8
บทบาทหญิงชาย กับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดย ดร.สมหญิง เปยมสมบูรณ อธิบดีกรมประมง ปฏิญญาปกกิ่งและแผนปฏิบัติการ เพื่อความกาวหนาของสตรีของสหประชาชาติ ที่ประเทศสมาชิก 189 ประเทศรวมทั้งประเทศไทย รวมกันลงนามรับรองในป .. 2538 นับวาเปน กรอบแนวทางดําเนินงานสรางความเสมอภาค หญิงและชาย โดยเนนการสงเสริมความเสมอภาค การพัฒนา และสันติภาพ ซึ่งไดกําหนดประเด็น 12 ประเด็นอันอาจเปนอุปสรรคตอความกาวหนา ของสตรีที่ตองมีการดําเนินการ มิ ติ ญิ กั พั 1 หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551 ปที1 ฉบับที2

บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

บทบาทหญิงชายกับการพัฒนาเศรษฐกิจ

โดย ดร.สมหญิง เปยมสมบูรณอธิบดีกรมประมง

ปฏิญญาป กกิ่ งและแผนปฏิบัติการ

เพื่อความกาวหนาของสตรีของสหประชาชาติ

ทีป่ระเทศสมาชกิ 189 ประเทศรวมท้ังประเทศไทย

รวมกันลงนามรับรองในป พ.ศ. 2538 นับวาเปน

กรอบแนวทางดําเนินงานสรางความเสมอภาค

หญิงและชาย โดยเนนการสงเสริมความเสมอภาค

การพัฒนา และสันติภาพ ซ่ึงไดกําหนดประเด็น

12 ประเด็นอันอาจเปนอุปสรรคตอความกาวหนา

ของสตรีที่ตองมีการดําเนนิการ

มิ ติ ห ญิ ง ช า ย กั บ ก า ร พั ฒ น า 1หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551

ปที่ 1 ■ ฉบับท่ี 2

Page 2: บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

ในประเด็นสตรีกับเศรษฐกิจเปนหนึ่งประเด็นที่มีความสําคัญ โดยมีเปาหมายใหผูหญิงไดรับโอกาสและ

มีสวนรวมตัดสินใจรวมกันในกําลังแรงงาน ตลอดจนไดรับประโยชนทางเศรษฐกิจอยางเปนภาคีหุนสวนกับผูชาย

และลดปญหาอุปสรรค ผลกระทบตอผูหญิงในการมีสวนรวมทํางานในเชิงเศรษฐกิจ ทําใหผูหญิงในหลายประเทศ

ทั่วโลกมีบทบาทในดานเศรษฐกิจมากขึ้นเรื่อยๆ นอกเหนือจากงานดานการผลิตในภาคเกษตรกรรมท่ีมีผูหญิงมี

สวนรวมสรางรายไดมาอยางยาวนาน จนปจจุบันผู หญิงมีการทํางานทั้งในระบบการจางงานและนอกระบบ

การจางงาน และเปนผูประกอบอาชีพอิสระในกิจการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) โดยผูหญิงมีรายไดอยูใน

ระบบการทํางานท้ังภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม และจากการสํารวจของสํานักงานสถิติแหงชาติเมื่อป 2551

พบวาผูหญงิไทยประมาณรอยละ 45 ของประชากรไทยมสีวนรวมในการสรางรายไดใหแกครอบครวัและประเทศชาติ

และถารวมตัวเลขการทํางานตามหนาที่ของผูหญิงเชนการทํางานบาน ดูแลครอบครัวซ่ึงไมไดถูกคํานวณเปน

คาจางอีกรอยละ 6 จึงประมาณวาผูหญิงไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจประมาณรอยละ 50 ของประชากรแรงงาน

การสรางใหผูหญิงไทยมสีวนรวมทางเศรษฐกจินัน้ แผนพัฒนาสตรใีนชวง

แผนพฒันาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาต ิฉบบัที ่10 (พ.ศ. 2550-2554) มแีนวทาง

การดําเนินการดังนี้

1. เสริมสรางศักยภาพสตรีดานการประกอบอาชีพโดยการศึกษา

ฝกอบรม และการสนับสนุนความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. สงเสริมการมสีวนรวมทางเศรษฐกจิของสตรีผานกลไกการมสีวนรวม

ในคณะกรรมการบริหารในองคกรทกุระดับจัดสนิเชือ่ใหผูหญิงสามารถเขาถงึได

และจัดเวลาทํางานที่ยืดหยุน

3. ทบทวน ปรับปรุงแกไขกฎหมายใหสิทธิประโยชนและสวัสดิการ

ครอบคลุมผูหญิงแรงงานนอกระบบ

4. ศึกษาวิจัยการมีสวนรวมทางเศรษฐกิจของผูหญิง

มิ ติ ห ญิ ง ช า ย กั บ ก า ร พั ฒ น า2 หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551

Page 3: บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

สําหรับประเทศไทยยังมีกฎหมายซึ่งเปนหลักประกันการมีสวนรวมของสตรีไดแก

อนุสัญญาดานแรงงานระหวางประเทศฉบับท่ี 100 ที่กําหนดใหการจางงานท่ีมีลักษณะ

คุณภาพอยางเดียวกัน นายจางตองกําหนดคาจางใหเทาเทียมกัน รัฐธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 84 (7) ที่สงเสริมใหประชากรวัยทํางานมีงานทํา

คุมครองแรงงานเด็กและสตรี จัดระบบแรงงานสัมพันธ จัดระบบประกันสังคม ฯลฯ

พระราชบัญญัตคิุมครองแรงงาน พ.ศ. 2551 และท่ีแกไขเพิม่เตมิ ทีก่าํหนดใหแรงงานหญิง

และชายไดรับการปฏิบัติเทาเทียมกัน หามนายจางลวงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ และ

อนุญาตใหลูกจางลาคลอดบุตรไดไมเกิน 90 วัน หามเลิกจางลูกจางหญิงท่ีตั้งครรภ ฯลฯ

นอกจากนี้ตามปฏิญญาปกกิ่งยังมีประเด็นอื่นที่สนับสนุนการมีสวนรวมของผูหญิงไดแก

ดานสตรีกับความยากจน สตรีกับการศึกษาและฝกอบรม สตรีกับสุขภาพ ความรุนแรง

ตอสตรี สตรีกับความขัดแยงท่ีมีการใชอาวุธ การมีสวนรวมของสตรีในการตัดสินใจ

กลไกทางสถาบนัเพือ่ความกาวหนาของสตรี สตรีกบัสือ่ สตรีกบัสิง่แวดลอม และเดก็ผูหญงิ

ที่ตางเปนปจจัยเกื้อหนุนใหสตรีมีบทบาทตอเศรษฐกิจยิ่งข้ึน

ดงันัน้อาจกลาวไดวาสงัคมไทยไดใหโอกาสแกผูหญิงตอการมบีทบาททางเศรษฐกจิ

และดานอื่นๆตามที่ไดกลาวมาแลว ดังน้ันผูหญิงจึงตองพัฒนาตนเองและสรางเสริม

ความเชื่อมั่นในตัวเอง มีความมั่นคงทางอารมณ มีความรู มีเหตุผล และประการสําคัญ

ผูหญงิตองปรับทศันคตใิหมกีารยอมรบัจุดเดนและจดุดอยของตนเอง ซ่ึงการพฒันาตนเอง

จะสงผลใหใหเกิดความเสมอภาคระหวางหญิงชายขึ้นในสังคม

มิ ติ ห ญิ ง ช า ย กั บ ก า ร พั ฒ น า 3หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551

Page 4: บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

ในอดีตระบบความคิด ความเชื่อ คานิยมดั้งเดิมที่คาดหวังบทบาทหญิงชาย

จากกายวิภาควิทยาที่ผู ชายมีสีระ พละกําลัง ที่เขมแข็งกวาผู หญิง เปนตัวกําหนด

ความสัมพันธเชิงอํานาจระหวางผูหญิงและผูชาย ดังนั้นในอดีต ผูชายจึงเปนผูปกครอง

ทําใหสิทธิตางๆและอํานาจเชนการศึกษา การรับราชการ การพบปะสังสรรค ผูชายจึง

มักไดรับกอน ปจจุบันเปนโลกของยุคโลกาภิวัตน ที่มีการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ดาน

รวมทั้งแนวคิดในการพัฒนามนุษย โดยเฉพาะดานความเสมอภาคหญิงชาย เปนแนวทาง

การพัฒนามนุษยที่เปนกระแสหลักที่ถูกที่กลาวขานกันทั่วโลก ดังน้ันการพัฒนามนุษย

จึงมุงสงเสริมใหหญิงและชาย ไดรับโอกาสและสิทธิในการเปนมนุษยอยางเทาเทียมกัน

ขจัดความแตกตางและความไมเสมอภาค การเลือกปฏิบัติระหวางหญิงและชาย

และสงเสริมการทําความเขาใจปญหาของหญิงและชายใหมีความชัดเจนขึ้น ดังนั้น

ความเสมอภาคระหวางหญิงชายจึงเปนเปาหมายหนึ่งท่ีมีความสําคัญตอนโยบาย

การพัฒนาประเทศ ทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งการแกปญหาตางๆ

ที่เกิดขึ้นกับผูหญิง ผูชาย เด็กหญิง และเด็กชาย

การสรางความเสมอภาคระหวางหญิงชาย จะใชวิธีการแนวทางพัฒนาผูหญิง

โดยการปรับปรุงสถานภาพของผู หญิงในหลายๆ ดาน เพื่อใหเกิดความกาวหนา

ในการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธของท้ังสองเพศ โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นจําเปนตอง

มีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องบทบาทและสิทธิดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และสุขภาพ

และการเปล่ียนแปลงท้ัง 4 องคประกอบน้ีเปนรากฐานสําคัญของสังคมที่จะนําไปสู

การพัฒนาที่ยั่งยืน

ทําไมตองใชแนวคิดทําไมตองใชแนวคิดความเสมอภาคหญิงชายความเสมอภาคหญิงชาย

โดย นางนภาพร ศรีพุฒินิพนธโดย นางนภาพร ศรีพุฒินิพนธประธานคณะทํางานดานบูรณาการบทบาทหญิงชายประธานคณะทํางานดานบูรณาการบทบาทหญิงชายกรมประมงกรมประมง

รอบรูเรื่องรอบรูเรื่องบทบาทหญิงชายบทบาทหญิงชาย

มิ ติ ห ญิ ง ช า ย กั บ ก า ร พั ฒ น า4 หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551

Page 5: บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

ปจจุบันประชากรของโลกอยางนอยครึ่งหน่ึงเปนผูหญิงและทุกวันนี้ผู หญิงกาวมาอยู แนวหนาเทียบเทากับผูชายในหลายบทบาท ตั้งแตบทบาทในบานและนอกบาน ทั้งในสังคมชนบทและ สังคมเมือง ผูหญิงในสังคมชนบทจะมีบทบาทในครอบครัว และยังเปนแรงงานของชุมชนดวย สวนผูหญิงในเมืองจะมีบทบาทมากขึ้น ไดแกการออกไปทํางานนอกบาน โดยสวนใหญแลวผูหญิงในโลกปจจุบัน มีบทบาท 4 บทบาทดวยกัน คือ การเปนภรรยา แมบาน ผูดูแลเด็ก และทําหนาที่เปนมารดา

โดย นายสุรจิตต อินทรชิตรองอธิบดีกรมประมง

นานาทัศนะ

ผูหญิงกับการมีสวนรวมผูหญิงกับการมีสวนรวมทางการประมงทางการประมง

สําหรับผูหญิงกับการมีสวนรวมทางการประมง จากผลการวิจัยดานการประมงพบวา ผูหญิงมีสวนรวมในการทําการประมงในทุกๆ กิจกรรมเชนเดียวกับผูชาย แตบทบาทของผูหญิงยังมีการยอมรับไมมากนักในสังคม ทําใหผู หญิงตกอยูในสถานภาพเปนแรงงานเสริมของครอบครัว ไมใชชาวประมงโดยแทจริง สถานภาพการเปนชาวประมงยังเปนสถานภาพของผูชาย จึงทําใหผูหญิงเขาไมถึงโอกาสในการเรียนรูเทคโนโลยีมากนัก แตผูหญิงมักมีความใกลชิดกับธรรมชาติและสิ่งแวดลอมซึ่งนั่นอาจเปนเพราะผูหญิงตองทํามาหากินอยูกับสิ่งเหลานี้ สวนใหญจึงรูดีเกี่ยวกับขอจํากัด ขอดี ขอเสียของการปฏิบัติตอธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนกลุมแรกท่ีรับรู และตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงทางสภาวะแวดลอม และผูหญิงมักมแีรงจูงใจท่ีจะจัดการ ควบคุมการใชทรัพยากร รวมถึงการมีบทบาทในการปกปองดูแล ฟนฟูสิ่งแวดลอม ผูหญิงจึงสามารถทําหนาที่เปนผูพทิักษสิ่งแวดลอม และธรรมชาติไดดีกวา จึงถือ ไดวาผูหญิงเปนผูที่มีศักยภาพในการพัฒนา หรือทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงได ดังนั้นจึงควรสงเสริมความเสมอภาคความเทาเทียมระหวางผูหญิงและผูชาย เพื่อลดชองวางทางสังคมและสามารถดําเนินการบรรลุเปาหมายการมีสวนรวมในการจัดการประมงโดยชุมชน และควรมีการสงเสริมและเผยแพรบทบาทสตรี ในดานการประมง เชน การเพ่ิมศกัยภาพผูหญิงในการประกอบอาชีพประมง การสงเสริมและพฒันากลุมสตร ีการสรางเครอืขายกลุมสตร ีการสงเสริมผูหญิงในการมสีวนรวมในกจิกรรมสาธารณะ การสงเสรมิเยาวชนในการมสีวนรวมในกจิกรรมการอนรัุกษทรัพยากรประมง เพื่อเปนการประกาศใหทั่วโลกรูวา ไมวาผูหญิงหรือผูชายก็เปนผูนําไดเทาเทียมกัน

มิ ติ ห ญิ ง ช า ย กั บ ก า ร พั ฒ น า 5หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551

Page 6: บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

ดร.สมหญิง เปยมสมบูรณ อธิบดีกรมประมง และขาราชการกรมประมง รวมถวายสัตยปฏิญาณ

เพื่อการเปนขาราชการที่ดีของแผนดิน ณ หองประชุมอานนท กรมประมง

ดร.สมหญิง เปยมสมบูรณ อธิบดีกรมประมง รวมแถลงขาว “การประมงอยางยั่งยืนเพ่ือความมั่นคงทางดานอาหารในทศวรรษหนา”

ณ โรงแรมวินเซอรสวีท สุขุมวิท 22 กรุงเทพฯ

ดร.สมหญิง เปยมสมบูรณ อธิบดีกรมประมง พรอมดวยขาราชการกรมประมงนํากระเชาดอกไม

อวยพรวันคลายวันเกิด นายธีระ วงคสมุทร รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

ดร.จิราวรรณ แยมประยูร รองอธิบดีกรมประมง ไดเดินทางตรวจเย่ียมเกษตรกร จ.ชลบุรีและ จ.ฉะเชิงเทรา เพื่อติดตามผลการดําเนนิการ โครงการลดตนทุนการผลิตอาหารสัตวนํ้า

ดร.นนัทิยา อุนประเสริฐ รองอธิบดีกรมประมงใหการตอนรับ คณะผูเชี่ยวชาญฮังการี ที่เดินทางเยือนกรมประมง เพื่อสรางรวมมือกันพัฒนาการตรวจวิเคราะหความปลอดภัยดานอาหาร

กรมประมงจัดการสัมมนา“แนวทางการประกันภัยเรือประมงและการเพาะเล้ียงสัตวนํ้า” โดยมีผูเขารวมการสัมมนาจากผูแทนเกษตรกรผูเพาะเล้ียง และหนวยงานตางๆ ณ โรงแรมรามาการเดน กรุงเทพฯ

กรมประมงจัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การจัดการประมงชายฝงโดยชุมชนกรณี

ถอดบทเรียนจากพ้ืนท่ีจังหวัดตราด ชุมพร ตรัง และพังงา ณ โรงแรมมารวยการเดน กรุงเทพฯ

เจาหนาที่กรมประมงรวมการแขงขันกีฬา “116 วัน จากวันแมถึงวันพอ

ณ สนามกีฬาแกจน กรมชลประทาน

ผูแทนกรมประมงเขารวมการแขงขันกีฬากระทรวงเกษตรและสหกรณ และไดรับรางวัลชนะเลิศกีฬาเปตองหญิง

กิ จ ก ร ร มกิ จ ก ร ร มการสงเสริมบทบาทหญิงชายกรมประมงการสงเสริมบทบาทหญิงชายกรมประมง

มิ ติ ห ญิ ง ช า ย กั บ ก า ร พั ฒ น า6 หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551

Page 7: บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

ฉบับนี้ คุณปราณี โนนจันทร ราษฎรบานปากบุง หมู 4 อําเภอสิรินธร

จังหวัดอุบลราชธานี เคยเปนแกนนําของกลุมสมัชชาคนจน จะมาถายทอดประสบการณ

ดานบทบาทหญิงชายในการพัฒนา

บทบาทของผูหญิงในครอบครัว และชุมชน และวิธีการจัดการเม่ือเกิดปญหา คุณปราณีเลาวา ในหมูบานสวนใหญประกอบอาชีพการประมง ผูชายจะออกไป

จับปลาเกือบทุกวัน ผูหญิงมีหนาที่จัดการปลาที่หามาไดใหเกิดประโยชนมากที่สุด โดย

นําปลาที่มีขนาดใหญไปขาย สวนปลาที่เหลือก็จะนําไปประกอบอาหาร และแปรรูป

เปนปลารา สําหรับบทบาทของผูหญิงในชุมชน มีผู หญิงบางคนเทานั้นที่สนใจและมี

สวนรวมในการพัฒนาชุมชน สําหรับปญหาท่ีเกิดขึ้น ปญหาในครอบครัวถือเปน

ปญหาพื้นฐานที่จะสงผลกระทบตอปญหาอื่นๆ วิธีการแกปญหาในครอบครัวจึงตอง

สื่อสารกับครอบครัวใหมากที่สุด เพื่อใหเกิดความเขาใจท่ีตรงกัน และใชเหตุผลในการ

พูดคุยกัน และที่สําคัญการที่ผู หญิงออกมาทํางานเพื่อชุมชนก็ตองไมละทิ้งหนาที่

ในครอบครัว สวนปญหาท่ีเกิดขึ้นกับผูหญิงในการทํางานในชุมชนคือ การเสนอความ

คิดเห็นมักถูกตอตาน แตหากผูหญิงมีประสบการณ หรือมีโอกาสไดไปดูงานจากท่ีอื่น

และศึกษาหาขอมูลอยูตลอดเวลา จะทําใหความคิดเห็นไดรับการยอมรับจากชุมชน

เรื่องเลาเรื่องเลาจากชาวประมงจากชาวประมงโดย

ศูนยประสานงานความเสมอภาคระหวางหญิงชาย กรมประมง

โครงการเสริมสรางการจัดการชุมชนประมงต นแบบ และการทํางานรวมกันของหญิงชายในชุมชน กอนที่จะเกิดโครงการน้ีชาวบาน

ตางประสบปญหาในการประกอบอาชีพ

ประมงอยู ก อนแล ว มันเป นวิกฤติที่

ส งผลกระทบตอการดํารงชีวิต ดังนั้น

ชาวบ านทั้ ง ผู หญิงและผู ชายจึ งต อง

รวมตัวกันปกปองสัตวนํ้าตามความคิด

และความสามารถที่ มี อยู เพื่ อความ

อยู รอด เมื่อมี โครงการๆ จึงมาช วย

เติม เต็ม ในส วนที่ ช าวบ านไม เคยรู

มาก อน เช น ความรู เ รื่ องกฎหมาย

ประมง กฎระเบียบตางๆ และวิธีการ

รักษาสั ตว นํ้ า เ อ า ไ ว ใ ช อย า งยั่ ง ยื น

โครงการนี้ ได ถูกนําไปขยายผลไปยัง

หมูบานอื่นๆ โดยมีวัดเปนจุดศูนยกลาง

ซ่ึงพระภิกษุจะเปนผูเผยแพรโครงการฯ

ให ชาวบ านที่มาทําบุญได รับรู และให

ชาวบ านแสดงความคิดเห็นเพิ่ม เติม

นอกจากนี้ผู หญิงและผู ชายในหมู บ าน

ยังรวมกันจัดทําแผนชุมชน เพื่อใหแผน

ชุมชนนั้นตรงกับความตองการทั้งผูหญิง

และผูชาย

นาเสียดายจริงๆ ที่พื้นที่ของเรามี

จํากดั เพราะคณุปราณีไดเลา ประสบการณ

แงคิดในการพัฒนาไวมากมาย นี่แหละคะ

การพัฒนาที่เกิดจาก “การระเบิดจากขาง

ใน” ซ่ึงเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนาท่ี

ยั่งยืนอันเปนกระแสของการพัฒนาในโลก

ปจจุบัน

มิ ติ ห ญิ ง ช า ย กั บ ก า ร พั ฒ น า 7หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551

Page 8: บทบาทหญิงชาย - Fisheriesบทบาทหญ งชาย ก บการพ ฒนาเศรษฐก จ โดย ดร.สมหญ ง เป ยมสมบ

ครึง่หนึง่หรือรอยละ 50 ของประชากรวัยแรงงานท่ีมอีตัรารับผิดชอบเทาเทยีมผูชาย

ผูหญิงจึงเปนอีกครึ่งหน่ึงในการมีสวนรวมทางเศรษฐกิจ แตในความเปนจริงคร่ึงหนึ่ง

ที่มีคานั้น

● การทํางานนอกภาคเกษตรเปนงานที่ตองการความสามารถเฉพาะตัว โดย

ผูทํางานไดรับคาตอบแทนเปนรายบุคคล แมคาจางแรงงานจะ

เทากันตามกฎหมาย แตผูหญิงท่ีทํางานนอกภาคการเกษตร

ยังได รับคาจ างนอยกวาผู ชายในตําแหนงงานเดียวกัน

ในอัตราสวนคาจางหญิงตอชาย 0.92:1

● ผูหญิงท่ีทํางานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั้งในระดับทักษะสูง

ที่ประกอบอาชีพเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและอิเล็กทรอนิกส และระดับทักษะต่ําที่ปฏิบัติงาน

เกีย่วกบัชางเครือ่งและชางปรับอปุกรณมจํีานวนนอยมากเพยีงรอยละ 36 และ 6 ตามลาํดบั

● ผูหญิงมีโอกาสกาวเขาสูตําแหนงงานระดับสูงนอยมากทั้งในองคกรภาครัฐ

และเอกชนโดย

■ ผู หญิงในตําแหนงบริหารภาคธุรกิจเอกชนของบริษัทที่จดทะเบียน

ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมีเพียงรอยละ 22

■ ผูหญิงอยูในกรรมการบริหารสหภาพแรงงานมีเพียงรอยละ 32

■ การทาํงานในระบบการจางท่ีมหีลกัประกนัรายไดและสวสัดกิารคุมครอง

ผูหญิงยังขาดโอกาสและเขาไมถึงระบบ โดยแรงงานหญิงในระบบประกันสังคมมีเพียง

รอยละ 49

■ สําหรับแรงานนอกระบบท่ีไมมีหลักประกันและไมไดรับการคุมครอง

สวสัดกิาร ทัง้หญิงและชายจะทํางานหรอืเปนแรงงานในภาคสวนนีม้ากกวาแรงงานในระบบ

(รอยละ 61.1) โดยประเภทของแรงงานนอกระบบไดแก การรับงานไปทําที่บาน จะมี

ผูหญิงทํางานมากทีส่ดุถงึรอยละ 76.6 ดงัน้ันผูหญิงจึงเขาไมถงึสวัสดกิาร การคุมครองหรือ

ผลประโยชนจากการมีสวนรวมทางเศรษฐกิจ

เรื่องนารู

อีกครึ่งหนึง่ที่มีคาอีกครึ่งหนึง่ที่มีคา

โดย ณัฐพร สนธิศูนยประสานงานดานความเสมอภาคระหวางหญิงชายกรมประมง

คณะท่ีปรึกษา ดร.สมหญิง เปยมสมบูรณ อธิบดีกรมประมง ● ดร.จิราวรรณ แยมประยูร รองอธิบดีกรมประมง ● นายสุรจิตต อินทรชิต รองอธิบดีกรมประมง● ดร.นันทิยา อุนประเสริฐ รองอธิบดีกรมประมง ● บรรณาธิการ นางนภาพร ศรีพุฒินิพนธ ● จัดทําและเผยแพร คณะทํางานดานการบูรณาการบทบาทหญิงชาย

กรมประมง อาคารจุฬาภรณ ชั้น 4 โทร. 0 2579 5594 fax. 0 2561 3134 E-mail : [email protected]

มิ ติ ห ญิ ง ช า ย กั บ ก า ร พั ฒ น า8 หนวยงานภาครัฐดีเดน ดานการสงเสริมความเสมอภาคหญิงชายป 2551