก็จะเปนพลังสงเสริมหรือผลักดันใหกิจการ ผานพนอุปสรรคไปดวยดี) เคล็ดลับหรือหลักการทํา ท่ีสําคัญประการแรกเลยคือ เราตองรูกอนวาเจาของกิจการหรือเจาของธุรกิจนั้น เปนคนธาตุอะไร จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคท่ัวไป 1. รูและเขาใจใชสีเบญจธาตุสรางโลโก 2. รูและเขาใจการใชรูปรางเบญจธาตุสรางโลโก จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสีตามหลักเบญจธาตุสรางโลโกได 2. อธิบายสีตามหลักเบญจธาตุได 3. เลือกใชรูปราง รูปทรงตามหลักเบญจธาตุสรางโลโก

4. อธิบายรูปรางตามหลักเบญจธาตุได สมรรถนะรายหนวย

สรางLOGOตามหลักเบญจธาตุ รายวิชาท่ีจัดควบคูหรือบูรณาการ - วิธีการบูรณาการ - สาระการเรียนรู 1. หลักเบญจธาตุและการออกแบบLOGO 1.1 หลักเบญจธาตุ 1.1.1 สีเบญจธาตุ 1.1.2 รูปรางเบญธาตุ 1.1.3 ธาตุท่ีสงเสริม 1.1.4 สีและรูปรางถูกโฉลก 1.1.5 ธาตุขัดขวาง

Page 31: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1.1.6 แปลงธาตุใหถูกโฉลก 2. ออกแบบโลโก 1.2.1 สีท่ีใชออกแบบ 1.2.2 รูปรางรูปทรงท่ีใช 1.2.3 ออกแบบโลโกดวย AI ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน คุณธรรมท่ีพึงประสงค 1. ความมีน้ําใจ ความไมทอดท้ิงกัน ความมีจิตสาธารณะรับผิดชอบตอสวนรวม 2. มีความขยันขันแข็ง อดทน อดกลั้น พ่ึงตนเองได ไมมัวเมาในอบายมุข 3. มีสัมมาชีพ มีความพอเพียง 4. มีความเคารพศักดิ์ศรีและคุณคาความเปนคนของคนทุกคน สามารถรวมตัวรวมคิด รวมทําอยางเสมอภาค 5. อนุรักษวัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ มีการใชอยางเปนธรรม และยั่งยืน 6. มีความยุติธรรมและแกปญหาความขัดแยงดวยสันติวิธี 7. มีการพัฒนาจิตใจใหสูงข้ึนอยางตอเนื่อง นําปญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน ในวิชานี้ไมมีหนังสือผูเรียนตองจดหรือถาย VDO ทบทวนบทเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....5.. ช่ัวโมงท่ี..17-20........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง การจัดองคประกอบ - ผูสอนเริ่มบรรยาย หลักเบญจธาตุและการออกแบบโลโก จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1. หลักเบญจธาตุและการออกแบบLOGO 1.1 หลักเบญจธาตุ 1.1.1 สีเบญจธาตุ 1.1.2 รูปรางเบญธาตุ

Page 32: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1.1.3 ธาตุท่ีสงเสริม 1.1.4 สีและรูปรางถูกโฉลก 1.1.5 ธาตุขัดขวาง 1.1.6 แปลงธาตุใหถูกโฉลก - ผูสอน ใหผูเรียนวิเคราะห โลโกตาง ๆ รวมพิจารณา - ใหผูเรียนฝกสังเกตุโลโก ของ ท่ีตาง ๆ และบรรยาย โลโกลงสมุด พรอมระบายสี - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....6.. ช่ัวโมงท่ี..21-24........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง ทฤษฎีสี - ผูสอนเริ่มบรรยาย การจัดองคประกอบศิลป จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 2. ออกแบบโลโก 1.2.1 สีท่ีใชออกแบบ 1.2.2 รูปรางรูปทรงท่ีใช 1.2.3 ออกแบบโลโกดวย AI - ผูสอน สอนการทําการออกแบบโลโก ตามหลักเบญจธาตุ ดวย AI - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน - จากนั้นในชั่วโมงถัดมา สอบเก็บคะแนนรายหนวย เทคนิควิธีการสอนท่ีนํามาใช ปฎิบัติการใชจากสถานการณจริง และเรียนรูดวยตนเอง ส่ือการเรียนการสอนและแหลงการเรียนรู 1. สื่อสิ่งพิมพ ไดแก สมุดภาพสี 2. โสตทัศนูปกรณ ไดแก คอมพิวเตอรดูเรื่องสี 3. สื่อเทคโนโลยีข้ันสูง ไดแก Powerpoint 4. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 5. https://www.gotoknow.org/posts/381237

การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. สอบเก็บคะแนนรายหนวย 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงาน

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม

Page 33: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

หนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

เอกสารอางอิง/เว็บไซต 1. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 2. https://www.gotoknow.org/posts/381237

ใบงาน (Job Sheet) ท่ี 1 รหัสวิชา: 2308 - 9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

หนวยท่ี: 3 ช่ือหนวย: หลักเบญจธาตุและการออกแบบLogo

ช่ือเรื่อง: ทฤษฎีการจัดวางองคประกอบ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม

Page 34: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1. เลือกใชสีตามหลักเบญจธาตุ 2. เลือกใชรูปราง รูปทรงตามหลักเบญจธาตุ

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 60 นาที เปนตน

ลําดับข้ันตอนการปฏิบัต ิ 1. วิเคราะหโลโกตามท่ี ผูสอนใหผูเรียนวิเคราะห ลงสมุด 2. ผูสอนฝกใหผูเรียนสรางโลโก และใหผูเรียนสรางLOGO ลง AI

วิเคราะหโลโกดังตอไปนี้

Page 35: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

แหลงคนควา 1. Internet

เอกสารอางอิง

1. ://sango.igetweb.com/th/articles/21881-%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B9%89-%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%96%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AE%E0%B8%A7%E0%B

8%87%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%8D%E0%B8%88%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B

การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. ผลงานและความถูกตองตามโจทยสั่ง 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

ใบงาน (Job Sheet) ท่ี 2 รหัสวิชา: 2308 - 9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

Page 36: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

หนวยท่ี: 3 ช่ือหนวย: หลักเบญจธาตุและการออกแบบLogo

ช่ือเรื่อง: ทฤษฎีการจัดวางองคประกอบ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสีตามหลักเบญจธาตุ 2. เลือกใชรูปราง รูปทรงตามหลักเบญจธาตุ

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 60 นาที เปนตน

ลําดับข้ันตอนการปฏิบัต ิ 1. ออกแบบโลโก ลงสมุด โดยตามแบบหลักเบญจธาตุ 2. วาดโลโกลง AI สงในชั่วโมง

แหลงคนควา 1. Internet

เอกสารอางอิง 1. ://sango.igetweb.com/th/articles/21881-%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B9%89-%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%96%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AE%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%8D%E0%B8%88%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B8 การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน

การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. ผลงานและความถูกตองตามโจทยสั่ง 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

Page 37: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ใบความรู (Information Sheet) ท่ี รหัสวิชา: 2308 - 9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

หนวยท่ี: 3 ช่ือหนวย: หลักเบญจธาตุและการออกแบบLogo

ช่ือเรื่อง: ทฤษฎีการจัดวางองคประกอบ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสีตามหลักเบญจธาตุ

2. เลือกใชรูปราง รูปทรงตามหลักเบญจธาตุ

เนื้อหาสาระ

ใชสีใหถูกหลักฮวงจุยเบญจธาตุ

ฮวง คือ ลม สวนจุย คือ น้ํา ฮวงจุยเปนการเรียนรูถึงพลังงานธรรมชาติ เบญจธาตุ หรือ 5 ธาตุพ้ืนฐานในผังยันตแปดเหลี่ยมหลังเตา (ปากัว) มีหลักสีดังนี ้

Page 38: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ธาตุไฟ สัญลักษณ สีแดง รูปสามเหลี่ยม

ธาตุดิน สัญลักษณ สีเหลือง รูปสี่เหลี่ยม

ธาตุทอง สัญลักษณ สีขาว รูปกลม

ธาตุน้ํา สัญลักษณ สีดํา (น้ําเงิน) รูปหกเหลี่ยม รูปคลื่น

ธาตุไม สัญลักษณ สีเขียว รูปสี่เหลี่ยมผืนผา

ธรรมชาติของแตละสี หรือแตละรูปทรง คือ ตัวแทนของธาตุ และธาตุแตละธาตุมีพลังของตัวเอง มีอํานาจสงเสริม หรือ ทําลายหักลางธาตุอ่ืนได

ธาตุท่ีสงเสริม

ธาตุไม เปนตัวเสริม ธาตุไฟ เพราะธาตุไฟมีไมเปนเชื้อ ไฟจะมีพลัง สวางไสว โชติชวง

ธาตุไฟ เปนตัวเสริม ธาตุดิน เม่ือไฟเผาไม จะเกิดข้ีเถา ถาน ผง สลายเปนดิน

ธาตุดิน เปนตัวเสริม ธาตุทอง แรธาตุตางๆเชน สังกะสี เหล็ก ธาตุทอง เกิดจากดินท่ีทับถมกันแปรเปนหินแร

ธาตุทอง เปนตัวเสริม ธาตุน้ํา เม่ือมีความชื้นมากระทบ จะกอใหเกิดการควบแนนเปนหยดน้ํา

ธาตุน้ํา เปนตัวเสริม ธาตุไม น้ําเปนอาหารของไม ทําใหไมเจริญเติบโต

ธาตุท้ังหานี้มีความสัมพันธกันดังนี้คือ น้ําหลอเลี้ยงไมใหเจริญเติบโต ไมเปนเชื้อเพลิงกอใหเกิดไฟ ไฟเผาไหมไมเปนข้ีเถาดิน ดินทับถมกันจนกลายเปนแรธาตุทอง(โลหะ) เม่ือมีความชื้นมากระทบเกิดน้ํา

สีและรูปรางถูกโฉลก

สีแดง รูปสามเหล่ียม (ธาตุไฟ) ถูกโฉลกกับ สีเหลือง รูปสี่เหลี่ยม (ธาตุดิน)

สีเหลือง รูปส่ีเหล่ียม (ธาตุดิน) ถูกโฉลกกับ สีขาว รูปกลม (ธาตุทอง)

สีขาว รูปกลม (ธาตุทอง) ถูกโฉลกกับ สีน้ําเงิน สีดํา รูปหกเหลี่ยม (ธาตุน้ํา)

สีดํา น้ําเงิน รูปหกเหล่ียม (ธาตุน้ํา) ถูกโฉลกกับ สีเขียว รูปสี่เหลี่ยมผืนผา (ธาตุไม)

สีเขียว รูปส่ีเหล่ียมผืนผา (ธาตุไม) ถูกโฉลกกับ สีแดง รูปสามเหลี่ยม (ธาตุไฟ)

“รูปรางของเสนสาย” “สี สรรค” “ความสวาง” โดยการจัดวางใน “ขนาด” และ “ทิศทาง” ท่ีกระแสเก้ือกูลสงเสริมกันเหมาะสม ถาทําใหโดดเดนท้ังองคประกอบท้ังหมด ก็จะถือวาสมบูรณแบบ ซ่ึงจะทําใหบุคคลท่ีพบเห็นเกิดอารมณและความรูสึกตามสิ่งนั้นๆ ในกระแสท่ีเปนบวก

Page 39: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ธาตุท่ีชง (ขัดขวางทําลายกัน)

ธาตุไม ชงกับ ธาตุดิน เพราะรากของตนไมจะชอนชัยพ้ืนดินใหแตกแยกออกจากกัน

ธาตุดิน ชงกับ ธาตุน้ํา เปนเสมือนเข่ือนหรือกําแพง ปดกันน้ํา

ธาตุไฟ ชงกับ ธาตุน้ํา น้ําจะเปนตัวดับไฟ หรือปดกัน ทําลายไฟ

ธาตุทอง ชงกับ ธาตุไฟ ไฟจะเผาทองใหหลอมละลาย เปลี่ยนรูปราง

ธาตุไม ชงกับ ธาตุทอง โลหะสามารถตัด ทําลายไมได

การเปล่ียนธาตุท่ีชงเปนธาตุท่ีถูกโฉลก

การเปลี่ยนธาตุสองธาตุท่ีชงกันใหเปนธาตุท่ีสงเสริมกัน ตองใชธาตุท่ีเปนเหมือนตัวกลาง มาชวยผสานใหเขากัน

ธาตุไม ชงกับ ธาตุดิน แกดวยธาตุไฟ เพราะธาตุไฟ(สีแดง) เปนแมของธาตุดิน(สีเหลือง) หรือไฟกอใหเกิดหรือใหกําเนิดธาตุดิน และเปนลูกของธาตุไม(สีเขียว) หรือไมกอใหเกิดหรือใหกําเนิดธาตุไม

ธาตุดิน ชงกับ ธาตุน้ํา แกดวยธาตุทอง เพราะธาตุทอง(สีขาว) เปนแมของธาตุน้ํา(สีดํา สีน้ําเงิน) และเปนลูกของธาตุดิน(สีเหลือง)

ธาตุไฟ ชงกับ ธาตุน้ํา แกดวยธาตุไม เพราะธาตุไม (สีเขียว) เปนแมของธาตุไฟ(สีแดง) และเปนลูกของธาตุน้ํา(สีดํา สีน้ําเงิน)

ธาตุทอง ชงกับ ธาตุไฟ แกดวยธาตุดินเพราะธาตุดิน(สีเหลือง) เปนแมของธาตุทอง(สีขาว) และเปนลูกของธาตุไฟ(สีแดง)

ธาตุไม ชงกับ ธาตุทอง แกดวยธาตุน้ําเพราะธาตุน้ํา(สีดํา สีน้ําเงิน) เปนแมของธาตุไม(สีเขียว) และเปนลูกของธาตุทอง(สีขาว)

เอกสารอางอิง1. ://sango.igetweb.com/th/articles/21881-%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B9%89-%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%96%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AE%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%8D%E0%B8%88%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B8

Page 40: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

สอบกลางภาค สัปดาหที่ 7

แผนการจัดการเรียนรูแบบฐานสมรรถนะ

หนวยท่ี 4 ชื่อวิชา คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ รหัสวิชา 2308 - 9001 สอนสัปดาหท่ี 8 -12

ช่ือหนวย การออกแบบตัวอักษรในโอกาสตาง ๆ ช่ัวโมงรวม 16ช่ัวโมง ระดับ ปวช. ช่ือผูสอน ทัศนีย ศรีภุมมา จํานวน 4 ช่ังโมง/

สัปดาห

Page 41: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

สาระสําคัญ การประดิษฐตัวอักษร มีวัตถุประสงคเพ่ือใหเกิดมีรูปลักษณของแบบอักษรแบบใหมใหสอดคลองกับลักษณะการนําไปใชงานในโอกาสตางๆ ใหมีความแปลกใหม มีความนาสนใจการประดิษฐตัวอักษรใหเปนไปไดตามความตองการ จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคท่ัวไป 1. รูและเขาใจการออกแบบตัวอักษรท่ีใชในโอกาสตาง ๆ 2. รูและเขาใจเทคนิคการใชตัวอักษรในวาระตาง ๆ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ออกแบบตัวอักษรในโอกาสตาง ๆ ได 2. อธิบายแบบตัวอักษรได 3. เลือกใชตัวอักษรตามวาระตาง ๆ ใหเหมาะสม 4. อธิบายการใชตัวอักษรตามวาระตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม สมรรถนะรายหนวย

ออกแบบตัวอักษรท่ีใชในโอกาสตาง ๆ ได รายวิชาท่ีจัดควบคูหรือบูรณาการ - วิธีการบูรณาการ - สาระการเรียนรู 1. การออกแบบตัวอักษร 1.1 การออกแบบตัวอักษร 1.1.1 การสรางตัวอักษรใน IIustrator 1.1.2 ทําลูกเลนตัวอักษร 1.1.3 ทําตัวอักษรหนังสือเปนภาพ 1.1.4 ออกแบบตัวอักษร 2 ส ี 1.1.5 ทําตัวอักษร 3D 1.1.6 ออกแบบตัวอักษรตามสถานการณตาง ๆ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน คุณธรรมท่ีพึงประสงค 1. ความมีน้ําใจ ความไมทอดท้ิงกัน ความมีจิตสาธารณะรับผิดชอบตอสวนรวม 2. มีความขยันขันแข็ง อดทน อดกลั้น พ่ึงตนเองได ไมมัวเมาในอบายมุข 3. มีสัมมาชีพ มีความพอเพียง 4. มีความเคารพศักดิ์ศรีและคุณคาความเปนคนของคนทุกคน สามารถรวมตัวรวมคิด รวมทําอยางเสมอภาค

Page 42: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

5. อนุรักษวัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ มีการใชอยางเปนธรรม และยั่งยืน 6. มีความยุติธรรมและแกปญหาความขัดแยงดวยสันติวิธี 7. มีการพัฒนาจิตใจใหสูงข้ึนอยางตอเนื่อง นําปญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน ในวิชานี้ไมมีหนังสือผูเรียนตองจดหรือถาย VDO ทบทวนบทเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....8.. ช่ัวโมงท่ี..29-32........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง สี องคประกอบ เบญจธาตุ - ผูสอนเริ่มบรรยาย การสรางตัวอักษรศิลป จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ 1. การออกแบบตัวอักษร 1.1 การออกแบบตัวอักษร 1.1.1 การสรางตัวอักษรใน IIustrator

Page 43: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

- ผูสอน ใหผูเรียน สรางตัวอักษรและลูกเลนตัวอักษร - ใหผูเรียนฝกสรางองคประกอบ และวิเคราะหองคประกอบ ใหเหมาะสมตามโจทย - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....9.. ช่ัวโมงท่ี..35-38........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง การสรางตัวอักษรใน IIustrator - ผูสอนเริ่มบรรยาย การสรางตัวอักษรศิลป จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1.1.2 ทําลูกเลนตัวอักษร

1.1.3 ทําตัวอักษรหนังสือเปนภาพ - ผูสอน ใหผูเรียนทําตัวอักษรหนังสือเปนภาพ และ ออกแบบตัวอักษร 2 ส ี - ใหผูเรียนฝกสรางองคประกอบจากรูปรางและรูปทรง และวิเคราะหองคประกอบ ใหเหมาะสมตามโจทย - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....10.. ช่ัวโมงท่ี..39-40........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง ลูกเลนตัวอักษร - ผูสอนเริ่มบรรยาย การสรางตัวอักษรศิลป จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1.1.4 ออกแบบตัวอักษร 2 ส ี

1.1.5 ทําตัวอักษร 3D - ผูสอน ใหผูเรียนทําตัวอักษรหนังสือเปนภาพ และ ออกแบบตัวอักษร 2 ส ี - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....11.. ช่ัวโมงท่ี..41-44........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง ลูกเลนตัวอักษร - ผูสอนเริ่มบรรยาย การสรางตัวอักษรศิลป จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1.1.6 ออกแบบตัวอักษรตามสถานการณตาง ๆ - ผูสอน ใหผูเรียนทําตัวอักษรหนังสือเปนภาพ และ ออกแบบตัวอักษร 2 ส ี - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....12.. ช่ัวโมงท่ี..45-48........) - ทบทวนบทเรียน เก็บงาน ตรวจแบบฝกหัด - เตรียมความพรอมสอบ 10 นที - สอบเก็บคะแนนรายหนวย เทคนิควิธีการสอนท่ีนํามาใช ปฎิบัติการใชจากสถานการณจริง และเรียนรูดวยตนเอง

Page 44: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ส่ือการเรียนการสอนและแหลงการเรียนรู 1. สื่อสิ่งพิมพ ไดแก สมุดภาพสี 2. โสตทัศนูปกรณ ไดแก คอมพิวเตอรดูเรื่องสี 3. สื่อเทคโนโลยีข้ันสูง ไดแก Powerpoint 4. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 5. https://www.gotoknow.org/posts/381237

การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. สอบเก็บคะแนนรายหนวย 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

เอกสารอางอิง/เว็บไซต 1. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 2. https://www.gotoknow.org/posts/381237

ใบงาน (Job Sheet) ท่ี

รหัสวิชา: 2308 - 9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

หนวยท่ี: 4 ช่ือหนวย: การออกแบบตัวอักษรในโอกาสตาง ๆ

Page 45: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ช่ืองาน: การออกแบบตัวอักษรในโอกาสตาง ๆ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ออกแบบตัวอักษรในโอกาสตาง ๆ ได 2. เลือกใชตัวอักษรตามวาระตาง ๆ ใหเหมาะสม

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 300 นาที ในชั่วโมงเรียน

ลําดับข้ันตอนการปฏิบัต ิ ผูสอนผูเรียนออกแบบตัวอักษรดังตอไปนี้ 1.1.การสรางตัวอักษรใน IIustrator 1.1.2 ทําลูกเลนตัวอักษร 1.1.3 ทําตัวอักษรหนังสือเปนภาพ 1.1.4 ออกแบบตัวอักษร 2 ส ี1.1.5 ทําตัวอักษร 3D 1.1.6 ออกแบบตัวอักษรตามสถานการณตาง ๆ

แหลงคนควา 1. youtube 2 Internet

เอกสารอางอิง 1. youtube

การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. ผลงานและความสรางสรรค 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงาน

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม

Page 46: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

หนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

แผนการจัดการเรียนรูแบบฐานสมรรถนะ

หนวยท่ี 5 ชื่อวิชา คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ รหัสวิชา 2308 - 9001 สอนสัปดาหท่ี 13 -17

ช่ือหนวย การออกแบบส่ือส่ิงพิมพและผลิตภัณฑ ช่ัวโมงรวม 16ช่ัวโมง ระดับ ปวช. ช่ือผูสอน ทัศนีย ศรีภุมมา จํานวน 4 ช่ังโมง/

Page 47: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

สัปดาห

สาระสําคัญ การอออกแบบเปนการนําองคการประกอบมูลฐานมาจัด หรือรวบรวมเขาไวดวยกันอยางมีระบบในงานออกแบบ ไมวาจะเปนตัวอักษร ภาพ หรือพ้ืนท่ีวางๆเพ่ือใหการออกแบบสื่อสิ่งพิมพเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีตองการ จุดประสงคการเรียนรู

จุดประสงคท่ัวไป 1. รูและเขาใจการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 2. รูและเขาใจการออกแบบผลิตภัณฑ จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ออกแบบปกหนังสือ ได 2. ออกแบบปาย ได 3. ออกแบบนามบัตร ได 4. ออกแบบประกาศนยีบตัร ได 5. ออกแบบการดตาง ๆได 6. ออกแบบผลิตภัณฑกลองได 7. ออกแบบผลิตภัณฑใสอาหารได สมรรถนะรายหนวย

ออกแบบผลิตภัณฑตาง ๆ ได รายวิชาท่ีจัดควบคูหรือบูรณาการ - วิธีการบูรณาการ - สาระการเรียนรู 1. การออกแบบส่ือส่ิงพิมพและผลิตภัณฑ 1.1 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 1.1.1 การออกแบบปกหนังสือ 1.1.2 การออกแบบปาย 1.1.3 การออกแบบนามบัตร

Page 48: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1.1.4 การออกแบบประกาศนียบัตร 1.1.5 การออกแบบการดตาง ๆ 1.2 การออกแบบผลิตภัณฑ 1.2.1 ผลิตภัณฑกลอง 1.2.2 ผลิตภัณฑถุง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน คุณธรรมท่ีพึงประสงค 1. ความมีน้ําใจ ความไมทอดท้ิงกัน ความมีจิตสาธารณะรับผิดชอบตอสวนรวม 2. มีความขยันขันแข็ง อดทน อดกลั้น พ่ึงตนเองได ไมมัวเมาในอบายมุข 3. มีสัมมาชีพ มีความพอเพียง 4. มีความเคารพศักดิ์ศรีและคุณคาความเปนคนของคนทุกคน สามารถรวมตัวรวมคิด รวมทําอยางเสมอภาค 5. อนุรักษวัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ มีการใชอยางเปนธรรม และยั่งยืน 6. มีความยุติธรรมและแกปญหาความขัดแยงดวยสันติวิธี 7. มีการพัฒนาจิตใจใหสูงข้ึนอยางตอเนื่อง นําปญหาและอุปสรรคในการเรียนการสอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน ในวิชานี้ไมมีหนังสือผูเรียนตองจดหรือถาย VDO ทบทวนบทเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....13.. ช่ัวโมงท่ี..49-52........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง เนื้อหาบทเรียนท้ังหมด - ผูสอนเริ่มบรรยาย การออกแบบตัวอักษร เนื่องจากนํามาจัดในการตกแตงสื่อสิ่งพิมพและผลิตภัณฑ จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1. การออกแบบส่ือส่ิงพิมพและผลิตภัณฑ

Page 49: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1.1 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 1.1.1 การออกแบบปกหนังสือ - ผูสอน ใหผูเรียน สรางปกหนังสือตามหลักการทฤษฎีท่ีไดศึกษา - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี..14.. ช่ัวโมงท่ี..53-56........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง เนื้อหาบทเรียนท้ังหมด - ผูสอนเริ่มบรรยาย การออกแบบตัวอักษร เนื่องจากนํามาจัดในการตกแตงสื่อสิ่งพิมพและผลิตภัณฑ จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1.1.2 การออกแบบปาย - ผูสอน ใหผูเรียนทําตัวอักษรหนังสือเปนภาพ และ ออกแบบตัวอักษร 2 ส ี - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....15.. ช่ัวโมงท่ี..57-60........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง เนื้อหาบทเรียนท้ังหมด - ผูสอนเริ่มบรรยาย การออกแบบตัวอักษร เนื่องจากนํามาจัดในการตกแตงสื่อสิ่งพิมพและผลิตภัณฑ จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1.1.3 การออกแบบนามบัตร 1.1.4 การออกแบบประกาศนียบัตร 1.1.5 การออกแบบการดตาง ๆ กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....16.. ช่ัวโมงท่ี..61-64........) - ผูสอนทบทวนเรื่อง เนื้อหาบทเรียนท้ังหมด - ผูสอนเริ่มบรรยาย การออกแบบตัวอักษร เนื่องจากนํามาจัดในการตกแตงสื่อสิ่งพิมพและผลิตภัณฑ จากนั้นใหผูเรียนจดสาระสําคัญ สาระสําคัญ 1.2 การออกแบบผลิตภัณฑ 1.2.1 ผลิตภัณฑกลอง 1.2.2 ผลิตภัณฑถุง - ผูสอน ฝกปฏิบัติการออกแบบสื่อสิ่งพิมพตาง ๆ - ทบทวนบทเรียน และทําใบงาน - จากนั้นในชั่วโมงถัดมา สอบเก็บคะแนนรายหนวย กิจกรรมการเรียนการสอน (สัปดาหท่ี....17.. ช่ัวโมงท่ี..65-68........) - ทบทวนบทเรียน เก็บงาน ตรวจแบบฝกหัด - เตรียมความพรอมสอบ 10 นที - สอบเก็บคะแนนรายหนวย และสอบปลายภาคปฏิบัติ

Page 50: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

เทคนิควิธีการสอนท่ีนํามาใช ปฎิบัติการใชจากสถานการณจริง และเรียนรูดวยตนเอง ส่ือการเรียนการสอนและแหลงการเรียนรู 1. สื่อสิ่งพิมพ ไดแก สมุดภาพสี 2. โสตทัศนูปกรณ ไดแก คอมพิวเตอรดูเรื่องสี 3. สื่อเทคโนโลยีข้ันสูง ไดแก Powerpoint 4. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 5. https://www.gotoknow.org/posts/381237

การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

1. สอบเก็บคะแนนรายหนวย 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70

เอกสารอางอิง/เว็บไซต 1. http://dmsc2.dmsc.moph.go.th/net/eth/article/article002.html 2. https://www.gotoknow.org/posts/381237

ใบงาน (Job Sheet) ท่ี 1

รหัสวิชา: 2308-9001 ช่ือวิชา: คอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบ

หนวยท่ี: 5 ช่ือหนวย: การออกแบบส่ือส่ิงพิมพและผลิตภัณฑ

Page 51: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

ช่ืองาน: การออกแบบส่ือส่ิงพิมพและผลิตภัณฑ

จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ออกแบบปกหนังสือ ได

2. ออกแบบปาย ได 3. ออกแบบนามบัตร ได 4. ออกแบบประกาศนยีบตัร ได 5. ออกแบบการดตาง ๆได 6. ออกแบบผลิตภัณฑกลองได 7. ออกแบบผลิตภัณฑใสอาหารได

ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 600 นาที ใน ชั่วโมงเรียน

ลําดับข้ันตอนการปฏิบัต ิครูผูสอนใหผูเรียนออกแบบดวยคอมพิวเตอรดังตอไปนี้ 1.1 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ ใชเวลา 500 นาที 1.1.1 การออกแบบปกหนังสือ 1.1.2 การออกแบบปาย 1.1.3 การออกแบบนามบัตร 1.1.4 การออกแบบประกาศนียบัตร 1.1.5 การออกแบบการดตาง ๆ 1.2 การออกแบบผลิตภัณฑ ใชเวลา 100 นาที 1.2.1 ผลิตภัณฑกลอง 1.2.2 ผลิตภัณฑใสอาหาร

แหลงคนควา 1. youtube 2 Internet

การวัดประเมินผล และเกณฑการประเมิน การวัดประเมินผล เกณฑการประเมิน

Page 52: แผนการจัดการเรียนรู58.82.156.60/quality/research/p/T1189-56-2308-9003.pdfม .ย.60 -วชF-100 แผนการจ ดการเร ยนร

ม.ิย.60 F-วช-100

1. ผลงานและความสรางสรรค 2. จิตพิสัย พฤติกรรมผูเรียน การสังเกต ใชเกณฑปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมท่ีมุงเนน 3. ใบงาน แบบฝกหัด สงแบบฝกหัดและใบงานหนวยการเรียนรู 4. ฝกปฏิบัติ ตามหนวยการเรียนรู

ผูเรียนตองผานเกณฑการประเมินรอยละ 70 จึงจะผานเกณฑการประเมิน ทุกกิจกรรม เกณฑ การตัดสิน /ระดับคุณภาพ 10 คะแนน คะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง ดีเยี่ยม คะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถึง ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ปรบัปรุง ผานเกณฑการประเมินรอยละ 70