57
บทที2 เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ และกรอบความคิดในการวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่อง ตัวแบบองคกรรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลภายใตบริบท ประชาความมั่นคงอาเซียนในครั้งนีไดศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ดังนี1. ลักษณะทางภูมิศาสตรของอาเซียน 2. ประชาคมอาเซียน 3. การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน 4. อาณาเขตทางทะเลตามกฎหมายทะเล 5. ปญหาภัยคุกคามที่เกิดขึ้นตอผลประโยชนทางทะเลอาเซียน 6. กรณีศึกษาองคกรหรือหนวยงานรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลของประเทศไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส และเวียดนาม 7. คุณลักษณะของหนวยยามฝงเพื่อนําไปสูตัวแบบองคกรรักษาความมั่นคงปลอดภัยทาง ทะเล 8. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับหนวยยามฝ9. กรอบแนวคิดที่เกี่ยวกับองคการ 10. กรอบแนวคิดที่ใชในการศึกษา ลักษณะทางภูมิศาสตรของอาเซียน เอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพื้นที่ทางบกประมาณ 4,494,495 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศคือ พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย บรูไน สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และประเทศที่กําลังจะเขารวมเปนสมาชิกอีก 1 ประเทศคือ ติมอรเลสเต และ มีพื้นที่ทางทะเลที่แตละประเทศประกาศทะเลอาณาเขต เขตตอเนื่อง รวมถึงเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลทะเล

เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

บทที่ 2 เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ และกรอบความคิดในการวิจัย 

การศึกษาวิจยัเร่ือง “ตัวแบบองคกรรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลภายใตบริบทประชาความมัน่คงอาเซียน” ในครั้งนี้ ไดศกึษาทบทวนวรรณกรรมที่เกีย่วของ ดังนี ้ 1. ลักษณะทางภูมิศาสตรของอาเซียน 2. ประชาคมอาเซียน 3. การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน 4. อาณาเขตทางทะเลตามกฎหมายทะเล 5. ปญหาภัยคกุคามที่เกิดขึน้ตอผลประโยชนทางทะเลอาเซียน 6. กรณีศึกษาองคกรหรือหนวยงานรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลของประเทศไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส และเวียดนาม 7. คุณลักษณะของหนวยยามฝงเพื่อนําไปสูตัวแบบองคกรรักษาความมัน่คงปลอดภัยทางทะเล 8. งานวิจยัที่เกีย่วของกับหนวยยามฝง 9. กรอบแนวคิดที่เกีย่วกับองคการ 10. กรอบแนวคิดที่ใชในการศึกษา  

ลักษณะทางภูมิศาสตรของอาเซียน  เอเชียตะวันออกเฉียงใตมีพืน้ที่ทางบกประมาณ 4,494,495 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศคือ พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย บรูไน สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และประเทศที่กําลังจะเขารวมเปนสมาชิกอีก 1 ประเทศคือ ตมิอรเลสเต และมีพื้นที่ทางทะเลที่แตละประเทศประกาศทะเลอาณาเขต เขตตอเนื่อง รวมถึงเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลทะเล

Page 2: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  5

ภาพที่ 1 แผนที่เอเชียตะวนัออกเฉียงใต (CIA World Factbook A, 2011) โดยทางดานทศิเหนือมีอาณาเขตทั้งทางบกและทางทะเลติดประเทศจนี อินเดีย และใตหวัน ดานตะวนัออกติดกับประเทศปาปวนวิกีนแีละมหาสมุทรแปซิฟก ดานใตตดิประเทศออสเตรเลีย ดานตะวันตกตดิบังคลาเทศ อินเดีย และมหาสมุทรอินเดีย เปนภูมภิาคที่ไมใหญมากนัก ประกอบดวยภูมิภาคยอย 3 ภูมิภาคคือ 1. ประเทศในคาบสมุทรอินโดจีนสวนใหญนบัถือศาสนาพุทธ 2. ประเทศแหลมและหมูเกาะ คือมาเลเซียและอินโดนีเซีย สวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม 3. ประเทศฟลิปปนสและติมอรเลสเต เปนประเทศหมูเกาะสวนใหญนบัถือศาสนาคริสต ลาวและกัมพูชาเปนประเทศปด (Landlocked) เวยีดนาม ไทย พมา เปนประเทศรัฐชายฝง สิงคโปรเปนประเทศเกาะเมือง มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และติมอรเลสเต เปนประเทศหมูเกาะ ในป พ.ศ.2554 อาเซียนมปีระชากรทั้งสิ้น 615 ลานคน มีขนาดเศรษฐกิจรวม 3,082 พันลานดอลลารสหรัฐ ขยายตวัเฉลี่ยรอยละ 7 การนาํเขาสงออกรวมกวา 2,000 พนัลานดอลลารสหรัฐ (CIA World

Page 3: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  6

Factbook A, 2011) ภูมภิาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตประกอบดวยภูมิศาสตรที่เปนพื้นที่ภูเขา ที่ราบสูง ปาเขตรอน และที่ราบปากแมน้ํา ฝนตกชุก บางพื้นทีย่งัไมมีการบุกเบิก ภยัคุกคามถาวรในภูมิภาคนี้คือ ภเูขาไฟระเบดิ แผนดินไหว และสึนามิ พายใุตฝุน พายไุซโคลน ซ่ึงลาสุดสึนามิใกลเกาะสุมาตราไดคราชีวิตคนไปประมาณ 250,000 คน พื้นที่ทางทะเลที่สําคัญ ที่อยูโดยรอบ ซ่ึงมีผลตอเศรษฐกิจและความมัน่คงทางทะเล ไดแก ทะเลจีนใต ชองแคบมะละกา มหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุทรอินเดีย มีลักษณะภูมิศาสตรทางทะเล ดังนี้ 1. ทะเลจีนใต เปนพื้นที่สวนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟกตะวนัตก มีความยาวจากเหนอืจรดใต (ตั้งแตเกาะไตหวันจนถึงเกาะสุมาตรา) ประมาณ 1,800 ไมลทะเล ความลึกน้ํามากที่สุด 5,518 เมตร มีประเทศชายฝงโดยรอบรวม 10 ประเทศ ไดแก จีน ไตหวัน ฟลิปปนส มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซยี สิงคโปร ไทย กัมพูชา และเวยีดนาม มีเกาะ แนวปะการัง หินโสโครก สันทรายใตน้ํา และโขดหนิ ซ่ึงสามารถแบงออกไดเปน 4 กลุมที่สําคัญ คือ หมูเกาะพาราเซล หมูเกาะสแปรตลีย หมูเกาะปราตัส และแมกเคิลฟลดแบงก ทะเลจีนใตเปนเสนทางคมนาคมทางทะเลที่สําคัญของโลก โดยเชื่อมระหวางมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟก ซ่ึงเปนการเชื่อมตอระหวางภูมิภาคตะวนัออกกลาง เอเชียใต เอเชียตะวนัออกเฉียงใตและเอเชียตะวนัออก ทั้งนี้เสนทางคมนาคมในทะเลจีนใตที่สําคัญ คือ เสนทางที่ผานทั้งทางดานตะวันตกและตะวันออกของหมูเกาะสแปรตลีย โดยการเดินทางผานเขาออกทะเลจนีใตจากทางดานเหนือจะใชเสนทางที่ผานระหวางไตหวนักับฟลิปปนส สวนทางใตจะใชชองแคบที่สําคัญ ไดแก ชองแคบมะละกา 2. ชองแคบมะละกา เปนชองทางหลักระหวางมหาสมุทรอินเดียกับทะเลจนีใต มีความยาวประมาณ 600 ไมลทะเลและกวางประมาณ 300 ไมลทะเล โดยจะกวางทางดานตะวันตก แลวคอย ๆ แคบลงทางดานตะวนัออก ซ่ึงเมื่อเขาไปในชองแคบสิงคโปร จะเหลือความกวางนอยที่สุดเพียง 3 ไมลทะเล ซ่ึงเปนชองทางเดินเรอืเพียง 1.5 ไมลทะเล โดยชองแคบสิงคโปรมีความยาว 75 ไมลทะเล ความลึกน้ําเฉลี่ยคอนขางตื้น บางแหงลึกเพียง 72 ฟุต จึงทําใหสํานักงานกจิการทางทะเลสากล (International Maritime Office) ขององคการสหประชาชาติกําหนดไมใหเรือที่กินน้ําลึกเกิน 65 ฟุต ผานชองแคบมะละกา ทั้งนีช้องแคบนี้มีเรือพาณิชยผานเปนจํานวนมากทําใหการจราจรทางน้ําหนาแนนมากจึงปรากฏมีอุบัติเหตุเรือชนกนับอยครั้ง 3. มหาสมุทรแปซิฟก อยูระหวางทวปีอเมริกาเหนอื - ใต กับทวีปเอเชีย และทวีปออสเตรเลีย แบงออกไดเปน 2

Page 4: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  7

สวนคือ มหาสมุทรแปซิฟกเหนือ ไดแก พื้นที่จากวงกลมอารกติกถึงเสนศูนยสูตร และมหาสมุทรแปซิฟกใต ไดแกพื้นทีจ่ากเสนศูนยสูตรถึงแถบแอนตารกติกา รวมทั้งฝงตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ - ใต ไปยังทวีปออสเตรเลียตลอดจนกลุมหมูเกาะมลายูถึงฝงตะวนัออกของทวปีเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟกนี้เปนมหาสมุทรที่กวางใหญไพศาลทีสุ่ด มีพื้นที่ประมาณ 68 ลานตารางไมลทะเล หรือประมาณ 2 ใน 5 ของผิวโลก โดยมีทะเลจีนใตเชื่อมระหวางมหาสมุทรแปซิฟกกับมหาสมุทรอินเดีย ประเทศทีม่ีศักยภาพสูงทางการเมือง เศรษฐกิจ และการทหาร ที่ตั้งอยูตามแนวชายฝงของมหาสมุทรแปซิฟก ไดแก สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุน รัสเซีย และออสเตรเลีย และในปจจุบันไดมีการรวมกลุมประเทศทางเศรษฐกิจขึ้นโดยใชชื่อวา กลุมความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชยี - แปซิฟก (Asia Pacific Economic Cooperation: APEC) ซ่ึงมสีมาชิกประกอบดวย 21 เขตเศรษฐกจิ ไดแก ไทย มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส บรูไน เวียดนาม ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน เกาหลใีต สหรัฐอเมริกา แคนาดา รัสเซีย จีน ไตหวัน ฮองกง เม็กซิโก ชิลี เปรู และปาปวนิวกิน ี 4. มหาสมุทรอินเดีย อยูระหวางทวปีแอฟริกากับทวีปออสเตรเลีย มีพื้นที่ประมาณ 23 ลานตารางไมลทะเล มีความลึกเฉลี่ย 3,872 เมตร ชวงที่ลึกมากทีสุ่ดอยูที่เหวลึกชวา (Java Trench) ซ่ึงลึกถึง 7,725 เมตร มหาสมุทรนี้ถานับรวมทะเลแดงกับอาวเปอรเซียเขาดวยกันจะมีขนาดใหญเปนอันดบัที่สามของโลก รองจากมหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุทรแอตแลนติก ตามลําดับ มหาสมุทรอินเดียม ีอาณาเขตติดตอกับมหาสมุทรแปซิฟกทางตะวนัออกเฉียงใต และมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวนัตกเฉยีงใต มีทะเลใหญที่สําคัญ เชน ทะเลแดงทะเลอาหรับ อาวเปอรเซีย ทะเลอันดามัน และ อาวเบงกอล เปนตน มหาสมุทรอินเดียเปนพื้นที่ที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ เนื่องจากมีแหลงทรัพยากรธรรมชาติจําพวกปโตรเลียม แรธาตุ และสัตวน้ํา โดยในบริเวณอาวเปอรเซียตามแนวชายฝงและเขตไหลทวีป เปนแหลงปโตรเลียมที่สําคัญของโลก สวนแรทองแดงมีมากในทะเลแดง รวมทั้งบริเวณกนมหาสมุทร โดยทั่วไปอุดมสมบูรณไปดวยแรแมงกานิส นอกจากนีย้ังเปนเสนทางเดินเรอืที่มีความสําคัญเสนหนึ่งของโลก ที่เชื่อมตอระหวางมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรแปซิฟก ซ่ึงประเทศในทวีปเอเชียใชเปนเสนทางติดตอคาขายกับประเทศในทวีปแอฟริกาและทวีปยโุรปอีกดวย  

ประชาคมอาเซียน   การสิ้นสุดของยุคสงครามเยน็และการกาวเขาสูโลกยุคโลกาภวิัตนทําให อาเซียนตองปรับตัวเพื่อรักษาสถานภาพ ความสําคัญและความเกีย่วของขององคกรในภูมภิาค การจัดตั้งประชาคมอาเซียนเกดิจากปจจัยภายในคือ การที่อาเซียนไมสามารถแกไขปญหาและความทาทาย

Page 5: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  8

ใหมๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ และปจจัยภายนอกคือโลกาภวิัตนทําใหประเทศตาง ๆ ตองพึ่งพากันและแขงขันกนัสูงขึ้น ประเทศสมาชิกจึงเห็นความสําคญัของการรวมมือกันอยางใกลชิดยิ่งขึ้นเพื่อสรางความเขมแข็งและอํานาจตอรองใหกับรัฐสมาชิก และตัดสินใจจดัทํากฎบัตรอาเซียน (ASEAN

CHARTER, 2007) ตามแผนปฏิบัติการเวียงจนัทน และปฏญิญากัวลาลัมเปอรวาดวยการจัดทํากฎบัตรอาเซียน และปฏิญญาเซบูวาดวยแผนแมบทของกฎบัตรอาเซียนขึ้นเพือ่ใชประโยชนรวมกันและการพึ่งพาอาศัยกนัระหวางประชาชนและรัฐสมาชิกอาเซียนซึ่งมีความผูกพันกันทางภูมศิาสตร ตลอดจนมีวัตถุประสงคและชะตารวมกัน ในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน คร้ังที่ 9 ในเดือน ต.ค. 2546 ที่บาหลี ผูนําอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาวาดวยความรวมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord) เหน็ชอบใหมกีารจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในป 2020 ตอมาในการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนครั้งที่ 12 ในเดอืน ม.ค. 2550 ที่เซบู ประเทศ ฟลิปปนส ผูนําฯ ไดตกลงใหมีการจดัตั้งประชาคมใหแลวเสร็จเร็วขึ้นเปนภายในป 2015 (กระทรวงการตางประเทศ, 2552) วัตถุประสงคของอาเซียน 1. เพื่อธํารงรักษาและเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคง และเสถียรภาพ กับทั้งเสริมสรางคุณคาทางสนัติภาพในภูมภิาคใหมากขึ้น 2. เพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับตัวสูสภาวะปกติของภูมิภาคโดยการสงเสริมความรวมมือดานการเมือง ความมัน่คง เศรษฐกจิและสังคมวัฒนธรรมใหแนนแฟนยิ่งขึ้น 3. เพื่อธํารงรักษาเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหเปนเขตปลอดอาวุธนวิเคลียรและปราศจากอาวุธที่มีอานุภาพทําลายลางสูงอื่นๆ ทุกชนิด 4. เพื่อใหมัน่ใจวาประชาชนและรัฐสมาชิกของอาเซียนอยูรวมกับประชาคมโลกไดโดยสันติในสภาวะที่เปนธรรม มีประชาธิปไตยและมีความสมานสามัคคี 5. เพื่อสรางตลาดและฐานการผลิตเดียวทีม่ีเสถียรภาพ ความมั่งคั่ง มีความสามารถในการแขงขันสูง และมีการรวมตวักันทางเศรษฐกิจซึ่งมีการอํานวยความสะดวกทางการคาและการลงทุนอยางมีประสิทธิภาพ โดยมกีารเคลื่อนยายอยางเสรีของสินคา บริการ และการลงทุน การเคลื่อนยายที่ไดรับความสะดวกของนกัธุรกิจ ผูประกอบวิชาชีพ ผูมีความสามารถพิเศษและแรงงาน และการเคลื่อนยายอยางเสรียิ่งขึ้นของเงินทุน 6. เพื่อบรรเทาความยากจนและลดชองวางการพัฒนาในอาเซียนผานความชวยเหลือซ่ึงกันและกนัและความรวมมือ 7. เพื่อเสริมสรางประชาธิปไตย เพิ่มพนูธรรมาภิบาล และหลักนติิธรรม ตลอดจนสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานโดยคํานึงถึงสิทธิและหนาที่ของรัฐ

Page 6: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  9

สมาชิกของอาเซียน 8. เพื่อเผชิญหนาอยางมีประสิทธิภาพ ตามหลักความมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ ตอส่ิงทาทายทุกรูปแบบ อาชญากรรมขามชาติ และส่ิงทาทายขามพรมแดนอืน่ ๆ 9. เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอยางยั่งยืน เพือ่ทําใหแนใจวามีการคุมครองสภาพแวดลอมในภูมภิาค ความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติในภมูิภาค การอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมในภูมิภาค และคณุภาพชวีิตทีด่ขีองประชาชนในภูมภิาค 10. เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนษุยโดยผานความรวมมือที่ใกลชิดยิ่งขึ้นในเรื่องการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีพ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อเสริมสรางพลังประชาชนและเสริมสรางความเขมแข็งแหงประชาคมอาเซียน 11. เพื่อเพิ่มพนูความอยูดีกนิดีและการดํารงชีวิตของประชาชนอาเซียนดวยการใหประชาชนมีโอกาสที่ทัดเทียมกันในการเขาถึงการพัฒนามนุษย สวัสดกิารสังคม และความยุติธรรม 12. เพื่อเสริมสรางความรวมมือในการสรางสภาพแวดลอมที่ปลอดภัย มั่นคง และปราศจากยาเสพติด สําหรับประชาชนของอาเซียน 13. เพื่อสงเสริมอาเซียนที่มีประชาชนเปนศนูยกลาง ซ่ึงทกุภาคสวนของสังคมไดรับการสงเสริมใหมีสวนรวมและไดรับผลประโยชนจากกระบวนการรวมตวัและการสรางประชาคมของอาเซียน 14. เพื่อสงเสริมอัตลักษณของอาเซียนดวยการสงเสริมความสํานึกถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมรดกของภูมิภาคยิ่งขึ้น และ 15. เพื่อธํารงไวซ่ึงความเปนศูนยรวมและบทบาทเชิงรุกของอาเซียนในฐานะพลังขับเคลื่อนขั้นแรกของความสัมพันธและความรวมมือระหวางอาเซียนกับหุนสวนนอกภูมภิาค ในภาพแบบของภูมิภาคที่เปดกวาง โปรงใส และไมปดกั้น หลักการอาเซียน 1. ในการดําเนินการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของอาเซียนและรัฐสมาชิกอาเซียนยืนยันและยึดมั่นในหลักการพื้นฐานที่ปรากฏในปฏิญญา ความตกลง อนุสัญญา ขอตกลง สนธิสัญญา และตราสารอื่น ๆ ของอาเซียน 2. อาเซียนและรัฐสมาชิกอาเซียนจะปฏิบัติตามหลกัการดังตอไปนี้ ก. การเคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแหงดนิแดน และอัตลักษณแหงชาติของรฐัสมาชิกอาเซียนทั้งปวง ข. ความผูกพนัและความรับผิดชอบรวมกันในการเพิ่มพูนสันติภาพ ความมั่นคงและความมั่งคั่งของภูมิภาค

Page 7: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  10

ค. การไมใชการรุกราน และการขมขูวาจะใชหรือการใชกําลังหรือการกระทําอื่นใดในลักษณะที่ขัดตอกฎหมายระหวางประเทศ ง. การอาศัยการระงับขอพิพาทโดยสันต ิ จ. การไมแทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน ฉ. การเคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธํารงประชาชาติของตนโดยปราศจากการแทรกแซง การบอนทําลาย และการบังคับ จากภายนอก ช. การปรึกษาหารือที่เพิ่มพนูขึ้นในเรื่องที่มีผลกระทบอยางรายแรงตอผลประโยชนรวมกันของอาเซียน ซ. การยึดมั่นตอหลักนิติธรรม ธรรมาภิบาล หลักการประชาธิปไตยและรัฐบาลตาม รัฐธรรมนูญ ฌ. การเคารพเสรีภาพพื้นฐาน การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน และการสงเสริมความยุติธรรมทางสังคม ญ. การยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหวางประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรบั ฎ. การละเวนจากการมีสวนรวมในนโยบายหรือกิจกรรมใดๆ รวมถึงการใชดินแดนของตน ซ่ึงดําเนินการโดยรัฐสมาชิกอาเซียนหรือรัฐที่มิใชสมาชิกอาเซียนหรือผูกระทําที่ไมใชรัฐ ใด ๆ ซ่ึงคุกคามอธิปไตย บูรณภาพแหงดินแดน หรือเสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน ฏ. การเคารพในวัฒนธรรม ภาษาและศาสนาที่แตกตางของประชาชนอาเซียน โดยเนนคุณคารวมกนัของประชาชนอาเซียนในจิตวิญญาณของเอกภาพในความหลากหลาย ฐ. ความเปนศนูยรวมของอาเซียนในความสัมพันธภายนอกทางการเมอืง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยคงไวซ่ึงความมสีวนรวมอยางแข็งขัน การมองไปภายนอก การไมปดกัน้และการไมเลือกปฏิบัติ และ ฑ. การยึดมัน่ในกฎการคาพหุภาคีและระบอบของอาเซียนซ่ึงมีกฎเปนพื้นฐาน สําหรับการปฏิบัติตามขอผูกพันทางเศรษฐกิจอยางมีประสิทธิภาพ และการลดอยางคอยเปนคอยไป เพื่อไปสูการขจัดการกีดกันทั้งปวงตอการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระดับภูมภิาค ในระบบเศรษฐกิจซึ่งขับเคลื่อนโดยตลาด ประชาคมอาเซียนประกอบดวยความรวมมือ 3 เสาหลัก คือ ประชาคมความ มั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community: ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community -

Page 8: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  11

ASCC) เสาหลักแตละดานมีวัตถุประสงค ดังนี ้ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน มีวัตถุประสงคที่จะทําใหประเทศใน ภูมภิาคอยูอยางสนัติสุขโดยการแกไขปญหาในภมูิภาคโดยสันติวิธี และยึดมัน่ในหลักความมั่นคง รอบดาน ประชาคมความมั่นคงอาเซียนจะ 1. ใชขอตกลงและกลไกของอาเซียนที่มีอยูแลวในการ เพิ่มศักยภาพในการแกไขปญหาขอพิพาทภายในภูมภิาค รวมทั้งการเผชิญหนากันภัยคกุความรูปแบบใหม เชน การกอการราย การลักลอบคายาเสพติด การคามนุษย อาชญากรรมขามชาติ อ่ืน ๆ และการขจัดอาวุธที่มีอานุภาพทําลายลางสูง 2. ริเร่ิมกลไกใหม ๆ ในการเสริมสรางความ มั่นคงและกําหนดรูปแบบใหมสําหรับความรวมมือดานนี ้ซ่ึงรวมถึงการกาํหนดมาตรฐาน การปองกันการเกิดขอพิพาท การแกไขขอพิพาท และการสรางเสริมสันติภาพภายหลังการยุติขอพิพาท 3. สงเสริมความรวมมือทางทะเล ทั้งนี้ ความรวมมือขางตนจะไมกระทบตอความเปนอิสระของ ประเทศสมาชิกในการดําเนินนโยบายการตางประเทศ และความรวมมือทางทหารกับประเทศนอก ภูมิภาค และไมนําไปสูการสรางพันธมิตรทางการทหาร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มีวัตถุประสงคเพื่อทําใหภูมภิาคเอเชีย ตะวันออกเฉยีงใตมีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแขงขันกับภูมิภาคอื่น ๆ ได โดย 1. มุงใหเกิด การไหลเวียนอยางเสรีของสินคา บริการ การลงทุน เงนิทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลด ปญหาความยากจนและความเหลื่อมลํ้าทางสังคมภายในป 2020 2. ทําใหอาเซียนเปนตลาด และฐานการผลิตเดียว (Single Market and Production Base) โดยจะริเร่ิมกลไกและมาตรการ ใหม ๆ ในการปฏิบัติตามขอริเร่ิมทางเศรษฐกิจที่มีอยูแลว 3. ใหความชวยเหลือแกประเทศสมาชิก ใหมของอาเซียนเพือ่ลดชองวางการพัฒนาและชวยใหประเทศเหลานี้เขารวมกระบวนการรวมตัว ทางเศรษฐกิจของอาเซียน 4. สงเสริมความรวมมือในนโยบายการเงนิและเศรษฐกิจมหภาค ตลาดการเงินและตลาดทุน การประกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการ คมนาคม พัฒนาความรวมมือดานกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การทองเที่ยว การพัฒนา ทรัพยากรมนษุยโดยการยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝมือแรงงาน ในการนี ้ผูนําอาเซียนไดเหน็ชอบใหเรงรัดการรวมกลุมสินคาและบริการสําคัญ จํานวน 11 สาขาใหเปนสาขานํารอง ไดแก สินคาเกษตร/ สินคาประมง/ ผลิตภณัฑไม/ ผลิตภัณฑยาง/ ส่ิงทอ/ ยานยนต/อิเล็กทรอนกิส/ เทคโนโลยีสารสนเทศ (E-ASEAN)/ การบริการดานสุขภาพ ทองเที่ยวและการขนสงทางอากาศ (การบิน) ซ่ึงอาเซียนไดดําเนินการดังนี ้ 1. กําหนดใหประเทศสมาชิกรับผิดชอบในการจัดทํา โรดแมป (Roadmap) ในแตละสาขา ไดแก ไทย: ทองเที่ยวและและการขนสงทางอากาศ (การบิน)

Page 9: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  12

พมา: สินคาเกษตรและสินคาประมง อินโดนีเซีย: ยานยนตและผลิตภัณฑไม มาเลเซีย: ยางและสิ่งทอ ฟลิปปนส: อิเล็กทรอนิกส สิงคโปร: เทคโนโลยีสารสนเทศ และการบริการดานสุขภาพ 2. จัดทํากรอบความตกลงวาดวยการรวมกลุมสินคาและบริการ 11 สาขาดังกลาว คือ Framework Agreement for the Integration of the Priority Sectors และพิธีสาร1 สําหรับแตละสาขา คือ ASEAN Sectoral Integration Protocol อีก 11 ฉบับ เพื่อ กําหนดรายละเอียดเกีย่วกับมาตรการรวมที่จะใชในการรวมกลุมสินคาและบริการสําคัญ ทุกสาขา โดยมีมาตรการสําคัญคือ การเปดเสรีการคาสินคา การคาบริการ การลงทุน การ อํานวยความสะดวกดานการคาและการลงทุน การสงเสริมการคาและการลงทุน และ ความรวมมือในดานอืน่ ๆ 3. กําหนดใหป ค.ศ. 2010 เปน กําหนดเวลาที่ตองเสร็จ (Deadline) สําหรับการรวมตวัของสินคาและบริการ 11 สาขา ดังกลาว โดยใหมีการผอนปรนสําหรับประเทศกัมพชูา ลาว พมา และเวียดนาม (CLMV) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน มีจุดมุงหมายทีจ่ะทําให ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยูรวมกันในสังคมที่เอื้ออาทร โดยเนนความรวมมือในดานตาง ๆ อาทิ 1. การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเปนอยูของผูดอยโอกาสและผูที่อาศัยในถิ่น ทุรกนัดาร และสงเสริมการมีสวนรวมอยางแข็งขันของกลุมตาง ๆ ในสงัคม 2. การพฒันาการ ฝกอบรม การศึกษาขั้นพื้นฐานและสูงกวา การพัฒนาทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีการสราง งาน และการคุมครองทางสังคม 3. การสงเสริมความรวมมือดานสาธารณสุข โดยเฉพาะอยางยิ่ง การปองกันและควบคุมโรคติดตอ เชนโรคเอดส โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง 4. การจัดการ ปญหาดานสิ่งแวดลอม 5. การสงเสริมปฏิสัมพันธระหวางนักเขียน นักคิดและศิลปนในภูมภิาค ประชาคมความมั่นคงอาเซียน สันติภาพ ความมั่นคง และเสถียรภาพทางการเมืองจะเปนพื้นฐานสําคัญตอการพัฒนาใน ดานอื่น ๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของมนุษย ประชาคมอาเซียนมุงสงเสริมความ รวมมือเพื่อธํารงไวซ่ึงสันติภาพและความมัน่คงของภูมิภาคตลอดมา โดยไดมีการลงนามใน เอกสารทางการเมืองตาง ๆ อาทิ 1. สนธิสัญญาไมตรีและความรวมมือในภูมภิาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต (Treaty of Amity and Cooperation: TAC) ป 2519 ซ่ึงกําหนดแนวทางการปฏิบัติในการดําเนินความสมัพันธระหวางประเทศในภมิูภาคที่มุงเนนการสรางสันติภาพและความมั่นคง ความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจและความรวมมือระหวางกัน 2. สนธิสัญญาวาดวยภูมภิาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนเขตแหงสันตภิาพ เสรีภาพและความเปนกลาง (Zone of Peace,

Page 10: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  13

Freedom and Neutrality Declaration หรือ ZOPFAN) เมื่อป 2514 ซ่ึงเสดงเจตนารมณของประเทศ สมาชิกที่จะใหภูมภิาคนี้ปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก 3. สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียรในภมูิภาคเอเชียตะวันออกเฉยีงใต (Treaty on the Southeast Asian Nuclear Weapon-Free Zone หรือ SEANWFZ) ป 2537 ซ่ึงหามมิใหประเทศภาคผีลิต ครอบครอง ขน ยาย หรือทดลองอาวุธนิวเคลยีรในภูมภิาค รวมทั้งไดริเร่ิมการประชุมอาเซียนวาดวยความรวมมือ ดานการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชยี-แปซิฟก (ASEAN Regional Forum: ARF) อันประกอบ ดวยประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศคูเจรจา และประเทศผูสังเกตการณของอาเซียน ซ่ึงปจจุบันมีประเทศสมาชิกรวมทั้งสิ้น 23 ประเทศเพื่อเปนเวทีในการเสริมสรางความไววางใจกนั ระหวางประเทศในภูมิภาคเอเชยี-แปซิฟก ปจจุบันอาเซียนขยายความรวมมือดานการเมืองและความมั่นคงออกไปใหกวางขวางขึ้น รวมถึงความรวมมือเพื่อตอบสนองตอส่ิงทาทายใหม ๆ และสถานการณแวดลอมทางการเมือง ระหวางประเทศ เชน การจัดการกับปญหาขามชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาการกอการราย อาชญากรรมขามชาติ ยาเสพติด ซ่ึงรัฐใดรฐัหนึ่งมิอาจแกไขไดอยางมปีระสิทธิภาพโดยลําพังแต ตองอาศัยความรวมมือกันของทุกประเทศ

การประชุมรฐัมนตรีกลาโหมอาเซียน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้ที่ 10 (29 พฤศจิกายน 2547) ที่เวยีงจันทน ไดรับรองแนวคิดเร่ืองการจัดใหมีการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defense Minister’s Meeting: ADMM) โดยตอมาเมื่อ 8 – 9 พฤษภาคม 2549 ประเทศมาเลเซียในฐานะประธานอาเซียนในปนั้น ไดเปนเจาภาพจัดการประชุมครั้งแรกขึ้น การริเร่ิมการประชุม ADMM ถือเปนกาวสําคัญในการยกระดับความรวมมือทางทหารของอาเซียนใหเทยีบเทาความรวมมือในดานการตางประเทศ และเศรษฐกิจ รวมทั้งไดรับการตอบรับเปนที่นาพอใจจากประเทศอาเซียน รวมถึงสื่อมวลชนก็ใหความสนใจกับการประชุมนี้อยางมาก (สํานักนโยบายและแผนกลาโหม, 2553) 1. วัตถุประสงคของการประชุม ADMM เพื่อเสริมสรางสันติภาพ และความมั่นคงในภูมิภาค ผานกลไกการหารือ และความรวมมือดานความมัน่คง เพื่อใหคําแนะนําและแนวทางตอเวทีการหารือ และความรวมมือที่มีอยูแลวของเจาหนาที่ระดับสูง ภายในกลุมประเทศอาเซียน และระหวางกลุมประเทศอาเซียนกบัประเทศอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนความไววางใจระหวางกัน และสรางความเชือ่มั่น โดยการสรางความโปรงใส และเปดเผย

Page 11: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  14

เพื่อเปนสวนเสริมสรางเพื่อนําไปสูการจัดตั้งประชาคมการเมือง และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political – Security Community: APSC) 2. โครงสราง/ กลไกการประชุม สําหรับกลไกการประชุม ADMM นั้น ไดกําหนดใหมีการประชุมอีก 2 เวที เพื่อเปนการรองรับการประชุม ADMM คือ “การประชุมเจาหนาที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน” (ASEAN Defense Senior Officials’ Meeting: ADSOM) เปนการประชุมในระดับเจาหนาที่อาวุโส (ปลัดกระทรวงกลาโหม หรือเทียบเทา) มหีนาที่หลักคือเพื่อเตรียมการสําหรับการประชุม ADMM โดยทั่วไปจะพิจารณาความเหมาะสมของหัวขอการหารือ และพิจารณาแกไขรางเอกสารตาง ๆ ที่จะใหรัฐมนตรีกลาโหมของประเทศสมาชิกอาเซียนรับรองในระหวางการประชุม ADMM กอนจะมีการประชุม ADSOM นั้น กําหนดใหมี “การประชุมคณะทาํงานเจาหนาที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน” (ADSOM Working Group: ADSOM WG) ซ่ึงเปนการประชมุคณะทํางาน (ระดับผูอํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม หรือผูแทน) เพื่อเตรียมการดานสารัตถะและธุรการ สําหรับการประชุม ADSOM และการประชุม ADMM ซ่ึงที่ประชุม เวิรคกิ้ง กรุป(Working Group) จะรวมกันกําหนดหวัขอการหารือ เตรียมการดานเอกสารที่เกีย่วกับการประชุม รวมทั้งดานธุรการอื่น ๆ ในหวงระหวางการประชุม ADMM แตละปนั้น หากประเทศสมาชิกอาเซียนพิจารณาแลวเหน็วา มคีวามจําเปนเพือ่ใหรัฐมนตรกีลาโหมประเทศสมาชิกอาเซียน หารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งเปนพิเศษนั้น อาจจัดใหมี “การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนอยางไมเปนทางการ” (ADMM Retreat) ขึ้นได 3. กิจกรรมความรวมมือในกรอบการประชุม ADMM ความรวมมือระหวางกลาโหมอาเซียนกับองคกรภาคประชาสังคม ในดานความมั่นคงรูปแบบใหม (ADMM Defense Establishments and Civil Society Organizations Cooperation on Non-Traditional Security) กระทรวงกลาโหมไทย และกระทรวงกลาโหมมาเลเซีย เปนเจาภาพรวมจัดการประชมุเชิงปฏิบัติการในหวัขอเรื่อง “ความรวมมือระหวางกลาโหมอาเซียนกับองคกรภาคประชาสังคม ในดานความมัน่คงรูปแบบใหม: การชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตัิ (Workshop on ASEAN Defense Establishments and Civil Society Organizations Cooperation on Non-Traditional Security: Humanitarian Assistance and Disaster Relief) เมือ่ 8 – 9 มิถุนายน 2552 ณ โรงแรมพลาซา แอทธินี กรุงเทพ ฯ กระทรวงกลาโหมไทย รวมกับกระทรวงกลาโหมบรูไน ดารสุซาลาม และ

Page 12: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  15

กระทรวงกลาโหมฟลิปปนส จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการในหวัขอเรื่อง “ความรวมมือระหวางกลาโหมอาเซียนกับองคกรภาคประชาสังคมในดานความมั่นคงรูปแบบใหม: การจัดการภัยพิบัติ (Workshop on ASEAN Defense Establishments and Civil Society Organizations Cooperation on Non-Traditional Security: Disaster Management) เมื่อ 27 – 29 มิถุนายน 2552 ณ โรงแรม รอยัล ออคิด เชราตัน กรุงเทพฯ การใชทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบัติ (The Use of ASEAN Military Assets and Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย เปนเจาภาพจดัการประชุมเชิงปฏิบัติการในหัวขอเรื่อง “การใชทรัพยากรและศักยภาพทางทหารอาเซียนในการใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัต”ิ (The Use of ASEAN Military Assets and Capacities in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) เมื่อ 6 – 8 ตุลาคม 2552 ณ กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซยี ความรวมมือดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศของอาเซียน (ASEAN Defense Industry Cooperation) กระทรวงกลาโหมมาเลเซีย ไดจัดการประชุมหารือเรื่องแนวทางการพฒันาอุตสาหกรรมปองกันประเทศของอาเซียน (ASEAN Defense Industry Dialogue) ขึ้นเมื่อ 22 เมษายน 2553 ณ กรุงกวัลาลัมเปอร โดยมีวตัถุประสงคเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รับฟงทาทีของประเทศสมาชิกอาเซียน เกี่ยวกับความเปนไปไดในการดาํเนินความรวมมือดานอุตสาหกรรมปองกันประเทศระหวางประเทศสมาชิกอาเซียน 4. การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน กบัรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคูเจรจา (ASEAN Defence Minister’s Meeting – Plus: ADMM – Plus) แนวความคิดเรื่องความรวมมือกับกระทรวงกลาโหมของประเทศนอกภูมิภาค ไดมีการกลาวถึงตั้งแตการประชุม ADMM คร้ังแรก เมื่อเดือนพฤษภาคม 2552 ณ กรุงกวัลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย จนไดพัฒนาขึ้นมาเปนเอกสารกรอบความคิดเรื่องการประชุม ADMM – Plus (ADMM – Plus: Concept Paper) ซ่ึงไดรับการรับรองในที่ประชุม ADMM คร้ังที่ 2 เม่ือเดือนพฤศจิกายน 2550 ณ สาธารณรัฐสิงคโปร โดยกําหนดใหจัดการประชมุคณะทํางานเพื่อการจัดตั้งการประชุม ADMM – Plus (Working Group on Establishing the ADMM – Plus) ขึ้นเพื่อทําหนาที่เตรียมการและพิจารณากําหนดรูปแบบ โครงสราง องคประกอบ และการดําเนินการตาง ๆ ของ ADMM – Plus ทั้งนี้ การประชุมคณะทํางานดังกลาวจะยตุิลง เมื่อมีการจัดตั้ง ADMM – Plus ขึ้นเรียบรอยแลว ตอมาในการประชุม ADMM คร้ังที่ 3 เมื่อเดือนกุมภาพันธ 2552 ณ เมืองพัทยา ที ่

Page 13: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  16

ประชุมฯ ไดรับรองเอกสารกรอบความคิดเรื่อง ADMM – Plus: Principles for Membership โดยไดกําหนดหลักเกณฑของประเทศนอกอาเซียนที่จะเขารวมใน ADMM – Plus 3 ประการ ดังนี ้ 1. ประเทศสมาชิกที่จะเขามาเปน Plus จะตองเปนประเทศคูเจรจาของอาเซียน ซ่ึงในปจจุบันมีอยู 9 ประเทศ (ออสเตรเลีย แคนาดา จีน อินเดยี ญี่ปุน นวิซีแลนดสาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย และสหรัฐ ฯ) กับ 1 กลุม (สหภาพยุโรป) 2. ประเทศคูเจรจาดังกลาวตองมีระดับของการปฏิสัมพันธกับกลาโหมอาเซียนในระดับสูง 3. ประเทศคูเจรจาดังกลาวคอื ตองเปนประเทศที่สามารถเอื้อประโยชนตอการเสริมสรางขีดความสามารถและพัฒนาศักยภาพของกลาโหมอาเซียนไดอยางเปนรูปธรรม ในการประชุม ADMM คร้ังที่ 4 ขึ้นเมื่อ 10 – 13 พฤษภาคม 2553 ณ กรุงฮานอย เวยีดนาม ที ่ประชุมฯ มีฉนัทามติใหความเห็นชอบตอรูปธรรมการประชุม ADMM +8 ซ่ึงมีองคประกอบประเทศคูเจรจาประกอบดวย ออสเตรเลีย จีน อินเดยี ญี่ปุน นิวซีแลนด สาธารณรัฐเกาหลี รัสเซีย และสหรัฐฯ รวมทั้งเหน็ชอบใหกระทรวงกลาโหมเวยีดนามเปนเจาภาพจัดการประชมุ ADMM – Plus คร้ังแรกขึ้น ในเดือนตลุาคม 2553 กระทรวงกลาโหมเวยีดนาม และกระทรวงกลาโหมสิงคโปร ไดรวมยกรางเอกสารเพื่อการหารือวาดวยทิศทาง ความคาดหวัง และความเปนไปไดของความรวมมือที่เปนรูปธรรม ภายใตกรอบการประชุม ADMM – Plus (Discussion Paper on Potential, Prospect, and Direction of Practical Cooperation within the Framework of the ADMM – Plus) สําหรับใชเปนแนวทางในการหารือแลกเปลีย่นความคดิเหน็ในการประชมุ ADMM – Plus คร้ังที่ 1 โดยกําหนดแนวทางความรวมมือไว 5 ดานคือ การใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภยัพิบัติ (Humanitarian Assistance and Disaster: HADR) เวียดนาม – จีน ความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security) มาเลเซีย – ออสเตรเลีย การตอตานการกอการราย (Counter – Terrorism) การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peacekeeping Operations) การชวยเหลือทางการแพทยทหาร (Military Medicine) สถานะลาสุด เอกสาร ฯ ไดผานการพิจารณาในระดับที่ประชุม ADSOM WG เมื่อ 1 – 3 กรกฎาคม 2553 ณ เมืองดาลัต และที่ประชุม ADSOM Retreat เมื่อ 4 – 6 สิงหาคม 2553 ณ นคร โฮจิมินห

Page 14: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  17

การกําหนดอาณาเขตทางทะเลตามกฎหมายทางทะเล อาณาเขตทางทะเลนับวามีความสําคัญตอรัฐ ไมวาจะเปนรัฐชายฝง รัฐไรชายฝง หรือรัฐอ่ืนใดกต็าม ในกรณีของรัฐชายฝงนั้น อาณาเขตทางทะเลมีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาอาณาเขตสวนที่เปนแผนดิน ทั้งนี้เพราะทะเล นอกจากจะเปนแหลงที่อุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มีชีวิต และไมมชีีวิตแลว ทะเลยังเปนบริเวณที่มีความสําคัญตอรัฐชายฝง ในดานการเดนิเรือ ความม่ันคง วิทยาศาสตร อีกดวย โดยที่อํานาจของรัฐชายฝงเหนืออาณาเขตทางทะเล จะมีลักษณะที่เขมขนที่สุด เรียกวาอํานาจอธิปไตยไปจนถึงการมีเสรีภาพในทองทะเลหลวงในขณะที่รัฐอ่ืน ๆ หรือแมกระทัง่รัฐไรฝง จะคาํนึงถึงสิทธิของตนวามีอยูอยางไร และหลายครั้งที่อํานาจของรัฐชายฝง และสิทธิของรัฐอ่ืนในอาณาเขตทางทะเลของรัฐชายฝงนัน้ ไมสามารถหาขอยุติทางกฎหมายที่ชัดเจนได อยางไรก็ตามสิ่งที่สามารถนํามาเปนเกณฑในเบื้องตนที่ทุก ๆ รัฐสมควรจะยอมรับ คือขอกําหนดที่ระบุไวในกฎหมายทะเล ซ่ึงกฎหมายที่ไดรับการยอมรับกนัอยางกวางขวางในปจจุบัน คือ อนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเลป ค.ศ.1982 ที่ไดกําหนดเขตตาง ๆ ไว ดังนี้ (จุมพต สายสุนทร, 2536, หนา 20) 1. ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ความกวางของทะเลอาณาเขตนัน้ อนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ไดกําหนดความกวางของทะเลอาณาเขตวาตองไมเกิน 12 ไมลทะเล โดยวัดจากเสนฐาน (Baselines) ซ่ึงรัฐชายฝงเปนผูกาํหนดตามหลักเกณฑแหงกฎหมายระหวางประเทศ อํานาจของรัฐชายฝงเหนือทะเลอาณาเขต รัฐชายฝงยอมมีอํานาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขตของตน อํานาจอธิปไตยนี้หมายความถึงอํานาจอธิปไตยในหวงอากาศ (Air Space) เหนือทะเลอาณาเขตและอํานาจอธปิไตยเหนือพืน้ดินทองทะเล (Sea - bed) และดินใตผิวดิน (Subsoil) แหงทะเลอาณาเขตดวย ขอยกเวนในการใชอํานาจอธิปไตยของรัฐชายฝงเหนือทะเล อาณาเขต คือ “การใชสิทธิการผานโดยสุจริต” (Right of Innocent Passage) ของเรือตางชาติในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝง 2. เขตตอเนื่อง (Contiguous Zone) ความกวางของเขตตอเนื่อง ตามอนสัุญญาวาดวยทะเลอาณาเขตและเขตตอเนื่อง ค.ศ. 1958 ไดกําหนดความกวางของเขตตอเนือ่งไววา ไมเกนิ 12 ไมลทะเล นับจากเสนฐานซึ่งใชวัดความกวางของทะเลอาณาเขต แตตามอนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เขตตอเนื่องมีความกวางไมเกิน 24 ไมลทะเล โดยวัดจากเสนฐานซึ่งใชวัดความกวางของทะเลอาณาเขต แตสวนที่เปนเขตตอเนื่องอยางแทจริงนั้น มีความกวางเพียงไมเกิน 12 ไมลทะเลเทานั้น โดยวัดตอจากทะเลอาณาเขต อํานาจของรัฐชายฝงเหนือเขตตอเนื่อง ในเขตตอเนื่องนัน้ รัฐชายฝงมอํีานาจควบคุมเพื่อปองกันมใิหมีการฝาฝนกฎหมายและขอบังคับของตนวาดวยศุลกากร (Customs) การเขาเมือง (Immigration) รัษฎากร (Fiscal) และการสุขาภิบาล

Page 15: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  18

(Sanitation) อันจะเกิดขึ้นในดินแดนหรือทะเลอาณาเขตของตนและลงโทษตอการกระทําฝาฝนกฎหมายและขอบังคับ ซ่ึงไดกระทําในดนิแดนหรือทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝง ในสวนที่เกีย่วกับวัตถุโบราณหรือวัตถุทางประวัติศาสตรทีพ่บใตทะเลในเขตตอเนื่องนัน้ อนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 ยังบัญญัติใหรัฐชายฝงมีอํานาจในการคุมครองวัตถุโบราณหรือวตัถุทางประวัติศาสตร กลาวคือ หากมีการเคลือ่นยายวัตถุโบราณหรือวัตถุทางประวัติศาสตรที่อยูบนพื้นทะเลในเขตตอเนื่องโดยไมไดรับอนุญาตจากรัฐชายฝง รัฐชายฝงอาจสันนิษฐานวาการกระทําดังกลาว ฝาฝนกฎหมายของรฐัชายฝง 3. เขตเศรษฐกจิจําเพาะ (Exclusive Economic Zone) เขตเศรษฐกจิจําเพาะมีสถานะทางกฎหมายเฉพาะของตัวเอง (Sui Generis) กลาวคือ สิทธิและหนาที่ของรัฐชายฝงและรัฐอื่น ๆ ตามบทบัญญัติแหงอนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรือกลาวอกีนัยหนึ่ง คือ สถานะทางกฎหมายของเขตเศรษฐกิจจําเพาะนั้น แตกตางจากทั้งทะเลอาณาเขตและทะเลหลวง กลาวคือ ในทะเลอาณาเขตนั้นรัฐชายฝงมอํีานาจอธิปไตยเหนือทรัพยากรธรรมชาติและกิจกรรมในเขตดังกลาว เวนแตรัฐชายฝงจะตองรับการใชสิทธิการผานโดยสุจริตของเรือตางชาติ ในขณะที่ในเขตทะเลหลวงนั้น รัฐทุกรัฐมีเสรีภาพในการใชทองทะเลหลวงเหมือนกันหมด สวนเขตเศรษฐกิจจําเพาะนั้นเปนววิัฒนาการในทางกฎหมายระหวางประเทศ โดยที่รัฐชายฝงตองการขยายอํานาจของตนออกไปในทะเลโดยเฉพาะเพื่อการสํารวจและใชสอยทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มีชีวติและไมมีชีวิต แตขณะเดียวกันรัฐอ่ืนกไ็มตองการใหการขยายอํานาจของรัฐชายฝงนั้นกระทบกระทั่งถึงเสรีภาพตาง ๆ ในการใชทองทะเลที่ตนเคยมีอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งเสรีภาพในการเดินเรือ เสรีภาพในการบิน การวางสายเคเบลิ และทอใตทะเล ตลอดจนเสรีภาพในการใชทองทะเลประการอื่นอันชอบดวยกฎหมายระหวางประเทศ ดังนั้นเขตเศรษฐกิจจาํเพาะจึงเปนเขตที่เกิดจากการประนีประนอมระหวางอํานาจของรัฐชายฝงเหนือทรัพยากรธรรมชาติและเสรีภาพของรัฐอื่น ๆ ในการใชทองทะเลโดยตกอยูภายใตกฎเกณฑ โดยเฉพาะตามที่บัญญัติแหงอนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 อํานาจของรัฐชายฝงเหนือเขตเศรษฐกิจจาํเพาะ จําแนกไดเปน 3 ลักษณะ คือ 1. สิทธิอธิปไตย (Sovereign Rights) รัฐชายฝงยอมมีสิทธิอธิปไตยในการสํารวจ (Exploration) การแสวงผลประโยชน (Exploitation) การอนุรักษ (Conservation) และการจัดการ (Management) ทรัพยากรธรรมชาติไมวาจะเปนทรัพยากรที่มีชีวิตและไมวาทรัพยากรนั้นจะอยู ณ พื้นดินทองทะเล (Sea - bed) และดินใตผิวดินของพื้นดนิทองทะเล (Subsoil) หรือในทองน้ําเหนือพื้นดินทองทะเล (Waters Superjacent to the Sea - bed) ตลอดทั้งมีสิทธิอธิปไตยเหนือกิจกรรม ตาง ๆ อันเกี่ยวกับการสํารวจและการแสวงประโยชนทางเศรษฐกิจในเขตดังกลาว เชน การผลิตพลังงานจากน้าํ (Water) กระแสน้ํา (Currents) และลม (Winds) 2. เขตอํานาจ (Jurisdiction) ซ่ึงเปน

Page 16: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  19

เขตอํานาจในการออกกฎหมายโดยฝายนติิบัญญัติและใชบังคับกฎหมายโดยฝายบริหาร และฝายตุลาการ ซ่ึงจะแตกตางจากกรณีของสิทธิอธิปไตย กลาวคือ สิทธิอธิปไตยมีลักษณะเปนสิทธิในการหวงกนัการเปนเจาของทรัพยากรธรรมชาติในเขตเศรษฐกิจจําเพาะแตเพียงผูเดยีว ซ่ึงสิทธิในการหวงกนัแตเพียงผูเดียวนี ้รัฐชายฝงยอมม ี“เขตอํานาจ” ในการออกและใชบังคับกฎหมายเกีย่วกับทรัพยากรธรรมชาติอยูในตวัอยูแลว แตในกรณีที่รัฐชายฝงมีแตเพียง “เขตอํานาจ” นั้น รัฐชายฝงไมมีสิทธิในการหวงกนัแตเพียงผูเดียว เพราะรัฐอ่ืนอาจมีสิทธิในทํานองเดียวกัน กลาวอีกนัยหนึ่งก็คอื “สิทธิอธิปไตย” มีความหมายรวมถึง “เขตอํานาจ” ดวย แต “เขตอํานาจ” อาจไมรวมถึง “สิทธิอธิปไตย” 3. สิทธิอ่ืน ๆ ซ่ึงเปนสิทธิอ่ืนใดตามที่อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 หรือกฎหมายระหวางประเทศไดอนญุาตไว ซ่ึงสวนใหญ ไดแก สิทธิของรัฐที่มีอยูในทะเลหลวง เชนการกําหนดมาตรการในการปองกันและลงโทษการใชเรือทีชั่กธงของรัฐชายฝงในการขนสงหรือคาทาส การปราบปรามการกระทําอันเปนโจรสลัด (Piracy) ไมวาการกระทํานั้นจะใชหรือเกิดขึ้นบนเรือหรืออากาศยานที่มีสัญชาติของรัฐชายฝงหรือไมก็ตาม การปราบปรามการคายาเสพติด (Narcotic Drugs) หรือสารที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท (Psychotropic Substances) หรือการกระจายเสียงหรือแพรภาพโดยมิไดรับอนุญาตจากรัฐชายฝง เปนตน 4. ไหลทวีป (Continental Shelf) “ไหลทวปี” หมายถึง พื้นดินทองทะเล และดินใตผิวดิน ของบริเวณใตทะเลที่ประชิดกับชายฝง แตตั้งอยูภายนอกทะเลอาณาเขตจนถึงความลึกในระดบั 200 เมตร หรือเกินขีดจํากัดนั้นไปจนถึงที่ ซ่ึงความลึกของนานน้ําเหนือที่นัน้ สามารถจะใหแสวงประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณดังกลาว และหมายถึงพื้นดินทองทะเลและดินใตผิวดนิของบริเวณใตทะเลเชนเดียวกันที่ประชิดกบัชายฝงของเกาะ ความหมายตามอนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 ในขอ 76 แหงอนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 นี้ ไดใหคําจํากดัความวา “ไหลทวีป” วา หมายถึงพื้นดนิทองทะเล และดนิใตผิวดนิ (Subsoil) ของบริเวณใตทะเลซึ่งขยายออกไป ทะเลอาณาเขตของรัฐตลอดแนวทอดยาวตามธรรมชาติ (Natural Prolongation) จากแผนดินจนถึงริมนอกของขอบทวีป (Continental Margin) หรือจนถึงระยะ 200 ไมลทะเล จากเสนฐานทีใ่ชวัดความกวางของทะเลอาณาเขต ในกรณีที่ริมนอกของขอบทวีป ขยายไปถึง 200 ไมลทะเล ขอบไหลทวีปนัน้ไมวากรณใีด ๆ ตองไมเกิน 350 ไมลทะเล โดยวัดจากเสนฐานที่ใชวดัความกวางของทะเลอาณาเขต หรือไมเกิน 100 ไมลทะเล โดยวัดจากแนวน้ําลึก 2,500 เมตร ซ่ึงเปนเสนเชื่อมตอความลึก 2,500 เมตร อํานาจของรัฐชายฝงเหนือไหลทวีป ซ่ึงรัฐชายฝงมีสิทธิอธิปไตย เหนอืทรัพยากรธรรมชาติบนและใตไหลทวีป ไมวาจะเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีชีวิตหรือไมมีชีวิต 5. ทะเลหลวง (High Seas) ทะเลหลวง หมายถึงสวนของทะเลที่ไมใชสวนหนึ่งของเขต

Page 17: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  20

เศรษฐกิจจําเพาะ (EEZ) ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) หรือนานน้ําภายใน (Internal Waters) ของรัฐชายฝงหรือนานน้ําหมูเกาะ (Archipelagic Waters) ของรัฐหมูเกาะเปนที่นาสังเกตวาหวงน้ํา (Water Column) และผิวน้ําเหนือไหลทวีปที่อยูเขตเศรษฐกิจจําเพาะยังคงเปนเขตทะเลหลวง ถึงแมไหลทวีปและทรัพยากรบนไหลทวีปจะตกอยูภายใตสิทธิอธิปไตย (Sovereign Rights) ของรัฐชายฝงก็ตาม เขตอํานาจของรัฐในทะเลหลวง 1. เขตอํานาจเหนือเรือที่ชักธงของรัฐ (Territorial Principle) รัฐเจาของธงเทานัน้ที่จะมเีขตอํานาจเหนือการกระทําของเรอืที่ชักธงของตนในทะเลหลวง ศาลโลกวินจิฉัยวา ถึงแมรัฐเจาของธงจะมีเขตอํานาจแตเพียงผูเดียว 2. เขตอํานาจเหนือการกระทําความผดิของเรืออ่ืน ๆ ไดแกสิทธิการไลตามติดพนั (Right of Hot Pursuit) สิทธิไลตามติดพันนี ้เปนสิทธิของรัฐชายฝงตามกฎหมายระหวางประเทศที่จะบังคับใหเปนไปตามกฎหมายภายในของตน 3. เสรีภาพในทะเลหลวง (Freedom of the High Seas) รัฐไมวาจะเปนรัฐชายฝง (Coastal States) หรือรัฐไรฝง (Landlocked States) ยอมมีเสรีภาพในการใชทองทะเลหลวง คือ เสรีภาพในการเดินเรือ (Freedom of Navigation) เสรีภาพในการบนิ (Freedom of Over flight) เสรีภาพในการวางสายเคเบลิและทอใตทะเล (Freedom to Lay Submarine Cables and Pipelines) เสรีภาพในการทําประมง (Freedom of Fishing) เสรีภาพในการสรางเกาะเทียมและสิง่ติดตั้งอื่น ๆ (Freedom to Construct Artificial Islands and Other Installations) เสรีภาพในการวจิยัทางวิทยาศาสตร (Freedom of Scientific Research) สมบัติรวมกันของมนุษยชาติ (Common Heritage of Mankind) ซ่ึงบทบัญญัติวาดวยการแสวงหาและใชทรัพยากรธรรมชาติที่ไมมีชีวิตนั้นจะอยูภายใตระบอบกฎหมาย (Legal Regime) โดยเฉพาะแยกตางหากจากสวนอื่น ๆ กลาวคือ มีลักษณะเฉพาะเปนของตนเอง โดยจะบัญญัติไวในภาคที ่11 แหงอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 วาดวย “บริเวณพืน้ที”่ (The Area) ซ่ึงหมายถึงพื้นดนิทองทะเล และพืน้มหาสมุทร และดินใตผิวดนิ ที่อยูนอกเขตอํานาจของรัฐ กลาวคือ นอกเขตเศรษฐกิจจาํเพาะ หรือไหลทวีปของรัฐชายฝง สุดแตวาเขตใดจะกวางกวากนั หลักกฎหมายระหวางประเทศทีใ่ชกับ “บริเวณพื้นที”่ และทรัพยากรในบริเวณพืน้ที่ตามอนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 คือ หลัก “สมบัติรวมกันของมนุษยชาติ”

ปญหาภัยคุกคามที่เกิดขึ้นตอผลประโยชนทางทะเลของอาเซียน ปจจุบันภัยคุกคามตอความมัน่คงทางทะเลในภูมภิาคอาเซียนมีความหลากหลายซับซอนมากขึ้น โดยมเีหตุปจจยัหลากหลายเกื้อหนนุ ซ่ึงพอจะกําหนดไดโดยพจิารณาจากสถิติและแนวโนมดังนี ้ 1. การกอการราย (Terrorism) หลังเหตกุารณ 911 การกอการรายถือเปนภัยคกุคาม

Page 18: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  21

รายแรงตอสังคมมนุษยที่ทกุประเทศใหความสําคัญ ในภมูิภาคอาเซียนเปนพื้นที่ที่มีการเคลื่อนไหวของเครือขายการกอการรายสากล ทั้งในฟลิปปนส อินโดนีเซีย และไทย มีการโจมตีกําลังทหารของรัฐบาลและการกอวินาศกรรมตามสถานที่ตาง ๆ ที่อาจมีการประสานหรือเครือขายที่เชื่อมโยงกับขบวนการกอการรายกลุมตาง ๆ ทําใหตองเพิ่มความระมัดระวังการกอการรายที่อาจลุกลามไปปฏิบัติการตอเปาหมายในทะเลและบริเวณทาเรือ หรือบริเวณชายฝงมากขึ้น ซ่ึงทําใหเกิดความเสียหายและผลกระทบตอเศรษฐกิจและความปลอดภัยในการใชทะเลเปนอยางมาก โดยเฉพาะเปาหมายผลประโยชนของสหรัฐฯ และพันธมิตร เชน ฐานขุดเจาะน้ํามนัและแกสธรรมชาติในทะเลอาเซียน ตลอดจนการกอการรายในชองแคบมะละกา ซ่ึงเปนเสนทางเดินเรือที่สําคัญตอยุทธศาสตรความมั่นคงและเศรษฐกิจของหลายประเทศ 2. การกระทําอันเปนโจรสลัด/ การปลนสะดม (Piracy/ Armed Robbery) การกระทําอันเปนโจรสลัดเปนภัยคกุคามที่มีมาแตดั้งเดมิ ซ่ึงคุกคามตอชีวิตและทรพัยสิน ตลอดจนเสรีภาพในการเดินเรือมาโดยตลอด ภูมภิาคอาเซียนมสีถิติการกระทําอันเปนโจรสลัดและการปลนเรือเปนอันดับตน ๆ ของโลก ทั่วนานน้ําอาเซียน เชน การปลนเรือประมง เรือสินคา และเรือทองเที่ยว นอกจากจะสงผลกระทบตอความปลอดภยัในชวีิตและทรัพยสินของประชาชนผูประกอบอาชีพ ตาง ๆ ในทะเลแลว ยังกระทบตอระบบเศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ ไปดวย โดยเฉพาะในชอง แคบมะละกามีสถิติการปลนสูงสดุในภูมภิาค มีการลงนามในการลาดตระเวนรวมกันระหวาง ไทย มาเลเซีย สิงคโปร และอินโดนีเซีย เพื่อปองกันการกระทําอันเปนโจรสลัดในพื้นที่ รวมทั้งรวมกนัตรวจการณทางอากาศ ตลอดตามแนวชองแคบ ซ่ึงที่ผานมาถือวาประสบความสําเร็จเปนที่นาพอใจ เพราะสถิติการปลนเรือลดลง 3. การใชแรงงาน/ การเขาเมอืงผิดกฎหมาย (Illegal Labour/ Illegal Immigration) การใชแรงงานตางดาวผิดกฎหมายยงัคงเปนปญหาของอาเซียน เนื่องมาจากการขาดแรงงานระดับลางหรือกิจการบางประเภท ประกอบกับปญหาทางการเมืองภายในประเทศและปญหาเศรษฐกิจความยากจนของบางประเทศ รวมทั้งผูประกอบการยังนยิมใชวิธีลักลอบใชแรงงานตางดาวอยางผิดกฎหมายเพราะตนทุนราคาถกู ซ่ึงมักอาศัยลักลอบเขามาทางทะเลเพราะยากตอการตรวจจับ ทะเลจงึเปนทั้งแหลงทํางานและทางผานเขามาและออกไปสูประเทศที่สาม ซ่ึงนําไปสูการบงัคับใชแรงงานและการคามนษุย ซ่ึงอาจนําโรคมาเผยแพร กออาชญากรรมตาง ๆ เชน ปลน/ฆา โดยไมรูกฎหมายภายในประเทศนั้น ๆ ยากตอการตรวจพบและจับกมุ อาจมีอาชญากรขามชาติแอบแฝงเขามา และเปนทางผานของยาเสพติดหรืออาวุธสงครามได 4. การคาของผิดกฎหมาย (Illegal Trafficking) ซ่ึงหมายรวมถึงการคายาเสพติด (Illicit Drug) อาวุธสงคราม (Armed Trafficking) และสินคาอื่น ๆ ดวย ซ่ึงการลักลอบโดยใชทะเลเปนชอง

Page 19: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  22

ทางผานหรือคาขาย เปนปญหาที่เกิดขึน้มานานแตยังแกไขไมได เพราะพื้นที่ทางทะเลไมสามารถเฝาตรวจหรือระวังไดครอบคลุมทั่วพื้นที่ไดตลอดเวลา การตรวจพบหรอืจับกุมเปนไปไดยาก ปญหาชองวางของขอกฎหมายที่ไมครอบคลุมพื้นที่ทางทะเลทั้งหมด ทาํใหไมสามารถเอาผูกระทําผิดมาลงโทษได โดยเฉพาะการคาน้ํามันเชือ้เพลิงนอกเขตบังคับใชกฎหมาย ทั้งที่จําหนายใหเรือประมงและลักลอบขึ้นฝง 5. การทําลายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมทางทะเล (Environment Destruction) การกระทําที่สงผลกระทบตอทรพัยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมและระบบนิเวศนทางทะเล ไดแก การลักลอบตัดไมตามเกาะหรือบริเวณชายฝง การทําประมงผิดประเภท การลักลอบงมปะการัง และการเกิดน้ํามนัร่ัวไหลในทะเล ซ่ึงสวนใหญมีสาเหตุมาจากเรอืลม เรือจม เรือโดนกันและอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นภายในเรือ การสูบถายน้ํามันในทาเรอืหรือในทะเล และการปลอยน้ํามันและของเสียลงทะเล รวมทั้งกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในทะเล เชน การทองเที่ยว การดาํน้ํา การตกปลา เปนตน ซ่ึงปญหาเหลานี้มีผลกระทบตอความสมบูรณของทรัพยากรสัตวน้าํและความสวยงามของทะเล มีผลโดยตรงตออุตสาหกรรมประมงและการทองเที่ยว 6. ภัยพิบัต/ิ อุบัติภัย (Disaster/ Accident at Sea) จากสภาพภูมิอากาศของอาเซียนตั้งอยูระหวางแหลงกําเนิดของพายุหมุนเขตรอนทั้งสองดานทั้งมหาสมุทรแปซิฟกและมหาสมุทรอินเดยี สภาวะความแปรปรวนของบรรยากาศโลก และแนวเปลือกโลกที่เคลื่อนตัว ภูเขาไฟ สงผลใหเกดิภัยธรรมชาติทางทะเลที่มีความรุนแรง เชน ภยัจากภเูขาไฟระเบิด แผนดินไหว สึนาม ิสตรอมเซิจ พายุใตฝุน พายุไซโคลน เปนตน ซ่ึงจะสงผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินของผูประกอบอาชีพทางทะเลและผูที่อาศัยอยูตามแนวชายฝง ตลอดจนอุบัตภิัยทีอ่าจเกิดจากกจิกรรมตาง ๆ ที่ดําเนินอยูในทะเล การเตรียมความพรอมในการชวยเหลือเมื่อเกิดภัยตาง ๆ เหลานี้อยางทันเวลา จะทําใหประชาชนผูใชประโยชนจากทะเลเกิดความรูสึกปลอดภัย อยางไรก็ตาม พอจะสรุปเปนประเดน็ปญหาภยัคุกคามที่สําคัญทางทะเลไดสามดาน คือ การกระทําผิดกฎหมาย การชวยเหลือผูประสบภัย และการจัดการกับปญหามลภาวะสิ่งแวดลอม ซ่ึงความจริงแลวปญหาเหลานีม้ีหนวยงานรบัผิดชอบตามกฎหมายอยูแลว บางปญหามีหนวยงานรับผิดชอบหลายหนวยรวมกนั บางปญหาแตกตางออกไปตามลักษณะขดีความสามารถของหนวยงานนั้น ๆ ซ่ึงหากมีการบริหารจัดการที่ดี และประชาคมอาเซียนมองเห็นความสําคัญของทะเลรวมกนั ซ่ึงมีแนวโนมที่จะตองใชทะเลมากขึ้นในอนาคต โดยพจิารณาเรื่องงบประมาณ การสรางบุคลากร การเพิ่มเครื่องมืออุปกรณในการปฏิบัติการ ปญหาเหลานีก้็อาจจะแกไขใหหมดไปได หรือไมกลายเปนปญหาเรื้อรังที่มีผลตอการเจริญเติบโตของประชาคมอาเซียนในอนาคต

Page 20: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  23

กรณีศึกษาองคกรหรือหนวยงานรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเล จากสภาพปญหา ภยัคุกคาม และส่ิงทาทายตอความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลของอาเซียนดังที่กลาวมาแลว ในบทนีจ้ะกลาวถึงองคกร/หนวยงานที่เกี่ยวของกับการรักษาความมัน่คงและปลอดภัยทางทะเลของประเทศสมาชิกอาเซียน 4 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส และเวียดนาม เกี่ยวกับบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบตามกฎหมาย ขีดความสามารถในการรักษาความมั่นคงปลอดภยัทางทะเลที่ไมใชมิติทางทหาร ตลอดจนความรวมมือดานความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลในแตละประเทศโดยสงัเขป ดังนี ้

ไทย

ไทยไดใหความสําคัญกับการรักษาผลประโยชนของชาตทิางทะเลแตมกีฎหมายหลากหลายฉบับและมีหลายหนวยงานจดัตั้งเพื่อบังคับใชกฎหมายทีเ่กีย่วของกับทะเล สงผลทําใหขาดการบริหารจัดการอยางบูรณาการ ขาดการประสานงานในการทํางานรวมกนั ในป พ.ศ. 2542 รัฐบาลไดอนมุัติหลักการจดัตั้งหนวยงานที่มีลักษณะของการประสานการปฏิบัติรวมกันภายใตโครงสรางของศูนยประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล (ศรชล.) โดยมีเสนาธิการทหารเรือเปนผูอํานวยการศูนย ซ่ึงมีหลายหนวยงาน ขึ้นตรงกับหลายกระทรวง แตสามารถแบงไดเปนสองสวนใหญ ๆ คือสวนปฏิบัติการหลักและสวนปฏิบัติการรวม หนวยงานที่ปฏิบัติการหลักในทะเลและมีกําลังทางเรือ 6 หนวยงาน ศูนยประสานงานนี้ไมมีอํานาจหนาที่ในการบังคับบัญชาหนวยงานดงักลาวเพยีงแตประสานการปฏิบัติรวมกันและบังคับใชกฎหมายตามที่ไดรับมอบอํานาจมา(สํานกังานสภาความมั่นคงแหงชาติ, 2553) 1. ภารกิจ ประสานการปฏิบัติงานรวมกนับังคับใชกฎหมายตามที่กฎหมายไดมอบอํานาจไวใหแตละหนวยงานเกีย่วกับอํานาจหนาที่บังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวกบัทะเลในพืน้ที่ทางทะเลของประเทศไทย 2. พื้นที่รับผิดชอบ อาณาเขตไหลทวีปอาวไทยของประเทศไทย 203,619.375 ตร.กม. หรือ 59,365.911 ตร.ไมลทะเล และอาณาเขตไหลทวีปประเทศไทยดานอันดามัน 112,498.86 หรือ 32,799.42ตร.ไมลทะเล

Page 21: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  24

ภาพที่ 2 พื้นที่รับผิดชอบทางทะเลของไทย

3. การจัดสวนราชการ 3.1 กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี (ขน.) เปนสวนราชการระดบักรมในสังกดักระทรวงคมนามคม มีภารกจิเกี่ยวกบัการสงเสริมการพัฒนาระบบการขนสงทางน้ําและการ พาณิชยนาวใีหเชื่อมตอกับระบบการขนสงอื่น ๆ ทั้งการขนสงผูโดยสารและสินคา ทาเรือ อูเรือ กองเรือไทย และกิจการเกี่ยวเนื่องเพื่อใหประชาชนไดรับความสะดวก รวดเร็ว ทัว่ถึง และปลอดภยั ตลอดจนสนับสนุนภาคการสงออกใหมีความเขมแข็ง เพื่อใหกาวทันกับการพัฒนาประเทศทั้งในดานเศรษฐกิจและสังคม ที่สอดประสานกบักระแสการพัฒนาประเทศและกาวทันการเปลี่ยนแปลง 3.2 กรมประมง (ปม.) เปนสวนราชการระดับกรมในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีหนาที่ควบคุมการประมงใหเปนไปตามมาตรการอนุรักษสัตวน้ํา ตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับการประมง ศึกษา คนควา วิจยั ทอลอง สํารวจ วิเคราะห เกี่ยวกับการประมง การทําประมง สงเสริมอาชีพประมง และการปฏบิัติอ่ืน ๆ ตามท่ีกฎหมายกําหนดใหเปนหนาที่ของกรมประมง ประกอบดวย 5 ศนูยปองกันและปราบปรามประมงทะเล ครอบคลุมพื้นที่ทางทะเลทั้งฝงอาวไทยและฝงอันดามัน 3.3 กรมศุลกากร (ศก.) เปนสวนราชการระดับกรม ในสงักัดกระทรวงการคลัง มีหนาที่จดัเก็บภาษแีละสงเสริมการสงออก ตลอดจนการปองกันและปราบปรามการลักลอบนํา

Page 22: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  25

สินคาเขาออกราชอาณาจักรโดยไมผานพิธีการทางศุลกากร โดยมีฝายสืบสวนปราบปราม (2 สํานักงานสืบสวนและปราบปราม) รับผิดชอบสืบสวนและปราบปรามการกระทําผิดตามกฎหมายศุลกากรและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในพื้นที่ทางทะเลฝงอาวไทยและฝงอันดามัน พื้นที่ตอเนื่องทางบก 3.4 กองบังคับการตํารวจน้ํา (บก.รน.) เปนสวนราชการในกองบัญชาการสอบสวนกลาง สํานักงานตํารวจแหงชาติ มีหนาที่และรับผิดชอบในการรักษาความสงบเรียบรอย ปองกันและปราบปรามอาชญากรรมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอื่น ๆ อันเกี่ยวกับความผิดอาญาทั้งหลายในนานน้ําไทย ทาเรือ ชายฝงทะเล ซ่ึงเปนอาณาเขตของประเทศไทย เขตเศรษฐกจิจาํเพาะและทะเลหลวงเฉพาะเรือไทย และในเขตอํานาจการรับผิดชอบอื่น ๆ รวมทั้งการปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอืน่ที่เกี่ยวของ หรือที่ไดรับมอบหมาย แบงออกเปน 12 กองกํากับการ 1 กลุมงาน ครอบคลุมพื้นที่ทางทะเลของไทย 3.5 กองทัพเรอื (ทร.) มีหนาที่ในการเตรยีมกําลังกองทัพเรือ การปองกนัราชอาณาจักร และดําเนินการเกี่ยวกับการใชกําลังกองทัพเรือตามอํานาจหนาที่ของกระทรวง กลาโหม ภารกิจในยามสงคราม เปนการปองกันประเทศทางทะเล ดํารงการคมนาคมทางทะเลทั้งดานอาวไทยและอันดามัน ปฏิบัติการสะเทินน้ําสะเทนิบก สนับสนุนปฏิบัติการทางบกบริเวณชายฝงและในพื้นที่รับผิดชอบ ปองกันภยัทางอากาศในพืน้ที่ที่ไดรับมอบหมาย และการสนับสนุนการลําเลียงทางทะเล ภารกจิในยามสงบ เปนการปองกันและปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายในทะเล เขารวมและสนับสนนุหนวยทหารตาง ๆ ในการพัฒนาประเทศและชวยเหลือประชาชน ชวยเหลือผูประสบภัยในทะเลและชายฝง ใหการคุมครองเรือประมงและผูประกอบอาชีพทางทะเลที่ประกอบอาชีพสุจริตในอาณาเขตทะเลของไทยและพืน้ที่ทับซอนทางทะเล การอนุรักษและฟนฟูสภาพแวดลอม รวมทั้งการขจัดมลภาวะทางทะเล การสํารวจทางสมุทรศาสตรและอุทกศาสตร การจัดสรางแผนทีแ่ละที่หมายในการเดินเรือ รวมทั้งการสนบัสนุนการลําเลียงขนสงทางทะเล แบงสวนราชการออกเปน 36 หนวยขึ้นตรง 4 สวน (สวนบัญชาการ สวนกําลังรบ สวนยุทธบรกิาร สวนการศึกษาและวิจัย) แบงความรับผิดชอบในทะเลเปน 3 พื้นที่ทัพเรือภาค 3.6 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (ทช.) เปนหนวยงานระดับกรมในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีภารกิจเกีย่วกับการอนุรักษ ฟนฟู บริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง รวมทั้งปาชายเลน เพื่อความสมบูรณ มัง่คั่ง สมดุล และยั่งยืนของทะเลไทย เพื่อเสริมสรางความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ใน อาณาเขตทะเลและชายฝงของประเทศไทย

Page 23: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  26

4. กําลังพลและยุทโธปกรณ 4.1 กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี สวนที่ปฏิบัติการในทะเลประกอบดวยเรือขจัดคราบน้ํามนั 2 ลํา เรือตรวจการณทางทะเลทั้งขนาดเลก็และขนาดกลาง 23 ลํา 4.2 กรมประมง เรือตรวจการประมง ขนาด 19 – 70 ฟุต รวม 62 ลํา 4.3 กรมศุลกากร เรือขนาด 20 – 120 ฟุต รวม 40 ลํา 4.4 กองบังคับการตํารวจน้ํา เรือตรวจการณในทะเลและชายฝง 52 ลํา เรือปฏิบัติการลําน้ํา 133 ลํา 4.5 กองทัพเรอื เรือรบและเรือชวยรบประเภทตางๆ รวม 200 ลํา อากาศยาน 60 เครื่อง 4.6 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (ทช.) เรือขนาดเลก็ ไมมีความทนทะเล และมีจํานวนนอย 5. แนวความคดิในการปฏิบัติ ศูนยประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล (ศรชล.) จะเปนศนูยประสานงานหลักในการบังคับใชกฎหมายที่เกีย่วของกับทะเลใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ที่ไดรับตามกฎหมาย ประสานการปฏิบัติใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด 6. สรุปปญหาการปฏิบัติงาน 6.1 พื้นที่ปฏิบัติการกวางขวาง มีเรือประมง เรือสินคา สัญจรเปนจํานวนมากตลอดเวลายากตอการตรวจการณ พิสูจนทราบของเจาหนาที่ หนวยงานที่มีหนาที่ไมมกีําลังทางเรือเพียงพอทีจ่ะปฏิบัติหนาที่ในการปองกันและปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายในทะเลตามที่ไดรับมอบหมายอยางทั่งถึง 6.2 ความรับผิดชอบในการปองกันและปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายในทะเล มีหลายหนวยงานที่เกีย่วของ ตางมีกําลังทางเรือ นโยบาย แผนปฏิบัติตางกันออกไป มกีารประสานระหวางหนวยงานไมมากนกั ผลที่ตามมาคือขาดความเปนเอกภาพ ไมมีหนวยงานทีจ่ะควบคุม ดูแลโดยรวม 6.3 แตละหนวยงานมีกฎหมายรองรับการปฏิบัติในสวนทีร่าชการนั้นๆ รับผิดชอบเทานั้น และตางก็ไดรับมอบอํานาจตามกฎหมายไมเหมือนกัน ทําใหการปฏิบัติการรวมกันเพื่อปองกันและปราบปรามทําไดในระดับหนึง่ 6.4 กําลังทางเรือที่ใชสวนใหญมีอายุการใชราชการมานาน สมรรถนะต่ํา และมีจํานวนไมเพยีงพอ ตองเขารับการซอมทํา ปรนนิบัติบํารุงรักษา ทําใหกําลังทางเรือเหลานี้ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ที่รับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพ การออกลาดตระเวนในทะเลเพื่อคนหาเรือกระทําผิดกฎหมายทะเลเปนการสิ้นเปลือง กําลังพลตรากตรํา สถานภาพงบประมาณจํากดั ทํา

Page 24: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  27

ใหไมสามารถออกปฏิบัติการในทะเลไดอยางตอเนื่อง 6.5 การปองกนัและปราบปรามการกระทาํผิดกฎหมาย มีความจําเปนตองใชการขาวที่มีประสิทธิภาพ แตบางหนวยไมมีหนวยรับผิดชอบงานดานการขาวโดยตรง ปจจุบนัหนวยงาน ตาง ๆ ขาดขอมูล ขาดการประสานแลกเปลี่ยนขาวสารทีท่ันสมัยและลาชา ทําใหการปฏิบัติงานไมไดผลตามที่ 7. สรุปปญหาการควบคุมหนวยงาน 7.1 ปญหาดานโครงสราง โครงสรางของ ศรชล. ที่จัดตั้งขึ้นในลักษณะของการปฏิบัติงานเปนศูนยรวมในการประสานงานโดยกําลังของสวนราชการตาง ๆ จะไมขึ้นควบคุมทางยุทธการโดยตรงกับ ศรชล. หรือ ศรชล.เขต ทําใหไมมีอํานาจหนาที่ทีจ่ะควบคุมสั่งการหนวยกําลังอ่ืน ๆ ไดอยางแทจริง มักจะใชการประสานโดยอาศยัรูจกักันระหวางเจาหนาที่เปนการสวนตัว รวมทั้งหนวยงานแตละหนวยมีโครงสรางภายในที่ตางกนั ขึ้นตรงตอกระทรวงตางกนั อีกทั้งแตละกระทรวงมีความสําคัญตอผลประโยชนทางทะเลและการพัฒนามากนอยตางกัน จึงทําใหยากตอการประสานงานและควบคุมในการปฏิบตัิภารกิจรวมกนั 7.2 ปญหาในการปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมาย การที่ประเทศไทยไดออกกฎหมายเกี่ยวกับการปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายในทะเลหลายฉบับและมอบอํานาจความรับผิดชอบในการปราบปรามและรักษากฎหมายใหกบัหนวยงานตาง ๆ หลายหนวย หรือบางหนวยยังไมมีกฎหมายรองรบัที่ชัดเจน ทําใหตองใชกฎหมายเดิมตามงานที่ไดถูกทําโดยหนวยงานอื่นมากอน เชนกรณีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงกับกรมประมง ดงันั้นแตละหนวยจะมีกฎหมายรองรับการปฏิบัติในสวนที่ราชการนั้น ๆ รับผิดชอบเทานั้น ซ่ึงสวนราชการเหลานีต้างก็ไดรับมอบอํานาจตามกฎหมายไมเหมือนกัน ทําใหการปฏิบัติรวมกันเพื่อปองกันและปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายในทะเล สามารถกระทํารวมกันไดเพียงแคการสนับสนุนตามขีดความสามารถและกฎหมายรองรับของแตละสวนราชการตาง ๆ เหลานี้เทานัน้ รวมทั้งขอบเขตของพื้นทีป่ฏิบัติการจะเปนไปตามกฎหมายเหลานั้นกําหนดดวย 8. ความรวมมอื เนื่องจากเปนหนวยงานลักษณะประสานงานไมมีอํานาจในการสั่งการ ไมมีกฎหมายรองรับ ไมมีงบประมาณรองรับ จึงขาดความรวมมือจากหนวยงานทีเ่กีย่วของภายในประเทศ และไมสามารถทําขอตกลงความรวมมือกับตางประเทศได ความรวมมือกับตางประเทศจึงเกิดขึ้นกับหนวยงานที่อยูภายในการประสานของ ศรชล. เอง 9. ผลการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนา จากการดําเนินงานที่ผานมาของ ศรชล. ถือวาไมประสบความสําเร็จ เนื่องจากไมมีกฎหมายและงบประมาณรองรับ จึงมีแนวความคิดในการจัดหนวยยามฝง โดยศึกษาความเปนไปไดในการจัดตั้งหนวยยามฝงเมื่อ พ.ศ. 2552 – 2553 ของ

Page 25: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  28

สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ

มาเลเซีย มาเลเซียประกาศวาเปน Maritime Nation (กระทรวงการตางประเทศ, 2553 ก.; Wikipedia, 2007; CIA-World Fact book, 2010 a; Baerwald, & Fraser, 2007, pp. 712-713; Nik, Colonel (Ret.), 2009 p 13; Bin Absamad, 2008, p12).เพื่อสรางกระแสใหทุกภาคสวนตระหนกัถึงความสําคัญของทะเลและมุงเข็มสูทะเล มีความเชื่อวากญุแจแหงความสําเร็จในการแสวงประโยชนจากทะเลคือการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดตั้งหนวยระดับนโยบายขึน้เมื่อ ก.ค. 2536 เรียกวาสถาบันกิจการทางทะเลมาเลเซีย (Maritime Institute of Malaysia: MIMA) เปนองคมหาชนทําหนาที่ใหคาํปรึกษารัฐบาลในการวางแผนนโยบายทางทะเล นอกจากนี้ยังจัดตั้งหนวยงานเพื่อรักษาผลประโยชนของชาตทิางทะเลโดยเฉพาะเพื่อสนองตอภัยคุกคามไมวาจะเปนปญหาการลักลอบเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย การลําเลียงสินคาหนภีาษี มลพิษทางทะเล ปญหาเขตแดนบริเวณหมูเกาะสแปรตลีย การกระทําอันเปนโจรสลัดและการปลนสะดมในชองแคบมะละกา MMEA สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี ทําหนาที่บริหารจัดการการบังคับใชกฎหมายในทะเลใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อทําหนาที่รักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล ตอไปจะเรียก MMEA วา “หนวยยามฝงมาเลเซีย” (Malaysian Maritime Enforcement Agency, 2008; Wikipedia, 2007.) 1. ภารกิจ หนวยงานนี้มีภารกิจในการปองกันและรกัษาไวซ่ึงความสงบเรียบรอย ความมั่นคง และอํานาจอธิปไตยภายในพื้นที่ทางทะเลของมาเลเซีย รวมถึงการชวยเหลือและกูภัยในทะเล โดยมีการจําแนกภารกิจออกเปน 3 กิจยอย คือ กิจในพื้นที่ทางทะเลของมาเลเซีย กิจในทะเลหลวง และกิจในภาวะสงครามหรือสถานการณฉุกเฉิน (สํานักงานสภาความมัน่คงแหงชาติ, 2553 ก, หนา 2) (ขึ้นควบคุมบงัคับบัญชากับผูบัญชาการทหารเรือมาเลเซีย) 2. พื้นที่รับผิดชอบ มีชายฝงทะเลยาว 4,490 กิโลเมตร ทะเลอาณาเขต 142,393 ตารางกิโลเมตร เขตเศรษฐกิจจําเพาะ 471,607 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 561 เกาะทัว่ประเทศ

ภาพที่ 3 พื้นที่รับผิดชอบทางทะเลของมาเลเซีย

Page 26: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  29

3. การจัดสวนราชการ MMEA มีผูอํานวยการชั้นยศเทียบเทาพลเรือเอก มีรองผูอํานวยการ 3 คน แบงกันรับผิดชอบดานการปฏิบัติการ การสงกําลังบํารุง และบริหารจัดการ

DEPUTY DIRECTOR GENERAL (OPERATIONS)

DIRECTOR GENERAL

STRATEGIC PLANNING INTELLIGENCE

STAR TEAM

INTERNAL AUDIT

ENFORCEMENT & EXERCISE

SAR & DISASTER

RELIEF

AIR OPS PROJECT MANAGEMENT

LEGAL AFFAIRS

C3I

TRAINING

AIR STATIONS

DEFENCE SUPPORT

ACADEMYOTHER RANKS TRG CENTRE

OP TRG CENTRE

HUMAN RESOURCE

DEPUTY DIRECTOR GENERAL (LOGISTICS)

INFRA/ ASSETS

TECHNICALSERVICES

TRANSPORT

SUPPLY

DEPUTY DIRECTOR GENERAL

( MANAGEMENT)

ADMIN & SECRETARIAT

FINANCE

PROCUREMENT

ICT

5 REGIONS

18 DISTRICTS

18 BASES

7 POSTS

DEPUTY DIRECTOR GENERAL (OPERATIONS)

DIRECTOR GENERAL

STRATEGIC PLANNING INTELLIGENCE

STAR TEAM

INTERNAL AUDIT

ENFORCEMENT & EXERCISE

SAR & DISASTER

RELIEF

AIR OPS PROJECT MANAGEMENT

LEGAL AFFAIRS

C3I

TRAINING

AIR STATIONS

DEFENCE SUPPORT

ACADEMYOTHER RANKS TRG CENTRE

OP TRG CENTRE

HUMAN RESOURCE

DEPUTY DIRECTOR GENERAL (LOGISTICS)

INFRA/ ASSETS

TECHNICALSERVICES

TRANSPORT

SUPPLY

DEPUTY DIRECTOR GENERAL

( MANAGEMENT)

ADMIN & SECRETARIAT

FINANCE

PROCUREMENT

ICT

5 REGIONS

18 DISTRICTS

18 BASES

7 POSTS

ภาพที่ 4 การจัดสวนราชการ MMEA ของมาเลเซีย

แบงพื้นที่ปฏิบัติการออกเปน 5 ภาค 18 เขต 18 ฐานทัพ และ 7 สถานีเรือ

ภาพที่ 5 เขตพื้นที่ปฏิบัติการของมาเลเซีย  

4. กําลังพลและยุทโธปกรณ ปจจุบันมีกาํลังพลประมาณ 4,000 นาย รอยละ 90 โอนมาจากกองทัพเรือ สวนที่เหลือโอนมาจากหนวยงานในทะเลอื่นๆ มีเปาหมายที่จะผลิตกําลังพลเอง และขยายอัตรากําลังพลใหมากถึง 9,000 คน ในอนาคต หนวยงานนี้มกีําลังทางเรือและอากาศยาน

Page 27: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  30

ประกอบดวยเรือตรวจการณ 50 ลํา เรือเล็ก 22 ลํา เรือยนตเร็ว 53 ลํา อากาศยาน 4 ลํา ซ่ึงสวนใหญโอนมาจากหนวยปฏิบัติงานทางทะเลอื่น 5. แนวความคดิในการปฏิบัติ ไดกําหนดกรอบแนวคิดทางยุทธศาสตรบนหลักการสาํคัญ 5 ประการ คือ Maritime Domain Awareness, Visible Deterrence, Swift Response, Ever Present, และ Forward Reaching Maritime Community Cooperation 6. ความรวมมอื ปจจุบันยังคงพึ่งพาทาเรือและสิ่งอํานวยความสะดวกของกองทัพเรืออยูบาง แตกําลังอยูระหวางการสรางขึ้นเพื่อใชเอง การซอมทําใชวิธีการ Outsource ทําใหทุนคาใชจายในการผลิตบุคลากรและลดจาํนวนอะไหลลง และบริหารจัดการงายและประหยัด แตมีขอจํากัดดานงบประมาณทาํใหไมสามารถจัดหายุทโธปกรณไดตามแผน จึงตองใหกองทัพเรือและตํารวจน้ําชวยปฏิบัติหนาที่ ตํารวจน้ํารับผิดชอบพื้นที่ตั้งแตชายฝงไปจนถึง 50 ไมลทะเล กองทัพเรอืรับผิดชอบตั้งแต 50 ไมลทะเลออกไป และยังประสานความรวมมอืกับหนวยงานทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศ เชน กองทพัเรือ กองทัพอากาศ ตํารวจน้ํา กรมการขนสงทางน้ํา กรมประมง กรมศุลกากร Combined Operations Planning Committee (Indonesia) Combined Naval Work Group (Thailand) Border Patrol Coordinating Group (Philippines) Bilateral Training and Consultative Group (USA) Japan International Cooperation Agency (Japan) 7. ผลการดําเนนิงานและแนวทางพัฒนา เร่ิมปฏิบัติการในเดือนพฤศจกิายน 2548 ไดกลายมาเปนหนวยงานหลักในการบังคับใชกฎหมายทะเลและเปนศนูยประสานความชวยเหลือทางทะเล สถิติจนถึง ค.ศ. 2009 ตรวจคน 19,454 คร้ัง จับกุมผูกระทําความผิด2,157 คน รอยละ 75 เปนคดีที่เกี่ยวของกับการกระทําผิดกฎหมายประมง สวนที่เหลือเกี่ยวกับยาเสพติด สินคาหนีภาษี และเขาเมืองโดยผิดกฎหมาย กําลังเสนอรัฐบาลแกกฎหมายบางประการเพื่อใหหนวยงานสามารถดําเนินคดีกับผูกระทําความผดิไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น กําหนดเปาหมายในป 2554 วาจะเปนหนวยงานเดียวที่รับผิดชอบการบังคับใชกฎหมายในทะเลทั้งหมด ตํารวจน้ํารับผิดชอบในแมน้ํา และจะเปลี่ยนชื่อ เปน Malaysian Coast Guard ตามแบบสากล กําลังปรับปรุงและจัดหายุทโธปกรณใหมีขีดความสามารถดวยการจัดหาอากาศยาน เฮลิคอปเตอร เรือตรวจการณไกลฝง เรดารตรวจการเคลื่อนที่ กลองตรวจการณกลางคืน และระบบควบคุมสัง่การแบบ C4ISR เปนตน และตองสามารถใชงานรวมกับหนวยงานอืน่ในทะเลไดดวย

ฟลิปปนส ฟลิปปนสเปนประเทศหมูเกาะ ตั้งอยูในมหาสมุทรแปซิฟกใกลทะเลจนีใตทามกลางเสนทางคมนาคมทางทะเลระหวางตะวันออกกลาง เอเชียตะวนัออก ที่มเีรือตางชาติ แลนผานเขา

Page 28: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  31

ออกนานน้ําปละไมต่ํากวา 1 ลานลํา มีหมูเกาะ 7,107 เกาะ มีภูเขาไฟ เปนเสนทางพายใุตฝุน ฝนตกชุก ประชาชนตองเผชิญกับภัยพิบัตทิางธรรมชาติบอยครั้ง มีทาเรือเกือบ 1,600 แหงทั่วประเทศ การคาขายตองพึ่งพาการขนสงทางทะเล มีกองเรือสินคาประมาณ 5,000 ลํา เรือประมง 22,000 ลํา รัฐบาลใหความสําคัญกับผลประโยชนของชาติที่เกิดจากทะเล ขณะเดยีวกันความมั่นใจในการใชทะเลอยางปลอดภัยกเ็ปนสวนสําคัญเชนกนั แหลงทรัพยากรทางทะเลที่สําคัญถูกคุกคาม เชน การกอการราย โจรสลัด ยาเสพติด สารตองหาม อาวุธสงคราม สินคาหนีภาษี ลักลอบเขาเมือง ลักลอบตัดไม ลักลอบทําประมง หรือแมแตสาธารณภัยทางทะเล ส่ิงเหลานี้ทําใหรัฐบาลปรับเปลี่ยนโครงสรางและเรงรีบพัฒนาขีดความสามารถของหนวยยามฝงฟลิปปนส (Philippine Coast Guard) ใหสามารถตอบสนองตอสภาวการณทางทะเลที่เปล่ียนแปลงไปใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ปจจุบนัหนวยยามฝงฟลิปปนส สังกัดกระทรวงคมนาคมและการสื่อสาร และเปลี่ยนสถานะจากหนวยงานทหารเปนหนวยงานพลเรือน (กระทรวงการตางประเทศ, 2553 ข; Philippines Coast Guard, pp. 3-5. Wikipedia, 2010 a; CIA-World Fact book A, 2010 a; Baerwald, & Fraser, 2007, p. 711; Latorre, 2008, p.5.) 1. ภารกิจ หนวยนีม้ีหนาทีใ่นการสงเสริมความปลอดภยัในชวีิตและทรัพยสินทางทะเล ปกปองทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทางทะเล บังคับใชกฎหมายทะเล และใหการสนับสนุนภารกจิอ่ืนๆ ของกระทรวงคมนาคมและการสื่อสาร โดยแบงกลุมงานออกเปน 4 สาขา (Philippine Coast Guard, 2008, pp. 7-10.) ดังนี้ 1.1 การดูแลความปลอดภยัทางทะเล (Maritime Safety) เปนการสรางหลักประกนั เพื่อใหการเดนิเรือมีความปลอดภัย โดยรับผิดชอบดูแลรักษาเครื่องชวยในการเดินเรือ เชน ประภาคารกวา 500 แหงทัว่ประเทศ เร่ิมตัง้แตขั้นตอนการจัดหา การตดิตั้ง การปฏิบัติ และการบํารุงรักษา นอกจากนีย้ังออกกฎการเดินเรอืและกําหนดชองทางเดินเรอื (Traffic Separation Schemes) ภายในประเทศ ดแูลการกอสรางสะพานและสิ่งปลูกสรางเหนือนานน้ําทีสั่ญจรได กํากบัการกูเรือ และตรวจสอบมาตรฐานของสถานศึกษาที่ฝกอบรมหลักสูตรตาง ๆ ทางทะเล (Maritime Training School) 1.2 การคนหาและชวยเหลือผูประสบภัยในทะเล (Maritime Search and Rescue) เปนความรับผิดชอบของหนวยยามฝงที่จะตองเฝาติดตาม และดําเนินการชวยเหลือบุคคลและเรือที่ประสบภัยในทะเลตลอด 24 ชั่วโมง 1.3 การปองกนัสิ่งแวดลอมทางทะเล (Marine Environmental Protection) หนวยยามฝงเปนหนวยปฏิบัติงานในทะเลหนวยเดยีวที่ไดรับมอบหมายใหปองกัน ลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เฝาระวัง ติดตาม และขจัดคราบน้ํามันในทะเล ตลอดจนดําเนนิการตามกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ

Page 29: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  32

กับสิ่งแวดลอมในทะเล 1.4 การรักษาความมั่นคงและบังคับใชกฎหมายทะเล (Maritime Security and Law Enforcement) เปนปฏิบัติการเพื่อใหการใชประโยชนจากทะเลเปนไปดวยความสงบเรียบรอย เชน การรักษาความปลอดภัยทาเรือในยามปกต ิและการควบคุมการสัญจรทางน้ํา การสื่อสารในทะเล และการใชส่ิงอํานวยความสะดวกทาเรือในยามไมปกติ อีกทั้งยังทําหนาที่เปนหนวยบังคับใชกฎหมายตาง ๆ ในทะเลอีกดวย 2. พื้นที่รับผิดชอบ ฟลิปปนสมีชายฝงทะเลยาวเปนอนัดบั 4 ของโลก รองจากแคนาดา อินโดนีเซีย และรัสเซีย โดยมีความยาวประมาณ 35,000 กิโลเมตร มีพื้นที่ทางทะเลประมาณ 2,800,000 ตารางกิโลเมตร ใหญเปน 9 เทาของพื้นที่ทางบกที่มีอยูประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร

(Ursabia, Captain, 2008, p. 5).

ภาพที่ 6 พื้นทีรั่บผิดชอบทางทะเลของฟลิปปนส  

3. การจัดสวนราชการ หนวยยามฝงฟลิปปนสจัดสวนราชการแบงออกเปน 4 สวน ไดแก สํานักงานผูบังคับบัญชา สวนปฏิบัติการสวนสนับสนุนงานปฏิบัติการ และสวนสนับสนุนงานธุรการ (สํานักงานผูชวยทูตฝายทหารเรือไทยประจํากรุงมะนิลา, 2552)

Page 30: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  33

ภาพที่ 7 การจัดสวนราชการหนวยยามฝงฟลิปปนส  

3.1 สํานักงานผูบังคับบัญชาหนวยยามฝงตั้งอยู ณ กรุงมะนิลา มีผูบัญชาการ (Commandant) ช้ันยศพลเรือเอก (Admiral) เปนผูบังคับบัญชาสูงสุด มีรองผูบัญชาการ 2 คน คนหนึ่งรับผิดชอบงานดานยุทธการ (Operation) สวนอีกคนหนึ่งรับผิดชอบงานดานธุรการ (Administration) มีเสนาธิการ 1 คน และผูชวยเสนาธกิาร 12 สายงาน ไดแก กําลังพล ขาว ยุทธการ สงกําลังบํารุง แผนและโครงการ งบประมาณ กิจการพลเรือน ความปลอดภัยทางทะเล ส่ิงแวดลอมทางทะเล ซอมบํารุง ระบบสื่อสาร/อาวุธ/อิเล็กทรอนิกสและสารสนเทศ และฝกหดัศกึษา 3.2 สวนปฏิบัติการมีการจัดตั้งสถานีเรือ (Station) 54 แหง และจัดหนวยเฉพาะกจิ (Detachment) 194 หนวย ประจําตามเกาะและชายฝงรอบประเทศ โดยแบงพื้นที่รับผิดชอบออกเปน 10 เขต (District) ไดแก Coast Guard District Northern Luzon Coast Guard District National Capital Region / Central Luzon Coast Guard District Bicol Coast Guard District Southern Tagalog Coast Guard District Central / Eastern Visayas Coast Guard District Western Visayas Coast Guard District Palawan Coast Guard District Northern Mindanao

Page 31: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  34

Coast Guard District South-Eastern Mindanao Coast Guard District South-Western Mindanao 3.3 สวนสนับสนุนงานปฏิบัติการแบงออกเปน 3 สวนหลัก ไดแก Maritime Security and Law Enforcement Command Marine Environmental Protection Command Maritime Safety Services Command 3.4 สวนสนับสนุนงานธุรการประกอบดวย Education and Training Command Maritime General Services Command 4. กําลังพลและยุทโธปกรณ หนวยงานนี้มบีุคลากรปฏิบัติงานรวม 4,053 นาย เปนสญัญาบัตร 330 นาย ประทวน 3,220 นาย และพลเรือนไมแตงเครื่องแบบ 503 นาย โดยมีการแบงชั้นยศชั้นสัญญาบัตรเริ่มจากเรือตรถึีงพลเรือเอกเหมือนกองทัพเรือ สําหรับยุทโธปกรณที่ใชในการปฏิบตัิประกอบดวยเรือคนหาและชวยเหลือผูประสบภัยขนาด 56 เมตร จํานวน 4 ลํา เรือตรวจการณขนาด 35 เมตร จํานวน 4 ลํา เรือขนาด 30 เมตร จํานวน 10 ลํา และเรือขนาด 7 เมตร จํานวน 4 ลํา เครื่องบินกับเฮลิคอปเตอรอีกจํานวนหนึ่ง พรอมชุดปฏิบัติการพิเศษและชุดยามฝงสุนัข K-9 (Latorre, 2008, pp.3-5) 

              

ภาพที่ 8 ภาพกองกําลังพลและยุทโธปกรณ ของฟลิปปนส 5. แนวความคดิในการปฏิบัติ การปฏิบัติของหนวยยามฝงในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลเปนไปตาม กลยุทธสามขั้น(Three Tiered Strategy) ซ่ึงประกอบดวย (Ursabia, 2008, p.6) 5.1 การปองกนั (Prevention) เปนยุทธศาสตรที่สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลที่มุง

Page 32: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  35

ประสงคจะเพิม่ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานในทะเลดวยการขาวกรอง และการใชศักยภาพของแตละหนวยใหเหมาะสมกบังาน โดยวิธีการจัดตั้งศูนยประสานการปฏิบัติ แลวพิจารณากําหนดหนวยรับผิดชอบหลักและหนวยสนับสนนุ ดังจะเหน็ไดจากตวัอยางการจัดตั้ง Anti-Terrorism Task Force, Maritime Drug Enforcement Coordinating Center, National Intelligence Coordinating Agency, National Law Enforcement Coordinating Committee, Integrated Philippine Border Management Network, Inter-Agency Council against Trafficking, Multi-Sectoral Network against Trafficking in Persons, และ Presidential Anti-Smuggling Group นอกจากนี้ความรวมมือระหวางประเทศก็เปนสวนหนึ่งของยุทธศาสตรนี้ ซ่ึงหนวยยามฝงก็เปนสมาชิกหนึ่งของเครือขายเหลานี้เชนกัน 5.2 การปดลอม (Containment) ประกอบดวย 5 โปรแกรม ไดแก กองกําลังเฉพาะกิจพิทักษทะเล (Task Force Sea Marshals) ซ่ึงประกอบดวย ทีมงานจากหนวยยามฝง กองทัพฟลิปปนส ตํารวจแหงชาติ และเจาหนาที่รักษาความปลอดภยัของบริษัทเดินเรือ โดยกองกําลังเฉพาะกิจนี้จะจดัชุดปฏิบัติการพิเศษลงไปกับเรือโดยสาร เพื่อปองปรามการกอการรายและรักษาความปลอดภัยใหกับผูโดยสาร ชุดยามฝงสุนขั (K-9 Units) เปนงานสนับสนุนการปฏิบัติของกองกําลังเฉพาะกจิพิทักษทะเลดวยการคนหาวตัถุระเบิดและยาเสพติดที่ซุกซอนในกระเปาหรือตูคอนเทนเนอรบนเรือ ชุดปฏิบัติการตอตานการกอการราย (Coast Guard Anti-Terrorist Unit: CGATU) ที่มีขีดความสามารถในการรับมือกับการกอการรายในทะเล เขาพื้นที่ปฏิบัติการไดรวดเร็ว เชี่ยวชาญการตอสูระยะประชิดชํานาญการใชอาวุธและวัตถุระเบดิ กําลังทางเรือที่จัดลาดตระเวนตรวจการณอยางตอเนื่อง และพรอมปฏิบัติการเมื่อ เกิดเหต ุ กําลังทางอากาศที่จัดลาดตระเวนตรวจการณอยางตอเนื่อง และพรอมปฏิบัติการเมื่อเกิดเหต ุ 5.3 การพัฒนาขีดความสามารถ (Growth and Capability Development) หนวยยามฝงใหความสําคญักับการพัฒนาหนวยอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาบุคลากรและหลักนิยมตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากการที่หนวยยามฝงสงกําลังพลไปศึกษาตอในตางประเทศ เชน ที่ มหาวิทยาลัยทางทะเลโลก (World Maritime University) และโรงเรียนนายเรือยามฝงญี่ปุน เพื่อนําความรูและประสบการณที่ไดรับกลับมาพฒันาหนวยและหลักนยิมที่เกี่ยวของ นอกจากนีย้ังขยายความรวมมือกบัอาสาสมัครยามฝง (Coast Guard Auxiliary) ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใหสามารถใชประโยชนไดอยางเต็มที ่

Page 33: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  36

6. ความรวมมอื หนวยยามฝงมองเห็นความจําเปนและประโยชนของความรวมมือกับหนวยงานอืน่ ๆ ทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศ ในอันที่จะชวยพัฒนาขีดความสามารถของหนวยใหมีความทันสมัยกาวหนาและเติมเต็มขีดความสามารถ ที่ยังขาดอยู และไดทาํขอตกลงความรวมมือกับหนวยตาง ๆ แลว ดังนี ้ 6.1 ความรวมมือกับหนวยงานภายในประเทศ (Philippine Coast Guard, 2009) ไดแก Memorandum of Agreement between Philippine Coast Guard and Philippine Navy Memorandum of Agreement between Philippine Coast Guard and Marina Memorandum of Agreement between Philippine Coast Guard and Philippine Coast Guard Auxiliary Memorandum of Agreement between Philippine Coast Guard and White Rock Beach Resort Hotel Memorandum of Agreement between Philippine Coast Guard and Municipality of Lobo 6.2 ความรวมมือภายใตขอตกลงระหวางประเทศ (Latorre, 2008, p.5). ไดแก

ตารางที่ 1 ความรวมมือภายใตขอตกลงระหวางประเทศ

Parties Agreements Areas of Cooperation RP-Australia Exercises with Australian Navy - MARLEN RP-Australia BIMP-EAGA CIQS Task Force Seminar - Intelligence Sharing

- Training of Personnel RP-China Memorandum of Understanding between the

Department of Transportation and Communications of the Republic of the Philippines and the Ministry of Communications of the People’s Republic of China on Maritime Cooperation

- MARSAF - MAREP - Port State Control - Human Resource Dev’t

RP-Japan Anti-piracy Exercises Anti-drug Trafficking Arrangement

- MARLEN - Information Exchange

Page 34: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  37

ตารางที่ 1 (ตอ)

Parties Agreements Areas of Cooperation RP-Korea Bilateral Meeting between Korean Coast

Guard and Philippine Coast Guard - Anti-Piracy - Counter-terrorism - Personnel Exchange - Database Computerization

RP-Malaysia Joint Border Patrol Exercise under Brunei Darussalam-Indonesia-Malaysia-Philippines East ASEAN Growth Area (BIMP-EAGA) Agreement

- MARLEN

RP-United States

Cooperation Afloat Readiness and Training (CARAT-USA)

- MARLEN

RP, Indonesia, Malaysia and Brunei

Agreement to Conduct Joint Sea Patrols in Their Common Borders to Fight Terrorism and Transnational Crimes

- MARSEC

Various Member-Countries

Memorandum of Understanding on Port State Control in the Asia-Pacific Region

- MARSAF - MAREP - MARSEC - Port State Control

Various Member-Countries

Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP)

- MARSEC - MARLEN

Various Member-Countries

Convention for the Suppression of Unlawful Acts Against the Safety of Maritime Navigation

- MARSEC - MARLEN

6.3 ผลการดําเนินงานและแนวทางการพฒันา ในปพ.ศ. 2550 (ค.ศ.2007) หนวยยามฝงไดปฏิบัติการรวมกับหนวยงานอื่นตรวจยึดสิ่งของผิดกฎหมายและสินคาตองหามไดเปนมูลคารวมกวา 90 ลานเปโซ (Ursabia, Captain, 2008, p. 5.) โดยในตนปสามารถจับกุมนักคายาเสพติดและยดึของกลาง เคตามีน (Ketamine) ได 22 กิโลกรัม ยาบา (Ecstasy Tablets) 2,109 เม็ด สวน

Page 35: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  38

ในชวงกลางถึงปลายปสามารถจับกุมผูกระทําผิดไดอีกหลายคดียดึของกลางเปนแอมโมเนียมไนเตรท 45 กิโลกรัม อาวุธสงคราม รถยนต บุหร่ีนําเขา และน้าํมันหนภีาษี 600,000 ลิตร นอกจากนีย้ังจับกุมชาวประมงมาเลเซีย อินโดนีเซีย เวยีดนามและไตหวันที่ลักลอบเขามาทําการประมงในนานน้ําฟลิปปนสได 38 คน เรือประมง 5 ลํา รวมทั้งชาวฟลิปปนสที่ทําประมงผิดกฎหมาย 40 คน ยึดเรือประมงได 20 ลํา สวนลาสุดเมื่อปลายกันยายนป พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) (Philippine Coast Guard, 2009) ไดจับกุมเรือประมงไตหวันลักลอบทําการประมงในนานน้ําฟลิปปนสเพิ่มจากที่จับไดกอนหนานีเ้มื่อเดือนพฤษภาคม 2 ลํา การแยกหนวยยามฝงออกจากกองทัพเรืออาจประเมินวาเปนไดทั้งดานบวกและดานลบ ในดานบวกจะเห็นไดชัดวา กําลังพลของหนวยยามฝงมีโอกาสเจริญเตบิโตในหนาทีก่ารงานไดมากกวาการรบัราชการในกองทัพเรือ เพราะในขณะทีก่องทัพเรือมองการรักษาผลประโยชนของชาติไมใชงานหลัก การยายบรรจุตําแหนงผูบังคับบัญชาระดับสูงของกองทัพเรือจึงไมคอยมีกําลังพลของหนวยยามฝง สวนมากจะเปนบุคลากรของกองทัพเรือที่ปฏิบัติงานดานการปองกันประเทศเปนหลัก แตเมื่อแยกหนวยยามฝงออกจากกองทัพเรือแลว บุคลากรเหลานี้มีโอกาสไดรับการพิจารณาเลื่อนยศไดงายขึ้น โดยในปจจุบนักําลังพลหนวยยามฝงสามารถขึ้นเปนผูบัญชาการหนวยยามฝงซึ่งมียศพลเรือเอก นอกจากนี้เมื่อแยกหนวยยามฝงขาดจากกองทพัเรอืแลว การจัดเตรียมกําลังพลและยุทโธปกรณจึงเปนไปอยางมีระบบ เพราะไดรับงบประมาณโดยตรงจากกระทรวงคมนาคมและการสื่อสารที่เห็นความสาํคัญของหนวยนี้ อีกทั้งเมื่อหนวยยามฝงเปลี่ยนสถานะเปนหนวยงานพลเรือน ทําใหรัฐบาลตางประเทศใหความชวยเหลือไดงายกวาการเปนหนวยงานทางทหาร เชน ยุทโธปกรณทีไ่ดรับความชวยเหลือจากประเทศญี่ปุน ตลอดจนอุปกรณ เทคโนโลยี การบริการ และความรวมมือตาง ๆ อีกหลายประการจากนานาประเทศ (Wikipedia , 2010) สวนในดานลบนั้นอาจมองในภาพรวมไดวาเมื่อแยกหนวยยามฝงออกจากกองทัพเรือแลว กําลังทางเรือและอากาศยานที่ไดรับนั้นยังไมเพียงพอกับพื้นที่ปฏิบัติการ ซ่ึงหากหนวยยามฝงยังคงเปนหนวยปฏิบัติในสังกัดกองทัพเรือ โอกาสที่กองทัพเรือจะจัดเรือและอากาศยานสนับสนุนการปฏิบัติงานดานนี้นาจะมากกวาในปจจุบัน อีกทั้งจะเปนการใชทรัพยากรที่มีอยูรวมกัน ไมส้ินเปลืองงบประมาณของประเทศที่มีอยูอยางจํากัด  

เวียดนาม   เวียดนามตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ทิศตะวนัออกติดทะเลจีนใต ซ่ึงเปนเสนทางคมนาคมหลักทางทะเลที่เชื่อมภูมิภาคเอเชยีเหนือและเอเชยีตะวันออกเฉียงใตเขาดวยกนั เปนแหลงประมงที่สําคัญของภูมิภาค ไดรับการประเมินวาเปนแหลงพลังงานสํารองขนาดใหญของโลก เปนผลใหเวยีดนามและอีกหลายประเทศในภูมภิาคแถบนี้พยายามอางสิทธิ์เหนือหมูเกาะสแปรตลียที่

Page 36: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  39

อุดมสมบูรณไปดวย ไฮโดรคารบอน (Hydrocarbon) เพื่อครอบครองทรัพยากรธรรมชาติใตทองทะเล ความเจริญทางเศรษฐกิจของเวยีดนามที่ตองพึ่งพาการคมนาคมขนสงทางทะเลเปนหลัก ผลประโยชนจํานวนมหาศาลที่เกิดจากกิจกรรมทางทะเล อุตสาหกรรมตอเรือภายในประเทศที่พัฒนาไปอยางรวดเร็ว และปจจุบันไดขยายตัวเปนแหลงตอเรือขนาดใหญอันดับสองของโลกรองจากสาธารณรัฐเกาหลี ส่ิงตางๆ เหลานี้ลวนเปนปจจยัสําคัญที่ทําใหรัฐบาลเวียดนามไมอาจมองขามความสําคัญของทะเลและเลง็เห็นความจําเปนที่จะตองรกัษาไวซ่ึงผลประโยชนเหลานั้น กองทัพเรอืเวียดนาม (Vietnamese People’s Navy) ไดมอบหมายจากรัฐบาลใหทําหนาที่ทั้งการปองกันประเทศและการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล โดยในสวนของการรักษาผลประโยชนฯ นั้น กองทัพเรือไดกําหนดใหกองบังคับการตํารวจทะเล (Marine Police) ซ่ึงเปนหนวยขึ้นตรงกองทัพเรือรับผิดชอบหนาที่นี้โดยตรง ในขณะที่กองทัพเรือจะปฏิบัติหนาที่ปองกันประเทศเปนสําคัญ แตจากการที่รัฐบาลเวียดนามตกลงใจเขาเปนภาคอีนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 และใหสัตยาบันอนุสัญญาฯ เมื่อ 25 มิถุนายน 2537 (ค.ศ. 1994) รัฐบาลจึงตระหนกัถึงความจําเปนที่จะตองจัดตั้งหนวยงานในระดับปฏิบัตกิารเพื่อรับผิดชอบการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลเปนการเฉพาะ โดยมีแนวคิดที่จะพัฒนาศักยภาพของกองบังคับการตํารวจทะเลและยกระดับหนวยใหกลายเปนหนวยยามฝง (Coast Guard) แยกออกจากกองทัพเรือ ขึ้นการบังคับบัญชาโดยตรงกับกระทรวงกลาโหม มีหนาที่รักษาผลประโยชนของชาตทิางทะเลรวมกับหนวยงานอ่ืน เชน ศุลกากร (Customs) และกองกําลังปองกันชายแดน (Border Defense Force) ปรารถนาจะเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารจัดการทะเล ทั้งนี้เพื่อธํารงไวซ่ึงอํานาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย ความมั่นคง และความสงบเรียบรอยแหงรัฐ ภายในขอบเขตพื้นที่ทางทะเลและเขตไหลทวีปของประเทศ แตอยางไรก็ตามพระราชกฤษฎีกาฯ กําหนดใหหนวยยามฝงใชชื่อภาษาอังกฤษวา “Marine Police” แทนชือ่ “Coast Guard” ในคําสั่งประธานาธิบดีฯ (กระทรวงการตางประเทศ, 2553 ค; Wikipedia, 2010 B; CIA – The World Fact book, 2010 A; Baerwald, & Fraser, 2007, pp. 709-710). 1. ภารกิจ หนวยยามฝงเวยีดนามมีหนาที่ธํารงไวซ่ึงความมั่นคง ความสงบเรียบรอยและความปลอดภยั ซ่ึงหมายรวมถึงการบังคับใชกฎหมายภายในประเทศ ระเบียบขอบังคบัตามอนุสัญญาหรือขอตกลงระหวางประเทศที่เวยีดนามเปนภาคี ภายในขอบเขตพื้นที่ทางทะเลและเขตไหลทวีปของเวียดนาม เพื่อรักษาสิทธิในการใชประโยชนจากทะเลและตอบสนองตอภัยคุกคามทางทะเลในพืน้ที่รับผิดชอบ โดยแบงเปนกิจตาง ๆ ไดดงันี ้(สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ, 2553 ข) 1.1 ปกปองอธิปไตยและทรัพยากรของชาติทางทะเล 1.2 รักษาความสงบเรียบรอยในพื้นที่รับผิดชอบ

Page 37: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  40

1.3 ปองกันและปราบปรามการกระทําผิดกฎหมายในทะเล เชน การลําเลียงยาเสพติด การกระทําอันเปนโจรสลัด การปลนสะดม การกอการราย การคามนุษย การลักลอบนําเขาสินคาหนีภาษี การลาํเลียงอาวุธสงคราม และการหลบหนีเขาเมอืงโดยผิดกฎหมาย 1.4 ปองกันมลภาวะและรกัษาสิ่งแวดลอมทางทะเล 1.5 มีสวนรวมในการคนหา ชวยเหลือ และบรรเทาสาธารณภยัทางทะเล 1.6 รวมรวม วเิคราะห และเผยแพรขอมูลขาวสารทางทะเลแกประชาชนและหนวยงานทีเ่กีย่วของ 1.7 ประสานความรวมมือกับหนวยงานในประเทศ และแสวงความรวมมือกับหนวยงานตางประเทศเพื่อรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล 2. พื้นที่รับผิดชอบ ประเทศเวียดนามมีชายฝงทะเลยาว 3,444 กิโลเมตร มีพื้นที่ทางบกประมาณ 331,210 ตารางกิโลเมตร ในขณะที่พื้นที่ทางทะเล (รวมเขตไหลทวีป) ใหญกวาพืน้ที่ทางบกประมาณ 3 เทา ครอบคลุมพื้นที่กวา 1,000,000 ตารางกิโลเมตร

ภาพที่ 9 พื้นที่รับผิดชอบทางทะเลของเวยีดนาม

3. การจัดสวนราชการ หนวยยามฝงเวียดนามมีนายทหารยศพลโท (พลเรือโท) เปนผูบังคับบัญชาหนวย มีการจดัสวนราชการภายในตามสายงานฝายอํานวยการ ฝายสนบัสนุน และฝายปฏิบัติการเหมือนสวนราชการทั่วไป เชน มีกองการสงกําลังบํารุง กองการขาว กองการส่ิงแวดลอม กองการกฎหมาย กองการวิเทศนสัมพันธ และกองกําลังปราบปรามยาเสพติด เปนตน

Page 38: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  41

โดยกอนหนานี้หนวยยามฝงมีกองบัญชาการตั้งอยูที่เมือง ไฮฟอง (Hai Phong) แตภายหลังไดยายมาที่ทําการแหงใหม ณ กรุง ฮานอย (Hanoi)

Maritime, EnvironmentalProtec& Res

Div

2 Units of Reconnaissance

N0.1- 2

Legislation Div

PersonnelDivStaff Div Logistics

DivTechnical

Div

Admin Div

Reconnaissance Div

Anti Drug Crimes Div

Int’l Relations

Div

4 Task Forces of Anti Drug Crimes

No.1-4

Marine PoliceRegions

(1, 3, 4, 5)

Divisions, Units, Strike Teams, Marine Police Stations, Regional Stations of Maritime, Rescue, Environment Protection

Fleets

Vessels

VIETNAM MARINE POLICE

Financial Div

Maritime, EnvironmentalProtec& Res

Div

2 Units of Reconnaissance

N0.1- 2

Legislation Div

PersonnelDivStaff Div Logistics

DivTechnical

Div

Admin Div

Reconnaissance Div

Anti Drug Crimes Div

Int’l Relations

Div

4 Task Forces of Anti Drug Crimes

No.1-4

Marine PoliceRegions

(1, 3, 4, 5)

Divisions, Units, Strike Teams, Marine Police Stations, Regional Stations of Maritime, Rescue, Environment Protection

Fleets

Vessels

VIETNAM MARINE POLICE

Financial Div

ภาพที่ 10 การจัดสวนราชการตํารวจน้ําเวียดนาม

หนวยยามฝงแบงพื้นที่ปฏิบัติการออกเปน 4 ภาค (Phu, Colonel, 2008, p.5). ไดแก Regional Command No.1 - มีกองบัญชาการภาคตั้งอยูที่เมือง Hai Phong Regional Command No.3 - มีกองบัญชาการภาคตั้งอยูที่เมือง Quang Ngai Regional Command No.4 - มีกองบัญชาการภาคตั้งอยูที่เมือง Vung Tau Regional Command No.5 - มีกองบัญชาการภาคตั้งอยูที่เมือง Ca Mau 4. กําลังพลและยุทโธปกรณ หนวยงานนี้มกีําลังพลประมาณ 2,000 นาย ประกอบดวย 2 สวนหลัก ไดแก เจาหนาที่ฝายปฏิบัติการซึ่งสวนใหญยายโอนมาจากกองทัพเรือหรือสถาบันทางทะเลอื่น ๆ และเจาหนาที่ฝายกฎหมายที่สวนใหญยายโอนมาจากตํารวจบกหรือหนวยงานความมั่นคงอ่ืน ๆ ซ่ึงในปจจุบันกําลังจะขยายอัตราบุคลากรเพื่อรองรับงานที่มากขึ้นตามลําดับ โดยยทุโธปกรณที่มีอยูนั้น ยังไมเพียงพอตอภารกิจที่ไดรับเมื่อเปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ปฏิบัติการ (สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ, 2553 ข) 5. แนวความคดิในการปฏิบัติ หนวยงานนีม้ีอํานาจในการสืบสวนหาผูกระทําผิด ตรวจคน จับกุม สอบสวน สงฟอง ไลตามติดพันผูตองสงสัย ใชอาวุธในกรณีจําเปน รวมทั้งประสานหนวยงานทีเ่กีย่วของในการระดมบุคลากรตลอดจนยานพาหนะเพื่อชวยปฏิบัติภารกจิใหลุลวง โดยมีอํานาจควบคมุตัวผูตองสงสัยเพื่อการสอบสวนเบื้องตนได 20 วัน แตถาเปนคดีที่อยูนอกเหนือขอบเขตแหงอาํนาจหนวย จะตองสงตัวผูตองสงสัยใหเจาพนักงานทีเ่กีย่วของภายใน 7 วัน 6. ความรวมมอื ถึงแมวาจะแยกตวัออกมาจากกองทัพเรือแลว แตหนวยยามฝงยังคงตอง

Page 39: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  42

อาศัยความรวมมืออยางใกลชิดกับกองทัพเรืออยู เชน การขอรับการสนับสนุนทาเรอืและสิ่งอํานวยความสะดวก ซ่ึงในปจจุบนัหนวยยามฝงกาํลังดําเนินการสรางทาเรือตามแผนแมบท ทาเรือของเวียดนามที่จะกระจายทาเรือหนวยยามฝงใหครอบคลุมพื้นที่ปฏิบัติการ นอกจากนี้กองทัพเรือจะยังคงสนับสนนุการจับกุมและสงมอบผูตองสงสัยใหหนวยยามฝงดําเนินการตอไป ในสวนของการคนหาและชวยเหลือผูประสบภัยนัน้ หนวยยามฝงจะมีหนาที่ชวยเหลือการดําเนนิงานของกระทรวงคมนาคมที่รับมอบหนาที่นี้โดยตรง โดยจะจัดเตรียมกําลังพลและยุทโธปกรณใหพรอมสนับสนุนเมื่อไดรับการรองขอ หนวยยามฝงเวยีดนามมีเปาหมายทีจ่ะขยายความรวมมือกับหนวยยามฝงตางประเทศ โดยที่ผานมาไดจัดใหมีการลาดตระเวนทางทะเลรวมกับประเทศจีนและกัมพูชา ไดลงนามในบนัทึกความเขาใจรวมกับหนวยยามฝงเกาหลีเมื่อตุลาคม 2550 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ปฏิบัติการรวมกนัในการปองกนัและปราบปรามอาชญากรรมขามชาติ ตลอดจนคนหาและชวยเหลือเรือประมงที่ประสบอุบัติภัย นอกจากนี้ยังทําหนาที่เปนจดุสําคัญ (Focal Point) ในการประสานงานกบั Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia (ReCAAP) ที่จัดตั้งศูนยแลกเปลี่ยนขอมลูขาวสารในประเทศสิงคโปรอีกดวย (Tuan, 2008, p.9) 7. ผลการดําเนนิงานและแนวทางการพัฒนา ในหวงเวลากวา 12 ปที่ผานมา หนวยยามฝงไดดําเนินการตรวจคนเรือตองสงสัยรวมทั้งสิ้น 6,582 ลํา ดําเนินคดีผูกระทําความผิดซ่ึงสวนใหญเกี่ยวของกับยาเสพติดและการทําประมงผิดกฎหมาย 2,769 คดี ประสานงานกับสํานกังานตํารวจแหงชาติ (National Police) ในการสืบสวนและปราบปรามขบวนการคายาเสพติดที่เปนผลใหเกดิการจับกุมผูกระทําความผิด 247 คน และชวยเหลือเรือประมงที่ถูกปลนสะดมอีกจํานวนหนึ่ง นอกจากนี้ยังไดเผยแพรความรูเกี่ยวกับกฎหมายทะเลใหแกชาวประมงและผูที่ใชประโยชนจากทะเลอีกดวย หนวยยามฝงจะเปลี่ยนเครื่องแบบจากสีฟาเปนสีขาวภายในตนป 53 และมีแนวความคิดที่จะแยกหนวยออกจากกระทรวงกลาโหมในอนาคต โดยจะจัดตั้งเปนหนวยงานพลเรือน แบงแยกงานกับกองทัพเรือและตาํรวจบกอยางชัดเจน โดยกองทัพเรือจะทําหนาที่ปองกนัประเทศทางทะเล ตํารวจบกดูแลรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางบก และหนวยยามฝงดูแลรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเล และเพื่อใหตอบสนองตอภัยคุกคามที่ซับซอนและทวีความรุนแรง หนวยยามฝงไดส่ังตอเรือตรวจการณขนาดเล็กภายในประเทศเพิ่มขึ้นอีกจํานวนหนึ่ง รวมทั้งยังไดรับอนุมัติจากรัฐบาล (Swedish Space Cooperation, 2009) ในการจัดหาเรือขจัดคราบน้ํามัน และเครื่องบินลาดตระเวนตรวจการณ CASA C 212 - 400 จากประเทศสเปนจํานวน 3 ลํา พรอมระบบตรวจการณทะเล MS 6000 จากประเทศสวีเดน โดยขอมูลตางๆ ที่ไดจากอุปกรณตรวจการณไมวาจะเปนจาก ดานการคนหาเรดาหทางอากาศ (Side Looking Airborne Radar) ภาพนิ่งและภาพวิดีโอ

Page 40: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  43

(Still and Video Camera), ระบบการะบุอัตโนมัต (Automatic Identification System) เครื่องสแกน อินฟาเรตหรืออุลตราไวโอเล็ต (IR/UV Scanner) และ ระบบ FLIR (Forward Looking Infrared) จะถูกสงกลับไปยังศูนยปฏิบัตกิารหนวยยามฝงแบบระบบเวลาจริง(Real Time) ผานการสื่อสารระบบดาวเทียมหรือคล่ืนวิทยุ HF นอกจากนี้หนวยยามฝงยังมีโครงการจัดหาเฮลิคอปเตอรและเครื่องบนิที่สามารถจอดบนน้ําเพื่อนํามาใชปฏิบัตกิารรวมกับเรือขนาดใหญทีจ่ะจดัหาเพิ่มเติมในอนาคต

คุณลักษณะของหนวยยามฝงเพื่อนําไปสูตัวแบบองคกรรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเล  ในการศึกษาตวัแบบองคกรหรือหนวยยามฝงของอาเซียนนัน้ จําเปนที่จะตองศึกษาสิ่งทาทายทางทะเล (Maritime Challenges) ควบคูไปกับแนวคดิในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล (National Interests: Concept of Maritime Operations) ของประเทศในอาเซียนนั้นดวย จึงจําเปนตองสํารวจขอมูลหนวยงานที่เกีย่วของกับการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลโดยเฉพาะอยางยิ่งหนวยยามฝง โดยพจิารณาเฉพาะแนวความคดิในการจัดตั้งหนวยงานที่มีความแตกตางกัน 4 ประเทศ คือ ไทย (ศูนยประสานผลประโยชนของชาติทางทะเล และมแีนวคิดจัดตั้งหนวยยามฝงในอนาคต) มาเลเซีย (Malaysian Maritime Enforcement Agency) ฟลิปปนส (Philippines Coast Guard) และเวยีดนาม (Vietnam Marine Police) บนพื้นฐานของการไดรับการยอมรับในความสําเร็จ ตําบลที่ตั้งทางภูมิศาสตร ปญหาภยัคุกคามทางทะเล ขอบเขตพื้นที่รับผิดชอบ โครงสราง การจัดหนวยปฏิบัติงานในทะเล กฎหมายและการบังคับใชกฎหมาย และอ่ืน ๆ ที่จะสามารถนํามาประยุกตใชเปนตัวแบบองคกรรักษาความมั่นคงปลอดภยัทางทะเล จากนั้นจึงทาํการศึกษาในเชิงลึก วิเคราะหเปรียบเทียบขอมูลโดยมุงประเด็นไปที่ภารกิจ หนาที่ รูปแบบและโครงสรางของหนวยยามฝงโดยทั่วไป1 เพื่อนํามาใชประกอบการพจิารณากําหนดตวัแบบองคกรรกัษาความมัน่คงปลอดภัยทางทะเลอาเซียนตอไป ทั้งนีข้อมูลบางสวนไดจากการศกึษาหนวยยามฝงแมแบบที่ประสบความสําเร็จและรูปแบบหนวยยามฝงที่แตกตางกัน เชน หนวยยามฝงของ สหรัฐฯ ญี่ปุน เกาหลี ออสเตรเลีย อินเดียเปนขอมลูประกอบการศึกษาดวย โดยมีรายละเอยีดดังนี ้ 1. ส่ิงทาทายทางทะเล  ดวยคุณลักษณะที่มีความกวางใหญ ไพศาล ล้ีลับ ซับซอน ยากที่จะรูลึก และหยั่งถึงสภาวการณตาง ๆ ทะเลจึงมกัถูกมองวาเปนปจจยัภายนอกที่ไมอาจควบคุมได และเมื่อวิเคราะห

                                                            1 ภารกิจและหนาที่ของหนวยยามฝงโดยมากจะสะทอนใหเห็นถึงสิ่งทาทายทางทะเลในรูปแบบของภัย

คุกคามและโอกาส ในขณะที่รูปแบบและโครงสรางการจัดหนวยจะเปนองคประกอบสําคัญในการพิจารณากําหนดรูปแบบและโครงสรางของหนวยยามฝง

Page 41: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  44

ความแปรปรวนของทะเลรวมกับปจจยัภายนอกอื่น ๆ เชน ความพยายามของผูกระทําผิดกฎหมาย ภัยธรรมชาติ การใหไดมาซึ่งเขตแดนทางทะเลของรัฐตาง ๆ หรือการลงความเห็นในเวทีระหวางประเทศวาทะเลเปนสมบัติรวมกันของมนษุยชาติ ทําใหทะเลไดรับการยอมรับโดยนยัวาเปนสิ่งทาทายเพราะอะไรก็เกิดขึ้นไดในทะเล ซ่ึงโดยทั่วไปแลวส่ิงทาทายทางทะเลไดถูกจําแนกแยกออกเปนสองมิติดวยกนั คือ ภัยคกุคาม (Threats) และโอกาส (Opportunities) ทั้งนี้หากนําสิ่งทาทายทางทะเลทั้งสองมิติไปวิเคราะหรวมกับปจจยัภายในประเทศ ซ่ึงไดแก จุดแข็ง (Strengths) และจุดออน (Weaknesses) จะทําใหประเทศนั้น ๆ สามารถกําหนดแนวคิดในการรกัษาผลประโยชนของชาติทางทะเลและยุทธศาสตรทะเล (Maritime Strategy) ตอไปได โดยภาพรวมแลวภัยคกุคามตอผลประโยชนของชาติทางทะเลของประเทศตาง ๆ ในอาเซียนจะคลายกัน ไมวาจะเปนเรื่องอํานาจอธิปไตย สิทธิอธิปไตย ความมั่นคง หรือความปลอดภยัในชีวิตและทรัพยสิน จะมีความแตกตางกนัไปกเ็พยีงแตลําดับความสําคัญของปญหา ที่มีลักษณะเฉพาะแปรผันไปตามปจจัยแวดลอมทางภูมิประเทศ การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการทหารของประเทศนั้น ทะเลเปนสมบัติที่ตองหวงแหน เพราะประจกัษดีวาการคมนาคมขนสงทางทะเลเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหการพัฒนาประเทศเปนไปอยางรวดเร็ว บุคลากรที่ทํางานในทะเลมีคณุคาและสมควรไดรับการคุมครองและชวยเหลือเมื่อประสบภัย ซ่ึงยังหมายรวมถึงประชาชนผูเสียภาษีทัว่ไปที่แสวงหาความสาํราญจากทะเลอีกดวย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนคนใชทะเล อยางไรกต็ามประเทศสวนใหญตางเริม่กําหนดมาตรการเพื่อคุมครองมนุษยใหปลอดภยัจากทะเลดวยการจัดตั้งหนวยงานคนหาและชวยเหลือผูประสบภัย การจัดตั้งศูนยเตือนภัยทางทะเล ฯลฯ และเพื่อปองกันทะเลใหปลอดภยัจากน้ํามือมนุษยดวยเชนกัน ไมวาจะเปนการเตรียมพรอมในการขจดัคราบน้ํามัน หรือการออกกฎหมายควบคุมมลพิษทางทะเล เปนตน นอกจากนีแ้ลวความสงบเรียบรอยในทะเลก็กลายเปนประเด็นที่ทกุประเทศใหความสําคัญ และเล็งเห็นถึงความจําเปนในการบังคับใชกฎหมายเพื่อใหการแสวงประโยชนจากทะเลเปนไปอยางเสรีและปลอดภัย ภายใตกฎระเบยีบทีไ่ดรับการยอมรับจากทุกภาคสวน และในทายที่สุดหากการแสวงประโยชนจากทะเลเกดิเหตกุารณกระทบกระทั่ง บานปลายจนกลายเปนความขัดแยงระหวางประเทศ คูกรณีอาจตัดสินใจใชกําลังทหารเขาแกไขปญหา จึงเปนหนาที่ของรัฐบาลที่จะตองจดัเตรียมความกําลังทหารไวสําหรับการปองกันประเทศดวยเชนกนั ในขณะเดยีวกนัโอกาสในการแสวงประโยชนจากทะเลก็เปนสิ่งที่หลายประเทศในอาเซียน โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาทะเลและที่ประกาศตนวาเปนชาติทะเล (Maritime Nations) ตางใหความสําคญั เพราะทะเลจะชวยเสริมสรางใหประเทศชาติมีความมัน่คงและมั่งคั่งมากยิ่งขึ้น โอกาสเหลานีม้ักปรากฏใหเห็นในรูปของกิจกรรมตาง ๆ ที่ภาครัฐจัดขึ้น เชน การใหความรูแก

Page 42: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  45

ประชาชนเกีย่วกับผลประโยชนของชาติทางทะเล (Maritime Domain Awareness) การสงเสริมใหเกิดการแสวงประโยชนจากทะเลอยางเปนรูปธรรม (Promotion of Maritime Resources Exploitation) หรือการประสานความรวมมอืระหวางประเทศ (International Cooperation) ซ่ึงการดําเนินการดังกลาวเปนการดําเนินงานเชิงรุก (Pro-active) เพื่อหวังผล ทั้งในการปองกันและตอบสนองตอภัยคุกคาม อีกทั้งยังชวยกระชับความสัมพนัธ เสริมสรางความเขาใจ และกอใหเกิดความปรารถนาที่จะรวมแสวงประโยชนจากทะเลตอไป ยกตวัอยางเชน การกําหนดพื้นที่พัฒนารวม (Joint Development Area) แทนการกาํหนดเขตปลอดทหาร (Demilitarized Zone) ที่ทั้งสองฝายไมไดประโยชนดานเศรษฐกจิอะไรจากทะเล แนนอนวาการแสวงโอกาสในการชวงชิงทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจํากัดของประเทศหนึ่ง อาจถูกประเมนิวาเปนภยัคุกคามตอผลประโยชนของอีกประเทศหนึ่งหรืออีกหลายประเทศไดเชนกัน ไมวาจะเปนการอางสิทธิ์ในทะเลที่ไมสอดคลองกับกรอบของกฎหมายระหวางประเทศ หรือการทําประมงที่ผิดกฎหมาย ไมรายงานและไรการควบคมุ (Illegal Unreported and Unregulated Fishing) เปนตน ซ่ึงที่กลาวมาแลวขางตนชีใ้หเห็นวาสิ่งทาทายทางทะเลในมิติของภัยคุกคามและโอกาสของแตละประเทศ เมื่อนาํมาพิจารณารวมกับศักยภาพหรือขีดความสามารถ (Potential or Capability) ผสมผสานกับนโยบายหรือความตั้งใจ (Policy or Intention) ของประเทศ จะทําใหทราบนัยของกรอบแนวคดิในการรักษาผลประโยชนของชาตทิางทะเลของประเทศนั้น ซ่ึงมักปรากฏในรปูแบบของกิจกรรมตาง ๆ ในทะเล 2. กิจกรรมในทะเล  “หากตองการทราบทิศทางของรัฐเกี่ยวกับทะเลวาเปนเชนไร ใหไปศึกษาที่นโยบายทะเลหรือยุทธศาสตรทะเล แตหากตองการทราบวาประชาชนคาดหวังอะไรจากรัฐเกีย่วกบัทะเล ใหไปศึกษาที่ภารกิจของหนวยปฏิบัติงานในทะเล” คงเปนคํากลาวที่ไมผิดจากความเปนจรงิมากนัก ซ่ึงเมื่อพิจารณาดกูิจกรรมตางๆ ของหนวยงานที่เกีย่วของกบัการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล โดยเฉพาะอยางยิ่งของหนวยยามฝงแลว พบวามีมากมายหลายประการ ที่สําคัญ ไดแก การคนหาและชวยเหลือผูประสบภัย (Search and Rescue) การบรรเทาสาธารณภยั (Disaster Relief) การ เตือนภยั (Emergency Warning) การดูแลสิง่แวดลอม (Environmental Monitoring) การขจัดคราบน้ํามัน (Oil Spill Response) การดูแลเครื่องชวยในการเดนิเรือ (Maintenance of Aids to Navigation) การบังคับใชกฎหมายประมง (Fishing Law Enforcement) การรักษาเสนทางคมนาคมทางทะเล (Protection of Sea Lines of Communication) การปองกนันําเขา/สงออกบุคคลและสินคาโดยผิดกฎหมาย (Prevention of Human and Goods Smuggling) การปองกันและปราบปรามยาเสพติด (Drug Interdiction) การปองกันอาชญากรรมในทะเลและอาชญากรรมขามชาติ (Suppression of

Page 43: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  46

Maritime Crimes and Transnational Crimes) การปราบปรามโจรสลัด (Suppression of Piracy) การปองกันการแพรกระจายของอาวุธอํานาจทําลายลางสูง (Prevention of WMD Proliferation) การรักษาความปลอดภัยทาเรือ (Port Security) การตอตานการกอการราย (Counter-terrorism) การ ปกปนเขตแดน/ แบงเขตแดน (Border Demarcation) และการปฏิบัติการทางทหาร (Military Operation) เปนตน ในขณะเดียวกันประเทศ ที่ไมมีหนวยยามฝงก็ไดแบงมอบกิจกรรมตาง ๆ เหลานี้ใหกับหนวยงานอืน่ เชน กองทัพเรอื กองบังคับการตํารวจน้ํา กรมประมง กรมเจาทา หรือกรมศุลกากรไปดําเนินการตามความเหมาะสม ซ่ึงเมื่อนํากิจกรรมตาง ๆ ขางตนมาจัดกลุมตามเปาหมายของกิจกรรมทางทะเลแลว1 สามารถแบงได 5 เปาหมายดวยกนั คือ 1. การรักษาความปลอดภยัในทะเล (Maritime Safety) ซ่ึงในสวนนี้จะเกี่ยวของโดยตรงกับการชวยเหลือชีวิตและทรัพยสินของประชาชน จึงเปนงานที่ภาครัฐจะตองจดัเตรียมไวเพื่อตอบสนองตอความตองการของประชาชน และใหเปนไปตามขอตกลงระหวางประเทศที่ประเทศนั้นเปนภาค ี 2. การปกปองทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล (Protection of Maritime Natural Resources) เปนการดแูลและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไมมีชีวิตในทะเล ซ่ึงเปนแรงบังคับมาจากอนุสัญญาสหประชาชาตวิาดวยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (United Nations Convention on the Law of the Sea 1982) ซ่ึงใหสิทธิอธิปไตยเหนือเขตเศรษฐกิจจําเพาะแกรัฐชายฝง ทําใหประเทศ ตาง ๆ ออกมาตรการเพื่อดูแลพื้นที่ที่ไดรับสิทธิ์ ซ่ึงงานในดานนี้อาจหมายรวมถึงการดูแลและอนุรักษส่ิงแวดลอมทางทะเลดวย 3. การควบคุมการสัญจรทางทะเล (Maritime Mobility) เปนการดูแลเสนทางคมนาคมทางทะเลใหมคีวามปลอดภยั ทั้งโดยการออกกฎระเบยีบที่เกี่ยวของเพือ่ความปลอดภัยในการเดินเรือ เชน การออกใบอนญุาตเดินเรือ การออกใบอนญุาตตอเรือ และการจัดทําทุนหมายเขตเดินเรือ เปนตน โดยในบางประเทศ เชน ญี่ปุน การควบคุมการสัญจรในทะเลไดหมายรวมถึงการคุมครองเสนทางคมนาคมทางทะเลในยามปกติอีกดวย 4. การรักษาความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security) เปนการดําเนินงานเพื่อใหเกดิ

                                                            1 เดิมทีหนวยยามฝงสหรัฐฯ ซึ่งถือวาเปนตนแบบของหนวยยามฝง ไดจําแนกภารกิจเปน 5 กลุมตาม

เปาหมาย (Goals) ประกอบดวย Maritime Safety, Protection of Maritime Natural Resources, Maritime Mobility, Maritime Security และ National Defense จนกลายเปนแนวทางการจัดกลุมภารกิจของหนวยยามฝงประเทศตางๆ อยางแพรหลาย ถึงแมวาในปจจุบันหนวยยามฝงสหรัฐฯ จะจําแนกภารกิจใหมเปน 3 กลุมตามบทบาท (Roles) อันไดแก Maritime Safety, Maritime Security และ Maritime Stewardship เพื่อใหสอดคลองกับยุทธศาสตรฉบับใหม แตยังไมไดรับความนิยม

Page 44: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  47

ความสงบเรียบรอยภายในประเทศ ไดแก การบังคับใชกฎหมายทะเล การปองกันปญหาที่จะเขามาในประเทศในสวนที่เกีย่วของกับความมั่นคงภายใน การตอตานการกอการราย และการปราบปรามโจรสลัด เปนตน 5. การปองกันประเทศ (National Defense) เปนการจัดเตรียมกําลังทางเรือและการใชกําลังทางเรือ เพื่อธํารงไวซ่ึงอธิปไตยของชาติทางทะเล ซ่ึงโดยทั่วไปแลวเปนภารกิจหลักที่มอบใหกองทัพเรือดําเนินการ สวนหนวยปฏิบัติงานอื่น ๆ ในทะเล จะทําหนาทีเ่ปนหนวยสนบัสนุนในยามสถานการณไมปกต ิ

ภาพที่ 11 กิจกรรมในทะเล (US. Coast Guard, 2009)

ถึงแมวาในหลาย ๆ ประเทศจะไมไดกําหนดกิจกรรมดานการเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศ หรือการสนับสนุนการประมงนอกนานน้ําใหกับหนวยยามฝง ไวเปนลายลักษณอักษรเหมือนประเทศญี่ปุนหรือเกาหลีใต แตในทางปฏบิัติหนวยยามฝงของประเทศนั้นก็ปฏิบัติเชนเดยีวกัน หรืออยางกรณีทีป่ระเทศสหรัฐฯ หรือญ่ีปุนจดัสงเรือและอากาศยานของหนวยยามฝงซ่ึงมีภาพลักษณเปนหนวยงานบังคับใชกฎหมายไปตามภมูิภาคตาง ๆ โดยอางวาเพื่อเปนการคุมครองผลประโยชนของชาติไมใชการแสดงกําลังทหาร ในขณะที่หลายฝายมองวาเปนภยัคุกคาม เปนตน ซ่ึงผลจากการศึกษากิจกรรมในทะเลดังกลาว ทําใหทราบวากิจกรรมของหนวยงานรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล สวนมากจะเกดิจากแรงบังคับดานภยัคุกคามมากกวาแรงขับดานโอกาส และมคีวามแตกตางกันไปตามแนวคิดในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลของแตละประเทศ 3.แนวคดิในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล 

Page 45: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  48

จากขอเท็จจริงที่วาพื้นผิวโลกกวารอยละ 70 ปกคลุมไปดวยน้ํา จึงไมใชเรื่องแปลกที่ประเทศตาง ๆ ในโลกกวา 240 ประเทศ จะมีประเทศถึง 194 ประเทศ หรือประมาณรอยละ 80 ของประเทศทั้งหมด มีอาณาเขตติดทะเล เมื่อสํารวจขอมูลเกี่ยวกับการปกปองและแสวงประโยชนจากทะเลของประเทศตาง ๆ ในเชิงกวางแลว พบวา แตละประเทศทั้งที่มีและไมมีพรมแดนติดทะเล ตางมีแนวคิดในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลและการจัดองคกรปฏิบัติงานในทะเลแตกตางกัน บางประเทศไมมีแมกระทั่งกองทัพเรือหรือหนวยปฏิบัติงานในทะเลเลย เพราะยังคงพึ่งพิงประเทศมหาอํานาจในการดูแลผลประโยชนของตน บางประเทศมีกองทัพเรือเพียงอยางเดียว บางประเทศมีหนวยยามฝงเพียงอยางเดียว บางประเทศมีหนวยปฏิบัติงานในทะเลหลายหนวย เชน กองบังคับการตํารวจน้ํา กรมศุลกากร กรมประมง กรมเจาทา แตไมมีหนวยยามฝง บางประเทศมีกองทัพเรือ หนวยยามฝง และหนวยปฏิบัติงานในทะเลอื่นทํางานรวมกันแบบหลวม ๆ บางประเทศใหหนวยปฏิบัติงานที่เกี่ยวของขึ้นการควบคุมทางยุทธการกับศูนยประสานงานทางทะเล บางประเทศจัดตั้งหนวยยามฝงสังกัดกองทัพเรือ บางประเทศมีหนวยยามฝงแตไมมีบทบาทสําคัญมากนัก และบางประเทศมีหนวยงานที่ทําหนาที่คลายกับหนวยยามฝงแตไมไดมีชื่อเรียกวาหนวยยามฝง1 เปนตน (Paleri, 2009 a, pp. 115, 190-192)

สําหรับอีกตัวอยางหนึ่งทีน่าสนใจคือยุทธศาสตรความมั่นคงแหงชาตทิางทะเลของสหรัฐฯ ป ค.ศ.2005 ซ่ึงมีที่มาจากนโยบายความมั่นคงทางทะเล NATIONAL SECURITY PRESIDENTIAL DIRECTIVE NSPD-41 ที่ออกโดยประธานาธิบดี เมือ่ 21 ธ.ค. 2004 และไดออกยุทธศาสตรความมั่นคงทางทะเล (The National Strategy for Maritime Security, 2005) เมื่อ กันยายน ค.ศ. 2005 โดยใหกระทรวงที่เกีย่วของนํายุทธศาสตรนี้ไปพัฒนาจัดทําแผนแมบทอีก 8 แผนตามสภาวะแวดลอมเฉพาะดานของภัยคุกคามและสิ่งทาทายทางทะเล และใหแตละแผนสามารถสอดประสานการปฏิบัติของหนวยงานรวมกันได ซ่ึงประกอบดวย National Plan to Achieve Domain Awareness แผนแหงชาติเพื่อใหบรรลุความตระหนักถึงผลประโยชนของชาติทางทะเล Global Maritime Intelligence Integration Plan แผนบูรณาการการขาวทางทะเลของโลก Interim Maritime Operational Threat Response Plan แผนปฏิบัติการตอบสนองภัยคุกคามทางทะเล International Outreach and Coordination Strategy Outreach ยุทธศาสตรการประสานงานและการเชื่อมตอขยายงานทางทะเลนานาชาติ                                                             

1 มีการศึกษาพบวาจากประเทศที่มีหนวยยามฝง 142 ประเทศ หนวยยามฝงมีช่ือเรียกแตกตางกันไปถึง 40 ช่ือ ขึ้นการบังคับบัญชากับกระทรวง ทบวง กรมที่แตกตางกันไปถึง 21 สังกัด.

Page 46: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  49

Maritime Infrastructure Recovery Plan แผนการกูคืนโครงสรางพื้นฐานทางทะเล Maritime Transportation System Security Plan แผนการรักษาความปลอดภัยของระบบขนสงทางทะเล Maritime Commerce Security Plan แผนการรักษาความปลอดภัยพาณชิยนาว ี Domestic Outreach Plan แผนการเชื่อมตอขยายงานทางทะเลภายในประเทศ

ภาพที่ 12 ลักษณะการจัดหนวยปฏิบัติงานในทะเล (สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาต,ิ 2553 ค)

กลาวโดยสรุป คือ แนวคิดในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลและการจดัตั้งองคกรเพื่อการนั้น ไมมีสูตรสําเร็จตายตัววาควรเปนอยางไร แตละประเทศตางมีแนวทางการดําเนินการที่หลากหลายตามเหตุผลและความจําเปนของประเทศนั้น เฉกเชนเดยีวกบัการจัดตั้งหนวยยามฝงที่ตองพิจารณาใหถ่ีถวนวาจะใหหนวยงานนีอ้ยูในบริบทใดของสิ่งทาทายทางทะเลและแนวคิดทีก่ลาวมาแลวขางตน จึงจําเปนอยางยิ่งทีจ่ะตองศึกษาใหทราบวา หนวยยามฝงของประเทศตาง ๆ และที่สําคัญเมื่อเปรียบเทียบกับหนวยงานทางทะเลของไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส และเวียดนาม วามีภารกจิ รูปแบบ และโครงสรางการจัดหนวยอยางไร เพื่อจะไดนํามาเปนตัวแบบองคกรรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลอาเซียนตอไป 4. ภารกิจของหนวยยามฝง  ภารกิจของหนวยยามฝงแตละประเทศในอาเซียน จะมีความแตกตางกันไปตามหลักการและเหตุผล ซ่ึงมีความเกีย่วของโดยตรงกบัผลประโยชนของชาติทางทะเล ส่ิงทาทายทางทะเล และแนวคดิในการรกัษาผลประโยชนของชาตทิางทะเลของประเทศนั้น สําหรับประเทศที่มองเห็นความสําคัญของทะเล เชน หนวยยามฝงฟลิปปนส ไดมอบภารกิจใหหนวยยามฝงคอนขางมาก ไดแก การคนหาและชวยเหลือผูประสบภัยในทะเล การรักษาความสงบเรียบรอยในทะเล การปกปองทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางทะเล การควบคุมการสัญจรทางทะเล การเปด/ปดสะพาน การออกใบอนุญาตเดินเรือ การสํารวจสมุทรศาสตร การปองกันประเทศในยามสงคราม และการ

Page 47: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  50

ประสานความรวมมือระหวางประเทศ นับวาครบ 5 เปาหมายตามกิจกรรมในทะเลทีไ่ดกลาวไวแลวขางตน ในขณะที่หนวยยามฝงที่มองความสําคัญของทะเลนอยลงมา เชน ไทย ไดรับมอบภารกิจใหดูแลงานในสัดสวนที่นอยลงมา สวนประเทศมาเลเซียและเวยีดนาม มีการจัดตั้งหนวยงานที่มีช่ือวา Malaysian Maritime Enforcement Agency และ Vietnam Marine Police ทําหนาที่เสมอืนเปนหนวยยามฝงของประเทศ ซ่ึงเมื่อนาํภารกิจของหนวยยามฝงมาวิเคราะหพบวาหนวยยามฝงสวนใหญมีหนาที่ ดังนี ้

ภาพที่ 13 ภารกิจของหนวยยามฝง (สํานักงานสภาความมัน่คงแหงชาติ, 2553 ค)

4.1 ภารกิจหลัก ไดแก การรกัษาความสงบเรียบรอยในทะเล การปกปองทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล และการชวยเหลือผูประสบภัยในทะเล 4.2 ภารกิจรอง ไดแก การควบคุมการสัญจรทางทะเล การสนับสนุนการปองกันประเทศ และกิจอื่น ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย อยางไรก็ตามจะสังเกตไดวา หนวยยามฝงหลายประเทศจะไมไดรับมอบภารกิจดานการควบคุมการสัญจรทางทะเล ทั้งนี้อาจเปนเพราะประเทศเหลานั้นเปนประเทศขนาดเลก็ และมีขอจํากัดหลายประการ เชน งบประมาณ บคุลากร และเทคโนโลยี งานในดานนีจ้ึงมอบหมายใหกองทัพเรือของประเทศนั้นไปดําเนินการเนื่องจากมีความพรอมกวา และที่สําคัญมีความเกีย่วเนื่องกับความมั่นคงของประเทศ อยางไรก็ตามประเทศที่มีความพรอม และเล็งเห็นความสาํคัญและความตอเนื่องในการดําเนินงานเพือ่รักษาผลประโยชนของชาตทิางทะเลอยางสหรัฐฯ ญี่ปุน จะมอบภารกิจดานการควบคุมการสัญจรทางทะเลใหหนวยยามฝงรับผิดชอบดวย ขอสังเกตอีกประการหนึ่ง กค็ือ หลายประเทศ เชน สหรัฐฯ อินเดยี กําหนดให หนวยยามฝงมีภารกิจปองกันประเทศดวย ทั้งนี้เปนเพราะหนวยยามฝงของประเทศดังกลาวมีสถานะเปน

Page 48: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  51

หนวยงานทหาร อยางไรก็ตามสําหรับประเทศอื่นในทางปฏิบัติหากเกดิสงครามขึ้นจริงแลว หนวยยามฝงของประเทศนัน้ก็จะตองทําหนาที่สนับสนุนการปองกันประเทศไปโดยปริยาย แตหากมีการกําหนดภารกจินี้ไว จะทําใหการเตรียมความพรอมของหนวยยามฝงมีความชัดเจนขึ้น 5. รูปแบบของหนวยยามฝง  รูปแบบของหนวยยามฝงสามารถแบงไดหลายรูปแบบ โดยอาจจะแบงตามสถานะของหนวย เชน แบบพลเรือน แบบทหาร หรือแบบผสมผสานระหวางพลเรือนและทหาร หรืออาจแบงตามขอบเขตอํานาจหนาที่ เชน เปนหนวยบงัคับใชกฎหมายหรือเปนหนวยรบ เปนตน แตอยางที่กลาวไปแลวขางตนวาการจดัตั้งหนวยยามฝงจะตองพิจารณาดวยวาหนวยงานนี้สมควรอยูในบริบทใดของแนวคิดในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล และจะตองสัมพันธกับหนวยปฏิบัติงานในทะเลอื่น ๆ ที่มีอยูแลว ดังนั้นเพื่อใหการแบงรูปแบบของหนวยยามฝงในการศึกษาครั้งนี้ สามารถนําไปวิเคราะหเปรียบเทยีบขอดีขอเสียไดตามขั้นตอน ทีว่างไว จึงจําแนกรูปแบบการจัดหนวยออกเปน 5 แบบ1 (Till, 2004, pp. 343-345) ดังนี ้

ภาพที่ 14 รูปแบบของหนวยยามฝง (สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาต,ิ 2553 ค)

1. Super Coastguards เปนแนวทางการจัดตั้งหนวยยามฝงของประเทศที่ไมมีกองทัพเรือ มีแตเพยีงหนวยยามฝงหนวยเดียวเทานัน้ทีป่ฏิบัติหนาที่เกือบจะทกุอยางในทะเล ตั้งแตการแสวงประโยชนจากทะเล การชวยเหลือผูประสบภัย การปกปองส่ิงแวดลอม การบังคับใชกฎหมาย รวมไปถึงการปองกันประเทศทางทะเล หนวยยามฝงแบบนี้ถือวาเปนหนวยงานที่ตองรับภาระหนกั เพราะเปนหนวยงานหลักของประเทศที่มีศกัยภาพในการปฏิบัติงานในทะเล หนวยยามฝงแบบนี้มีสถานะเปนหนวยงานพลเรอืน ขึ้นการบังคับบัญชากับกระทรวงอื่นที่ไมใชกระทรวงกลาโหม

                                                            

1 ประยุกตจากแนวคิดของ Geoffrey Till นักยุทธศาสตรทะเลที่แบงหนวยยามฝงออกเปน 4 แบบ ไดแก The U.S. Coast Guard Model, The British Model, Naval Coastguards และ Navies as Coastguards.

Page 49: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  52

ตัวอยางหนวยยามฝงแบบนี้ ไดแก หนวยยามฝงไอซแลนด และหนวยยามฝงมัลดีฟส เปนตน 2. Law Enforcement Coastguards เปนหนวยยามฝงที่มีสถานะเปนไดทัง้หนวยงานพลเรือนและ หนวยงานทหาร มีการจัดหนวยงานแยกออกจากกองทัพเรืออยางเดด็ขาด อาจขึ้นการบังคับบัญชากับกระทรวงความมั่นคงแหงมาตุภูมิ กระทรวงคมนาคม สํานักนายกรัฐมนตรี หรือกระทรวงกลาโหมก็ได ในยามปกติจะทาํหนาที่ปกปองผลประโยชนของชาติทางทะเลอยางกวางขวางและหลายมิติ เชน การบังคับใชกฎหมาย การคนหาและชวยเหลือผูประสบภัย การปกปองสิ่งแวดลอมทางทะเล และการควบคุมการสัญจรทางทะเล แตในยามสงครามจะทําหนาที่สนับสนุนการปองกันประเทศ สําหรับประเทศที่มีการจัดตั้งหนวยยามฝงแบบนี้ ไดแก สหรัฐฯ อินเดีย ญี่ปุน เกาหลีใต ฟลิปปนส และมาเลเซีย เปนตน 3. Coordinating Coastguards เปนแบบผสมผสานระหวางหนวยงานพลเรือนและหนวยงานทหาร เพื่อปฏิบัติหนาที่รักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล ซ่ึงมีแนวทางการดําเนนิการคลายการจดัตัง้หนวยเฉพาะกิจที่สนธิกําลังจากกองทัพเรือ กองบังคับการตํารวจน้ํา กรมประมง กรมศุลกากร กรมเจาทา และหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อผสมผสานขีดความสามารถของแตละหนวยงานเขาดวยกัน ภายใตการอํานวยการจากสวนกลางในลักษณะของการประสานการปฏิบัติ และเนื่องจากเปนการรวมกําลังของหนวยงานจากหลายกระทรวง หนวยยามฝงแบบนีโ้ดยมากจงึขึ้นตรงตอประธานาธิบดีหรือนายกรัฐมนตรี โดยอาจแตงตั้งผูแทนจากกระทรวงและหนวยงานที่เกี่ยวของรวมเปนคณะกรรมการกําหนดนโยบายดวย ยกตวัอยางเชน Border Protection Command ของออสเตรเลีย และ Maritime and Coastguard Agency ของสหราชอาณาจักร เปนตน 4. Naval Coastguards เปนหนวยยามฝงสังกัดกองทัพเรือ กระทรวงกลาโหม มีสถานะเปนหนวยงานทหารที่ไดมีการจัดเตรียมกําลังหนวยยามฝงไวปฏิบัติงานดานนี้เปนการเฉพาะ โดยกําลังทางเรือหลักจะมีหนาทีใ่นการปองกนัประเทศ กําลังพลของหนวยยามฝงจะปฏิบตัิงานดานการรักษาผลประโยชนของชาตทิางทะเลอยางตอเนื่อง อาจมกีารหมุนเวียนไปประจําหนวยอ่ืนบางตามวาระ แตจะตองรักษามาตรฐานเมื่อกลับมาปฏิบัตงิานในหนวยยามฝงอีกครั้ง ตัวอยางของประเทศที่จัดตั้งหนวยยามฝงแบบนี้ ไดแก ชิลี นอรเวย และอิตาลี เปนตน 5. Navies as Coastguards ประเทศที่มีกองทพัเรือเปนเพยีงหนวยงานเดียวในทะเล ถือวาปฏิบัติหนาที่เปนหนวยยามฝงแบบนี้ เพราะนอกจากจะปฏิบัติหนาที่ในการปองกันประเทศแลว กองทัพเรือหรือหนวยยามฝงแบบนี้จะตองรับหนาที่รักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลไปโดยปริยาย เพราะไมมีหนวยงานอื่นชวยทํา ดงัจะเห็นไดจากการปฏิบัติของกองทัพเรือหลายประเทศในแถบลาตินอเมริกา แอฟริกา และเอเชยีแปซิฟก เปนตน 6. โครงสรางของหนวยยามฝง 

Page 50: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  53

โครงสรางหนวยยามฝงสวนใหญแลวจะคลายกับองคกรทางทะเลทั่วไป กลาวคือ เปนลูกผสมระหวางกองทัพเรือกับตํารวจน้ํา เปนหนวยงานระดับกรมขึ้นไป มีอํานาจในการบริหารจัดการ มีกฎหมายรองรับการปฏิบัติหนาที่ มีสายการบังคับบัญชาที่ส้ันเพื่อความรวดเร็วในการปฏิบัติ แบงออกเปนสวนอํานวยการ สวนสนับสนุน และสวนปฏิบัติการ โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 6.1 สวนอํานวยการ อาจประกอบดวยกรม/กอง/แผนกตางๆ ตามสายงานฝายอํานวยการทั่วไป เชน การกาํลังพล การขาว ยุทธการ การสงกําลังบํารุง นโยบายและแผน กิจการพลเรือน และการสื่อสาร เปนตน และอาจมีฝายรับผิดชอบงานตามหนาที่ เชน การคนหาและชวยเหลือผูประสบภัย การปองกันสิ่งแวดลอม การรักษาความสงบเรียบรอย การควบคุมการสัญจรทางน้ํา การตางประเทศ และกฎหมาย 6.2 สวนสนับสนุน อาจประกอบดวยโรงเรียนนายเรือ ศนูยฝก หนวยวจิัยและพัฒนา หนวยซอมบํารุง และพลาธิการ เปนตน 6.3 สวนปฏิบัติการ ตองมีบุคลากรที่มีความชํานาญ มีกําลังทางเรือและอากาศยานที่พรอมและเพยีงพอ วางกําลังครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบ พรอมปฏิบัติการตลอด 24 ชั่วโมง มีศูนยปฏิบัติการที่ทันสมัย และมกีารกระจายอํานาจใหหนวยรองตามพื้นทีย่อย เปนตน  

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับหนวยยามฝง  Captain Insto Mattila (1994) ไดเสนอบทความ โดยนําเสนอรูปแบบหนวยยามฝงของฟนแลนดทีเ่ปนหนวยแบบปฏิบัติการรวมกนั (Cooperation Model) เพื่อเปนตนแบบในการสรางความรวมมือระหวางประเทศตาง ๆ ในทะเลบัลติก (Baltic Sea) เพราะรูปแบบหนวยยามฝงของฟนแลนดเปนรูปแบบที่ประสบผลสําเร็จในการจดัการภยัคุกคามทางทะเลมากวา 15 ป โดยมีรูปแบบโครงสรางองคกรเปน 2 ระดบั คือ ระดับชาติหรือเรียกวากลุมผูบริหารระดับชาติ (National Executive Group) ที่ประกอบดวยหัวหนาของหนวยตาง ๆ ไดแก รอง ผบ.หนวยปองกันชายแดน ผบ.ทร. และหัวหนาหนวยอ่ืน ๆ ระดับภมูิภาคจะมี 2 กลุม (Regional District Executive Group) ตัง้อยูในฝงตะวนัตกของประเทศและในอาวฟนแลนด ประกอบดวย ผบ.หนวยยามฝงภาคและหวัหนาหนวยทางเรือในพื้นที่ และยังมีอีกหนวย คือ กลุมผูเชี่ยวชาญ (National Team of experts) แตละกลุมจะมีเลขาของกลุม มีการจัดประชมุเปนประจาํ 2 - 3 ครั้งตอป การรวมมือไดสรางแนวทางการลาดตระเวนรวม การปฏิบตัิการชวยเหลือทางทะเลและกิจกรรมอืน่ ๆ ซ่ึงทําใหลดคาใชจายลงไดอยางมาก และทาํใหลดความขดัแยงระหวางหนวย มกีารพัฒนาการปฏิบัติการ และยังสามารถลดงานที่ซํ้าซอน Captain Insto Mattila วาในป ค.ศ. 1994 ประเทศสามารถลดคาใชจายมากกวา 50 ลานยูโร แตทานไดเสนอวาการรวมมือกันนัน้ หนวยตาง ๆ ตองไมยึดตดิกับภารกิจของหนวยที่จะตองทําดวยหนวยตนเอง แตตองยึดหลัก คือ งานทุกงานแบงกันทําได ตองยึดประเทศมากกวาหนวยเรือและอุปกรณ

Page 51: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  54

ของหนวย ตองมีการแลกเปลี่ยนความรูผูเชี่ยวชาญ การฝกตองใหเกิดขึ้นอยางจริงจงั Sam Bateman (2003)ไดวิเคราะหเร่ือง Coast Guard: New Forces for Regional Order and Security นําเสนอในเอกสารของ The East - West Center หมายเลข 65 ประจําเดอืน ม.ค. 2003 ทานกลาวถึงกฎหมายทะเล UNCLOS 1982 ไดทําใหแตละชาติขยายอธิปไตยออกไป และจาํเปนตองปกปองดวยหนวยงานยามฝงที่แยกจาก ทร. เพราะการรกัษากฎหมาย โดย ทร. จะสรางความขัดแยงระหวางประเทศและการใช ทร. ปฏิบัติงานจะมีคาใชจายสูง การใชหนวยยามฝงจะไดการยอมรับจากสากลและอาจไดงบสนบัสนุนจากตางชาติ นอกจากนี้หนวยยามฝงและ ทร. จะแตกตางกันในเร่ืองของทักษะการปฏิบัติงาน Geoffrey Till (2004) วิเคราะหถึงความสัมพันธระหวาง ทร. และหนวยยามฝงจําเปนตองพึ่งพากัน ในโลกนี้ประเทศตาง ๆ มีระดับการใชหนวยยามฝง 4 แบบ คือ แบบสหรัฐฯ (US. Model) แบบอังกฤษ (British Model) แบบ ทร.ยามฝง (Naval Coast Guard) และแบบ ทร.เปนหนวยยามฝง (Navies as Coast Guard) Prabhakaran Paleri (2009 a)เสนอผลงานวิจัยเร่ือง The Capacities of Coast Guard to deal with Maritime Challenges in Southeast Asia, S. Rajaratnan School of International Studies, สิงคโปร 6 พ.ค. 2009 ไดวเิคราะหวาประเทศในเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใตกําลังเผชญิกับภัยคุกคามทางทะเลที่ตองใชการบงัคับทางกฎหมาย และการบริการ เพื่อจดัระเบียบทะเล ดวยขอจํากัดทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมขององคกร รูปแบบที่ดีสําหรับการดูแลทะเล คือ ใชกําลังพลจากหนวยบังคับใชกฎหมายทาํงานบนเรือของ ทร. แบบ ทร. สหรัฐฯ ทํางานกับหนวยยามฝง Joshua Ho (2005) เสนอผลงานวิเคราะหหนวยยามฝงของประเทศสิงคโปรในบทวิเคราะหเร่ือง Managing The Peace – Conflict Continuum: A Coast Guard for Singapore? วิเคราะหรูปแบบของนอรเวยที่หนวยยามฝงเปนสวนหนึ่งของกองทพัเรือที่มี พ.ร.บ. หนวยยามฝงรองรับ เพื่อใหหนวยยามฝงสามารถบังคับใชกฎหมายได ขณะเดียวกนักส็ามารถทําหนาที่ปองกันอธิปไตยไดดวย รูปแบบนี้จะทําใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน มีการแลกเปลี่ยนบุคลากรทั้งสองหนวยไดงาย ทําใหบุคลากรมีประสบการณมาก Theo Honiball (2009) เสนอผลการวิเคราะหเร่ือง Insight: Is there a case for a South African Coast Guard? วิเคราะหวา กองทับเรือในยามสงบ จะตองปรับภารกิจ อีกทั้งในประเทศมีขอจํากัดดานงบประมาณ จําเปนตองใชทรัพยากรใหเกิดความคุมคามากที่สุด การจัดตั้งหนวยยามฝงขึ้นใหมจะเปนการแยงชิงงบประมาณกันระหวาง กองทัพเรือ กับหนวยยามฝง ดังนั้นควรปรับภารกิจให กองทัพเรือ ทํางานเปนหนวยยามฝง โดยเฉพาะ กองทัพเรือ แอฟริกาใตควรทํางาน 2 หนาที่ คือ ปองกันประเทศและงานหนวยยามฝง

Page 52: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  55

กรอบแนวคดิที่เกี่ยวกับองคการ ความหมายองคการ  ในรายงานวิจยัฉบับนี้ เปนการศึกษาเกีย่วกบัองคการภาครัฐที่ทําหนาทีรั่กษาผลประโยชนของชาติทางทะเลจึงไดกําหนดความหมายขององคการที่ใชในรายงานโดยไดผสมผสานหลาย ๆ แนวคิดวา องคการ คือ ระบบที่รวมของกลุมคนที่หลากหลายที่มีความตองการและวัตถุประสงคตางกันภายใตโครงสรางองคการรวมกนั เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคขององคการ กลุม และบุคคลตามลําดับ โดยมีการสรางความเชื่อ และคานิยมที่ใชรวมกันไดจากโครงสรางอยางไมเปนทางการ และมีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมภายนอก เพื่อรับการสนับสนุนทางสังคมและความชอบธรรม โครงสรางองคการ รูปแบบของโครงสรางองคการนั้น นกัวิชาการของไทยไดมีการแบงเอาไวเชนกัน ซ่ึงจะแตกตางกันบางแตหลัก ๆ แลว จะเหมือนกัน เชน การแบงรูปแบบโครงสรางของ ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน (2549 ข, หนา 63-64) ไดแบงเปน 5 แบบ ในขณะที่ อัมพร ธํารงลักษณ (2551, หนา 7, 92 -107) ก็แบงออกเปน 5 แบบเชนกัน โดยสวนที่แตกตางกัน คือ ในรูปแบบสุดทายที่ ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน ใชรูปแบบที่เรียกวา แมทริกซ หรือโครงการ แต อัมพรฯ ใชการเรียกวา สวนหนา-หลัง ซ่ึงเปนรูปแบบที่แตกตางกัน สวนรูปแบบอื่นจะมีลักษณะเหมือนกนั อยางไรก็ตาม ในรายงานฉบับนี้จะใชการแบงของ อัมพร ธํารงลักษณ เปนหลัก ซ่ึงแบงโครงสรางหนวยงานภายในเอาไว 5 วิธี คือ 1. การแบงตามหนาที่ (Functional Structure) คือ การแบงโครงสรางตามอํานาจหนาที่ขององคการ โดยจะเนนความชํานาญเฉพาะดาน และเหมาะสมกับสถานการณที่คงที่ มีลักษณะเทคโนโลยีเปนงานประจํา เชน ฝายการผลิต ฝายการตลาด ฝายการเงิน 2. การแบงตามพื้นที่ (Geography) เปนการจัดกลุมงานตามพื้นที่ภูมิศาสตรในองคการขนาดใหญ หรือในองคการทีม่ีภารกิจ หรือตลาดในพืน้ทีค่อนขางกวาง จึงตองอาศัยการกระจายหนวยงานของตนใหครอบคลุมพื้นที่ที่ตองรับผิดชอบ 3. การแบงตามผลิตภัณฑ (Product Structure) คือ การแบงโครงสรางจําแนกตามผลผลิต (Out Put) ขององคการ และมีการสนับสนุนการประสานงานขามสายงานในหนวยผลผลิต 4. การแบงตามกลุมลูกคา (Customer) เปนการจัดกลุมงานตามกลุมลูกคา ซ่ึงตอบสนองความพึงพอใจใหกับลูกคาไดดีกวา 5. การแบงตามสวนหนา-หลัง (Front-back Hybrid Structure) เปนโครงสรางที่ใชประโยชนจากรูปแบบผลิตภัณฑที่หลากหลาย และรูปแบบกลุมลูกคา

Page 53: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  56

ประสิทธิผลขององคการ  ประสิทธิผลขององคการมีความหมายกวางขวาง เปนคําที่นักทฤษฏีองคการยังไมสามารถหาขอสรุปรวมกันได การพูดถึงประสิทธิผลขององคการ เปนเรื่องของการพยายามหาคําตอบวา องคการนั้น ๆ ไดดําเนนิงานไดดําเนนิงานบรรลุเปาหมายที่ตั้งเอาไวไดสําเร็จแคไหน องคการสาธารณะที่ดี คือ องคการที่ทํางานอยางมีประสิทธิผล และทําใหทราบทิศทางขององคการ ซ่ึงสําคัญในยุคที่สภาพแวดลอม มีผลตอทิศทาง โดยทั่วไปสามารถจําแนกแนวคิดเกีย่วกับประสิทธิผลเปน 4 แนวทาง คือ 1. แนวทางการบรรลุเปาหมาย (Goal - Attainment Approach) คือ แนวทางที่มุงความสําเร็จตามเปาหมาย (Ends) มากกวาวธีิการ (Means) ซ่ึงแนวทางนีม้ีฐานคติวา 1. องคการมีเหตุผล แสวงหาเปาหมาย ดงันั้นการวัดความสําเร็จดังกลาวจึงเหมาะสมที่ใชวัดประสิทธิผล 2. เปาหมายจะตองระบุใหชดัเจนและเขาใจกันโดยทัว่ไป 3. เปาหมายนีม้ีจํานวนไมมากนักพอทีจ่ะจัดการได 4. มกีารตกลงกันในเรื่องเปาหมายขององคการนั้น และ 5. การบรรลุเปาหมายนี้เปนสิ่งที่วัดได 2. แนวทางระบบ (System Approach) แนวทางนี้ จะเนนความสามารถในการอยูรอด ในระยะยาวขององคการมากกวาเปนความสามารถขององคการในการไดมาซึ่งทรัพยากร รักษาตนเอง และการปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมแนวทางนี้มีฐานคตวิา องคการเปนระบบซึ่งประกอบดวยระบบยอยหลายระบบหากระบบยอยทํางานไดไมดีจะสงผลตอการดําเนินตอการดําเนินงานในภาพรวมทั้งหมด ดวยตวัช้ีวดัประสิทธิผลของแนวทางนี้ ไดแก ผลผลิต/ ปจจัยนําเขา (O/ I) กระบวนการ/ ปจจัยนําเขา (P/ I) กระบวนการ/ผลผลิต (P/ O) การเปลี่ยนแปลงของปจจัยนําเขา 3. แนวทางเชิงกลยุทธ-เฉพาะสวน (Strategic - Constituencies Approach) เปนแนวทางที่ประเมินประสทิธิผล โดยพิจารณาจากการตอบสนองตอความตองการของผูมีสวนเกีย่วของที่สนับสนุนองคการในสิ่งแวดลอมนั้น แนวทางนี้คลาย กบัแนวทางระบบ แตมีจุดเนนแตกตางกัน กลาวคือ ทั้งสองแนวทางใหความสําคัญ กับความสัมพันธ ซ่ึงกันและกนั แต แนวทางเชิงกลยุทธ-เฉพาะสวน ไมไดเกีย่วกับสิง่แวดลอมขององคการทั้งหมด แตสนใจเฉพาะสิ่งแวดลอมที่เปนภยัคุกคามกับองคการเทานั้น เชน มหาวิทยาลัยจะประเมินผลจากจํานวนนักศึกษาเทานัน้ยังไมพอแตตองคํานึงถึงผูจะเปนนายจางของบัณฑิตที่จบออกไปดวยแนวทางนี้มีฐานคติวาองคการประกอบดวยกลุมยอยมีลักษณะเปนการเมือง โดยแตละกลุมแขงขันกันเพื่อควบคมุทรัพยากร ดงันั้นการประเมินผลจึงเปนการประเมินวา องคการประสบความสําเร็จในการตอบสนองผูที่มีความสวนเกี่ยวของที่จะทําใหองคการอยูรอดไดหรือไม 4. แนวทางดานคานิยมที่มหีลากหลาย (Competing Values Approach) เปนแนวทางเชิง

Page 54: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  57

บูรณาการในการประเมินประสิทธิผลขอองคการ ตัวช้ีวดั ไดแกผลตอบแทนจากการลงทุน สวนแบงการตลาด นวัตกรรม ความมั่นคงในการทํางานขึ้นอยูกับวาผูประเมนิ เปนใครและมีจุดยืนอยูที่กลุมไหน แนวทางนี้มีฐานคติวา ไมมแีนวทางใดดีที่สุดในการประเมนิประสิทธิผล การที่จะกําหนดเปาหมายเดียวที่ทุกคนเหน็พองตองกันหมด เปนไปไดยากและแนวคิดเรื่อง OE เปนจติวิสัย (Subjective) เปาหมายที่จะเลือกมาประเมนิข้ึนอยูกับคานิยม ผลประโยชนของผูประเมินดวย แนวความคิด/ ทฤษฏีการนํานโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) สําหรับการอธิบายในสวนของการนํานโยบายไปปฏิบัตนิั้นจะใชตวัแบบ (Model) ซ่ึงมีการเสนออยูมากมาย แตที่จะนํามาเสนอในสวนของการศกึษาในครั้งนี้มดีังนี้ คือ ตัวแบบดานการจัดการ (Management Model) ตั้งอยูบนแนวคิดพื้นฐานของทฤษฏีองคการ เนนใหความสนใจไปที่สมรรถนะขององคการ เพราะเชื่อวาความสําเร็จของการนํานโยบายไปปฏิบัติขึ้นอยูกบัองคการที่รับผิดชอบในการนํานโยบายไปปฏิบัติวา มีขีดความสามารถที่จะปฏิบัติงานใหสอดคลองกับความคาดคาดหวังเพียงใด ในลักษณะนี้นโยบายที่จะประสบความสําเร็จไดจึงตองอาศัยโครงสรางขององคการที่เหมาะสม บุคลากรที่อยูในองคการจะตองมีความรูความสามารถทั้งทางดานการบริหารและดานเทคนคิอยางเพียงพอ นอกจากนี้องคการยังตองมีการวางแผนเตรียมการ หรือมีความพรอมทั้งดานวัสดุอุปกรณ สถานที่ เครื่องมือเครื่องใช และงบประมาณตวัแบบนี้จึงเปนความพยายามทีจ่ะศึกษาหาแนวทางแกไขอุปสรรคของการนํานโยบายไปปฏิบัติโดยการแกที่ตวัองคการ เชน การขาดเงินทุน การขาดบุคลากรที่มีความรูความสามารถ ความลาชาในการสรรหาบุคลากร ความลาชาในการจัดตั้งระบบงานตาง ๆ เปนตน

Page 55: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  58

  ภาพที่ 15 ตวัแบบทางทฤษฏีการนํานโยบายไปปฏิบัติ ตัวแบบทางดานการจัดการ

กรอบแนวคดิที่ใชในการศึกษา การศึกษาตวัแบบองครักษาความปลอดภยัทางทะเลภายใตบริบทประชาความมั่นคงอาเซียนนั้น ประสิทธิผลองคกรจะเปนตัวกําหนดทิศทางในการดําเนนิงานขององคกร ซ่ึงรวมถึงองคกรสาธารณะในรูปแบบของหนวยงานราชการ ซ่ึงการที่จะวดัประสิทธิผลขององคกรไดนั้นตองอาศัยเกณฑการวัดหลายตัวประกอบกับการพิจารณาทั้งวิธีการและเปาหมายที่จะบรรลุขององคกร ตลอดจนการเลือกตัวแบบ และเกณฑการวดัจะตองยืดหยุน และเหมาะสมกับบริบทขององคกร นั้น ๆ ที่ในแตละองคกรมีกลุมยอยที่คอยแขงขันกันเพื่อควบคุมทรัพยากร Robbins (1990, อางถึงใน พิทยา บวรวัฒนา, หนา 184-197; ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน, 2549 ก, หนา 48 - 50) ซ่ึงก็เปนลักษณะเชนเดยีวกันเพือ่แตละองคกรมารวมกลุมเปนองคกรใหญ เพื่อดําเนนิการใหบรรลุวัตถุประสงคตามนโยบายใดนโยบายหนึ่ง องคกรเหลานี้ยอมแยงชิงกนั เพือ่ควบคุมทรัพยากรที่สําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่ง คือ งบประมาณ ดังนั้นการนํานโยบายไปปฏิบัตขิององคกร จึงเปนเรื่องที่ควรนํามาพิจารณาควบคูกันถึงความมีประสิทธิผลขององคกร (พิทยา บวรวัฒนา, 2541, หนา 175) ที่รับนโยบายมาจากหนวยเหนอืข้ึนไปอีกทีหนึ่ง ตัวแบบการนํานโยบายไปปฏิบัตินั้นมมีากมาย แตตวัแบบที่ส่ือใหเห็นปจจัยตาง ๆ ที่มีผลตอการนํานโยบายไปปฏิบัติ คือ ตัวแบบการจัดการ (วรเดช จันทรศร, 2551,

โครงสราง

บุคคลากร

งบประมาณ

สถานที่

วัสดุอุปกรณและ

เครื่องมือเครื่องใช

สมรรถนะขององคการ

ผลของการนํานโยบายไปปฏิบัติ

Page 56: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  59

หนา 125) ที่เสนอวาความสําเร็จในการนํานโยบายไปปฏิบัติขึ้นอยูกับสมรรถนะองคกรในเรื่อง โครงสราง ทรัพยากร บุคลากร งบประมาณ สถานที่ และ วัสดุอุปกรณและเครื่องมือเครื่องใช ดังนั้นปจจัยสมรรถนะองคการเหลานี้ยอมนําไปสูประสิทธิผลขององคกร กรอบแนวคิดในการศึกษาครั้งนี้ไดเสนอวาประสิทธิผลองคกรของหนวยงานที่ปฏิบัติงานตามนโยบายความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลภายใตบริบทประชาคมอาเซียนขึ้นอยูกับปจจยัสมรรถนะองคกรในเรื่อง โครงสราง ทรัพยากร บุคลากร งบประมาณ สถานที่ และ วสัดุอุปกรณและเครื่องมือเครื่องใช เชนกัน จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งหมดที่ไดกลาวมาแลวขางตน ซ่ึงประกอบดวย ลักษณะทางภูมิศาสตรของอาเซียน ประชาความมั่นคงอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน อาณาเขตทางทะเลตามกฎหมายทะเล ปญหาภัยคุกคามที่เกิดขึ้นตอผลประโยชนทางทะเลของอาเซียน กรณีศึกษาเปรียบเทียบองคกรรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลของไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส เวียดนาม และคุณลักษณะทั่วไปของหนวยยามฝง ที่เกี่ยวกับ ภารกิจ พื้นที่รับผิดชอบ การจัดสวนราชการ กําลังพลและยุทโธปกรณ แนวความคิดในการปฏิบัติ ความรวมมือ และผลการดําเนินงานและการพัฒนา ผูวิจัยไดนํามาเปนกรอบในการวิจัยตัวแบบองคกรรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางทะเลภายใตบริบทประชาความมั่นคงอาเซียนคร้ังนี้ ไดดังนี ้

Page 57: เอกสาร ยวขและกรอบความคอง ิดใน ...digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/53921060/... · 2018-09-19 · 5 ภาพที่แผนท

  60

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ภาพที่ 16 กรอบแนวคดิในการวิจัย

นโยบาย และบริหารจัดการ

ทรัพยากร

ประชาคมอาเซียน ประชาความมั่นคงอาเซียน ADMM, ADMM-Plus

อาณาเขตทางทะเลตามกฎหมายทะเล

ปญหาภัยคุกคามที่เกิดขึ้นตอผลประโยชนของชาติทางทะเล

− ศูนยประสานการปฏิบัติในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเล (ไทย)

− Malaysian Maritime Enforcement Agency (Malaysia)

− Philippine Coast Guard (Philippine)

− Marine Police (Vietnam)

งานวิจัยที่เกี่ยวของกับหนวยยามฝง

บุคลากร

การปฏิบัติงาน

− ภารกิจ

− พื้นที่รับผิดชอบ

− การจัดสวนราชการ

− กําลังพลและยุทโธปกรณ

− แนวความคิดในการปฏิบัติ

− ความรวมมือ

− ผลการดําเนินงานและแนวทางพัฒนา

งานวิจัยที่เกี่ยวกับองคการ คุณลักษณะของหนวยยามฝง

ตัวแบบองคกรรักษาความ

มั่นคงปลอดภัยทางทะเล

ภายใตบริบทประชาความมั่นคงอาเซียน