90
1 บทที1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ การพัฒนาของสุกรจากสัตวปากลายมาเปนสัตวลี้ยง ไดมีมานานแลวตั้งแตสมัยพุทธกาล และกลายมาเปนอาหารสําหรับมนุษยจนถึงถึงทุกวันนีการพัฒนาการเลี้ยงสุกรจากอดีตจนถึง ปจจุบันก็ไดเพิ่มผลผลิต จํานวนประชากรสุกร และการกระจายจํานวนสุกรออกไปมากขึ้นทั่วทุก มุมโลกตลอดจนไดมีการพัฒนาพันธสุกรขึ้นอยางมาก ในอดีตการเลี้ยงสุกรเปนการเลี้ยงสุกรเปนการเลี้ยงแบบใหกินเศษอาหารหรือเลี้ยงปลอย หากินเองตามยถากรรม ในครั้งนั้นสุกรจะมีอัตราการเจริญเติบโตนอยและใหผลผลิตต่ําใน .1800 ประเทศสวีเดน มีบันทึกการเลี้ยงสุกรแบบหลังบานนี้ตองใชเวลาถึง2จะไดน้ําหนักสุกรสง โรงฆาเพียง 40 กิโลกรัมเทานั้น (Hokas,1973) ตอมาไดมีการพัฒนาการเลี้ยงสุกรขึ้นมาเรื่อยๆแต การพัฒนาการเลี้ยงสุกรไดเริ่มมีการพัฒนาอยางจริงจังและรวดเร็วเพียงในชวง 40 กวาปที่ผานมานี(..1950)ไดมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการปรับปรุงการเลี้ยงดู การใหอาหาร โรงเรือน พันธุสุกร การปองกันโรค และตลอดจนประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ จากการผลิตลูก สุกรไดเพียง 15 ตัว ตอแมตอปกลายมาเปน 20-22 ตัวตอแมตอป ซึ่งเปนผลของการพัฒนาทาง วิชาการและเทคโนโลยีของการเลี้ยงสุกรที่ไดมีการพัฒนาการอยางไมหยุดยั้ง สําหรับการเลี้ยงสุกร โดยเฉพาะอยางยิ่งสุกรพอ-แมพันธุในประเทศไทยนั้น ในอดีตยัง ไมไดนําเทคโนโลยีมาใชในการเลี้ยงและจัดการฟารม ฟารมสุกรสําหรับการคาจึงมีขนาดไมใหญ นักมีเพียง 50-100 แมเทานั้น จนกระทั้งในป ..2515 ไดมีการพัฒนา นําเอาระบบแมสุกรขังเดี่ยว ในซองมาใชกันโดยนําแบบมาจากประเทศสิงคโปรซึ่งยังไมเปนที่ยอมรับการพัฒนาการทําคอก แบบใชพื้นสแล็คเขาโรงเรือนพอ-แมพันธุคอกคลอด ตลอดจนคอกอนุบาลซึ่งทําใหประหยัดเนื้อทีและสามารถเพิ่มผลผลิตไดมากขึ้นจากเนื้อที่จํานวนเดียวกัน การพัฒนาดานนี้จึงไดมีการพัฒนาเขา มาจนถึงขนาดที่มีฟารมสุกรขนาดใหญถึง 1000-2000 แม ในฟารมเดียวกัน ซึ่งนับเปนการขยาย ขนาดฟารมพอ-แมพันธุ ซึ่งมีอยูเพียงไมกี่ประเทศในโลกที่มีขนาดฟารมใหญเชนนีการพัฒนาการเลี้ยงยังไมหยุดยั้งเพียงเทานั้น การใชอาหารจากการซื้ออาหารสําเร็จรูปผสม เองอยางงายๆ โดยใชหัวอาหารมาเปนการผสมเองทั้งหมด และเขามา ถึงการผสมเองแบบใชสูตรทีปรับปรุงไดตามราคาของวัตถุดิบและยังคงคุณคาทางโภชนาการเชนเดิมโดยใหตนทุนต่ําสุดโดย การคํานวณดวยเครื่องทุนแรงเชนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ดานการจัดการฟารมไดมีการพัฒนาดานการดูแลเชนมีการพัฒนาปรับสภาพอากาศในชวง ฤดูรอน ตั้งแตระบบน้ําพนบนหลังคามาเปนระบบน้ําหยดและระบบพนน้ําฝอยแบบอัตโนมัติ

บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

1

บทที่1 บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญ การพัฒนาของสุกรจากสัตวปากลายมาเปนสัตวล้ียง ไดมีมานานแลวตั้งแตสมัยพุทธกาล และกลายมาเปนอาหารสําหรับมนุษยจนถึงถึงทุกวันนี้ การพัฒนาการเลี้ยงสุกรจากอดีตจนถึงปจจุบันกไ็ดเพิ่มผลผลิต จํานวนประชากรสุกร และการกระจายจํานวนสุกรออกไปมากขึ้นทั่วทกุมุมโลกตลอดจนไดมกีารพฒันาพันธสุกรขึ้นอยางมาก

ในอดีตการเลี้ยงสุกรเปนการเลี้ยงสุกรเปนการเลี้ยงแบบใหกนิเศษอาหารหรือเล้ียงปลอยหากินเองตามยถากรรม ในครั้งนั้นสุกรจะมีอัตราการเจรญิเติบโตนอยและใหผลผลิตต่ําใน ค.ศ 1800 ประเทศสวีเดน มีบนัทกึการเลี้ยงสุกรแบบหลังบานนี้ตองใชเวลาถึง2ป จะไดน้าํหนักสุกรสงโรงฆาเพียง 40 กิโลกรัมเทานั้น (Hokas,1973) ตอมาไดมกีารพัฒนาการเลี้ยงสุกรขึ้นมาเรื่อยๆแตการพัฒนาการเลี้ยงสุกรไดเร่ิมมีการพัฒนาอยางจริงจังและรวดเร็วเพยีงในชวง 40 กวาปที่ผานมานี้ (ค.ศ.1950)ไดมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการปรับปรุงการเลี้ยงดู การใหอาหาร โรงเรือน พันธุสุกร การปองกันโรค และตลอดจนประสทิธิภาพทางการสืบพันธุ จากการผลิตลูกสุกรไดเพยีง 15 ตัว ตอแมตอปกลายมาเปน 20-22 ตัวตอแมตอป ซ่ึงเปนผลของการพัฒนาทางวิชาการและเทคโนโลยีของการเลี้ยงสุกรที่ไดมีการพัฒนาการอยางไมหยุดยั้ง สําหรับการเลี้ยงสุกร โดยเฉพาะอยางยิ่งสุกรพอ-แมพันธุในประเทศไทยนั้น ในอดตียังไมไดนําเทคโนโลยีมาใชในการเลี้ยงและจดัการฟารม ฟารมสุกรสําหรับการคาจึงมีขนาดไมใหญนักมีเพยีง 50-100 แมเทานั้น จนกระทั้งในป พ.ศ.2515 ไดมีการพัฒนา นําเอาระบบแมสุกรขังเดี่ยวในซองมาใชกนัโดยนําแบบมาจากประเทศสิงคโปรซ่ึงยังไมเปนที่ยอมรับการพัฒนาการทําคอกแบบใชพืน้สแล็คเขาโรงเรือนพอ-แมพันธุคอกคลอด ตลอดจนคอกอนบุาลซึ่งทําใหประหยดัเนื้อที่และสามารถเพิ่มผลผลิตไดมากขึ้นจากเนือ้ที่จํานวนเดยีวกัน การพัฒนาดานนีจ้ึงไดมีการพัฒนาเขามาจนถึงขนาดที่มีฟารมสุกรขนาดใหญถึง 1000-2000 แม ในฟารมเดยีวกัน ซ่ึงนับเปนการขยายขนาดฟารมพอ-แมพันธุ ซ่ึงมีอยูเพียงไมกีป่ระเทศในโลกที่มีขนาดฟารมใหญเชนนี ้ การพัฒนาการเลี้ยงยังไมหยดุยั้งเพยีงเทานัน้ การใชอาหารจากการซื้ออาหารสําเร็จรูปผสมเองอยางงายๆ โดยใชหัวอาหารมาเปนการผสมเองทั้งหมด และเขามา ถึงการผสมเองแบบใชสูตรที่ปรับปรุงไดตามราคาของวัตถุดบิและยังคงคุณคาทางโภชนาการเชนเดิมโดยใหตนทุนต่ําสุดโดยการคํานวณดวยเครื่องทุนแรงเชนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ดานการจดัการฟารมไดมีการพัฒนาดานการดูแลเชนมีการพัฒนาปรับสภาพอากาศในชวงฤดูรอน ตั้งแตระบบน้ําพนบนหลังคามาเปนระบบน้ําหยดและระบบพนน้ําฝอยแบบอัตโนมัติ

Page 2: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

2

นับวาเปนวิทยาการดานตางๆในการเลี้ยงสุกรไดพัฒนาไปอยางเปนขัน้เปนตอนและตอเนื่องเกือบจะทกุทาง สวนดานการขยายตวัและการปรับปรุงพันธุสัตว ไดมกีารนําเขาสุกรจากประเทศตางๆทั้งชนิดที่ซ้ือตัวสุกรมาเปนพอ-แมพันธุ หรือซ้ือน้ําเชื้อเขามาปรับปรุงพันธุ การขยายตวัและตื้นตวัทางดานนีก้็มีไมนอย และไดมีการใชเทคโนโลยีการผสมเทียมทั้งแบบน้ําเชื้อสด น้ําเชื้อแชแข็งเขามาในวงการมากขึ้น คุณสมพงษ พวงเวียง เจาของบริษัทโสมภาสเอ็นจิเนยีร่ิง 2005 จํากัด เปนบริษัทผลิตและประกอบชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส โดยสินคาทั้งหมดจะจดัจําหนายใหกับบรษิัท เดลตา อิเล็กทรอนิกสซ่ึงเปนบริษัทที่ ออกแบบ วจิัย พัฒนา และผลิตช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสเพื่อสงออก สินคาทั้งหมดจะถูสงออกไปยังประเทศตางๆทั่วโลก อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกา และอีกหลายประเทศในเอเชีย สินคาสวนใหญไดแก Filter Choke Transformer Linearity Coil ที่เปนสวนประกอบสําคัญในคอมพิวเตอร อุปกรณส่ือสาร บริษัทโสภาสเอ็นจิเนียร่ิง 2005 จํากัด เดิมชื่อ หางหุนสวนจาํกัดโสมภาส เอ็นจิเนยีร่ิง เร่ิมกอตั้งเมื่อป2539 ซ่ึงเปนปเร่ิมตนแหงวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยมีที่ทําการแหงแรกอยูที่จังหวัดสมทุรปราการ แตดวยความเปนสายเลือดอีสานของคุณสมพงษ ที่มีความตองการ สรางความเจริญ สรางงานและสรางรายได ใหกับชาวบานในภาคอีสาน ทานจึงตัดสินใจยายถ่ินฐานการผลิตมายังบานโคกไรใหญ ตําบลงัวบา อําเภอวาปปทุม จังหวดัมหาสารคาม และนับแตนั้นคณุสมพงษก็เร่ิมเดินตามปณิธานทีต่ั้งไว คือ

“ การเกษตร และอุตสาหกรรม จะตองเดนิคูเคียงกนั” บริษัทโสมภาสเอ็นจเินียร่ิง 2005 จาํกัด มีจํานวนพนักงานประมาณ300คน โดยคุณสมพงษ พวงเวียง ใชหลักการบริหารดูแลพนกังานแบบครอบครัว ยึดหลักบริหารเศรษฐกิจแบบพอเพียง ตามแนวพระราชดําริของในหลวงนําวิถีชีวติแบบพอเพยีงมาใชในการดแูลบริหารบริษัท รวมไปถึง ยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่คุณสมพงษนํามาใชคือ ยึดหลักสมถะ ในการดํารงชีวิต ซ่ึงดูไดงานระบบสวสัดิการตางๆที่คุนสมพงษ มอบใหแกพนกังานอาทิ กองทุนววัเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ โครงการปลูกผักปลอดสารพิษไฮโดรโพรนิกส และโครงการเลี้ยงหมเูพื่อพัฒนาคณุภาพชีวติ ซ่ึงเปนการเลี้ยงเพื่อแบงใหกับพนักงานนําไปเลี้ยงที่บาน โดยการรับอาหารจากทางฟารมแลวคอยจายเงินตอนเงนิเดือนออก การเลี้ยงหมใูนขั้นแรกๆ ในราวๆป 2548 นั้นเปนการเลี้ยงเพื่อประกอบเปนอาหารใหแกพนักงาน และใชขี่หมูเพื่อรดน้ําตนไม แตเมื่อการเลี้ยงหมูไดเกดิการขยับขยายหรือเล้ียงนานเขา จงึเกิดเปนฟารมหมูที่มีขนาดใหญขึ้น มหีมูจาํนวนมากขึ้น จาก 20 เปน 50 และ 70 ตามลําดับ หมูที่เล้ียงไวมีมากเกินความตองการของพนักงาน ปญหาเลยอยูที่วาจะจดัการกับฟารมหมทูี่มีขนาดใหญขึ้นอยางไร โดยท่ียังใชหมูประกอบเพื่อเปนอาหารแกพนักงานควบคูกันไป

Page 3: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

3

การแกปญหาจึงตองพึ่งระบบทางธุรกิจคือ การนําหมูเขาสูเสนทางธุรกิจ หรือการนาํหมูเขาสูตลาด ซ่ึงปญหาที่ตามมาก็คือ ตองมีการคิดคนกลยทุธ รูชองทางการจัดจําหนาย การเปนเจาของตลาด หรือมีสวนแบงตลาด ซ่ึงทั้งหมดนี้ เปนกระบวนการทางการตลาดที่จําเปนตองศึกษาหาขอมูลตางๆที่เกี่ยวของ ซ่ึงไดแก สถานการณและราคาหมูในปจจุบัน จํานวนเขียงหมูในมหาสารคาม อัตราการบริโภคหมูของประกรในมหาสารคาม ปจัยที่เขยีงหมูนํามาพิจารณาในการเลือกซื้อหมูจากฟารม คนในจังหวดัมหาสารคามเขาบริโภคหมูจากที่ไหนกนั หมหูนึง่ตัวนําไปประกอบอาหารอะไรไดบาง ซ่ึงขอมูลทั้งหมดเปนประโยชนอยางมากในการใชในการวางแผน พัฒนา สงเสริมการตลาด เพือ่นําหมูจากฟารมคุณสมพงษ เขาสูตลาดอยางมั่งคง วัตถุประสงคการศึกษา 1. เพื่อศึกษาอัตราการบริโภคสุกรในเขตเทศบาลมหาสารคาม 2. เพื่อศึกษากระบวนการเลี้ยงสุกรตั้งแตเร่ิมเลี้ยงจนถึงขายสงตลาด 3. เพื่อศึกษาหาชองทางการจัดหนายสุกร ในเขตเทศบาลมหาสารคาม 4. เพื่อศึกษาระบบและสภาวะตลาดสุกรในปจจุบนั 5. เพื่อศึกษาดานตนทนุและหาแนวทางการลดตนทุนการเลี้ยงสุกร 6.เพื่อศึกษาปญหาดานการตลาด ดานราคา และหาแนวทางแกไข ขอบเขตการศกึษา ขอบเขตดานประชากร การศึกษาเรื่อง อัตราการบริโภคสุกรในเขตเทศบาลมหาสารคาม ผูศึกษามุงศึกษาผูประกอบการเขียงหมใูนเขตเทศบาลมหาสารคาม ขอบเขตเนื้อหา การศึกษาในครั้งนี้ ศึกษาถงึกระบวนการเลี้ยงสุกรตั้งแตเร่ิมเลี้ยงจนถงึขายสงตลาด ในเขตเทศบาลมหาสารคาม ขอบเขตระยะเวลา ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูล ระหวางเดือน พฤศจิกายน 2549 – มีนาคม 2550 โดยการขอความรวมมือ จากคุณปติพงษ ผูดูแลฟารม แมคา พอคาหมูในตลาดสดมหาสารคาม

Page 4: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

4

การเก็บรวบรวมขอมูล การเกบ็รวบรวมขอมูลคร้ังนี้ เราไมไดจัดทําเปนแบบสอบถาม แตเราใชวิธีการสัมภาษณโดยตรง จากการพูดคุย สอบถาม การสังเกต สรางความคุนเคยกับผูใหขอมูลไดแกผูประกอบการเขียงหมใูนตลาดสดในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม ตลาดโลตัส บุญบารมีฟารมและฟารมบูรพา เพราะขอมูลที่เราตองการนัน้เปนขอมูลที่มีความสลับซับซอน ลึกซึ้ง อาจสงผลไปถึงการเผยความลับองคกรได โดยมี วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดังนี ้

1. ศึกษารวบรวมขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับหมู จากเอกสาร ตํารา ทฤษฎี อินเตอรเน็ต 2. จัดเตรียมคาํถามกอนลวงหนาแบบคราวๆหรือคิดตระเตรียมไววาตองการขอมูลอะไรบาง กอนเดินทางไปสอบถามขอมูลจากผูประกอบการเขียงหมใูนตลาดสดในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม ตลาดโลตัส บุญบารมีฟารมและฟารมบูรพา 3. เวลาสอบถามขอมูลหรือไดรับขอมูลที่นาสนใจเรากจ็ดบันทึกลงสมุดบันทึกที่เตรียมไวพอคราวๆ หรือ เห็นอะไรทีน่าสนใจหรือมีประโยชนตอรายงานก็จะจดบันทึกลงเชนกัน 4. นําขอมูลที่จดบันทึกจากการสอบถามมาเรียบเรียง ปรับปรุงใหออกเปนขอมูลที่มีความสมบูรณเพื่อใชในการวิเคราะหและจัดทํารายงานตอไป ประโยชนท่ีไดรับ เปนแนวทางในการวางแผนดําเนนิธุรกิจฟารมสุกรของบุญบารมีฟารม เพื่อเปนพืน้ฐานในการนําผลการศึกษาปญหาพิเศษนี้เพื่อไปประกอบการตัดสินใจทางดานการวางแผน การปรับปรงุพัฒนารูปแบบการดําเนนิงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ และตอบสนองความตองการของผูบริโภค

Page 5: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

5

บทที่2 ทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การเลี้ยงสกุร สุกรแบงออกเปน 3 ประเภท คือ

1.สุกรมัน (Lard type) หมายถึงสุกรที่มีสวนที่ใหมนัมาก รูปรางอวนเตีย้ ลําตัวส้ัน สะโพกเล็ก เจริญเติบโตชา ไดแก สุกรพันธุพื้นเมอืงของไทย และจีน ปจจุบันสุกรประเภทนีไ้ดหายไปจากตลาดการคาสุกร เนื่องจากผูบริโภคไมนิยมบริโภคน้ํามนัที่ไดจากสุกร และหันมาบริโภคน้ํามันทีไ่ดจากพืชเปนสวนใหญ

2.สุกรเบคอน (Bacon type) ลักษณะของสุกรประเภทนี้เปนสุกรขนาดใหญ ลําตัวยาว บาง ไหลหนา หลังและบริเวณสะเอวแคบ ปริมาณของเนื้อแดงมากกวาพันธุเนื้อ และปริมาณของมันนอยกวาพันธุเนื้อ ดังนั้นความหนาของมันแข็งหรือมันทีบ่ริเวณสันหลังจะบางมาก นยิมที่จะนํามาใชทําผลิตภัณฑชนิดหนึ่งที่เรียกวา เบคอน เพราะวาบริเวณเนื้อสามชั้นมีลายเสนเนื้อหรือช้ันของเนื้อหนาหลายชั้น เหมาะแกการทําเบคอน

3.สุกรเนื้อ (Meat type) หมายถึงสุกรที่มีเนือ้มาก มันนอย สุกรประเภทนี้เปนสุกรที่มลํีาตัวส้ันกวาประเภทเบคอน หัวไหลและสะโพกอวนโตกวา เปอรเซ็นตของมันมีมากกวา สุกรประเภทเนื้อโดยมากเปนสุกรประเภทมันดั้งเดิมแตไดถูกปรับปรุงใหม จนกระทัง่เปนพันธุที่มกีารเจริญเติบโตคอนขางเร็ว ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนอาหารเปนเนื้อดพีอสมควร มีลูกดก สายพันธุสุกร

ในปจจุบนัสายพนัธุสุกรที่ไดรับความนยิมเล้ียงในประเทศไทยมีอยูหลายสายพันธุ แตสายพันธุสวนใหญเปนสายพันธุของตางประเทศที่ไดรับการปรับปรุงพันธุมาแลว เนื่องจากสุกรพันธุพื้นเมืองนั้น โตชา ใชเวลาเลีย้งนาน คุณภาพเนื้อไมดี ใหลูกตอครอกนอย และไมตรงกับความตองการของตลาด สุกรสายพันธุที่ไดรับความนยิมเลี้ยงในประเทศไทยมีอยูหลายสายพันธุ สุกรพันธุลารจไวท มีถ่ินกําเนิดในประเทศอังกฤษ มีถ่ินกําเนดิในประเทศอังกฤษ นําเขามาในประเทศไทยตั้งแตป พ.ศ.2482 มีสีขาว หูตั้ง ลําตัวยาว กระดูกใหญ โครงใหญ หนาส้ัน หวัใหญ โตเต็มทีน่้ําหนกั 200-

Page 6: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

6

250 กิโลกรัม ใหลูกดกเฉลี่ย 9-10 ตัว เล้ียงลูกเกง หยานมเฉลี่ย 8-9 ตัว มีความแข็งแรง เจริญเติบโตเร็ว คุณภาพซากดี พันธุลารจไวท เหมาะทีใ่ชเปนทั้งสายพอพันธุและแมพันธุ สุกรพันธุแลนดเรซ มีถ่ินกําเนิดจากประเทศเดนมารค นําเขามาในประเทศไทยป พ.ศ. 2506 มีสีขาว หูปรก ลําตัวยาว มีซ่ีโครงมากถึง 16-17 คู (สุกรปกติมีกระดูกซีโ่ครง 15-16 คู) หนายาว โตเต็มที่ 200-250 กิโลกรัม ใหลูกดกเฉลี่ย 9-10 ตัว เล้ียงลูกเกง หยานมเฉลี่ย 8-9 ตัว มีขอเสียคือ ออนแอ มักจะมีปญหาเรื่องขาออน ขาไมคอยแข็งแรง แกไขโดยตองเลี้ยงดวยอาหารที่มคีุณภาพดี พันธุแลนดเรซเหมาะทีใ่ชเปนสายแมพนัธุ สุกรพันธุดูร็อคเจอรซี มีถ่ินกําเนิดจากประเทศอเมริกา มีสีแดง หูปรกเปนสวนใหญ ลําตัวส้ันกวาลารจไวท และแลนดเรซ ลําตัวหนา หลังโคง โตเต็มที่ 200-250 กิโลกรัม เปนสุกรที่ใหลูกไมดกเฉลี่ย 8-9 ตัว เล้ียงลูกไมเกง หยานมเฉลี่ย 6-7 ตัว ลูกสุกรหลังจากอาย ุ2 เดือนไปแลว เจรญิเติบโตเร็ว มคีวามแข็งแรงทนทานตอสภาพดินฟาอากาศทุกชนิด นิยมใชเปนสายพอพันธุเพื่อผลิตลูกผสมที่สวยงาม แผนหลังกวาง เจริญเตบิโตเร็ว สุกรพันธุเพียเทรียน มีถ่ินกําเนิดจากประเทศเบลเยี่ยม มีสีดําขาวเหลือง ลายสลับ เปนสุกรที่มีรูปรางสวยงาม กลามเนื้อเปนมัด ๆ แผนหลังกวางเปนปก สะโพกเหน็เดนชัด โตเต็มที ่150-200 กิโลกรัม มีเปอรเซ็นตเนือ้แดงสูงมาก มีขอเสีย คือ ตื่นตกใจ ช็อคตายงาย และโตชา ปจจุบันนยิมใชผสมขามพันธุในการผลิตสุกรขุน สุกรลูกผสมท่ีเหมาะสมในการใชเล้ียงสุกรขนุ การเลี้ยงสุกรพันธุแทพันธุใดพนัธุหนึ่งมีทั้งขอดแีละขอเสีย ดังนั้นจึงนยิมนําพันธุแทมาผสมขามพันธุ เพื่อทําใหลูกทีเ่กิดขึ้นมีลักษณะของเฮตเตอรโรซีส (Heterosis) หรือ ไฮบริดวิกเกอร (Hybrid Vigor) กลาวคือ ตัวลูกที่เกิดจากพอแมตางพันธุกันนํามาผสมพันธุจะใหผลผลิต เชน การเจริญเติบโต ความแข็งแรง ดกีวาคาเฉลี่ยของการใหผลผลิตจากพอพันธุและแมพนัธุที่ใหกําเนิด สุกรลูกผสมสองสายพันธุ สามสายพันธุ หรือส่ีสายพันธุ สามารถนํามาใชเปนสุกรขุนไดเชนกัน แตสากลนิยมทั่วไปมักใชสุกรลูกผสมสามสายพันธุเปนสกุรขุน คือ ดูร็อคเจอรซ่ี x แลนดเรซ-ลารจไวท โดยใชแมสองสายพันธุ คือ แลนดเรซ x ลารจไวท หรือ ลารจไวท x แลนดเรซ ซ่ึงถือวาเปนสายแมพันธุทีม่ีคุณสมบัติการผลิตลูกดีที่สุด สวนพอสุดทายจะใชพอพนัธุแทเปนพนัธุดูร็อคเจอรซ่ี

Page 7: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

7

หรือ อีกทางใหเลือกคือ การผลิตสุกรลูกผสมสองสายพันธุเพื่อขุน โดยใชพอพนัธุแท เชน ดูร็อคเจอรซ่ี ลารจไวท แลนดเรซ ผสมกับแมพันธุแท เชน พันธุแลนดเรซ ลารจไวท ดูร็อคเจอรซ่ี จะไดลูกผสมสองสายพันธุใชเปนสุกรขุนไดตามแผนผังดานลาง หลักการผสมพันธุสุกร สุกรลูกผสมท่ีเหมาะสมในการใชเล้ียงสุกรขุน การเลี้ยงสุกรพันธุแทพันธุใดพันธุหนึ่งมีทั้งขอดีและขอเสีย ดงันั้นจึงนยิมนาํพันธุแทมาผสมขามพันธุ เพื่อทําใหลูกทีเ่กิดขึ้นมีลักษณะของเฮตเตอรโรซีส (Heterosis) หรือ ไฮบริดวิกเกอร (Hybrid Vigor) กลาวคือ ตัวลูกที่เกิดจากพอแมตางพันธุกันนํามาผสมพันธุจะใหผลผลิต เชน การเจริญเติบโต ความแข็งแรง ดกีวาคาเฉลี่ยของการใหผลผลิตจากพอพันธุและแมพนัธุที่ใหกําเนิด สุกรลูกผสมสองสายพันธุ สามสายพันธุ หรือส่ีสายพันธุ สามารถนํามาใชเปนสุกรขุนไดเชนกัน แตสากลนิยมทั่วไปมักใชสุกรลูกผสมสามสายพันธุเปนสกุรขุน คือ ดูร็อคเจอรซ่ี x แลนดเรซ-ลารจไวท โดยใชแมสองสายพันธุ คือ แลนดเรซ x ลารจไวท หรือ ลารจไวท x แลนดเรซ ซ่ึงถือวาเปนสายแมพันธุทีม่ีคุณสมบัติการผลิตลูกดีที่สุด สวนพอสุดทายจะใชพอพนัธุแทเปนพนัธุดูร็อคเจอรซ่ี หรือ อีกทางใหเลือกคือ การผลิตสุกรลูกผสมสองสายพันธุเพื่อขุน โดยใชพอพนัธุแท เชน ดูร็อคเจอรซ่ี ลารจไวท แลนดเรซ ผสมกับแมพันธุแท เชน พันธุแลนดเรซ ลารจไวท ดูร็อคเจอรซ่ี จะไดลูกผสมสองสายพันธุใชเปนสุกรขุนได ลูกผสมท่ีไดใชเปนสุกรขุน การ ใชสุกรขุนสองสายพันธุ ใชในกรณีที่เรามีแมพันธุแทอยูแลว สุกรสองสายพันธุสามารถใชเปนสุกรขุนไดเปนอยางด ีจะขึ้นอยูกับพอสุดทาย ถาเปนพอพันธุดูร็อคเจอรซ่ี มักจะใหลูกสองสายพันธุที่แข็งแรงกวา อยางไรก็ตามการผลิตสุกรขุนสองสายพันธุ จะทําใหตนทุนการผลิตสูงกวาสุกรลูกผสมสามสายพันธุ เนื่องจากแมสุกรพันธุแทจัดหาซื้อมาในราคาที่แพงและมักจะออนแอกวาแม สุกรลูกผสมสองสายพันธุ

Page 8: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

8

Page 9: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

9

แบบของโรงเรือนสุกร

โรงเรือนที่ใชเล้ียงสุกรในประเทศไทยเรา จําเปนจะตองสรางใหเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ และสภาพแวดลอมของประเทศทั้งนี้เพราะสภาพอากาศในประเทศไทยนัน้รอนจัด โรงเรือนจึงจําเปนตองสรางใหโปรง โลง เพื่อใหอากาศถายเทไดสะดวก ซ่ึงแบบของโรงเรือนที่ใชเล้ียงนั้นเราสามารถแบงไดตามรูปแบบของหลังคาโรงเรือนได 5 แบบดวยกันคือ 1. แบบเพิงหมาแหงน โรงเรือนแบบนี้สรางงาย ราคาคากอสรางถูก อากาศถายเทไดดพีอสมควร แตโรงเรือนแบบนี้ก็มีขอเสียอยูที่วา ถาไมมีตนัไมบังใหรมเงา จะทําใหแสงแดดสองไดทัว่ถึงและในฤดรูอนแดดจะสองมากเกินไป ทําใหอุณหภูมิภายในโรงเรือนสูงเกินไปในฤดูฝนหากฝนตกแรงกน็ะทําใหฝนสาดเขาไปในโรงเรือน ทําใหช้ืนแฉะไดมาก 2. แบบเพิงหมาแหงนกลาย แบบนี้จะเสยีคาใชจายเพิ่มมากขึน้ แตก็มีขอดีเพิ่มมากขึ้นเชนกัน คือ จะมกีันสาดตรงดานหนามาชวยปองกันแสงแดดและฝนไดดีขึ้น 3. แบบหนาจั่ว แบบนี้คากอสรางสูงกวาสองแบบแรก แตประสิทธิภาพในการปองกันแสงแดดและฝนไดดีกวามาก โรงเรือนแบบนี้ถาสรางสูงเหมาะสมแลวอากาศภายในโรงเรือนจะเย็นสบาย แตถาสรางต่ําหรือเตี้ยเกินไป จะทําใหอากาศภายในโดยเฉพาะชวงบายรอนอบอาว จึงควรระวังขอนี้ใหมาก 4. แบบหนาจั่วสองชัน้ เปนแบบทีมีความปลอดภัยจากแสงแดดและฝนมาก อากาศภายในโรงเรือนมีการระบายถายเทดีที่สุด สุกรสามารถอาศัยอยูไดอยางสบายและเหมาะสมที่สุด สําหรับสภาพภูมอิากาศของประเทศไทยเรา แมวาคากอสรางจะสูงไปบางแตก็นับวาคมุคา ยิ่งเปนการเลี้ยงเปนอาชพีหลักและเล้ียงในปริมาณที่มาก ๆ 5. แบบหนาจั่วสองชัน้กลาย โรงเรือนแบบนีใ้ชในกรณีที่ตองการขยายเนื้อที่ในโรงเรือนใหกวางขึ้นมีคณุสมบัติไมแตกตางไปจากหนาจั่วสองชั้น

Page 10: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

10

ภาพที่2 แสดงแบบตางๆของโรงเรือน อุปกรณการใหอาหารสุกร อุปกรณการใหอาหารสุกรที่นิยมใชกันมากในปจจุบันมี 4 ชนิด คือ 1. รางอาหารคอนกรีต เปนรางอาหารยาวที่ดานหนาคอกสุกร มีขนาดกวางประมาณ 30 เซนติเมตร ความยาวตามตองการ ความสูง 15-20 เซนติเมตรเปนรางอาหารแบบถาวร มีขอดีคือ มีความทนทานมาก ใชไดนาน สุกรไมสามารถดันจนพลกิคว่ําได แตมขีอเสียคือ เคลื่อนยายไมได ทําความสะอาดยาก สุกรอาจจะเขาไปนอนในรางอาหารได 2. รางอาหารยาว รางอาหารยาวสําหรับสุกรเปนที่นิยมมากในอดีต แตปจจุบนัผูเล้ียงสุกรอยางเปนการคานิยมทํารางอาหารยาวสําหรับเล้ียงสุกรเล็ก หรือลูกสุกร โดยใชโลหะสแตนเลสทําเปนรางอาหาร แลวติดไวกบัดานใดดานหนึ่งของคอก สามารถเคลื่อนยายและปลดออกมาทําความสะอาดไดโดยงาย แตมีราคาคอนขางแพง ถาใชอยางไมระมัดระวัง อายกุารใชงานอาจจะจะไมนาน 3. ถังอาหารกลม เปนถังอาหารที่นิยมกันมากในปจจุบัน เพราะทําไดหลายขนาด ใชไดกับสุกรเล็กและสกุรใหญ สามารถเคลื่อนยายได ตัวถังทําดวยโลหะสเตนเลสหรือสังกะสีหนา พื้นถังเปนคอนกรีตหรือโลหะหนาเชนเดยีวกัน ตัวถังตอเขากบัแกนซึ่งหมนุไดรอบ เมื่อสุกรใชปากดนัถังใหหมนุ อาหารก็จะไหลออกมาทีละนอยๆ เมื่ออาหารหมดก็จะคอยๆไหลออกมาใหม เปนการปองกันอาหารหกหลนไปในตัว นอกจากนัน้ สุกรยังสามารถเขากินอาหารไดรอบทศิ ประหยดัเนือ้ที่รางอาหารไดมาก

Page 11: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

11

4. ถังอาหารอัตโนมัต ิฟารมขนาดใหญซ่ึงเลี้ยงสุกรจํานวนมาก มักจะใชรางอาหารอัตโนมัติ เนื่องจากสะดวกตอการปฏบิัติงาน ประหยัดแรงงาน สามารถควบคุมปริมาณอาหารได และสามารถจดบันทึกปริมาณอาหารที่สุกรกินไดอยางถูกตองแมนยํา ลักษณะระบบของโรงเรือนสกุร 1. โรงเรือนระบบเปด หมายถึง โรงเรือนที่ควบคุมสภาวะแวดลอมตามธรรมชาติ และอุณหภูมิจะแปรไปตามสภาพของอากาศรอบโรงเรือน 2. โรงเรือนระบบปด หมายถึง โรงเรือนที่สามารถควบคุมสิ่งแวดลอมใหเหมาะสมกับความเปนอยูของสุกร ไดแก อุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศ และแสงสวาง สามารุปองกันพาหะนาํโรคไดโรงเรือนปด เชน โรงเรือนอีแว็ป (Evaporative Cooling System) เปนตน ราคาลงทุนครั้งแรกคอนขางแพง แตสุกรจะอยูสุขสบายและโตเร็ว

ภาพที่3 โรงเรอืนระบบเปด

ภาพที่4 โรงเรอืนระบบปด

Page 12: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

12

พฤติกรรมของสุกร 1.พฤติกรรมการเคล่ือนไหวและการตรวจสอบสิ่งแวดลอม เปนสัตวที่มีสภาพรางกายไมเอื้อตอการวิ่งอยางเร็วเนื่องจากมีรูปรางอวน อุยอาย มีชวงการพักเปนเวลานานในแตละวนัโดยจะนอนรวมกนัอยูเปนกลุม โดยชวงที่ active จะเปนชวงเวลากลางมากกวาเวลากลางวันโดยเฉพาะในสุกรที่เปนสัด และมีพฤติกรรมสนใจสิ่งแวดลอมสูงมากคือจะมีการใชวิธีการดมเพื่อทดสอบวามีอันตรายใดๆ หรือไม ถาพบวาไมมีอันตราบใดๆ จะมีพฤติกรรมการกัดและแทะตามมา ซ่ึงพฤติกรรมนี้จะสรางความเสียหายใหกับโรงเรือนและอุปกรณเปนอยางมากดังนั้นในการสรางโรงเรือน ระบบสายไฟ อุปกรณใหอาหาร และรางน้าํตองมีความแข็งแรงและปลอดภัยเพื่อปองกันการกดัแทะของสุกร เนื่องจากสุกรเปนสัตวที่ใหความสนใจกับสิ่งแวดลอมสูง ทําใหเกิดพฤติกรรมอยางหนึ่งคือพฤติกรรมการกัดหางกัน ซ่ึงถามีการกัดหางกันมากจะทําใหเกิดแผล อาจติดเชื้อไดไดและถามีการกัดหางจนลึกถึงเสนประสาทอาจเกิดเปนอัมพาตที่ขาหลังได วิธีแกไขคือการตัดหางสุกรใหส้ันลง โดยจะตัดหางสุกรออก 1/3 ของความยาวหางสุกร 2. พฤติกรรมการกินอาหาร สุกรเปนสัตวทีก่ินไดทั้งพืชและสัตว (Omnivore) มีการกินอาหารไดตลอดเวลา เนื่องจากสุกรเปนสัตวที่มีประสาทรับรสรับกลิ่นที่ไวมากจึงทําใหมีการ เลือกกินอาหารตามรสที่ชอบ คือ ชอบกินรสหวาน ซ่ึงไดแก ปลาปน ยีสต ถ่ัว และสุกรไมชอบคือ เกลือ, ไขมัน เนื้อปน เปนสัตวที่ชอบกินอาหารเปยกมากกวาอาหารแหง เพราะการกินอาหารแหงจะมีการตดิคอได เมื่อถึงเวลาที่ตองใหอาหารสุกรจะรองเนื่องจากสุกรเปนสัตวที่จดจําเวลา ในการใหอาหารไดดี และมีพฤติกรรมในการตรวจสอบอาหาร โดยจะมีการขุดคุยอาหรทําใหอาหารหกออหมานอกจากได (ในการเลี้ยงถาควบคุมการขุดคุยอาหารของสุกรได จะทําใหผูเล้ียงไดกําไรมากขึ้น) การเลี้ยงสุกรเปนฝูง จะเปนการกระตุนทําใหสุกรกินอาหารไดมากขึ้น สําหรับที่ใหอาหารควรจะมีที่ปองกันอาหารหกได มีเพียงพอตอความตองการของสุกรเพื่อปองกันปญหาการแยงอาหารกันกนิไดโดย มีความถาเปนชองใหอาหารควรกวางชองละ 35 มิลลิเมตร หรือเปนรางกลโดย1ชองตอสุกร 5 ตัวแมสุกรทีพ่ึ่งหยานมลูกจะมีความอยากอาหารสูงเพือ่ชดเชยน้ําหนกัที่สูญเสีย ไปทําใหมีการแยงอาหารกันถามีการเลี้ยงรวมกันเปนจํานวนมากปริมาณน้ําที่กินตอวันประมาณ 8 – 9 ลิตรโดยขึ้นอยูกับ ขนาดรางกาย สภาวะรางกายและสภาพแวดลอม โดยสัตวที่อุมทองจะกนิน้ํามาก 3. พฤตกิรรมการขับถาย สุกรเปนสัตวทีข่ับถายเปนที่ โดยเกดิจากการเรียนรูแตตองขึ้นอยูกับลักษณะและขนาดคอกดวย ถามีการเลี้ยงสุกรในคอกที่ขังแนนเกินไป (พืน้ที่นอยกวา 1 ตารางเมตรตอตัว) จะทําใหไมสามารถขับถายเปนที่ได

Page 13: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

13

สุกรมีการใชปสสาวะไปในกจิกรรมอื่นๆ เชน มีการถายรดพื้นแลวนอนทับเพื่อใชลดความรอน และจะมีการถายปสสาวะกอนที่จะมกีารรวมเพศดวย 4. พฤติกรรมการควบคมุอุณหภูมิของรางกาย รางกายของสุกรไมเอื้อตอการควบคุมอุณหภูมิของรางกาย เนื่องจากสุกรเปนสัตวที่มีขนนอย หนังตึง และมีตอมเหงื่อเฉพาะที่ปลายจมูก ดังนัน้สุกรจะมกีารปรับพฤติกรรมใหเหมาะสมกับอุณหภูมิของรางกายดังนี้ - เมื่ออากาศหนาว -----> นอนสุมทับกนั - เมื่ออากาศรอน -----> นอนแชน้ํา 5.พฤตกิรรมทางสังคม สุกรเปนสัตวทีม่ีการจัดลําดับชั้นทางสังคม รูจักและจํากันไดโดยใชกล่ิน รูปรางและหนาตา เพื่อลดความขัดแยงในฝูง การขังรวมกันในพืน้ทีท่ี่จํากัดเปนการเพิ่มความกาวราวใหกับสุกร ฉะนั้นในการเลี้ยงสุกรควรคํานึงถึงพื้นที่ตอตัวของสุกรเพื่อปองกันปองหา ดังกลาว และเมื่อมีสุกรแปลกหนามารวมกันจะทําใหเกิดการตอสูกันซึ่งอาจรุนแรงถึง ตายไดจึงไมควรมีการรวมฝูงบอยโดนไมมคีวามจําเปน วัตถุดิบอาหารสัตว 1. อาหารประเภทโปรตีน ไดมาจากพืชและสัตว มีรายละเอียด ดังนี ้ 1.1 อาหารโปรตีนที่ไดจากพืช ไดแก 1.1.1กากถั่วเหลือง เปนอาหารโปรตีนจากพืชที่ดีที่สุด ไดมาจาก ถ่ัวเหลืองที่สกัดน้ํามันออก มีโปรตีนอยูระหวาง 40-44 เปอรเซ็นต ใชเปนอาหารสุกร ในรูปของกากถั่วเหลือง สกัดน้ํามันดวยสารเคมี (เปนเกล็ด, แวน) และรูปของกากถั่วเหลืองอดัน้ํามัน โปรตีนจากกากถั่วเหลือง มีกรดอะมิโนทีจ่ําเปนสมดุลย เหมาะในการใชเล้ียงสุกร ทกุระยะการเจริญเติบโต ในเมล็ดถ่ัวเหลืองดับ ไมเหมาะแกการนํามาใชเล้ียงไก และสุกร ทั้งนี้ เพราะเมล็ดถ่ัวเหลืองดับ มีสารพิษชนิดที่เรียกวา “ตัวยับยั้งทริปซิน” (Trypsin inhibitor) อยูดวย สารพิษนี้จะมีผลไปขัดขวาง การยอยโปรตีนในทางเดินอาหาร ถ่ัวเหลืองที่เหมาะ สําหรับใชผสมอาหารเลี้ยงสุกรนม อาหารcreep feed อาหารสุกรออน อาหารสุกรเล็ก ไดแกถ่ัวเหลืองอบไขมันสูง (ถ่ัวเหลืองซึ่งผานขบวนการใหสุก โดยไมไดสกัดน้ํามันออกมีโปรตีน 38%) สวนสุกรเล็กและสุกรขนาดอื่นทั่วไป นิยมใชกากถัว่เหลืองสกัดน้ํามันดวยสารเคม ี 1.1.2 กากถั่วลิสง เปนผลิตผลพลอยได จากการสกัดน้ํามันออก มีโปรตีนอยูประมาณ 40 เปอรเซ็นต การใชกากถั่วลิสงอยางเดยีวในอาหาร จะทําใหสุกรเจริญเตบิโตชา เนื่องจากความไมสมดุลย ของกรดอะมิโน ดังนั้น จึงควรใชกากถั่วลิสง รวมกับกากถัว่เหลือง และปลาปนดวย การเก็บรักษากากถั่วลิสง ถามีความชื้นสูงจะเสียเร็ว เนื่องจากถั่วลิสงเปนพชืที่มีน้ํามันมาก จึงเก็บไว

Page 14: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

14

นานไมได จะเกิดการเหม็นหนื และมีราเกิดไดงาย ซ่ึงราจะสรางสารพิษ “อะฟลาท็อกซิน” ซ่ึงเปนอันตรายตอสัตว ดังนัน้ ควรจะเลือกใชแตกากถั่วลิสงที่ใหม มีไขมันต่ํา และควรเก็บไวในทีไ่มรอนและชื้น 1.1.3 กากเมล็ดฝาย เปนผลผลิตพลอยได จากการสกัดน้ํามนัออกจากเมล็ดฝาย จะมีโปรตีน ประมาณ 40-45 เปอรเซ็นต กากเมล็ดฝายมีสารพิษ ที่มีช่ือวา “กอสซิปอล” ซ่ึงเปนสารที่ละลายในน้ํามนั จึงเปนเหตุให การใชอยูในขีดจํากดัไมควรเกิน 10 เปอรเซ็นต การใชในระดบัสูง จะทําใหการเจริญเติบโตชาลง นอกจากนี ้การใชกากเมล็ดฝาย ควรจะเตมิกรดอะมิโนไลซีนสังเคราะห ลงไปดวย 1.1.4 กากมะพราว เปนวัตถุพลอยได จากโรงงานสกัดน้ํามนัมะพราว ถาอัดน้ํามันออกใหม ๆ จะมกีล่ินหอมนากนิ มีโปรตีนประมาณ 20 เปอรเซ็นต ถาใชกากมะพราวในระดับสูง เล้ียงสุกรระยะการเจริญเติบโตและขุน จะทําใหการเจริญเติบโตของสุกรชา ดังนั้น ควรจะใชในระดับ 10-15 เปอรเซ็นต 1.1.5 กากเมล็ดนุน เมื่อสกัดน้ํามันออกแลว จะมีโปรตีนประมาณ 20 เปอรเซ็นต เหมาะที่จะใชเล้ียงสุกรรุน มากกวาสุกรระยะอืน่ ในปริมาณไมเกิน 15 เปอรเซ็นต กากเมลด็นุนจะทําใหไขมันจับแข็ง ตามอวัยวะภายในรางกายตาง ๆ เชน ลําไส เปนตน 1.2 อาหารโปรตีนที่ไดจากสัตว ไดแก 1.2.1ปลาปน เปนอาหารโปรตีนที่ไดจากสัตว ที่ดีที่สุด มีโปรตีนอยูระหวาง 50-60 เปอรเซ็นต คุณภาพของปลาปน ขึ้นอยูกับชนิดของปลา ที่ใชทําปลาปน และสิ่งอ่ืนปะปนมากนอยแคไหน รวมทัง้ กรรมวิธีการผลิตปลาปน เชน ถาใชความรอนสูง ทําใหคุณคาทางอาหารต่ําลง ปริมาณกรดอะมิโนในปลาปน จะต่ําลงเรือ่ย ๆ ปลาปนมีคุณคาทางอาหารสูงมาก เมือ่เปรียบเทียบกับโปรตีนจากพืช แตถาใชในอาหารปริมาณสูง และใชเล้ียงสุกรตลอดระยะถึงสงตลาด จะทําใหเนื้อมีกล่ินคาวจัด ดังนั้น จึงควรใชในระหวาง 3-15 เปอรเซ็นต

1.2.2 เลือดแหง ไดจากโรงฆาสัตว มีโปรตีนคอนขางสูง 80 เปอรเซ็นต เปนโปรตนีที่ยอยยาก ทําใหการเจริญเติบโตของสุกรต่ําลง ควรใชรวมกับอาหารโปรตีนชนิดอื่น ๆ ไมควรใชเกนิ 5 เปอรเซ็นต

1.2.3หางนมผง มีโปรตีนประมาณ 30-40 เปอรเซ็นต และเปนโปรตีนที่ยอยงายแตมรีาคาแพง จึงนิยมใชกับ อาหารลูกสุกรเทานั้น

1.2.4ขนไกปน เปนอาหารที่ไดจาก ผลิตผลพลอยไดจากโรงงานฆาไก มีโปรตีนคอนขางสูง ถึง 85 เปอรเซ็นต แตมีคณุคาทางอาหารเพียงเล็กนอย เนื่องจากเปนโปรตีนที่ไมสามารถยอยได

Page 15: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

15

2. อาหารประเภทคารโบไฮเดรท (แปงและน้ําตาลใหพลังงาน 2.1ปลายขาว ปลายขาวและรําละเอียด เปนผลิตผลพลอยไดจากการสีขาว ปลายขาวมีโปรตีน 8 เปอรเซ็นต เปนวัตถุดิบอาหาร ที่เหมาะในการเลี้ยงสัตว ทั้งนี้ ปลายขาวประกอบไปดวย แปงทีย่อยงายเปนสวนใหญ มีไขมันและเยื่อใยในระดับต่ํา (1.0 เปอรเซ็นต) เก็บไวไดนาน ตรวจสอบการปลอมปนไดงาย ปลายขาวทีใ่ชเล้ียงสุกร ควรเปนปลายขาวเม็ดเลก็ ปลายขาวที่มีขนาดใหญ ควรจะตองบดใหมีขนาดเล็กลงกอน แลวจึงคอยใชผสมอาหาร นอกจากนี้ ยังมีปลายขาวนึ่ง (ขาวเปลือกทีเ่ปยกน้ํา หรือมีความชื้นสูง นํามาอบเอาความชื้นออก สีเอาเปลือกออก ปลายขาวนึ่งมีสีเหลืองออน หรือสีขาวปนเหลือง) นํามาเลี้ยงสุกร ทดแทนปลายขาวได แตตองพิจารณา เร่ืองคุณภาพดวย เชน การปนของเมล็ดขาวสีดํา ซ่ึงเมล็ดขาวสีดาํมีคุณภาพไมดี 2.2 รําละเอียด มีโปรตีนประมาณ 12 เปอรเซ็นต รําละเอียดมีไขมันเปนสวนประกอบ อยูในระดับคอนขางสูง และเปนไขมันที่หืนไดงาย ในสภาวะที่อากาศรอน หากเกบ็ไวเกิน 60 วัน ไมเหมาะทีจ่ะนํามาใชเล้ียงสตัว รําละเอียดมักจะมกีารปลอมปน ดวยแกลบปน ละอองขาวหรือดินขาวปน ทําใหคุณคาทางอาหารต่ําลง ถาเปนรําขาวนาปรงั ควรระวังเรือ่งยาฆาแมลง ที่ปะปนมาในระดับสูง รําสกัดน้ํามันไดจากการ นําเอารําละเอียดไปสกัดเอาไขมันออก ใชทดแทนรําละเอียดไดดี แตตองระวังเรื่องระดบัพลังงาน เพราะรําสกัดน้ํามนัมีคาพลังงานใชประโยชนได ต่ํากวารําละเอียด รําละเอียดมีเยื่อใย เปนสวนประกอบในระดบัสูง จึงมีลักษณะฟาม ไมควรใชเกิน 30 เปอรเซ็นตในสูตรอาหาร รําละเอียดคณุสมบัติเปนยาระบาย โดยเฉพาะสูตรอาหารแมสุกรอุมทอง และเลี้ยงลูก จะชวยลดปญหาแมสุกรทองผูก 2.3 ขาวโพด มีโปรตีนประมาณ 8 เปอรเซ็นต และมีเยื่อใยอยูในระดับต่ํา เปนวัตถุดิบอาหาร ที่เหมาะในการผสมเปนอาหารสุกร ขาวโพดที่ดีควรเปนขาวโพด ที่บดอยางละเอียด ไมมีมอดกิน ไมมีส่ิงปลอมปน และที่สําคัญที่สุด จะตองไมขึ้นรา (สารพิษอะฟลาท็อกซิน) และไมมยีาฆาแมลงปลอมปน ขาวโพดสามารถใชทดแทนปลายขาวได ขอเสียในการใชขาวโพด คือ มีเชื้อราและยาฆาแมลง เนื่องจากการเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษาไมดีพอ 2.4 ขาวฟาง มีโปรตีนประมาณ 11 เปอรเซ็นต ขาวฟางโดยทั่วไปจะมสีารแทนนิน ซ่ึงมีรสฝาดอยูในระดบัสูง สารแทนนินมีผลทําใหการยอยได ของโปรตีนและพลังงานลดลง ดังนั้น จึงเปนขอจํากัดในการใชขาวฟาง

Page 16: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

16

2.5 มันสําปะหลัง ใชเล้ียงสัตวในรูปมันสําปะหลังตากแหง ที่เรียกวา มันเสน มีโปรตีนประมาณ 2 เปอรเซ็นต มีแปงมาก มีเยื่อใยประมาณ 4 เปอรเซ็นต ขอเสียของการใชมันเสน คือ จะมีลําตน, เหงา และดินทราย ปนมาดวย ดังนั้น จึงควรเลือกใชมันเสนทีม่ีคุณภาพด ีเกรดใชเล้ียงสุกร สวนหัวมันสําปะหลงัสด ไมควรนํามาใชเปนอาหารสัตว เพราะมีสารพิษกรดไฮโดรไซยานิค ในระดับสูงมาก และเปนอนัตรายตอสัตวได วิธีการลดสารพิษทําได 2 วิธีคือ ก. ทําเปนมันเสน โดยหัน่เปนชิน้เล็ก ๆ ผ่ึงแดดอยางนอย 3 แดด มันเสนที่มีคณุภาพดี สามารถใชทดแทนปลายขาวได ในกรณีปลายขาวราคาแพง และมันเสนราคาถูก (ปลายขาว 1 กิโลกรัม เทากบัมันเสน 0.85 กิโลกรัม + กากถั่วเหลือง 0.15 กิโลกรัม) ข. ทําเปนมันหมกั หมักในหลุม หรือในถุงพลาสติก ควรหมักอยางนอย 1 เดอืน ซ่ึงจะลดปริมาณสารพิษ กรดไฮโดรไซยานิคใหอยูในระดบั ที่ไมเปนอันตรายตอสุกร) 3. อาหารประเภทไขมัน ไขมันจากสัตว ไดแก ไขมันววั ไขมันสุกร สวนไขมันจากพชื ไดแก น้ํามนัถ่ัวเหลือง น้ํามันปาลม น้าํมันรํา เปนตน สาเหตุที่ตองใชไขมันในสูตรอาหาร เพื่อเพิ่มระดับพลังงาน ในสูตรอาหารนั้นใหสูงขึ้น สวนใหญใชในอาหารสุกรเล็ก โดยเติม 2-5 เปอรเซ็นตในอาหาร ขอเสียของไขมัน มักจะมกีล่ินหืน และเก็บไวไดไมนาน 4. อาหารประเภทแรธาตุ และไวตามิน

4.1กระดูกปน เปนแหลงของธาตุแคลเซี่ยม และฟอสฟอรสัที่ดีมาก แตมีคุณภาพไมแนนอน 4.2ไดแคลเซี่ยมฟอสเฟต ใหธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรสั ทํามาจากกระดูก หรือทําจากหิน

โดยนําเอาหินฟอสเฟตมาเผา ปกติจะใชไดแคลเซี่ยมฟอสเฟต ที่มีฟอสฟอรัส 18 เปอรเซ็นต (P 18) หรือสูงกวา

4.3เปลือกหอยบด ใหธาตแุคลเซี่ยมอยางเดยีว 4.4หัวไวตามนิแรธาตุ หรือพรีมิกซ เปนสวนผสมของไวตามิน และแรธาตุปลีกยอยทุก

ชนิด ที่สุกรตองการ และพรอมที่จะนํามาผสม กับวัตถุดบิอาหารสัตวอยางอื่นไดทันที พรีมิกซมีขายตามทองตลาดทั่วไป การตลาด สุกร

สุกรเปนสัตวที่สามารถจําหนายไดตลอดเวลา เนื่องมาจากสุกรเปนสัตวที่มีความยืดหยุนตวัสูง ขายไดทุกขนาดและทกุอายุ ผลผลิตของสุกรสวนใหญจะใชบริโภคภายในประเทศ โดยความตองการบริโภคสุกรในป 2543 จะมีประมาณ 9 ลานตัว เพิ่มขึ้นจากป 2542 รอยละ 1.1 และมีอัตรา

Page 17: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

17

การบริโภคสุกรประมาณ 11 – 12 กิโลกรัมตอคนตอป เพิม่ขึ้นจากป 2542 รอยละ 4 ตามการฟนตวัของเศรษฐกิจ ตลาดสุกรมีตลาดจํากัดภายในประเทศ การสงออกสุกรเนื้อสุกรไปตางประเทศคอนขางต่ํา เพียงรอยละ 1 – 2 ของปริมาณการผลิต เนื่องจากขอกําหนดเงื่อนไขจากขอกําหนดประเทศคูคาเรื่องโรคปากและเทา เปอย ราคาผันผวนไมแนนอน คุณภาพของเนื้อสุกรยังไมไดมาตรฐานจากการฆาชําแหละและการตัดเศษซาก การบรรจุหีบหอ และสถานที่วางจําหนาย เงื่อนไขการเปดการคาเสรีทั้ง WTO และ AFTA จะตองเปดตลาดใหมกีารนําเขาสินคาเสรีเพิ่มขึ้น โดยใหลดอัตราภาษีลง ดานคุณภาพของเนื้อสุกร สุกรจะมีคณุภาพดีที่สุด เมื่อมขีนาดที่ 30 – 60 % ของขนาดโตเต็มที่เนื้อจะมีรสชาติดีและไมเหนียวจนเกินไป ที่ขนาดนอยกวา 30 %ของขนาดโตเต็มที่เนื้อจะยังขาดรสชาติ แตถาเจริญเตบิโตมากกวา 60 % ของขนาดโตเต็มที่เนื้อจะเหนียว ประเทศผูผลิตสุกรรายใหญของโลก ดานศกัยภาพการผลิตเนื้อสุกรของโลก มีประเทศจีนเปนเปนผูผลิตรายใหญที่สุด คิดเปน51% ของผลผลิตโลก รองลงมาคือประเทศในกลุมสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา คิดเปน 21% และ 10% ของผลผลิตโลกตามลําดับ และประเทศผูผลิตรายใหญอ่ืน ๆ ไดแก ประเทศบราซิล ประเทศเยอรมัน และประเทศญี่ปุน ประเทศผูสงออกเนื้อสุกรรายใหญของโลก ประเทศที่มีการสงออกเนื้อสุกรรายใหญที่สุดของโลกอยูที่ประเทศเดนมารก รองลงมาคือประเทศเนเธอรแลนด และประเทศจีน (ประเทศจนีถึงจะเปนประเทศที่เปนผูผลิตเนื้อสุกรมากเปนอันดับหนึ่งของ โลกแตประเทศจีนมีประชากรเปนจํานวนมาก ซ่ึงสวนหนึ่งตองใชบริโภคในประเทศ จึงทําใหปริมาณการสงเนื้อขายเปนอันดับที่ 3 ของโลก) สําหรับประเทศอื่น ๆ ที่เปนประเทศที่สงออกเนื้อสุกรรายใหญของโลก ไดแก ประเทศเบลเยี่ยม ประเทศลักเซมเบอรก ประเทศฝร่ังเศส ประเทศแคนาดา ประเทศไตหวัน และประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศผูนําเขาเนื้อสุกรรายใหญของโลก ประเทศผูนําเขาเนือ้สุกรที่สําคัญ ไดแกประเทศญี่ปุน มีสัดสวนการนําเขารอยละ 32 ประเทศรัสเซียรอยละ 19 ประเทศสหรัฐอเมริการอยละ 13 ฮองกงรอยละ 8.5 โดยมีอัตราการบริโภคเนื้อสุกรปริมาณมากในกลุมสหภาพยุโรป ทําใหตลาดเนื้อสุกรขยายตวัคอนขางมากในกลุมสหภาพยุโรป

Page 18: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

18

การผลิตและการคาสุกรของประเทศไทย การผลิตสุกรในประเทศไทย จะเปนการผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศเปนหลักรอยละ 98-99 มีการสงออกเพียงเลก็นอยประมาณรอยละ 1-2 ของตลาดเนื้อสุกรซึ่งจํากัดอยูในกลุมประเทศเอเชีย การตลาดคาเนื้อสุกรสวนใหญจึงมุงเนนไปยังประเทศฮองกงเปนสําคัญ ซ่ึงมีปริมาณการนําเขาประมาณ 8.5 ของโลก และเงื่อนไขทางการคาที่ไมเขมงวดเกินกวาที่จะปฏิบตัิได ประเทศไทยมศีักยภาพการผลิตตลาดเนื้อสุกรของไทย จากป 2545 การผลิตหมุนเวยีน (Stock) ปละ 9.8 ลานตัว เพิม่จากป 2544 รอยละ 1.4 เปนการขยายตัวของผูเล้ียงระดบัอุตสาหกรรม ใน จ.ราชบุรี เพิ่มขึ้นรอยละ 15 ตอป สวนในป 2546 การผลิตสุกร คาดวาจะขยายตวัเพิ่มขึ้นรอยละ 2 โดยมีแหลงผลิตสุกรที่สําคัญของไทย คือ - ภาคกลาง เปนแหลงผลิตที่สําคัญไดแก ราชบุรี นครปฐม ฉะเชิงเทรา และชลบุรี โดยมีผลผลิตรวมรอยละ 52.6 ของผลผลิตทั้งหมด - ภาคเหนอื มีผลผลิตรอยละ 18.95 ของทั้งหมด - ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ รอยละ 18.59 ของทั้งหมด - ภาคใตรอยละ 9.81 ของทั้งหมด จํานวนการผลิตสุกรของประเทศไทยตั้งแตป พ.ศ. 2536 – 2547 ซ่ึงจํานวนการผลิตสุกรจะเพิ่มขึน้ทุกป เนื่องจากมีความตองการบริโภคเนื้อสุกรมากขึ้น แตในป 2540 การผลิตจะมีมาก เนื่องจากเปนชวงกอนเกิดเศรษฐกิจแบบฟองสบู เปนชวงที่เศรษฐกิจกําลังรุงเรืองมากทําใหประชาชนมีกําลังซ้ือมาก ซ่ึงหลังจากภาวะเศรษฐกิจแบบฟองสบูเกิดขึน้แลว สงผลใหการผลิตลดลง และมาเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เหมือนเดิม ตารางที่ 1. ตารางแสดงลําดบัจังหวัดและจํานวนสุกรท่ีมีในพื้นท่ี (ม.ค.2549) ลําดับท่ี จังหวัด จํานวนสุกร

(ตัว) %ของประเทศ ลําดับที่ จังหวัด จํานวนสุกร

(ตัว) %ของประเทศ

1 ราชบุรี 1,526,541 19.532 40 อางทอง

45,305

0.580

2 นครปฐม 677,311 8.666 41 มหาสารคาม

45,182

0.578

3 ชลบุรี 588,032 7.524 42 สุโขทัย

44,272

0.566

4 ฉะเชิงเทรา 579,091 7.409 43 พิษณุโลก

43,887

0.565

Page 19: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

19

5 เชียงใหม 316,790 4.053 44 นาน

43,370

0.556

6 นครราชสีมา 308,412 3.946 45

พระนครศรีอยุธยา

42,854

0.556

7 นครศรีธรรมราช

183,182 2.344 46 พิจิตร

42,337

0.533

8 สุพรรณบุร ี 167,701 2.146 47 ลําพูน

41,821

0.512

9 ขอนแกน 143,387 1.835 48 สกลนคร

41,304

0.468

10 เชียงราย 140,253 1.795 49 จันทบุร ี

40,788

0.462

11 สระบุร ี 140,195 1.794 50 พะเยา

40,271

0.451

12 บุรีรัมย 129,850 1.661 51 กําแพงเพชร

39,755

0.430

13 ลพบุรี 120,588 1.543 52 กาฬสินธุ

39,238

0.417

14 ปราจีนบุรี 114,367 1.463 53 ยโสธร

38,722

0.391

15 พัทลุง 103,301 1.322 54 สิงหบุร ี

38,205

0.390

16 ลําปาง 94,700 1.212 55 ตราด

37,689

0.345

17 อุดรธานี 92,956 1.189 56 พังงา

37,172

0.333

18 ตาก 92,243 1.180 57 หนองคาย

36,656

0.332

19 เพชรบุรี 86,637 1.109 58 ภูเก็ต

36,139

0.328

20 สุรินทร 86,333 1.105 59 หนองบัวลําภู

35,623

0.320

21 ประจวบคีรีขันธ

83,622 1.070 60 มุกดาหาร

35,106

0.291

22 อุบลราชธานี 81,475 1.042 61 ยะลา

34,590

0.275

Page 20: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

20

23 ชัยภูมิ 80,372 1.028 62 อุทัยธานี

34,073

0.248

24 ศรีสะเกษ 80,197 1.026 63 ระนอง

33,557

0.231

25 นครสวรรค 73,067 0.935 64 เลย

33,040

0.231

26 สุราษฎรธานี 71,886 0.920 65 กระบี่

32,524

0.202

27 ระยอง 71,374 0.913 66 สมุทรสงคราม

32,007

0.187

28 รอยเอ็ด 69,458 0.889 67 ปทุมธานี

31,491

0.155

29 อุตรดิตถ 67,091 0.858 68 สระแกว

30,974

0.155

30 ชุมพร 64,338 0.823 69 อํานาจเจริญ

30,458

0.118

31 นครนายก 63,067 0.807 70 สตูล

29,941

0.107

32 สงขลา 61,148 0.782 71 ปตตานี

29,425

0.098

33 ชัยนาท 58,032 0.743 72 นราธิวาส

28,908

0.071

34 แพร 51,527 0.659 73 สมุทรปราการ

28,392

0.055

35 ตรัง 51,475 0.659 74 นนทบุรี

27,875

0.039

36 นครพนม 47,893 0.613 75 สมุทรสาคร

27,359

0.025

37 เพชรบูรณ 47,598 0.609 76 กรุงเทพมหานคร

26,842

0.015

38 กาญจนบุรี 46,675 0.597 รวม

8,244,785

100

39 แมฮองสอน 45,468 0.582

ท่ีมา : กรมปศุสัตว

Page 21: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

21

ลักษณะผูผลิต ลักษณะของผูผลิตในประเทศมี 2 อยาง แบงเปนผูผลิตรายยอยและผูเล้ียงเปนการคา

1.ผูเล้ียงรายยอย ผูเล้ียงจะเลี้ยงจํานวนไมมากนัก คิดเปน 90 % ของผูเล้ียงทั้งประเทศ พบทั่วไปทุกภาคทั่วประเทศ จํานวนที่ผลิตไดคิดเปน 20 % ของสุกรที่ผลิตทั้งประเทศ การเลี้ยงประเภทนี้เปนการเลี้ยงเพื่อการบริโภคในทองถ่ินเปนหลัก

2.ผูเล้ียงเปนการคา จํานวนผูเล้ียงไมมากนกั 10 %ของผูเล้ียงทั้งประเทศ แตเล้ียงจํานวนมาก สงสุกรออกสูตลาดมาก มีการวางแผนในการผลิตสุกรตามสภาวะตลาด ลักษณะของตลาด มี 4 ลักษณะ คือ

1.ตลาดทั่วไป เปนตลาดที่มีความเกีย่วของกบัผูเล้ียงรายยอยในทองถ่ิน โดยทําการรวบรวมหรือขายเนื้อสุกรชําแหละ

2.ตลาดประมลู ไดสุกรจากฟารมขนาดกลาง และขนาดใหญ โดยขายใหแกพอคาขายสุกรสงเนื้อสุกรชําแหละ

3.ตลาด คูสัญญา ตัวอยางเชน contract farm หรือบริษัทคูสัญญา ซ่ึงในการซื้อขายจะมีการกําหนดราคาลวงหนาหรือเวลาซื้อขาย

4.ตลาดจากฟารมขนาดใหญ มีพอคาประจํามารับซื้อ และซื้อเปนจํานวนมาก วัฏจักรราคา ราคาขึ้นอยูกับ 1. ปริมาณการเลี้ยง ถามีการเลี้ยงสุกรขุนเปนจํานวนมากจะทําใหสุกรมีราคาถูก 2. ราคาของเนื้อสัตวชนิดอื่น คือถาราคาเนื้อสัตวชนิดอื่น 3. ราคาอาหารสัตว เปนตัวแปรสําคัญที่จะทําใหราคาขายสูงหรือต่ํา เนื่องจากอาหารที่ใชเล้ียงสุกรเปนอาหารขน มีการใชอาหารหยาบนอย ถาราคาอาหารสัตวมีราคาแพงกจ็ะทําใหราคาขายสูงขึ้นดวย

ตารางที่ 2 แสดงราคาสุกร ป 2546- 2549

ที่มา :สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร

ราคาสุกรในป พ.ศ.2546-2549 แยกตามรายเดือน ชวงเวลา ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

2546 28.5 27.13 24.6 26.31 31.21 38.93 36.5 34.2 36 35.83 33.75 33.88 2547 38 48 53 55 51 45 40 41 41 39 44 46 2548 47 48 49 53 51 51 51 49 45 42 48 51 2549 50 48 48 47 47 48 45 45 45 42 43 37

Page 22: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

22

ภาพที่ 5 กราฟเปรียบเทียบราคาสุกร แตละป

ราคา สุกร ป 2546-254960

50

40

30

20

10

0 ม .

สถานการณและแนวโนมดานราคาของสุกร ในระยะเวลา 5 ป ท่ีผานมา สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนมกราคมและแนวโนมเดือนกุมภาพันธ 2546) สุกรมีชีวิต ราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมเฉลี่ยเดือนมกราคม 2546 ลดลงจากเดือนธันวาคม 2545 เนื่องจากปริมาณสุกรยังออกสูตลาดมาก โดยสุกรมีชีวติราคาเฉลี่ย กก.ละ 28.50 บาท อยางไรก็ตาม มาตรการจัดใหมีการจําหนายสุกรมีชีวิตในราคา 2 กก.: 100 บาท ในหลายจังหวัดคาดวาจะสงผลตอปริมาณสุกรที่จะออกสูตลาดในระยะตอไปลดลงได สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนกุมภาพันธและแนวโนมเดือน มีนาคม 2546) สุกรมีชีวิต ภาวะการคาสุกรมีชีวิตและการคาปลีกยังซบเซา ราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมเฉลี่ยเดือนกุมภาพนัธ 2546 ลดลงจากเดือนที่ผานมา เนื่องจากปริมาณสุกรยังออกสูตลาดมาก โดยสุกรมีชีวิตราคาเฉลี่ย กก.ละ 27.13 บาท อยางไรกต็าม กรมการคาภายในไดรวมกบัผูเล้ียงสุกรเพิ่มปริมาณการบริโภค โดยรณรงคใหมีการบริโภคหมูหัน และมาตรการจัดใหมกีารจําหนายเนื้อสุกรชําแหละรวมในราคา 3 กก. : 100 บาท โดยเริ่มที่จังหวัดสุพรรณบรีุตั้งแตวันที่ 11 มีนาคม 2546 คาดวาจะสงผลตอปริมาณสุกรที่จะออกสูตลาดในระยะตอไปลดลงได

ค . ก . พ . ม .ี ค . เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค ส.ค. ก . ย . ต . ค . พ.ย. ธ.ค. ป 2546 ป2547 ป 2548 ป 2549

Page 23: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

23

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนมีนาคม และแนวโนมเดือน เมษายน 2546) สุกรมีชีวิต สภาวะการคาสุกรมีชีวิตและการคาปลีกยังซบเซา ราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมเฉล่ียเดือนมนีาคม 2546 เฉล่ีย กก.ละ 24.60 บาท ลดลงจากเดือนที่ผานมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตออกสูตลาดมากเกินความตองการบริโภค ประกอบกับมาตรการเขมงวดตรวจสอบฟารมที่มีการใชสารเรง เนื้อแดงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทําใหมีการระบายสุกรมีชีวิตออกสูตลาดมากขึน้ อยางไรก็ตาม ภาครัฐไดมีมาตรการชวยเหลือผูเล้ียงสุกร โดยรณรงคใหมีการบริโภคหมูหัน และจดัใหมีการจาํหนายเนื้อสุกรชําแหละรวม ในราคา 3 กก. : 100 บาท คาดวาจะสงผลตอปริมาณสุกร ที่จะออกสูตลาดในระยะตอไปลดลงได สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนเมษายน และแนวโนมเดือน พฤษภาคม 2546) สุกร มีชีวิต ภาวะการคาสุกรมีชีวิตและ การคาปลีกคลองตัวกวาเดือนที่ผานมา เปนผลจากการเรงระบายสุกรมีชีวิตสวนเกินออกสูตลาดกอนหนานี้เพื่อหลีก เล่ียงการตรวจสอบสารเรงเนื้อแดง สงผลใหราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมเฉลี่ยเดือนเมษายน 2546 ปรับตัวสูงขึ้นจากเดอืนกอนซ่ึงมีราคา กก.ละ 24.60 บาท เปนเฉลี่ย กก.ละ 26.31 บาท คาดวาการคาสุกรจะเขาสูภาวะปกติ และระดบัราคามีแนวโนมสูงขึ้น

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนพฤษภาคมและแนวโนมเดือน มิถุนายน 2546) สุกรมีชีวิต สภาวะการคาสุกรมีชีวิตและ การคาปลีกคลองตัวราคาสุกรมีชีวิตปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องและระดับราคาอยูในเกณฑสูง ราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมเดือนพฤษภาคม 2546 เฉล่ีย กก.ละ 31.21 บาท คาดวาระดับราคาสุกรจะปรับสูงขึ้นอีกในชวงตอไป ซ่ึงเปนผลจากการผลักดันการแกปญหาสุกรทั้งระบบโดยเฉพาะการตรวจสอบเนื้อ สุกรที่ใชสารเรงเนื้อแดง สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนมิถุนายนและแนวโนมเดือน กรกฎาคม 2546)

สุกร มีชีวิต การคาสุกรมีชีวิตยังอยูในภาวะปกติ ภาวะการคาปลีกโดยรวมยังอยูในภาวะคลองตัวแมวาความตองการของตลาดจะลดลง ซ่ึงเปนผลจากภาวะการทองเที่ยวที่ชะลอตัว สงผลใหระดับราคายังอยูในเกณฑสูง โดยราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมเดือนมิถุนายน 2546 เฉล่ีย กก.ละ 38.93 บาท คาดวาระดับราคาจะปรับตัวลดลงในชวงตอไปเนื่องจากปรมิาณผลผลิตจะเริ่มออก สูตลาดมากขึ้นเปนผลจากสภาพอากาศเยน็ทําใหสุกรโตเร็วกวาปกต ิ

Page 24: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

24

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนกรกฎาคม และแนวโนมเดือน สิงหาคม 2546)

สุกร มีชีวิต สภาวะการคาไมคลองตัว ราคาออนตัวลงเนื่องจากความตองการของตลาดชะลอตัว ประกอบกับสภาพอากาศที่เอื้ออํานวยใหสุกรเจริญเติบโตเร็ว ทําใหสุกรที่ออกสูตลาดในชวงนี้มีขนาดใหญและมมีันมาก ไมเปนที่ตองการ ของตลาด ในขณะทีก่ารซื้อขายจะคํานึงถึงคุณภาพเปนสาํคัญ ทําให ผูคาปลีกชะลอการสั่งซ้ือสุกรชําแหละ สงผลใหระดับราคาสกุรมีชีวิตหนาฟารมเดือนกรกฎาคม 2546 อยูที่เฉล่ีย กก.ละ 36.50 บาท คาดวาระดับราคาจะปรับตัวลดลงอีกในชวงตอไปเนื่องจากเปนชวงผลผลิตออกสู ตลาดมาก อยางไรก็ดี ผลจากการผลักดันการแกปญหาสุกรทั้งระบบโดยเฉพาะการตรวจสอบเนื้อสุกรที่ใช สารเรงเนื้อแดงของรัฐบาลในชวงกอนหนานี้ คาดวาจะสงผลใหราคาไมลดต่ําลงมากนักต ิ

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนสิงหาคม และแนวโนมเดือน กันยายน 2546)

สุกร มีชีวิต ภาวะการซื้อขายโดยทัว่ไปคอนขางชะลอตัว ราคาออนตัวลงเนื่องจากผลผลิตสุกรที่ออกสูตลาดในชวงนี้ มีขนาดใหญในขณะทีก่ารซื้อขายจะคํานึงถึงคุณภาพและน้ําหนักที่ไดมาตรฐานเปน สําคัญ สงผลใหระดับราคาสกุรมีชีวิตหนาฟารมเดือนสิงหาคม 2546 ออนตัวลงอยูที่เฉล่ีย กก.ละ 34.20 บาท คาดวาแนวโนมระดับราคาสุกรจะทรงตัว ทั้งนีเ้ปนผลจากการผลักดันการแกปญหาสุกรทั้งระบบ โดยเฉพาะการตรวจสอบเนื้อสุกรที่ใชสารเรงเนื้อแดงของรัฐบาลในชวงกอนหนา นี้ ประกอบกับไดมีการเจรจากับประเทศสิงคโปรเพื่อเปดตลาดสินคาสุกรแปรรูป เพื่อแกไขปญหาผลผลิตสวนเกินอีกทางหนึ่ง ซ่ึงจะเปนผลดตีอทิศทางราคาสุกรในระยะตอไป

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กันยายน และแนวโนมเดือน ตุลาคม 2546)

สุกร มีชีวิต ภาวะการซื้อขายโดยทัว่ไปปรบัตัวดีขึ้นกวาเดือนที่ผานมา ราคาโนมสูงขึ้นเนื่องจากผูเล้ียงคาดวาในชวงเทศกาลกินเจ ความตองการบริโภคจะลดนอยลง จึงชะลอการนําลูกสุกรเขาเลี้ยงชวงกอนหนานี้ สงผลใหระดบัราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมเดือนกันยายน 2546 เฉล่ีย กก.ละ 36.00 บาท คาดวาแนวโนมระดับราคาสุกรจะออนตวัลงเล็กนอยในชวงเดือนตุลาคม 2546 เนื่อง จากความตองการของตลาดที่ลดลงในชวงปดภาคเรียน ในขณะที่ปริมาณสุกรจะมีสงเขาตลาดมากขึ้นในชวงที่อากาศเริ่มเยน็ลง อยางไรก็ตาม ผลจากการดําเนินการควบคมุในเรื่องมาตรฐานฟารมและตรวจสอบสารเรงเนื้อแดงที่ ยังคงมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง กอปรกับสิงคโปรไดเปดตลาดรับซ้ือเนื้อสุกรแปรรูปจากไทยแลวคาดวาจะสง ผลดีตอระดับราคาในชวงนี้ไมใหลดต่ําลง

Page 25: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

25

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน ตุลาคม และแนวโนมเดือน พฤศจิกายน 2546)

สุกร มีชีวิต ภาวะการ ซ้ือขายโดยทัว่ไปชะลอตัวลง มีการระบายสุกรออกสูตลาดมากขึ้น เปนผลจากเกดิการระบาดของโรคปากเทาเปอยในพื้นทีภ่าคกลาง สงผลใหระดับราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมออนตัวลงเปนเฉลี่ย กก.ละ 35.83 บาท อยางไรก็ตาม ผลจากการดําเนินการควบคุมในเร่ืองมาตรฐานฟารมและตรวจสอบ สารเรงเนื้อแดงทีย่ังคงมีการดําเนนิการอยางตอเนือ่ง กอปรกับมีการเปดตลาดรับซื้อเนื้อสุกรแปรรูปจากสิงคโปร คาดวาแนวโนมระดับราคาสุกรจะทรงตัวตอไปอีกระยะหนึ่งและอาจปรับตัวสูงขึ้น ได สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน พฤศจิกายน และแนวโนมเดือน ธันวาคม 2546) สุกรมีชีวิต ผลผลิตออกสูตลาดในปริมาณมากในชวงปกษแรกของเดือนพฤศจิกายน 2546 เนื่องจากมภีาวะโรคระบาดในพื้นทีภ่าคกลางทําใหมีการเรงระบายผลผลิต แตหลังจากสถานการณดังกลาวคลี่คลายปริมาณสุกรที่ออกสูตลาดจึงลดลง สงผลใหราคาเฉลี่ยเดือนพฤศจกิายน 2546 ออนตัวลงเพียงเล็กนอย โดยระดบัราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เดือนพฤศจิกายน 2546 เฉล่ีย กก.ละ 33.75 บาท อยางไรก็ตาม ผลจากการดําเนินการควบคุมในเรื่องมาตรฐานฟารมและตรวจสอบสารเรงเนื้อแดงที่ ดําเนินการ อยางตอเนื่อง กอปรกับมาตรการในพัฒนาและแกไขปญหาสุกรอยางเปนระบบของรัฐบาลที่กําหนดให มีการพัฒนาดานการผลิต การตลาด โรงฆาชําแหละ และการพัฒนามาตรฐานปจจยัการผลิต ที่คาดวาจะสงผลดีตอระบบการคาสุกร คาดวาแนวโนมระดบัราคาสุกรจะทรงตัวตอไปอีกระยะหนึ่ง สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน ธันวาคม 2546 และแนวโนมเดือน มกราคม 2547) สุกร มีชีวิต ผลผลิตออกสูตลาดสม่ําเสมอ แตความตองการมีมากกวาปกติ เนือ่งจากเปนชวงเทศกาล รวมทัง้ตนทุนการผลิตของผูเล้ียงเพิ่มขึ้น ประกอบกับภาวะโรคระบาดในพืน้ที่ภาคกลางคล่ีคลายลงแลว ทําใหผูเล้ียงยุติการเรงระบายผลผลิต สงผลใหราคาเฉลี่ยเดือนธันวาคม 2546 ปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนกอนเพียงเล็กนอย โดยระดับราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉลี่ย กก.ละ 33.88 บาท คาดวาราคาสุกรจะปรับตัวดีขึน้ในระยะตอไป เนื่องจากความตองการจะเพิ่มสูงขึ้นในชวง เทศกาลตรุษจีน ประกอบกับแนวโนมการสงออกคอนขางดี เปนผลจากนโยบายความปลอดภัยดานอาหารและภาวะการเกิดโรคกับไกเนื้อ รวมทั้งนโยบายการผลักดันการสงออกของรัฐที่ชวยกระตุนใหสามารถระบายผล ผลิตออกสูตลาดตางประเทศไดมากขึ้น

Page 26: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

26

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน มกราคม และแนวโนมเดือน กุมภาพันธ 2547)

สุกร มีชีวิต ผลผลิตออกสูตลาดสม่ําเสมอ แตความตองการมีมากกวาปกติ เนื่องจากเปนชวงเทศกาลและตนทุนการผลิตของผูเล้ียงเพิ่มขึ้น ประกอบกับภาวะโรคระบาดในพื้นที่ภาคกลางคล่ีคลายลงแลว ทําใหผูเล้ียงยุติการเรงระบายผลผลิต สงผลใหราคาเฉลี่ยเดือนธันวาคม 2546 ปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนกอนเพียงเล็กนอย โดยระดับราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉลี่ย กก.ละ 33.88 บาท สําหรับความเคลือ่นไหวในเดือนมกราคม 2547 ราคา สุกรปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่องจากเดือนกอน เนือ่งจากความตองการบริโภคเพิ่มสูงขึ้นในชวงเทศกาลตรษุจีน ประกอบกับแนวโนมการสงออกคอนขางดี เปนผลจากนโยบายความปลอดภยัดานอาหารและภาวะการเกดิโรคกับไกเนือ้ รวมทั้งนโยบายการผลักดันการสงออกของรัฐที่ชวยกระตุนใหสามารถระบายผล ผลิตออกสูตลาดตางประเทศไดมากขึ้น ปจจบุัน (19 ม.ค.47) ราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 37 - 38 บาท คาดวาราคาในเดือนกุมภาพนัธ จะอยูในภาวะทรงตวั สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กุมภาพันธ และแนวโนมเดือน มีนาคม 2547)

สุกร มีชีวิต ความตองการของตลาดเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากอยูในชวงเทศกาลตรุษจีนและความตองการบริโภคเพื่อทดแทนเนื้อไก ทีป่ระสบปญหาโรคระบาด สงผลใหราคาเฉลี่ยเดือนมกราคมปรับตัวสูงขึ้น โดยราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ีย กก.ละ 37.33 บาท สําหรับ ชวงตนเดือนกุมภาพนัธ ราคาสุกรยังคงปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่องจากเดือนกอน เนื่องจากความตองการ ของตลาดและผูบริโภคเพิ่มสูงขึ้นจากภาวะการเกิดโรคกบัไกเนื้อ ประกอบกบัแนวโนมการสงออกคอนขางดี โดยปจจุบนั (17 ก.พ.47) ราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. ปรับตัวสูงขึ้นเปนกก.ละ 48 - 49 บาท คาดวาราคาจะยังเคลื่อนไหวอยูในระดับสูง อยางไรก็ดี จากสถานการณดานราคาสุกรที่ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องสงผลกระทบตอผู บริโภค รัฐบาลจึงไดขอความรวมมือผูประกอบการสุกรใหตรึงราคาจําหนายสงสุกรมี ชีวิตหนาฟารมในพืน้ที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลที่ กก.ละ 46 บาท ซ่ึงไดรับความรวมมือดวยดี คาดวาระดับราคาสุกรจะยังทรงตวัอยูในระดบัสูงจนกวาสถานการณ โรคไขหวัดนกจะคลี่คลาย สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน มีนาคม และแนวโนมเดือน เมษายน 2547)

สุกร มีชีวิต ผลผลิตสุกรในปนี้ลดนอยลงกวาปกอนเปนผลจากการเกิดโรคระบาดในชวงกลางป ที่ผานมา ในขณะที่ความตองการของตลาดเพื่อทดแทนเนื้อไกที่ประสบปญหาโรคระบาดเพิ่ม มากขึ้น ประกอบกับสุกรที่โตไดขนาดจําหนายมีจํานวนลดลง สงผลใหราคาเฉลี่ยเดือน

Page 27: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

27

กุมภาพนัธปรับตัวสูงขึ้น โดยราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ีย กก.ละ 47.70 บาท และยังปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน โดยปจจุบัน (17 มี.ค.47) ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. ปรับตัวสูงขึ้นเปน กก.ละ 53 - 54 บาท คาดวาราคาจะยังเคลื่อนไหวอยูในระดบัสูงแมวาสถานการณโรคไขหวัดนกจะ คล่ีคลายลงแลว เนื่องจากเขาสูชวงฤดูรอน สุกรเจริญเตบิโตชา อยางไรก็ตาม จากสถานการณดานราคาสุกรที่ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนือ่งสงผลกระทบตอผู บริโภค รัฐบาลจึงไดขอความรวมมือผูประกอบการสุกรใหตรึงราคาจําหนายสงสุกรมี ชีวิตหนาฟารม ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ กก.ละ 46 บาท ซ่ึงไดรับความรวมมอืดวยด ี

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน เมษายนและแนวโนมเดือน พฤษภาคม 2547)

สุกร มีชีวิต ผลผลิตสุกรในปนี้ลดนอยลงกวาปกอนซึ่งเปนกระทบผลจากการเกิดโรคระบาดใน ชวงกลางปที่ผานมา ในขณะที่ความตองการของตลาดเพื่อบริโภคทดแทนเนื้อไกที่ประสบปญหาโรคระบาด มีเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับสภาพอากาศรอนทําใหสุกรเจรญิเติบโต ชากวาปกติ สุกรที่โตไดขนาดจําหนายจึงมจีํานวนลดลง สงผลใหราคาเฉลี่ยเดือนมีนาคมปรับตัว สูงขึ้น โดยราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ีย กก.ละ 53.40 บาท ปจจุบัน (19 เม.ย.47) กก.ละ 55 - 56 บาท และจะยงัคงเคลื่อนไหวอยูในระดับสูงแมวาความตองการของตลาดจะเริ่ม ชะลอตัวลงเล็กนอย เนื่องจากเปนชวงปดภาคเรยีนและในชวงที่ผานมาราคาสุกรอยูในเกณฑสูง ประกอบกับผูบริโภคมีความมั่นใจในการบริโภคเนือ้ไก จึงเริ่มหนักลับไปบริโภคเนื้อไกมากขึ้น

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน พฤษภาคม และแนวโนมเดือน มิถุนายน 2547)

สุกร มีชีวิต แมวาผลผลิตจะออกสูตลาดลดลงอันเนื่องจากสภาพอากาศรอนทําใหสุกรเจริญเติบ โตชากวาปกติ สุกรที่โตไดขนาดจําหนายมีจํานวนลดลง แตภาวะการคาเริ่มชะลอตัวเนื่องจากเปนชวงปดภาคเรียนและในชวงที่ผานมา ราคาสุกรอยูในเกณฑสูง ผูบริโภคจึงหันกลับไปบริโภคเนื้อไกมากขึ้น ประกอบกับนโยบายตรึงราคาสุกรมีชีวิตหนาฟารมในราคา กก.ละ 52 บาท ของรัฐบาล (คร้ังที่ 1) สงผลใหราคาเริ่มออนตัวลงในชวงปลายเดือน โดยราคาสุกร มีชีวิต ณ ตลาด กทม. เดือนเมษายน เฉล่ีย กก.ละ 55.22 บาท อยางไรก็ตาม ราคาดังกลาวยังถือวาอยูในเกณฑสูงสงผลกระทบตอราคาเนื้อสุกรชําแหละ รัฐบาลจึงไดขอความรวมมือผูประกอบการตรึงราคาสุกรมีชีวิตอีกครั้งหนึ่งใหอยูที่ กก.ละ 50 บาท คิดเปนราคาเนื้อสุกรชําแหละหนาเขียงไมควรเกิน กก.ละ 95 - 100 บาท โดยใหมีผลตั้งแตวนัที่ 14 พ.ค.47 เปนตนไป ปจจุบัน (19 พ.ค.47) ราคาสุกรมีชีวิตไดออน

Page 28: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

28

ตัวลงเปนเฉลีย่ กก.ละ 50 - 51 บาท คาดวาจะชวยใหภาวะการคาสุกรมีชีวิตและสกุรชําแหละปรับตัวดีขึ้นในระยะตอไป สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน มิถุนายน และแนวโนมเดือน กรกฎาคม 2547)

สุกรมีชีวิต ปริมาณสุกรมีชีวติมีออกสูตลาดมากขึ้นและมีขนาดน้ําหนกัเกินกวา 100 กก./ ตัว เปนผลจากสภาพอากาศทีเ่ย็นลงเอื้ออํานวยตอการเจรญิเติบโตของสุกร ประกอบกบัผลจากการดําเนินมาตรการดูแลดานราคาสุกรอยางตอเนื่องของรัฐบาล เชน จัดสงเจาหนาทีต่รวจสอบปริมาณการเลี้ยงและจาํหนายสุกรมชีีวิตในพื้นที่ แหลงผลิตสําคัญ การตรวจสอบเขียงหมูในตลาดสด การจัดหาสถานทีจ่ําหนายเนื้อสุกรราคาถูกใหแกผูบริโภคโดยตรง และผลจากการประสานความรวมมือกับผูเกี่ยวของตรึงราคาสุกรมีชีวิตใหอยู ที ่กก.ละ 50 บาท โดยมีผลตั้งแตวนัที่ 14 พ.ค.47 เปนตนมา สงผลใหราคาจําหนายสุกรมชีีวิต ณ ตลาด กทม. เดือนพฤษภาคมออนตัวลงเปนเฉลีย่ กก.ละ 50.95 บาท ปจจุบันสภาวะการจําหนายเนื้อสุกรชําแหละเริ่มชะลอตัว อีกทั้งผูเล้ียงระบายผลผลิตออกสูตลาดมากขึ้นเนื่องจากเกรงวาราคาจะออน ตัวลงอีก ราคาสุกรมีชีวิต ณ 11 มิ.ย.47 ออนตัวลงเปนเฉล่ีย กก.ละ 44-45 บาท คาดวาแนวโนมราคาสุกรมีชีวิตและสุกรชําแหละจะออนตวัลงอีก แตจะยังอยูในเกณฑสูง สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กรกฎาคม และแนวโนมเดือน สิงหาคม 2547)

สุกร มีชีวิต ปริมาณสุกรมีชีวิตมีออกสูตลาดมากจากสภาพอากาศที่เยน็ลง ทําใหสุกรโตเร็ว ประกอบกับผูเล้ียงเกรงวาราคาจะออนตวัลงอีกจึงระบายสุกรบางสวนออกสูตลาด สภาวะการจําหนายเนื้อสุกรชําแหละในทองตลาดทั่วไปจึงไมคลองตัว โดยเฉพาะเนื้อแดง (สะโพก ไหล) นอกจากนี้ผลจากการดําเนินมาตรการดูแลดานราคาสุกรอยางตอเนื่องของรัฐบาล และการจัดจําหนายเนื้อสุกรธงฟาในหางสรรพสินคาและแหลงชุมชนตาง ๆ ในราคาถูก สงผลใหราคาจําหนายสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เดอืนมิถุนายนออนตัวลงเขาสูระดับปกติ โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 43 บาท ปจจุบันราคาจาํหนายสุกร ไดปรับตัวสูงขึ้นอีกเล็กนอยจาก กก.ละ 37-39 บาท ในชวงตนเดือนกรกฏาคมเปน กก.ละ 38-40 บาท ณ 14 ก.ค.47 ทั้ง นี้ เปนผลกระทบจากการตรวจพบการระบาดของโรคไขหวดันกอีกครั้งหนึ่ง ผูบริโภคหนัมาบริโภคเนือ้สัตวชนิดอื่นทดแทน คาดวาแนวโนมราคาสุกรมีชีวิตและสุกรชําแหละจะยังอยูในเกณฑสูง

Page 29: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

29

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน สิงหาคม และแนวโนมเดือน กันยายน 2547)

สุกร มีชีวิต ปริมาณสุกรมีชีวิตมีออกสูตลาดลดลงเปนผลจากผูเล้ียงระบายสุกรบางสวนออก สูตลาดในชวงกอนหนานี้เนื่องจากเกรงวาราคาจะออนตัวลงตอเนือ่งจากชวง เดอืนมิถุนายนที่ประสบปญหาสภาวะการคาชะลอตัว กอปรกับความตองการของตลาดมีเพิ่มขึ้นเพื่อทดแทนเนื้อไกและไขไกที่ประสบ ปญหาการระบาดของโรคไขหวัดนกครั้งใหม สงผลใหราคาจําหนายสุกร มีชีวิต ณ ตลาด กทม. เร่ิมปรับตัวสูงขึ้นตั้งแตชวงตนเดือนกรกฎาคมและมีราคาเฉลี่ยอยูในระดบั ใกลเคียงกับเดอืนกอน โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 40.70 บาท ปจจุบันสภาวะการจําหนายสุกร เร่ิมชะลอตัวลงเล็กนอยเนื่องจากเนื้อสุกรมีราคาสูงเมื่อเปรียบเทียบกับ ราคาเนื้อสัตวชนดิอื่น ขณะที่อาหารประเภทสัตวน้ํามีราคาถูก และอาหารตามธรรมชาติมีเพิ่มขึ้น สงผลใหผูคาชะลอการสั่งซ้ือ ราคาจําหนายสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. ปรับตัวลดลงจาก กก.ละ 43-45 ในสัปดาหสุดทายของ เดือนกรกฎาคม เหลือ กก.ละ 41-42 บาท (20 ส.ค.47) อยาง ไรก็ตาม คาดวาแนวโนมราคาสุกร มีชีวิตและสกุรชําแหละจะยังอยูในเกณฑสูง และจะปรับตัวสูงขึ้นในชวงปลายเดือนสิงหาคมเนื่องจากความตองการใชจะเพิ่ม สูงขึ้นในชวงเทศกาลสารทจีน

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กันยายน และแนวโนมเดือน ตุลาคม 2547)

สุกร มีชีวิต ความตองการของตลาดลดลงเนื่องจากที่ผานมาราคาอยูในเกณฑสูงเมื่อเปรียบ เทียบกับเนื้อสัตวชนิดอืน่ ขณะที่อาหารประเภทสัตวน้ํามีราคาถูก และอาหารตามธรรมชาติ มีเพิ่มขึ้น ผูคาจึงชะลอการสั่งซ้ือ กอปรกับสุกรที่โตไดขนาดจําหนายมีปริมาณเพิ่มขึ้น สงผลใหราคาจําหนายสุกรมชีีวิต ณ ตลาด กทม. ออนตัวลงแตราคาเฉลี่ยเดือนสิงหาคมยังสูงกวาเดือนกอนเล็กนอย โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 41.60 บาท ปจจุบันภาวะการจําหนายสุกรชะลอตัวลง ราคาจําหนายสุกร มีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 41-42 บาท (17 ก.ย.47) อยางไรก็ตาม คาดวาแนวโนมราคาสุกร จะออนตัวลงอีกเนือ่งจากปริมาณผลผลิตออกสูตลาดสม่ําเสมอ กอปรกับความตองการบริโภคลดลงเนื่องจากใกลปดภาคเรียนและใกลเขาสูชวงเทศกาลกินเจ สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน ตุลาคม และแนวโนมเดือน พฤศจิกายน 2547)

สุกร มีชีวิต เนือ่งจากในชวงที่ผานมาราคาสุกรเคลื่อนไหวอยูในระดับสูง เมื่อเปรียบเทียบกับเนื้อสัตวชนิดอื่น ทําใหภาวะการคาปลีกชะลอตัว อีกทั้งราคาวัตถุดบิอาหารสัตว บางชนิดปรับตัวสูงขึ้น ผูเล้ียงบางสวนจึงระบายผลผลิตออกสูตลาดกอนหนานี้เนื่องจากเกรงวาราคา จะออนตัวลงอีก สงผลใหราคาสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ียเดือนกันยายนออนตัวลงจากเดือนกอน เหลือ กก.ละ 40.00 บาท ปจจบุันแมวาความตองการบริโภคเนื้อสุกรจะลดลงเนื่องจากเปนชวงปด

Page 30: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

30

ภาคเรียนและเทศกาลกินเจ แตผูบริโภคที่ไมมั่นใจในความปลอดภัยจากการบริโภคไกเนื้อและไขไก ไดหันกลับมาบริโภคเนื้อสุกรทดแทนมากขึ้น สงผลใหราคาสุกรเริ่มปรับตัวดีขึ้น โดยราคาจําหนายสุกร มีชีวิต ณ ตลาด กทม. (18 ต.ค.47) กก.ละ 39-40 บาท อยางไรก็ตาม คาดวาแนวโนมราคาสุกร จะออนตัวลงในชวงตอไปเนื่องจากเขาสูฤดูหนาวสภาพอากาศเย็นทําใหสุกรเจริญเติบโตเร็ว สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน พฤศจิกายน และแนวโนมเดือน ธันวาคม 2547)

สุกร มีชีวิต เนือ่งจากในชวงที่ผานมาภาวะการคาปลีกสุกรชําแหละชะลอตัว ราคาสุกรออนตัวลงตอเนื่องเปนผลจากราคาที่อยูในเกณฑสูงเมื่อเปรียบ เทียบกับเนือ้สัตวชนิดอื่น อีกทั้งราคาวัตถุดิบอาหารสัตวบางชนิดปรับตัวสูงขึ้น ผูเล้ียงบางสวนจึงระบายผลผลิตออกสูตลาดกอนหนานี้เนื่องจากเกรงวาราคา จะออนตัวลงอีก สงผลใหปริมาณสุกรมีชีวิตที่สงเขาตลาดในชวงเดือนตุลาคมมีปริมาณลดลง กอปรกับเกดิโรคไขหวัดนกรอบสอง ทําใหผูบริโภคหันมาบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึน้ ราคาสุกรเริ่มปรับตัวสูงขึ้น ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ียเดือนตุลาคมอยูในระดับใกลเคียงกับเดอืนกอน โดยมีราคา กก.ละ 39.35 บาท ปจจบุันปริมาณสุกรมีชีวิตออกสูตลาดลดลงตอเนื่องจากเดอืนกอนเปนผลกระทบ จากการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจระบาดในสุกรในชวงปลายเดือนตุลาคม สงผลใหราคาสุกรยังคงปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดย ณ 15 พ.ย.47 ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 44-45 บาท อยางไรกต็าม คาดวาแนวโนมราคาสุกรจะออนตวัลงในชวงตอไป เนื่องจากเขาสูฤดูหนาวสภาพอากาศเยน็ทําใหสุกร เจริญเติบโตเร็ว ปริมาณสุกรมีชีวิตจะออกสูตลาดมากขึ้น

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน ธันวาคม 2547 และแนวโนมเดือน มกราคม 2548 )

สุกร มีชีวิต ภาวะตลาดคลองตัว ผูบริโภคใหความสนใจหันมาบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึน้ กอปรกับผูเล้ียงบางสวนไดระบายผลผลิตออกสูตลาดกอนหนานี้เนื่องจากเกรง วาราคาจะออนตวัลงอีก สงผลใหปริมาณสุกรมีชีวิตที่สงเขาตลาดมีปริมาณลดลง ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ีย เดอืนพฤศจิกายนปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่องจากเดือนกอน โดยมีราคา กก.ละ 43.59 บาท ปจจุบัน ปริมาณสุกรมีชีวิตออกสูตลาดใกลเคียงกับความตองการ สงผลใหราคาสุกรยังคงโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดย ณ 16 ธ.ค.47 ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 46-47 บาท คาดวาแนวโนมราคาสุกร จะทรงตัวอยูในเกณฑสูงตอไปอีกระยะหนึ่งเนื่องจากความตองการบริโภคจะเพิ่มขึ้นในฤดกูาลทองเที่ยว และใกลชวงเทศกาลปใหม

Page 31: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

31

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน มกราคม และแนวโนมเดือน กุมภาพันธ 2548 )

สุกร มีชีวิต ภาวะการคาคลองตัวดีขึ้น ผูบริโภคใหความสนใจหันมาบรโิภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้น กอปรกับผูเล้ียงบางสวนไดระบายผลผลิตออกสูตลาดกอนหนานี้เนื่องจากเกรง วาราคาจะออนตวัลงอีก สงผลใหปริมาณสุกรมีชีวิตที่สงเขาตลาดมีปริมาณสอดคลองกับความตองการ ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉลี่ยเดือนธันวาคม 2547 ปรับตัวสูงขึ้นตอเนือ่งจากเดือนกอน โดยมีราคา กก.ละ 46.50 บาท ปจจบุัน ราคาสุกรยังคงโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดย ณ 14 ม.ค.48 ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 47-48 บาท คาดวาแนวโนมราคาสุกรจะทรงตวัอยูในเกณฑสูงตอไปอีกระยะหนึ่งเนื่องจาก ความตองการบริโภคจะเพิ่มขึ้นในฤดกูาลทองเที่ยวโดยเฉพาะภาคเหนือ และชวงเทศกาลตรุษจีน อีกทั้งผลกระทบจากภัยธรรมชาติในภาคใตทําใหผูบริโภคหันมาบริโภคเนื้อสุกร เนื้อไก แทนอาหารทะเล

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กุมภาพันธ และแนวโนมเดือน มีนาคม 2548 )

สุกร มีชีวิต ภาวะการคายังคงคลองตัวตอเนือ่งจากเดือนกอน ผูบริโภคใหความสนใจหันมาบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้น ปริมาณสุกรมีชีวิตที่สงเขาตลาดสอดคลองกับความตองการ ระดับราคา ยังทรงตัวอยูในเกณฑสูง โดยราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ียเดือนมกราคม กก.ละ 47.50 บาท ปจจุบันความตองการเนือ้สุกรยังคงมีสูงตอเนื่องจากชวงเทศกาลตรุษจีนที่ ความตองการ ของตลาดมีมากกวาปกติเนื่องจากเปนชวงฤดูการทองเที่ยว สงผลใหราคาสุกรยังเคลื่อนไหวอยูในเกณฑสูง โดย ณ 15 ก.พ.48 ราคาขายสงสุกรมีชีวติ ณ ตลาด กทม. กก.ละ 48-49 บาท คาดวาแนวโนมราคาสุกร จะทรงตัวอยูในเกณฑสูงตอไปอกีระยะหนึ่ง สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน มีนาคม และแนวโนมเดือน เมษายน 2548 )

สุกร มีชีวิต ภาวะการคาเนื้อสุกรชําแหละเริ่มชะลอตัวลงในชวงปลายเดือนเนื่องจากสุกรมี ชีวิตที่โตไดขนาดจําหนายมจีํานวนมากและออกสูตลาดสม่ําเสมอ ทําใหผูคาลดปริมาณการสั่งซ้ือสุกรมีชีวิตลง เพื่อใหตลาดสกุรคลองตัวขึ้น อีกทั้งภาวะตลาดไกเนื้อและไขไกเขาสูภาวะปกติ และมีราคาถูกกวาเมือ่เทียบกับเนื้อสุกร ผูบริโภคจึงมีทางเลือกในการบริโภคมากขึ้น ระดับราคาจําหนายสุกร ในเดือนกุมภาพนัธเคล่ือนไหวอยูในระดับใกลเคียงกับเดือนกอน โดยราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ีย กก.ละ 48.50 บาท ปจจุบันความตองการเนื้อสุกรยงัชะลอตัวเนื่องจากเปนชวงปดภาคเรียน สงผลใหราคาสุกรออนตัวลงจากชวงที่ผานมาแตยังเคลื่อนไหวอยูในเกณฑสูง โดย ณ 16 มี.ค.48 ราคา ขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 48-49 บาท อยางไรก็ตาม ภาวะการคาที่

Page 32: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

32

ชะลอตัวจะไมสงผลกระทบตอราคาสุกรมีชีวิตมากนักเนือ่งจาก สภาพอากาศรอน ทําใหสุกรโตมีชีวิตเจริญเติบโตชากวาปกตแิละมีขนาดเล็ก คาดวาแนวโนมราคาสุกรจะทรงตัวอยูในเกณฑสูงตอไปอีกระยะหนึ่ง สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน เมษายน และแนวโนมเดือน พฤษภาคม 2548 )

สุกรมีชีวิต สภาพอากาศที่รอนจัดและแปรปรวน สงผลใหเกิดความสญูเสียในฟารมสุกรสูงถึงรอยละ 30 ประมาณผลผลิตลดลงจากปกติ สุกรที่ออกสูตลาดมีขนาดเล็กลงจากน้าํหนักปกติตัวละ 100 กก. เหลือเพียงตัวละ 80-90 กก. กอปรกับมีการสงออกสุกรไปประเทศเพื่อนบานที่ประสบปญหาโรคไขหวัดนกระบาด มากขึ้นทั้งเวยีดนามและกมัพูชา รวมทั้งลาวซึ่งเคยนําเขาสุกรจากเวียดนามไดหนัมานําเขาสุกรจากไทยแทน สงผลใหราคาขายสงสุกรมีชีวิตปรับตัวสูงขึ้นอยางรวดเร็วตั้งแตชวงกลาง เดือนมีนาคม 2548 โดยเฉพาะภายหลังการปรบัตัวสูงขึ้นของราคาน้ํามันดีเซล โดยราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ีย กก.ละ 48.54 บาท ปจจุบัน (20 เม.ย.48) กก.ละ 53-54 บาท คาดวาราคาสุกรจะยังโนมสูงขึ้นอีกในระยะตอไป อยางไรก็ดี ภาครัฐไดดําเนนิการแกไขปญหาสกุรมีราคาสูงโดยขอความรวมมือสมาคมผูเล้ียง สุกรแหงชาติและผูเล้ียงรายใหญตรึงราคาสุกรมีชีวิตในพื้นทีก่รุงเทพฯ และจังหวัดใกลเคียงไวที่ กก.ละ 50-51 บาท เชียงใหม กก.ละ 55 บาท สวนจังหวัดอื่น ๆ ใหปรับราคาตามระยะทางที่ขนสง และเรงรณรงคใหมีการบริโภคเนื้อไกทดแทน รวมทั้งชะลอการสงออกเพื่อลดปญหาการขาดแคลนและใหมีเนื้อสุกรบริโภคใน ประเทศอยางเพียงพอ สําหรับปญหาการสงออกสุกรมีชีวิตไปกัมพูชาที่เพิ่มขึ้นจนสงผลกระทบตอ ปริมาณผลผลิตภายในประเทศไดมอบหมายใหหนวยงานในพื้นที่เรงดําเนินการตรวจ สอบขอเท็จจริงเพื่อประมวลสถานการณและกําหนดแนวทางแกไขปญหาดงักลาว นอกจากนี้จะกําหนดใหสุกรมีชีวติเปนสินคาควบคุมเพื่อนํามาตรการที่เหมาะสม เชน การควบคุมการเคลื่อนยาย การแจงปริมาณ หรือการกําหนดราคาสูงสุดมาใชในการดแูลผูบริโภคตอไป

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน พฤษภาคม และแนวโนมเดือน มิถุนายน 2548 )

สุกรมีชีวิต สภาพอากาศที่รอนจัดทําใหอัตราการสูญเสียสูงขึ้น สุกรโตชากวาปกติ ขนาดสุกร ที่ออกสูตลาดเล็กกวาชวงปกติรอยละ 10-15 กอปรกบัมีการสงออกทั้งที่ถูกตองและไมถูกตองไปประเทศ เพือ่นบาน เชน ลาว กัมพูชา เวยีดนาม มากขึ้น เนื่องจากราคาจูงใจ สงผลใหราคาขายสงสุกรมีชีวิตปรับตัวสูงขึ้นอยางรวดเร็วตั้งแตชวงกลางเดือนมีนาคม 2548 โดยเฉพาะภายหลังการปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ํามันดีเซล ราคาขายสงสุกรมีชีวติ ณ ตลาด กทม. เฉล่ียเดือนเมษายน กก.ละ 52.79 บาท ภาครัฐไดแกไขปญหาสุกรมีราคาสูงโดยใชมาตรการบริหารขอความรวมมือสมาคมผู

Page 33: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

33

เล้ียงสุกรแหงชาติและผูเล้ียงสุกรรายใหญ ตรึงราคาสุกรมีชีวิตในพื้นทีก่รุงเทพฯ และจังหวดัใกลเคียงไวที่ กก.ละ 50-51 บาท เชียงใหม กก.ละ 55 บาท สวนจังหวัดอื่น ๆ ใหปรับราคาตามระยะทางที่ขนสง รวมทั้งประสานหนวยงานที่เกีย่วของเขมงวดการอนญุาตสงออกเพื่อใหทราบ ปริมาณการสงออกที่แทจริง นอกจากนี้ไดเรงรณรงคใหมกีารบริโภคเนือ้ไกทดแทนและขอความรวมมือ หางสรรพสินคาจัดมุมธงฟาจําหนายเนื้อสุกรและเนื้อไกราคาประหยดัเพื่อลด ภาระคาครองชีพใหผูบริโภค อีกทั้ง คณะกรรมการกลางวาดวยราคาสนิคาและบริการ (กกร.) โดยความเหน็ชอบของ ครม. ไดกําหนดใหสุกรเปนสินคาควบคุม ทําใหภาวะสุกรมีราคาสูงเริ่มคลี่คลายลง โดย ณ 18 พ.ค.48 ราคาขายสงสุกรมีชีวติ ณ ตลาด กทม. กก.ละ 51-52 บาท คาดวาราคาสุกรจะเริม่ปรับตวัเขาสูภาวะปกติในระยะตอไป อยางไรก็ตาม หากสถานการณไมคล่ีคลายลง ภาครัฐจะไดนํามาตรการที่เหมาะสม เชน การควบคุมการเคลื่อนยาย การแจงปริมาณ หรือการกําหนดราคาสูงสุดมาใชในการดูแลผูบริโภคตอไป

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน มิถุนายน และแนวโนมเดือน กรกฎาคม 2548 )

สุกรมีชีวิต จากปญหาราคาที่อยูในเกณฑสูงตอเนื่องมาตั้งแตเดือนมีนาคม 2548 ทํา ให ผูบริโภคหันไปบริโภคเนื้อสัตวชนิดอื่นทดแทน กอปรกบัภาครัฐไดแกไขปญหาสุกรราคาแพงโดยกําหนดใหสุกรเปนสินคาควบคุม รวมทั้งประสานหนวยงานที่เกีย่วของเขมงวดการอนญุาตสงออกเนื่องจากมกีาร สงออกสุกรทั้งที่ถูกตองและไมถูกตองไปยงัประเทศเพื่อนบานที่ประสบปญหา ไขหวดันกระบาดมากขึ้น ไดแก กมัพูชา เวียดนาม และลาวที่ปกตินําเขาจากเวยีดนาม นอกจากนี้ไดเรงรณรงคใหมีการบริโภคเนื้อไกทดแทนและขอความรวมมือหาง สรรพสินคาจัดมมุธงฟาจําหนายเนื้อสุกรและเนื้อไกราคาประหยัดเพื่อลดภาระ คาครองชีพใหผูบริโภค สงผลใหภาวะการคาคลองตัวขึ้น สถานการณสุกรราคาแพงเริ่มคลี่คลายลง ราคา ขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ียเดือนพฤษภาคม กก.ละ 51.92 บาท ปจจุบนั (14 มิ.ย.48) กก.ละ 51-52 บาท คาดวาราคาสุกรจะเริ่มปรับตัวเขาสูภาวะปกติในระยะตอไป เนื่องจากเขาสูชวงฤดูฝน สภาพอากาศเอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโต ทําใหผลผลิตมีออกสูตลาดสม่ําเสมอ

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กรกฎาคม และแนวโนมเดือน สิงหาคม 2548 )

สุกร มีชีวิต สภาวะการจําหนายชะลอตวัจากปญหาราคาที่อยูในเกณฑสูงเมื่อเปรียบเทียบกับ เนื้อสัตวชนิดอื่น กอปรกับเปนชวงฤดฝูน อาหารตามธรรมชาติและสัตวน้ํามีสงเขาตลาดเพิ่มขึ้น ขณะที่การทองเที่ยวและการจับจายใชสอยชะลอตัว กอปรกับภาครัฐไดแก ไขปญหาสุกรราคาแพงโดยกําหนดใหสุกรเปนสินคาควบคุม รวมทั้งประสานหนวยงานทีเ่กีย่วของเขมงวดการอนุญาต

Page 34: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

34

สงออกและรณรงคใหมี การบริโภคเนื้อไกทดแทนและขอความรวมมอืหางสรรพสินคาจัดมุมธงฟาจําหนาย เนื้อสุกรและเนื้อไกราคาประหยัดเพื่อลดภาระคาครองชีพใหผูบริโภค สงผลใหราคาสุกรปรับตัวลดลง โดยราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ียเดือนมิถุนายน กก.ละ 51.50 บาท ปจจุบัน (15 ก.ค.48) กก.ละ51-52 บาทคาดวาราคาสุกรจะทรงตัวตอเนือ่งไปอีกระยะหนึ่งเนื่องจากผูคารอดูสถานการณดานราคา สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน สิงหาคม และแนวโนมเดือน กันยายน 2548 )

สุกร มีชีวิต ภาวะการคาปลีกเนื้อสุกรในประเทศคอนขางซบเซา เนื่องจากในชวงที่ผานมาราคาเนื้อสุกรอยูในเกณฑสูงเมื่อเปรียบเทยีบกับ เนื้อสัตวชนิดอืน่ ภาครัฐไดแกไขปญหาสุกรราคาแพงโดยกําหนดใหสุกรเปนสินคาควบคมุ และประสานหนวยงานที่เกี่ยวของใหเขมงวดการอนญุาตสงออก ตลอดจนรณรงคใหมีการบริโภคเนื้อไกทดแทน การจัดมุมธงฟาจําหนายเนือ้สุกรและเนื้อไกราคาประหยัดในหางสรรพสินคา เพื่อลดภาระคาครองชีพใหผูบริโภค สงผลใหราคาสุกรปรับตัวลดลงอยูในระดับปกติ โดยราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เฉล่ียเดือนกรกฎาคมเคลื่อนไหวใกลเคียงกับเดอืนกอน โดยมีราคา กก.ละ 51.45 บาท ปจจบุัน (17 ส.ค.48) กก.ละ 49-50 บาท แนวโนมราคาสุกรจะปรับตวัสูงขึ้นเล็กนอยเนื่องจากใกลเทศกาลสารทจีน และจะโนมต่ําลงหลังพนเทศกาลดังกลาวเนื่องจากสภาพอากาศเอื้ออํานวยตอการ เจริญเติบโต ทําใหสุกรโตเร็ว ผลผลิตออกสูตลาดอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม ราคาจะยังคงอยูในเกณฑดีเนื่องจากตลาดตางประเทศยังมีความตองการสูง มีการสงออกไปประเทศเพื่อนบานที่ประสบปญหาไขหวัดนกระบาด รวมทั้งฮองกงที่หันมานําเขาเนื้อสุกรแชเย็นจากไทยแทนการนาํเขาจากจนีซึ่ง กําลังประสบปญหาโรคระบาด

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กันยายน และแนวโนมเดือน ตุลาคม 2548 )

สุกร มีชีวิต สภาวะการคาปลีกเนื้อสุกรในประเทศคอนขางซบเซา เนื่องจากสภาพอากาศ ที่เย็นลงทําใหสุกรมีชีวิตโตเรว็ ผลผลิตที่ไดขนาดจําหนายออกสูตลาดมากขึ้น กอปรกบัภาวะฝนตกชุก ทําใหมีอาหารโปรตีนตามแหลงธรรมชาติใหเลือกบริโภคทดแทนมากขึ้น อีกทั้งชวงที่ผานมาราคาเนื้อสุกรอยูในเกณฑสูงเมื่อเปรียบเทยีบกับเนื้อ สัตวชนิดอืน่ ภาครัฐไดแกไขปญหาสุกรราคาแพงโดยกําหนดใหสุกรเปนสินคาควบคมุ และประสานหนวยงานที่เกี่ยวของใหเขมงวดการอนญุาตสงออก ตลอดจนรณรงคใหมีการบริโภคเนื้อไกทดแทนการจัดมุมธงฟาจําหนายเนื้อสุกร และเนื้อไกราคาประหยัดในหางสรรพสินคาเพื่อลดภาระคาครองชีพใหผูบริโภค สงผลใหราคาสุกรปรับตัวลดลงอยูในระดับปกติ ราคาสุกรมีชีวิตขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม.เดือนสิงหาคมออนตัวลง

Page 35: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

35

จากเดือนกอนเล็กนอย โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 49.77 บาท ปจจุบัน (19 ก.ย.48) กก.ละ 45-46 บาท แนวโนมราคาสุกรจะออนตวัลงเนื่องจากปริมาณสุกรมีชีวิตออกสูตลาดมากขึ้น ผูเล้ียงเรงระบายผลผลิตออกสูตลาดเพื่อใหทนัราคาที่จะออนตัวลงในชวง เทศกาลกินเจ อยางไรก็ดี ราคาจะยังคงอยูในเกณฑดีเนื่องจากตลาดตางประเทศยังมีความตองการสงู แนวโนมการสงออกสุกรตมสุกยังแจมใส โดยประเทศญี่ปุนไดเพิ่มโควตานาํเขาเปน 1,200 ตัน และสิงคโปรจะเริ่มมีการสงออกในชวงปลายป สวนการสงออกไปประเทศเพื่อนบานที่ประสบปญหาไขหวัดนกระบาดยังมีอยางตอ เนื่อง รวมทั้งฮองกงที่หันมานําเขาเนื้อสุกรแชเยน็จากไทยแทนการนําเขาจากจีนซึ่ง ประสบปญหาโรคระบาด

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน ตุลาคม และแนวโนมเดือน พฤศจิกายน 2548 )

สุกร มีชีวิต ชวงที่ผานมาราคาเนื้อสุกรอยูในเกณฑสูงเมือ่เปรียบเทียบกับเนื้อสัตว ชนิดอื่น ภาครัฐไดแกไขปญหาสุกรราคาแพงโดยกาํหนดใหสุกรเปนสินคาควบคุม และประสานหนวยงานที่เกี่ยวของใหเขมงวดการอนญุาตสงออก ตลอดจนรณรงคใหมีการบริโภคเนื้อไกทดแทน การจัดมุมธงฟาจําหนาย เนื้อสุกรและเนื้อไกราคาประหยัดในหางสรรพสินคาเพื่อลดภาระคาครองชีพให ผูบริโภค สงผลใหราคาสุกรปรับตวัลดลงจากเกณฑสูงอยูในระดับปกติ สําหรับสถานการณสุกรมีชีวิตในเดือนกนัยายน ผลผลิตออกสูตลาดมากขึ้นตามฤดูกาล เนื่องจากสภาพอากาศที่เย็นลงทําใหสุกรมีชีวิตโตเร็ว ผลผลิตที่ไดขนาดจําหนายออกสูตลาดมากขึ้น ขณะที่ภาวะการซื้อขายของตลาดภายในประเทศชะลอตัวคอนขางมากทั้งจากภาวะ เศรษฐกิจ กอปรกับภาวะฝนตกชกุทําใหมีอาหารโปรตีนตามแหลงธรรมชาติใหเลือกบริโภคทดแทน มากขึ้น ราคาสุกรมีชีวิตขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. ออนตัวลงจากเดือนกอนเล็กนอย โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 46.23 บาท ปจจุบันราคาสุกรออนตัวลงเนื่องจากผูเล้ียงเรงระบายผลผลิตออกสูตลาด เพื่อใหทันราคาที่มีแนวโนมต่ําลงตามความตองการบริโภคที่ลดลงในชวงเทศกาล กนิเจและปดภาคเรียน โดย ณ 12 ต.ค.48 ราคาสุกรมีชีวิตขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 42-43 บาท อยางไรกด็ี ราคาจะยังคงอยูในเกณฑดีเนื่องจากตลาด ตางประเทศยังมีความตองการสูง แนวโนมการสงออกสุกรตมสุกยังแจมใส โดยประเทศญี่ปุนไดเพิ่มโควตานําเขาเปน 1,200 ตัน และจะเริ่มมกีารสงออกไปสิงคโปรในชวงปลายป สวนการสงออกไปประเทศ เพื่อนบานที่ประสบปญหาไขหวัดนกระบาดยังมอียางตอเนื่อง รวมทั้งฮองกงที่หันมานําเขาเนื้อสุกรแชเย็นจากไทยแทนการนาํเขาจากจนีซึ่ง ประสบปญหาโรคระบาด

Page 36: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

36

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน พฤศจิกายน และแนวโนมเดือน ธันวาคม 2548 )

สุกร มีชีวิต สําหรับสถานการณสุกรมีชีวิตในเดือนตุลาคม ผลผลิตออกสูตลาดมากขึ้นตามฤดูกาล เนื่องจากสภาพอากาศที่เย็นลงทําใหสุกรมีชีวิตโตเร็ว ผลผลิตที่ไดขนาดจําหนายออกสูตลาดสม่ําเสมอ ขณะที่ความตองการบริโภคลดลงในชวงเทศกาลกินเจและปดภาคเรียน ราคาสุกรมีชีวิตขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. ออนตัวลงจากเดือนกอนเล็กนอย โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 43.90 บาท ปจจุบัน ภาวะการคาสุกรกระเตื้องขึน้เปนลําดับแมวาปริมาณสกุรมีชีวิตจะมอีอกสู ตลาดอยางตอเนื่อง แตผลจาก ชวงที่ผานมาเกิดโรคทางเดินหายใจระบาดในสุกร กอใหเกิดความเสียหายตอฟารมเลี้ยงสุกร ประมาณ 20-30% และ สงผลใหน้ําหนกัตอตัวของสุกรลดลง แตความตองการของตลาดในชวงนีเ้พิ่มมากขึ้นเปนผลกระทบจากการระบาดของโรค ไขหวัดนก กอปรกบัโรงเรียนเปดภาคเรียนแลวและเปนชวงเทศกาลงานบญุ ตาง ๆ ระดับราคาจงึปรับตัวสูงขึ้นเปนลําดับ โดย ณ 16 พ.ย.48 ราคาขายสงสุกรมีชีวติ ณ ตลาด กทม. กก.ละ 48-49 บาท แนวโนมราคาจะยังอยูในระดบัสูงเนื่องจากผูบริโภคบางสวนขาดความเชื่อมั่น ในการบริโภคเนื้อไกและไขไกและหนัมาเลือกบริโภคเนื้อสุกรทดแทน สงผลใหความตองการเนือ้สุกรมีเพิ่มขึ้น

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน ธันวาคม 2548 และแนวโนมเดือน มกราคม 2549)

สุกร มีชีวิต ความตองการของตลาดเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากเปนชวงเทศกาลงานบุญตาง ๆ สงผลใหภาวะตลาดกระเตื้องขึ้น อีกทั้งการระบาดของโรคไขหวัดนกรอบใหมทําใหผูบริโภคที่ไมมั่นใจในความ ปลอดภัยหันมาบริโภคเนื้อสุกรทดแทนเนื้อไกและไขไกมากขึ้น กอปรกับผลจากการเกิดโรคทางเดินหายใจระบาดในสุกรในชวงกอนหนานี้ ทําใหเกิดการสูญเสีย ผลผลิตออกสูตลาดนอยลง ราคาสุกรมีชีวิตขายสงสุกร มีชีวิต ณ ตลาด กทม. เดือนพฤศจิกายนปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนกอน โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 48.90 บาท ปจจุบันผลผลิตที่ออกสูตลาดมีปริมาณสม่ําเสมอแตยังนอยกวาความตองการที่ เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ราคาจําหนายสุกรยงัอยูในระดับสงู โดย ณ 15 ธ.ค.48 ราคาขายสงสุกรมีชีวติ ณ ตลาด กทม. กก.ละ 51-52 บาท แนวโนมราคาจะยังอยูในระดบัสูง ภาครัฐไดแกไขปญหาโดยรวมกับภาคเอกชนจัดหาเนื้อสุกรจําหนายใหแกผู บริโภคโดยตรงในราคาถูกกวาทองตลาดทั่วไป พรอมรณรงคใหมกีารบริโภคเนือ้ไกและไขไกเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ สมาคมผูเล้ียงสุกรและผูเล้ียงสุกรรายใหญจะรวมกันตรึงราคาขายสุกรมี ชีวิตไมใหสูงกวาระดับ กก.ละ 50-51 บาท เพื่อใหเนือ้แดงอยูในระดับ กก.ละ 95-100 บาท นอกจากนี้ ภาครัฐจะแตงตั้ง คณะทํางานเพื่อศึกษาตนทนุการเลี้ยงสุกรพรอมระดับราคาที่เหมาะสมในแตละขั้นตอนการตลาด

Page 37: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

37

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน มกราคม และแนวโนมเดือน กุมภาพันธ 2549)

สุกร มีชีวิต ความตองการของตลาดเพิ่มสูงขึ้นตอเนื่องจากเดือนกอนเนื่องจากเปนชวง เทศกาลตาง ๆ กอปรกับผลผลิตออกสูตลาดนอยลงเปนผลจากการเกดิโรคทางเดินหายใจระบาดในสุกร ในชวงกอนหนานี้ ราคาสุกรมีชีวิตขายสงสุกรมีชีวติ ณ ตลาด กทม. เดือนธันวาคมปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนกอน โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 51.25 บาท ปจจุบันภาวะตลาดเริ่มชะลอตัวลงเนื่องจากราคาที่อยูในเกณฑสูงกวา สินคาอ่ืนในหมวดเดียวกัน ทําใหความตองการของตลาดลดลง กอปรกับการระบาดของโรคไขหวัดนก คล่ีคลายลงแลว เปนผลใหผูบริโภคหันกลับไปบริโภคเนื้อไกที่มีราคาถูกกวามากขึ้น อีกทั้งสภาพอากาศเยน็เอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโต ผลผลิตที่ออกสูตลาดสวนใหญมีน้ําหนักมากกวา 100 กก./ตวั สงผลใหราคาจําหนายสุกรออนตัวลงแตยังอยูในระดับสูง โดย ณ 17 ม.ค.49 ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 50-51 บาท แนวโนมคาดวาภาวะการคาจะชะลอลงอีกในชวงตอไปตามภาวะการผลิต และสงผลใหราคาออนตวัลงแตจะยังอยูในระดับสูง อยางไรก็ดี เพือ่ใหการคาและราคาสุกรมีเสถียรภาพในระยะยาว ภาครฐัและเอกชนไดรวมกนัแตงตั้งคณะทํางานเพื่อศึกษาตนทุนการเลี้ยงสุกร พรอมระดับราคาที่เหมาะสม ในแตละขั้นตอนการตลาดเพื่อเปนเกณฑในการซื้อขายและสรางความเปนธรรมแก ผูบริโภคตอไปดวย สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กุมภาพันธ และแนวโนมเดือน มีนาคม 2549)

สุกรมีชีวิต ความตองการของตลาดและกําลังซ้ือลดลง กอปรกับผลผลิตออกสูตลาดมากและเปนสุกรขนาดน้ําหนักเกนิ 100 กก./ ตวั สงผลใหภาวะการคาชะลอตัวลง อยางไรก็ดี ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เดือนมกราคมยังเคลื่อนไหวใกลเคยีงกับเดือนกอน โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 50.55 บาท ปจจุบันผูเล้ียงเกรงวาราคาจะออนตวัลงอีกจึงเรงระบายสุกรมีชีวิตออกสู ตลาดมากขึ้น กอปรกบัราคาที่อยูในเกณฑสูงกวาสินคาอ่ืนในหมวดเดยีวกัน ทําใหผูบริโภคหันไปบริโภคสินคาอ่ืนที่มีราคาถูกกวาแทน สงผลใหราคาจําหนายสุกรออนตัวลงแตยังอยูในระดับสูง โดย ณ 14 ก.พ.49 ราคาขายสง สุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. กก.ละ 48-49 บาท แนวโนมคาดวาภาวะการคาจะชะลอตัวลงอีกเนื่องจากผานพนเทศกาลตาง ๆ และโรงเรียนใกลปดภาคเรียน ความตองการบริโภคโดยรวมจะลดลง ราคามีแนวโนมออนตัวลงแตจะยังอยูในระดับสูง อยางไรก็ดี ภาครฐัและเอกชนไดรวมกนัแตงตั้งคณะทํางานเพื่อศึกษา ตนทุนการเลี้ยงสกุรพรอมระดบัราคาที่เหมาะสมในแตละขั้นตอนการตลาดเพื่อ เปนเกณฑในการซื้อขาย และสรางความเปนธรรมแกผูบริโภคซึ่งจะชวยใหการคาและราคาสุกรมี เสถียรภาพในระยะยาว

Page 38: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

38

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน มีนาคม และแนวโนมเดือน เมษายน 2549)

สุกร มีชีวิต ผลผลิตที่โตไดขนาดจําหนายมีจํานวนมาก ขณะที่สภาวะการจําหนายคอนขางชะลอตัวเนื่องจากผานพนเทศกาลตาง ๆ อีกทั้งระดับราคาที่อยูในเกณฑสูงกวาอาหารโปรตีนชนิดอ่ืน ทําใหผูบริโภคมีทางเลือกเพิ่มขึ้น ความตองการบริโภคเนื้อสุกรโดยรวมลดลง อยางไรก็ดี ราคาขายสงสุกรมีชีวิต ณ ตลาด กทม. เดือนกุมภาพันธออนตวัลงจากเดือนกอนเล็กนอย โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 48.50 บาท ปจจุบัน (17 มี.ค.49) กก.ละ 48-49 บาท อยางไรก็ดี แมวาในระยะตอไปสุกรมีชีวิตจะเติบโตชาลง เนื่องจากสภาพอากาศรอนเปนอุปสรรคตอการเจริญเติบโต แตปริมาณสุกรที่โตไดขนาดจําหนายยังมีออกสูตลาดอยางตอเนื่องเพียงพอกบั ความตองการ อีกทั้งชวงนี้ปดภาคเรยีน ทําใหความตองการของตลาดลดลง ระดับหนึ่ง แตแนวโนมราคาจะยังอยูในเกณฑสูง สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน เมษายน และแนวโนมเดือน พฤษภาคม 2549) สุกร มีชีวิต ภาวะการจําหนายเนื้อสุกรชําแหละไมคลองตัว ตลาดคอนขางซบเซา อีกทั้งระดับราคาที่อยูในเกณฑสูงกวาอาหารโปรตีนชนิดอื่น ผูบริโภคจึงเลือกบริโภคอาหารโปรตีนจากแหลงอ่ืนทดแทน ทําใหความตองการบริโภคเนื้อสุกรโดยรวมลดลง เปนผลใหโรงฆาและผูคาสงสุกรชําแหละ (หมู ซีก) และชิน้สวนตางๆ ปรับลดปริมาณการสั่งซ้ือสุกรมีชีวิต ขณะที่สุกรมีชีวิตที่โตไดขนาดจําหนายมีปริมาณออกสูตลาดตามปริมาณปกติ สงผลใหราคาจําหนายสุกรมีชีวติในเดือนมีนาคมออนตวัลงจากเดือนกอนเล็กนอย โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 48.39 บาท ปจจุบนั (12 เม.ย.49) กก.ละ 47-48 บาท อยางไรกด็ี แมวาในระยะตอไปสุกรมชีีวิตจะเติบโตชาลงเนื่องจากสภาพอากาศรอนเปน อุปสรรคตอการเจริญเติบโต แตปริมาณสุกรที่โตไดขนาดจําหนายยังมีออกสูตลาดอยางตอเนื่องเพยีงพอกับ ความตองการ แนวโนมราคาจะทรงตัวตอเนื่องไปอีกระยะ สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนพฤษภาคม และแนวโนมเดือน มิถุนายน 2549)

สุกร มีชีวิต แมวาสภาพอากาศรอนทําใหสุกรมีชีวิตเจริญเติบโตชากวาปกติ ปริมาณสุกรที่โตไดขนาดจาํหนายมีออกสูตลาดลดลง แตผลจากภาวะตลาดคอนขางซบเซาเนื่องจากมีวันหยดุตอเนื่องหลายวันในชวง เทศกาลสงกรานต ประชาชนสวนใหญเดินทางกลับภูมิลําเนา อีกทั้งระดับราคาที่อยูในเกณฑสูงกวาอาหารโปรตีนชนิดอื่น ทําใหความตองการบริโภคเนื้อสุกรโดยรวมลดลง สงผลใหราคาจําหนายสุกร มีชีวิตในเดือนเมษายนออนตวัลงจากเดือนกอนเล็กนอย โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 47.85 บาท ปจจุบัน (18 พ.ค.49) กก.ละ 47-48 บาท อยางไรก็ด ีแนวโนมราคาจะทรงตัวตอเนื่องไปอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากสินคาทดแทน เชน เนื้อไก สัตวน้ํา มีออกสูตลาดอยางตอเนื่อง

Page 39: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

39

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนมิถุนายน และแนวโนมเดือน กรกฎาคม 2549)

สุกร มีชีวิต ภาวะการคาคอนขางซบเซาเปนผลจากราคาที่อยูในเกณฑสูงกวาอาหารโปรตีน ชนิดอื่น กอปรกับอาหารตามแหลงธรรมชาติมีมากขึ้นและมีราคาถูกกวา สงผลตอความตองการบริโภคเนื้อสุกรโดยรวมลดลง และราคาจําหนายสุกรมีชีวิตในเดือนพฤษภาคมยงัเคลื่อนไหวอยูในระดับใกล เคียงกับเดือนกอนโดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 48.50 บาท และทรงตัวตอเนื่องจนถึงปจจุบัน (20 มิ.ย.49) กก.ละ 48-49 บาท อยางไรก็ด ีแนวโนมราคาจะยังทรงตวัตอเนื่องไปอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากผูเล้ียงตางชะลอการนําสุกรมีชีวติออกสูตลาดเพื่อรอดูสถานการณ ดานราคา กอปรกับสินคาทดแทน เชน เนื้อไก สัตวน้ํา ยังมี ออกสูตลาดอยางตอเนื่อง สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนกรกฎาคม และแนวโนมเดือน สิงหาคม 2549)

สุกร มีชีวิต สภาวะการคาโดยทัว่ไปยังคงชะลอตัว เปนผลจากราคาที่อยูในเกณฑสูงกวาอาหารโปรตีนชนิดอื่น กอปรกับอาหารตามแหลงธรรมชาติมีมากขึ้นและราคาถูกกวา สงผลใหความตองการบริโภคเนื้อสุกรโดยรวมลดลง อยางไรก็ตาม ราคาจําหนายสุกรมีชีวิตในเดือนมิถุนายนยังเคลื่อนไหว อยูในระดับใกลเคยีงกับเดือนกอนโดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 47.97 บาท ปจจุบัน ราคาสุกรมีชีวิตโดยทั่วไปออนตวัลงตามภาวะการคาที่ชะลอตัว โดย ณ 18 ก.ค.49 สุกรมีชีวิต ราคา กก.ละ 45-46 บาท แนวโนมราคาจะทรงตัวตอเนื่องไปอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากผูเล้ียงตางชะลอการนําสุกรมีชีวิตออกสูตลาดเพื่อรอดูสถานการณดานราคา แตยงัมีสินคาทดแทน เชน เนื้อไก สัตวน้ํา ออกสูตลาดอยางตอเนื่อง สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือนสิงหาคม และแนวโนมเดือน กันยายน 2549)

สุกร มีชีวิต ภาวะการคาโดยทั่วไปยังคงชะลอตัว กําลังซ้ือของผูบริโภคลดลง ผูเล้ียง บางรายชะลอการเลี้ยงและระบายสุกรมีชีวิตออกสูตลาดมากขึ้นเพื่อใหทันตอ ราคาที่มีแนวโนมลดต่ําลง สงผลใหปริมาณสุกรมีชีวิตทีอ่อกสูตลาดสวนใหญมีขนาดต่ํากวา 100 กก./ตัว ราคาจําหนายสุกรมีชีวิต ในเดือนกรกฎาคมออนตัวลงจากเดอืนกอนเพยีงเล็กนอยและยังอยูในระดับใกลเคียงกับเดือนกอน โดยมีราคาเฉลี่ย กก.ละ 45.97 บาท ปจจุบัน (17 ส.ค.49) ราคาสุกรมีชีวิตโดยทั่วไปยังทรงตวัตอเนื่องจากชวงปลายเดือนกรกฎาคม ที่ กก.ละ 45-46 บาท แนวโนมราคาจะทรงตัวตอเนื่องไปอีกระยะหนึ่งเนื่องจากผูเล้ียงยังคงชะลอการนาํสุกรมีชีวิตออกสูตลาดเพื่อรอดูสถานการณดานราคา

Page 40: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

40

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน กันยายน และแนวโนมเดือน ตุลาคม 2549)

สุกร มีชีวิต แมวาในชวงที่ผานมาการคาสุกรสวนใหญเปนสุกรที่มีขนาดเล็ก ทําใหมกีารตอรองราคาและปรับลดปริมาณที่นําออกสูตลาดเพื่อใหตลาดคลองตัว ขึ้น ปจจุบัน ผูเล้ียงไดนําสุกรที่โตไดขนาดจาํหนาย (น้ําหนัก 100 กก./ตวั) ออกสูตลาดเพิ่มขึ้นโดยเปนการเคลื่อนยายสุกรหนีภยัน้ําทวมมาจากภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเขาสูภาคกลาง ขณะทีภ่าวะการคาชะลอตัวลงสงผลใหราคาสุกรมีชีวิตออนลง โดย ณ 21 ก.ย.49 ราคาจําหนายสุกรมชีีวิตโดยทัว่ไป มีราคา กก.ละ 45 - 46 บาท ใกลเคียงกับเดือนสิงหาคมที่มีราคาเฉลี่ย กก.ละ 45.77 บาท แนวโนมราคาจะออนตวัลงระดับหนึ่ง เนื่องจากเปนชวงปดภาคเรียนและเทศกาลกินเจความตองการบริโภคจะลดนอยลงกวาปกต ิ

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน ตุลาคม และแนวโนมเดือน พฤศจิกายน 2549)

สุกร มีชีวิต ผูเล้ียงระบายสุกรมีชีวิตออกสูตลาดมากขึ้นเพื่อใหทันราคาที่มีแนวโนม ออนตัวลงอีกเนื่องจากใกลเขัาสูชวงเทศกาลกนิเจ ประกอบกับมีการเคลื่อนยายสุกรจากภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ซ่ึงไดรับผลกระทบจากภาวะฝนตก น้ําทวม เขาสูภาคกลาง จึงทําใหปริมาณสุกรมีชีวิตเขาสูตลาดมากขึ้นราคาจึงออนตัวลง โดย ณ 16 ต.ค.49 ราคาจําหนายสุกรมีชีวติโดยทั่วไป มีราคา กก.ละ 41-42 บาทออนตัวลงเล็กนอยจากเดือนกันยายนที่มีราคาเฉลี่ย กก.ละ 45.20 บาท แนวโนมราคาจะออนตัวลงระดบัหนึ่งเนื่องจากยังอยูในชวงปดภาคเรียนและใกลเทศกาลกินเจ ความตองการบริโภคจะลดนอยลงกวาปกต ิ

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน พฤศจิกายน และแนวโนมเดือน ธันวาคม 2549)

สุกร มีชีวิต ภาวะการคาและราคาปรับตัวดขีึ้นหลังผานพนเทศกาลกินเจและโรงเรียน เปดภาคเรียน อีกทัง้สถานการณน้ําทวมบางพืน้ที่คล่ีคลายลง ความตองการของตลาดกลับเขาสูภาวะปกติ ราคาปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดย ณ 17 พ.ย.49 ราคาจําหนายสุกรมีชีวิตโดยทั่วไปมีราคา กก.ละ 43-44 บาท สูงขึ้นจากเดือนตุลาคม 2549 ที่มีราคาเฉลี่ย กก.ละ 42.21 บาท อยางไรก็ดี สภาพอากาศที่เอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโตจะทาํใหปริมาณสกุรมีชีวิตที่โตได ขนาดจําหนายมีออกสูตลาดเพิ่มขึ้น ขณะที่ผูเล้ียงบางรายเริ่มระบายสุกรมีชีวิตออกสูตลาดมากขึ้นหลังจากรอดู สถานการณดานราคาในชวงกอนหนานี้ แตผลจากความตองการของตลาดที่คาดวาจะเพิ่มมากขึน้ในชวงเทศกาลปลายป สงผลใหราคามีแนวโนมเคลื่อนไหวไมมากนกั

Page 41: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

41

สถานการณและแนวโนมของสุกร (เดือน ธันวาคม 2549 และแนวโนมเดือน มกราคม 2550)

สุกร มีชีวิต แมวาภาวะความตองการของตลาดจะกระเตื้องขึ้น แตปริมาณผลผลิตที่มีออกสูตลาด เพิ่มขึ้นจากสภาพอากาศที่เอื้ออํานวยตอการเจริญเติบโต ทําใหปริมาณสุกรมีชีวิตที่โตไดขนาดจําหนายมีเพิ่มขึ้น สวนใหญมีขนาดใหญ น้ําหนกัเกนิกวา 100 กก. ขึ้นไป ขณะทีผู่เล้ียงบางรายระบายสุกรมีชีวิตออกสูตลาดมากขึ้นหลังจากรอดู สถานการณดานราคาในชวงกอนหนานี้ สงผลใหราคาโดยทั่วไปออนตัวลงจากเดอืนกอน โดย ณ 14 ธ.ค.49 ราคาจําหนายสุกรมีชีวิตโดยทั่วไปมีราคา กก.ละ 37-38 บาท ต่ํากวาเดือนพฤศจกิายน 2549 ที่มีราคาเฉลี่ย กก.ละ 42.73 บาท อยางไรก็ดี ปริมาณ สุกรมีชีวิตที่ออกสูตลาดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอีกจากสภาพอากาศทีเ่อื้ออํานวย ทําใหผูเล้ียงเรงระบายผลผลิตออกสูตลาดเพื่อใหทันราคาทีม่ีแนวโนมออน ตัวลงอีก แตผลจากความตองการที่คาดวาจะเพิ่มสูงขึน้ ในชวงปลายปคาดวาจะไมสงผลใหราคาเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงมากนัก

ที่มา : สํานักสงเสริมการคาสินคาเกษตร ปจจัยกําหนดปริมาณการผลิต 1. ราคาสุกรขุน คือถาในปจจุบันราคาสุกรขุน ที่จําหนายมีก็จะทําใหมกีารเลี้ยงสุกรมากขึ้น 2. จํานวนแมพนัธุ เปนขอจํากัดของการเลี้ยงสุกรเนื่องจากแมหมหูนึ่งตวัใหลูกในปรมิาณที่จํากดั 3. การเกิดโรคระบาด 4. ปจจัยพเิศษ เชน ในป พ.ศ. 2545 ลูกสุกรไมพอขาย เกิดจากรัฐบาลใหเงินโครงการหมูบานละ1 ลาน ทําใหชาวบานคิดถึงการเลี้ยงหมู ซ่ึงเปนสัตวที่เล้ียงงาย ทําใหลูกหมูไมพอขาย

ตารางที่ 3 แสดงตนทุนและราคาขายสุกรขุน ( หนวย บาทตอกิโลกรัม)

Page 42: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

42

ตนทุนการผลิต ตนทุนการผลิตสุกรจะสูญเสียไปมากที่สุดกับคาอาหารซึ่งคิดเปน 60 – 65 % ของตนทุนการผลิต จะเปนคาพันธุ 25-30% ของตนทนุการผลิต คายาเวชภณัฑเครื่องมือและอื่นๆ อีก 5 -15% ปญหาดานการตลาดสุกร

1.ปญหาจากพอคาคนกลาง เนื่องจากการการดําเนินธุรกจิสุกรตองอาศัยพอคาคนกลางหลายระดับ ซ่ึงพอคาแตละคนก็มุงที่จะเอาผลกําไรเปนที่ตั้ง ทําใหเกษตรกรตองถูกกดราคารับซื้อ และผูบริโภคซื้อผลผลิตในราคาที่แพง

2.ปญหาอันเกดิจากการตลาดปศุสัตว เปนตลาดของผูเล้ียงรายใหญหรือบริษัทใหญๆทั้งส้ิน ผูเล้ียงรายยอยไมอาจตอสูแขงขันกับผูเล้ียงรายใหญได ดังนั้น บริษัทเหลานี้จึงเปนผูกาํหนดชะตากรรมของผูเล้ียงสุกรรายยอยอยางเด็ดขาด

3.เกษตรกรขาดความรูความเขาใจในเรื่องของการตลาด เกษตรกรทําการผลิตโดยปราศจากการวางแผนดานการตลาดและการประสานงานกับหนวยราชการ ทําใหเกิดมีปริมาณสุกรลนตลาดหรือขาดตลาดอยูบอยๆ

4.รัฐบาลยังไมมีนโยบายทีแ่นนอนเกี่ยวกบัเรื่องนโยบายการตลาด ไดแก - เสถียรภาพของราคา - การใหขอมูลขาวสารทางการตลาด - การหาตลาดตางประเทศ การแกปญหาการตลาดสุกร ตองทําใหเกษตรกรผูมีรายไดนอย มีสวนในการกําหนดการตลาดของสุกร โดยการรวมกลุมกันเปนสหกรณชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และรัฐบาลตองคอยชวยใหความสนบัสนุน ตัวอยาง เชน

1.อนุญาตใหมกีารจัดตั้งสหกรณเกีย่วกบัสุกรทุกจังหวัด 2.ใหการสนับสนุนหรือชวยเหลือทางดานเงินทุนดําเนินงาน หรือค้ําประกันการกูยมืเงินที่

จะนํามาขยายกิจการ 3.ใหการสนับสนุนและสงเสริมในดานการตลาด 4.ใหการชวยเหลือทางดานวชิาการและเทคโนโลยีตางๆ

Page 43: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

43

แนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค อดุลย จาตุรงคกุล และดลยา จาตุรงคกุล (2546, หนา 87-94) แนวความคิดและทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภคมีอยูหลายทฤษฎี ที่สําคัญไดแก ทฤษฎีการเรียนรูทางพฤติกรรม (Behavioral Learning Theories) และทฤษฎีเกีย่วกับประเภทของบุคลิกภาพ (Personality Type) ดังนี้ 1. ทฤษฎีการเรียนรูทางพฤติกรรม (Behavioral Learning Theories) ทฤษฎีการเรียนรูทางพฤติกรรม บางครั้งเรียกวา ทฤษฎีวาดวยการกระตุนกับการปฏิบัติตอบ (Stimulus – Response Theories) เมื่อบุคคลปฏิบัติตอบตอตัวกระตุนตามที่เขารูตัวในวิถีทางที่ไดคาดคะเนไวก็ถือไดวาบุคคลนัน้มีการเรียนรูเกิดขึ้นแลว ทฤษฎีทางพฤติกรรมสวนใหญเกี่ยวของกับสิง่ที่ปอนเขาสูระบบ (Inputs) ของความนึกคดิกับผล (Outputs) ของการเรียนรูโดยมไิดมุงที่กระบวนการ (Process) ของความนึกคดิ ทฤษฎีการเรยีนรูทางพฤตกิรรมที่เกี่ยวพนักับตลาดมี 2 ทฤษฎี คือ Classical Conditioning และ Operant Conditioning 1.1 Classical Conditioning Ivan Pavlov บิดาแหงการเรียนรูโดยการวางเงื่อนไข และเปนผูที่ทําใหโลกไดเห็นความสัมพันธระหวางตัวกระตุน (ขาวสาร) กับการปฏิบตัิตอบ (พฤติกรรมหรือความรูสึก) อยาง ชัดแจง ไดศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาของสุนัข โดยใชวิธีการตอไปนี ้ 1. มีการเลือกความสัมพันธระหวางตัวกระตุนกับปฏิกิริยาตอบที่มี อยูแลว เรียกวา ตัวกระตุนที่ไมตองวางเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus-US) เพราะใครๆ ก็รูจักด ีเมื่อพบเห็นก็กอปฏิกิริยาตอบโดยทันที เชน อาหาร โดยเขานําอาหารลอสุนัขและสังเกตวาสุนัขน้ําลายจะไหลหรือไม 2. ตัวกระตุนขอ 1 สามารถทําใหมนุษยมีปฏิกิริยาตอบโดยอนมุัติบางอยาง เชน กระพริบตา หนาแดง สะดุง สะทอนกลับ อารมณ น้ําลายไหล เปนตน ในทีน่ี้ Pavlov ใชอาหารที่มุงจะทําใหสุนัขน้ําลายไหล เรียกวาปฏิกิริยาตอบโดยไมตองวางเงื่อนไข (Unconditioned Response-UR) 3. เลือกตัวกระตุนใหม คือกระดิ่งสําหรับสั่นใชรวมเปนคูกบัอาหาร เรียกวา ตัวกระตุนที่ตองวางเงื่อนไข (Conditioned Stimulus-CS) หรือตัวกระตุนที่ตองแนะนําใหรูจกั มิฉะนั้นน้ําลายจะไมไหล 4. ตัวกระตุนในขอ 3 จะกอใหเกิดปฏิกิริยาตอบคลายๆ กับที่เกิดจากอิทธิพลของ US เรียกวา ปฏิกิริยาตอบโดยตองวางเงื่อนไข (Conditioned Response-CR) 1.2 Operant Conditioning ทฤษฎีนี้มีช่ือเรียกหลายชื่อ เชน Trial & Learning, Instrument Learning ซ่ึง คําวา “Instrument” หมายถึงพฤตกิรรมที่เหมาะสมที่เปนเครื่องมือที่เราจะบรรลุเปาหมาย ทฤษฎีนี้เกี่ยวพันกับผลงานของ B.F.Skinner เขาเชื่อวาการเรียนรูของบุคคลสวนมากเกิดขึน้ใน ส่ิงแวดลอม

Page 44: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

44

รอบตัวเขา โดยที่บุคคลนั้นจะ “ไดรับรางวลั” ถาเลือกกอพฤติกรรมที่เหมาะสมการเรียนรูแบบนี ้ผูบริโภคเรียนรูโดยกระบวนการ “ลองผิดลองถูก” (A Trial-and-error process) โดยที่พฤติกรรมการซ้ือ บางอยางเกิดผลดี (ไดรับรางวัล) กวาพฤติกรรมการซื้อคร้ังอ่ืน Skinner สรางทฤษฎีนี้มาจากการศึกษา พฤติกรรมของสัตวเล็กๆ เชน หนูหรือนกพิราบ โดยจับใส “Skinner Box” ถากอพฤติกรรมเหมาะสม (ถา มันเหยยีบหรือจิกคานถูกตอง) กจ็ะไดรับรางวลั (อาหาร) ในทางการตลาดนั้นผูบริโภคจะลองเสื้อหรือกางเกงหลายยีห่อจนกวาจะพบตัวที่เหมาะกับเขา (รางวัลทางบวก-Positive reinforcement) จึงจะเรียกไดวาเราไดเรียนรูแบบโดยใชเครือ่งมือ 2. ทฤษฎีเกี่ยวกับประเภทของบุคลิกภาพ (Personality Type) ทฤษฎีเกี่ยวกับประเภทของบคุลิกภาพ หมายถึง กลุมบุคคลที่มีลักษณะเฉพาะตัวเหมือนกนั และมีลักษณะเฉพาะตวับางอยางรวมกัน (Share common personality traits) คน กลุมดังกลาวจะมีปฏิกิริยาคลายกนั เชนผูบริโภคตางมีประเภทบุคลิกภาพทีช่อบแสวงหาสิ่งประดิษฐใหม ตางก็ใหความสนใจผูผลิตคอมพิวเตอรเพราะความอยากรูอยากเหน็ และความเตม็ใจที่จะเรียนรูทักษะใหมๆ เปนตน การศึกษาประเภทของบุคลิกภาพรวมกันสามารถใชในสวนที่เกี่ยวพันกับพฤติกรรมผูบริโภคบางเรื่องเพื่อนํามาใชในการแบงสวนตลาด การจําแนกผูบริโภคตามคานิยมของบุคคล (Type Based on Basic Values) แบงไดเปน 6 ช้ันคือ 1. นักทฤษฎี (Theoretical man) เปนผูแสวงหาความจริง และคานิยมเบื้องตน จะนิยมส่ิงที่เปนจริง สนใจการเปลี่ยนแปลงและใจกวาง 2. นักเศรษฐกิจ (Economic man) จะเกี่ยวของกับอรรถประโยชน และกําไรสูง ผูบริโภคจํานวนมากอยูในแบบนี้ ซ่ึงเปนผูที่พิจารณาราคาเปนใหญ โดยสนใจทีจ่ะซือ้ของถูก 3. นักศิลปะ (Asthetic man) บุคคลแบบนี้เกีย่วของกบัความงาม ของโลก ผูบริโภคทั้งหลายมีบุคลิกภาพแบบนี้ระดับใดระดับหนึ่ง 4. นักสังคม (Social man) เปนแบบที่ไดรับการจูงใจโดยความรักของ ผูอ่ืน เขาอาจจะไดรับการจูงใจโดยบรรทัดฐานของกลุม และแสดงใหเห็นไดโดยการซื้อ 5. นักการเมือง (Political man) เปนผูที่เกี่ยวของกับอํานาจ แสวงหาผลิตภัณฑทั้งหลายที่แสดงถึงอํานาจที่เขาตองการ 6. นักการศาสนา (Religious man) เปนแบบที่มีความซับซอนสูง เขาผูกพันตัวเองกับบางสิ่งบางอยางและมไิดมุงผลิตภัณฑและการตลาด การจําแนกผูบริโภคตามคานิยมทางสังคม David Riesman จําแนกบุคคลเปนประเภทตางๆ มีลักษณะดังนี ้ 1. พวกอนรัุกษนยิม (Tradition directed) บุคคลเหลานีม้ีแนวโนมดานความคิดและการปฏิบตัิตามที่เคยพบเห็นสิ่งตางๆ ในอดีตและมแีนวโนมที่จะตอตานการเปลีย่นแปลงดวย

Page 45: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

45

พวกนี้จึงไมใชเปนผูนําดานแฟชั่น นอกจากจะมีแฟชั่นเกาๆ ถูกฟนฟูขึ้นมาอีก และจะซื้อส่ิงใดก็ซ้ือจนติดเปนนิสัยอยูเสมอ 2. พวกเปนตัวของตวัเอง (Inner directed) บุคคลเหลานี้เชื่อมั่นใน คานิยมภายในของตนเอง เขาจะควบคุมกิจกรรมทุกอยางที่เขากอขึ้นเอง ตั้งแตคิดอะไรตามลําพัง และ ตัดสินใจดวยตนเอง เปนผูรักความเปนอิสระไมขึ้นกับเกณฑใดๆ ที่ผูอ่ืนสรางและไมยอมรับอิทธิพลของผูอ่ืนโดยงาย 3. พวกชอบตามผูอ่ืน (Other directed) ลักษณะของบคุคลเหลานี้มัก กอตัวขึ้นโดยอิทธิพลจากแหลงภายนอก บุคคลพวกนี้ตองการผูอ่ืน ผูบริโภคที่มีลักษณะแบบนีม้กัซื้อ ผลิตภัณฑที่คนอื่นหรือกลุมตางๆ นิยมใชกัน มแีนวโนมเปนผูตามแฟชั่น แบบของบุคลิกภาพใชประโยชนไดในทํานองเดียวกันกับลักษณะเฉพาะตัวของบุคลิกภาพ เนื่องจากสามารถทําใหเราเขาใจบุคลิกภาพของ ผูบริโภคไดงายขึ้น เปนประโยชนในการสรางสิ่งชี้ชวน (Consumer appeals) การประยุกตใชกับกลยุทธการตลาด เพื่อใหงานขายสินคาและการตลาดของบริษัทเปนอยางมปีระสิทธิภาพ ผูบริหารงานตลาดจะตองทาํการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวธีิการแบงสวนตลาดอยูเสมอ เพื่อที่วาความพยายามทางการตลาดของเขาจะไดสอดคลองกับความตองการของกลุมบุคคลกลุมตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนตลาด แตเดิมนั้นนักการตลาดใชเกณฑทางดานประชากร เชน อาย ุรายได อาชีพและชั้นทางสังคมแบงสวนตลาดเพื่อกําหนดกลุมลูกคาโดยมิไดคํานึงถึงบุคลิกภาพมากนกั ทั้งๆ ที่บุคลิกภาพมีความสําคัญมากตอการบริโภค ผลิตภัณฑ นักวางแผนกลยุทธทางการตลาดควรที่จะใชบุคลิกภาพเปนตัวแปร ในการพิจารณาจัดสรร ความพยายามทางการตลาดที่บริษัทจะเสนอตอกลุมผูบริโภคเปาหมายดวยเหตุผลดังนี ้ 1. ผูบริโภคที่มีบุคลิกภาพคลายคลึงกันควรจัดใหอยูรวมในพวก เดยีวกัน พรอมไปกับการจดักลุมอายุรายไดและสถานที่อยูอาศัย เพื่อทีว่าการจัดจําหนาย และการสงเสริม การจําหนายสูกลุมลูกคาเปาหมายจะไดเปนไปโดยประหยดั มิฉะนัน้แลว นักการตลาดจะไมมีทางทีจ่ะมุง จุดศูนยรวมไปยังตลาดสวนใดสวนหนึง่โดยเฉพาะไดเลย สวนของตลาดที่มิไดพจิารณาถึงตัวแปรชนิดนีเ้ขาไปจะทําใหมบีุคคลที่มีความแตกตางมากมายรวมอยูดวย 2. ความแตกตางระหวางบุคลิกภาพจะชี้ใหเห็นถึงความแตกตางใน รสนยิมของผูบริโภคไดอยางชัดเจน ซ่ึงก็จะทําใหเราสามารถปรับสิ่งเสนอขายใหเขากับกลุมเปาหมายได สะดวกขึ้น อยางไรก็ดีกลุมผูบริโภคอาจมีบุคลิกภาพตางกันแตบริโภคสินคาเดียวกันในกรณีนี้บุคลิกภาพจะเปนตัวแปรที่มีความหมายนอยมากตอการตดัสินใจทางการตลาด

Page 46: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

46

บทที่3 ผลการวิเคราะหขอมูล

โครงการเลี้ยงหมูเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติของบริษัทโสมภาสเอ็นจิเนยีร่ิง 2005 จํากัด นัน้ เร่ิมกอตั้งขึ้น ในราวๆป 2548 เนนการเลีย้งหมูเพื่อประกอบเปนอาหารใหแกพนกังาน ใชขี้หมูเพื่อรดน้ําตนไม และเลี้ยงเพื่อแบงใหกับพนักงานนําไปเลี้ยงที่บานดวย โดยการรับอาหารจากทางฟารมแลวคอยจายเงนิตอนเงินเดือนออก แตเมือ่การเลี้ยงหมไูดเกดิการขยบัขยายหรือเล้ียงนานเขา จึงเกิดเปนฟารมหมูที่มีขนาดใหญขึ้น มีหมูจํานวนมากขึ้น จาก 20 เปน 50 และ 70 ตามลําดบั หมูที่เล้ียงไวมีมากเกินความตองการของพนักงาน ปญหาเลยอยูทีว่าจะจัดการกบัฟารมหมูที่มขีนาดใหญขึ้นอยางไร โดยทีย่ังใชหมูประกอบเพื่อเปนอาหารแกพนักงานควบคูกันไป คุณสมพงษ พวงเวยีงจึงตองการจะนําหมูออกสูตลาดเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึน้ แต คุณสมพงษ พวงเวยีง ยังขาดประสบการณและขอมูลตางๆ ที่เปนประโยชนตอการคาขายหมูเชนราคาหมูในปจจุบัน จํานวนเขียงหมูในมหาสารคาม อัตราการบริโภคหมูของประกรในมหาสารคาม คนในจังหวดัมหาสารคามเขาบริโภคหมูจากที่ไหนกนั หมูหนึ่งตวันําไปประกอบอาหารอะไรไดบาง เราจึงสืบคนขอมูลในสวนนี้ เพื่อเปนประโยชนตอ ธุรกิจฟารมหมูของคุณสมพงษ พวงเวียง และใชในการวางแผน พฒันา สงเสริมการตลาด เพื่อนําหมูจากฟารมคณุสมพงษ เขาสูตลาดอยางมั่งคงตอไป

Page 47: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

47

วิเคราะหการตลาดสุกรในเขตเทศบาลมหาสารคาม

ภาพที่6 แผนภมิูแสดงระบบตลาดของสุกร ระบบการตลาด

ฟารม ชาวบาน

ผูชําแหละ โรงฆาสัตว

ผูคาปลีก

ผูบริโภค

ท่ีมา :การเลี้ยงสุกร. ธํา

วิเคราะหความตองการการบริโภคหม ู การวิเคราะหความตองการการบริโภคเนือ้หมูในเขตเทศบาลมหาสารคาม ในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม มีอัตราการบริโภคเนื้อหมวูนัละ 4,1ปริมาณการขายเนื้อหมูในตลาดสดและตลาดโลตัส) โดยคิดเปนอัตราสวนตสุกรไดแก

1. มาจากฟารม เชนฟารมเมทาโก ฟารมซีพี ฟารมสิริชัย ฟารมบูรพา ปหรือคิดเปนรอยละ 71.28ของอัตราการบริโภคทั้งหมด

โรงฆาสัตว

รงศักดิ์ พลบํารงุ. 2535.

30 กิโลกรัม(คิดจากามแหลงที่มาของเนื้อ

ริมาณ2,944 กิโลกรัม.

Page 48: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

48

2. มาจากชาวบาน เชนบาน บานดงบัง แถว อ. นาดูน ปริมาณ 752 กิโลกรัม หรือคิดเปนรอยละ 18.20 ของอัตราการบริโภคทั้งหมด

3. มาจากเขียงที่ชําแหละสุกร แลวขายตออีกทอดหนึ่ง เชนรับมาจากตลาดสดโคราช แลวมาขายตอที่ตลาดมหาสารคาม ปริมาณ370 กโิลกรัม หรือคิดเปนรอยละ 8.96ของอัตราการบริโภคทั้งหมด

4. และมาจากการที่ผูเล้ียงเองชําแหละเอง รวมท้ังเปดเขียงขายเอง ปริมาณ 64 กิโลกรัม หรือคิดเปนรอยละ 1.55 ของอัตราการบริโภคทั้งหมด

การจําหนายเนื้อสุกรในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม มีชองทางการจําหนาย2ทางคือการจําหนายในตลาดสดในชวงเชาและชวงเย็น ในปริมาณวนัละ3,330 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ80.63 ของยอดการจําหนายทั้งหมด และวางจําหนายที่ตลาดโลตัส วันละ600 กิโลกรัมและเนื้อบรรจุเปนแพ็ค 200 กิโลกรัม คิดเปนรอยละ 19.37 ของยอดการจําหนายทั้งหมด การซื้อขายเนื้อสุกรในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม ถือวามีความคึกคักในระดับหนึ่ง ซ่ึงดูไดจากจํานวนเขียงที่มากถึง 15 เขียง แตการจําหนายหมูในตลาดสดนั้นไมคอยมีความแตกตางกันมาก ทั้งในดานราคา และดานคณุภาพ แตละเขียงจะจําหนายโดยอาศยัความคุนเคยกับลูกคา หรือการที่เปนขาประจํา คือลูกคาสวนใหญจะเปนเจาของรานอาหารที่ตองการเนื้อหมูเพื่อไปประกอบเปนอาหารใหลูกคา การจาํหนายเนื้อสุกรในตลาดจะไมคอยเปลี่ยนแปลงสวนตลาดของแตละเขียงมากนัก หากขายดีก็จะขายดีทุกเขยีง หากขายไมไดก็จะขายไมไดทุกเขียง คือการจําหนายเปนไปในทิศทางเดียวกนั แตการแขงขันทัง้ในดานราคา คุณภาพแตการสรางภาพลักษณจะมีในตลาดโลตสัมากกวาในตลาดสด จะเปนดานความสะดวกสบายในการซื้อขาย คือในตลาดโลตัสจะซื้อขายไดตลอดเกือบทั้งวัน คือตลอดเวลาที่หางเปด เพราะมกีารปรับอากาศใหเย็นอยูเสมอ การจาํหนายจึงทําไดตลอดวัน และมีการเนนดานคุณภาพ และความสะอาดของเนือ้ ทําใหสามารถดึงดูดผูบริโภครายยอยเปนอยางดีถึงดีมาก เพราะสามารถซื้อไดตลอดเวลา ตางจากที่ตลาดสดซึ่งจะจําหนายในชวงเวลาที่จํากัดคือ ตอนเชา และตอนเยน็เทานั้น และเมื่อมองในดานราคา ตลาดโลตัสนั้นราคาจะสูงกวา ผูที่ซ้ือหมูไปประกอบอาหารเพื่อบริโภคเองจะซื้อเนื้อหมูที่ตลาดสด มากกวาซ้ือที่โลตัส หากมองในแงแนวโนมการจัดจําหนายหรือการเจริญเติบโตของการขายในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม จะเปนไปในทิศทางเดยีวกันทั้งในตลาดสดและตลาดโลตัส แตหากมีการเติบโตดานการขาย ก็จะขายในปริมาณที่มากขึ้นเหมือนกัน แตอัตราการเพิ่มนั้นจะแตกตางกันเล็กนอย เชนในตลาดสด ปริมาณการขายเพิ่มขึ้น 5% แตในตลาดโลตัสจะเพิ่มขึน้ถึง7-8% จากการสอบถามเขียงหมูที่ขายรายยอย เชน เขยีงหมแูมประภา แอรขายหมู พบวาการขายลดลงเนื่องจากผูซ้ือรายยอยหันไปซื้อเนื้อหมูที่ตลาดโลตัสแทน เนื่องจากมีความสะดวกสบายและสามารถซื้อไดตลอดเวลา แตเขียงหมูขนาดใหญที่มีผูซ้ือที่เปนกิจการอาหารและรายยอย

Page 49: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

49

บางสวน เชน น.นกบริการ พบวาการขายลดลงเล็กนอย นับจากการเปดตลาดโลตัสเมื่อ2ปที่ผานมา แตผูซ้ือรายใหญๆทีซ้ื่อไปทําอาหารที่รานอาหาร ก็ยังคงซื้อกับเขียงเหมือนเดมิ ซ่ึงอาจเปนเพราะความคุนเคย และเบื่อตลาดโลตัสที่มีราคาสูงกวาที่เขียง กลาวโดยรวมก็คือการซื้อขายเปนในทิศทางเดียวกนั ตลาดโลตัสจะสารารถดึงสวนแบงตลาดไดบางในสวนของผูซ้ือรายยอย ทําใหยอดขายรายยอยในตลาดลดลง แตผูซ้ือรายใหญใน เชนรานอาหาร ก็ยังคงซื้อหมูจากตลาดสดเหมือนเดิม กับตอนที่ตลาดโลตัสยังไมเปด การที่เขียงหมูจะรับหมูมาจากทีใ่ดที่หนึ่งเพื่อทําการชําแหละแลวขายนั้นมหีลายปจจัยที่นํามาพิจารณา ไดแก ความเพียงพอ คุณภาพของเนื้อ ดานราคา และบริการ เขียงหมูหลายเขียงเลือกซื้อหมูจากฟารมขนาดใหญ เชน ฟารมเมทาโก ซีพี เนือ่งจาก ฟารมเหลานี้ สามารถตอบสนองไดอยาง ทั้งในคุณภาพ คือมีเนื้อแดงมาก มีมันนอย มีเนื้อแดงที่ 35-40 กิโลกรัม และมีความเพียงพอตลอด คือสามารถมีหมูมาสงตลอดทุกวนั ทําใหการคาขายมีความตอเนื่อง และฟารมเหลานี้ยังมีการบริการที่ดี คือ การสงหมูถึงเขียง ทําใหลดคาใชจายดานขนสง ซ่ึงตางจากฟารมเล็ก ซ่ึงมีความเสี่ยงตอการมีหมูไมเพียงพอ และคุณภาพดไีมดี เขียง น.นกบรกิาร บอกวาแตกอนเคยซื้อหมูจากฟารมของ มมส. แตคุณภาพต่ํามาก คือมีเนื้อแดงไมถึง30 กโิลกรัม เลยหนัมาซื้อจากฟารมซีพีและเหตผุลหนึ่งที่เขียงเหลานี้เลือกซือ้หมูจากฟารมขนาดใหญ คือการบริการทางฟารมจะมาสงหมูเอง ซ่ึงตางฟารมขนาดเล็กที่ตองไปรับหมูเอง ทําใหเสยีคาใชจายในการขนสง แตก็มหีลายเขียงทีเ่ลือกซื้อหมูจากฟารมขนาดเลก็และจากชาวบาน เชน เขียงเจตอม เขยีงของคุณสมหวัง เหตุผลที่เลือกซื้อ คือ การตอรองดานราคา และความสนิทสนมเปนการสวนตัว ซ่ึงเปนการเชื่อมที่ดีระหวางผูเล้ียงและผูขายหมู ราคาทีช่าวบานสงมักจะถูกกวาฟารมใหญๆอาจมีผลมาจากการตอรองในเรื่องของคุณภาพเนื้อ เพราะหมูที่เล้ียงตามหมูบานคณุภาพของเนื้อจะสูฟารมใหญไมคอยได จงึเปนเหตใุหการตอรองดานราคาที่ทําใหเขยีงหมูสามารถซื้อหมูไดนราคาที่ต่ํา อีกเหตุผลหนึง่ก็คือ ความคุนเคยระหวางผูเล้ียงเขียงหมู ทําใหการเจรจาตอรองตางๆ เปนอยางไมยุงยาก เชน เปนญาติหางๆ ทําใหไดเครดิต

ดานราคาที่สงในตลาดมหาสารคาม สวนใหญผูเล้ียงไมคอยมีอํานาจในการตอรองดานราคามากนัก โดยเฉพาะผูเล้ียงรายยอย และชวงทีห่มลูนตลาด อํานาจการเจรจาแทบจะไมมีเลย แตหากเปนฟารมใหญที่สามารถควบคุมคุณภาพไดดี เชน ซีพี ก็จะมีอํานาจการตอรองดานราคามาก หรือถือวาเปนผูมีกําหนดราคาเองเลยก็วาได ซ่ึงเขียงและผูเล้ียงสวนใหญใชเปนขอตกลง แนวทางในการกําหนดราคาสงของหมูในตลาดมหาสารคามเลย

Page 50: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

50

การวิเคราะหดานตนทุนของฟารมบุญบารม ี บุญบารมีฟารมเลี้ยงหมูทั้งหมดประมาณ 120 ตัว โดยเลียงเปนรุนๆ รุนละ 10-15ตัวโดยการ

ซ้ือหมูอนุบาล 1 มาทําการอนุบาล 2 เอง ใชเวลาในการเลี้ยงเฉลี่ย 120 วันตองสงตลาด โดยมีคาใชจายดานอาหารตัวละ 2280 บาท และคาลูกสุกรที่ซ้ือมาตอนแรกตัวละ 1100 บาท หมูที่มีขนาดสงตลาดไดจะมีตนทุนทั้งส้ิน 3380 บาท ไมรวมคาจางคนงานและคาสาธารณูปโภคหมูที่สงเขาตลาดมีน้ําหนกัเฉลี่ย 95 ก.ก. ฉะนั้นหมูที่บญุบารมีฟารมจึงมีตนทุนเฉลี่ย 35.5 บาท ตอ 1 ก.ก. ตอ 1 ตัว เพราะฉะนัน้หากราคาหมตู่ํากวาระดับนี ้ฟารมก็ถือวาขาดทุน ราคาตองมากกวา ก.ก.ละ36 บาท ฟารมจึงอยูรอดได ตารางที่4 ราคาวัตถุดิบของฟารมบุญบารมี

วัตถุดิบ น้ําหนัก (ก.ก.) ราคา (บาท) กากถั่วเหลือง(ธนากร) 70 850.00

ปลาปน เบอร 1 50 1450.00 ไกปนนําเขา 64 P% 50 1450.00 ไกปนนําเขา 58 P% 50 1400.00

ขาวโพดตีปน 50 340.00 ไลซีน 1 80.00

พรีมิกซ(เล็ก) 1 95.00 พรีมิกซ(รุน) 1 95.00 พรีมิกซ(ขุน) 1 90.00 พรีมิกซ(พันธุ) 1 100.00

ไดแคลเซียม 16% 50 250.00 ไดแคลเซียม 18% 50 550.00

อนีมีล 1 40.00 อนีมิกซ 1 45.00

ท่ีมา : ฟารมบุญบารมี

Page 51: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

51

ตารางที่5 ราคาอาหารสัตวอาหารสําเร็จรูป(ตลาดมหาสารคาม)

สูตรอาหาร ราคา/ถุง น้ําหนักสุกร (ก.ก.) 551 (พิเศษ) 530 7-15

551 (ธรรมดา) 495 15-25 552 344 25-35 553 316 35-60

150 S 520 60- รอขาย ท่ีมา : ตลาดมหาสารคาม ตารางที่6 อาหารสําเร็จใชในบุญบารมีฟารม(ราคาเปลี่ยนตามฤดูกาล)

สูตรอาหาร ราคา/ถุง หมายเหตู 551 (พิเศษ) 530

551 (ธรรมดา) 495 591 420 592 333 593 305 559 245 หมูรอขาย 60 ก.ก. ขึ้นไป

ท่ีมา : ฟารมบุญบารมี โปรแกรมอาหารสุกรขุน ตารางที่7 แสดงขนาดการใชอาหารสําเร็จรูป

น้ําหนักสุกร อัตราการใช (ถุง/ตัว) สุกรน้ําหนัก 15 – 25 0.5 สุกรน้ําหนัก 25 - 35 1 สุกรน้ําหนัก 35 - 60 2 สุกรน้ําหนัก 60 - 80 3

สุกรน้ําหนักตัง้แต 80 ขึ้นไป ท่ีมา : ฟารมบุญบารมี

Page 52: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

52

ตารางที่8 อาหารผสมกึ่งสําเร็จ ขนาด น้ําหนัก (ก.ก.) อายุ(วัน) ราคาอาหาร(บาท) อนุบาล 1 แรกเกดิ – 15 ก.ก. 30 – 45 600 อนุบาล 2 15 – 20 ก.ก. 45 - 60 520 หมูเล็ก 15 – 30 ก.ก. 60 – 90 380 หมูรุน 30 – 60 ก.ก. 90-120 335 หมูขุน 60 – ขาย 320

ท่ีมา : ฟารมบุญบารมี ตารางที่9 ตนทุนอาหารสุกร น้ําหนกั อัตราการใช (ถุง) ราคาตอถุง ตนทุน 15-25 .05 420 210 25-35 1 420 420 35-60 2 345 690 60-ขาย 3 320 960

รวม 2280 ท่ีมา : ฟารมบุญบารมี

หากมองในสถานการปจจุบนัที่ราคาหมูตกต่ําลงมาที่ ก.ก.ละ 32 บาท หรือตกตัวละ 3020

บาท ทางฟารมก็ถือวาขาดทนุ ประมาณตวัละ 340 บาท แตดวย บริษัท โสมภาสเอ็นจเีนียร่ิง(2005) จํากัด ซ้ึงเปนเจาของบุญบารมีฟารมมีพนักงานอยูมากถึง 300 คน ทางฟารมจึงอาศัยเปนชองทางจัดจําหนายโดยการชําแหละเอง แลวแบงสรรปนสวน ขายใหกับพนกังานโดยขายเปนเงนิเชื่อแลวคอยหักออกจากเงนิเดือน จะฆาเดือนละ 2 - 3 ตัว ในการชําแหละจะกําหนดราคาไวตวัละ 4000 บาท แลวทําการชําแหละแลวปนสวนใหเทากนั ทั้ง 40 สวนๆละ 100 บาท โดยแตละสวนจะมีทุกอยางเหมือนกนัทั้ง เนื้อสัน สามชั้น มัน ซีกโครง แมกระทั้งเครื่องใน ก็ถือเปนอีกแนวทางหนึ่งที่ชวยในการระบายหมอูอกจากฟารมโดยไมเดือดรอนเรื่องราคาและมีกําไรเฉลีย่ตัวละ 620 บาท เ)นวิธีที่ไมมีใครเดือดรอนเพราะทางฟารมก็พอมีกําไรบาง และพนกังานกย็ินดีซ้ือเพราะเปนการชวยเหลือ

Page 53: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

53

เกื้อกูลกัน แตวิธีการแกปญหาแบบนี้คงจะใชไดดีในระยะสั้นเพราะนานๆไปพนักงานอาจจะเบื่อหมู และไมยอมรับเนื้อหมูดังกลาว อีกวิธีหนึ่งที่ทางฟารมนํามาใชในการแกปญหาวิกฤตการณราคาหมูตกต่ํา คือ การประชาสัมพันธใหชาวบานที่อยูแถวฟารมหรือ ต.ดอนหวานใหสามารถมาซื้อหมูที่ฟารมโดยทางฟารมจะขายแกชาวบานเปนเงินเชื่อ เมื่อชาวบานมี งานบญุ งานแตงงาน งานศพ ก็สามารถมาเอาหมูที่ฟารมกอนได เมื่องานเสรจ็จึ่งคอยจายเงนิที่หลัง การขายใหชาวบานทางฟารมจะขายในราคาตวัละ 4000 – 4300 บาท ซ่ึงทําใหมีกําไรตัวละ 620 – 920 บาท แมวาเปนวิธีทีใ่ชแกปญหาเฉพาะไดบาง แตก็ไมใชวิธีทีด่ีที่สุดและใหผลสําเร็จในระยะยาวไมได การเพิ่มมูลคาใหกับเนือ้หมูก็ถือเปนทางออกที่ดีอีกทางหนึ่งคือการแปรรูปเนือ้หมู แตดวยอัตราความตองการและคานยิมในการทานอาหารแปรรูปที่ จ. มหาสารคามมีนอยเกนิไป จะเห็นไดจากอาหารแปรรูปในทองตลาดจะมีนอยมาก เชน กุลเชยีง แหนม หมูยอ จึงเปนความเสี่ยงหากจะแกไขดวยวิธีนี ้เพราะจะตองมีการลงทุนเพิม่อีก แทนทีจ่ะเปนทางออกอาจทําใหตองเสียมากกวาเดิม แนวทางการแกไขที่ดีทีสุ่ดคือ การลดตนทุนและเพิม่ชองทางการจัดจําหนายที่คอนขางถาวร คือ การที่มีเปนขาประจําเพราะถึงแมวาราคาหนาฟารมจะตกต่ํา แตราคาขายปลีกก็ยงัไมตกต่ํามาก หากฟารมและเขียงมีความคุนเคยและมีความสัมพันธกันอยางลึกซึ่งแลวการเจราจาดานราคาก็ยอมไมลําบาก ซ่ึงทางเขียงอาจจะยอมชวยซ้ือในราคาที่สูงกวาปกติก็ได เพราะยังไงเขียงหมูก็กําไรอยูแลว การลดตนทุนและการจดัการฟารมที่ดีเปนอีกวิธีหนึ่งที่สงผลในระยะยาวหากมีตนทนุการผลิตที่ต่ําแมวาราคาหมูจะตกต่ําก็ไมเดือดรอนมากนักและในเวลาที่หมรูาคาดี ก็จะมีผลตอบแทนในอัตราที่สูง ซ่ึงตนทุนการเลี้ยงหมูมีอยู 3 สวน ตนทุนดานพันธหมู ตนทนุดานอาหาร และ ตนทนุดานการจดัการฟารม ปญหาดานการจดัการฟารมที่เดนชดัที่สุดในบุญบารมีฟารมคือ ดานแรงงาน เพราะคนงานทํางานไดไมคุมกับคาจาง ขาดความรู ขาดความกระตือรือรน ไมเอาใจใสงาน ซ่ึงเปนการจางที่ไมคอยจะคุมคา และควรมีงานอืน่ที่นอกเหนือจากการเลี้ยงหมู เชน รดน้ําตนไม รดผักในฟารม ดูแลแปลงผักในฟารม ซ่ึงเปนการเพิม่หนาที่ความรับผิดชอบโดยไมตองจางพนักงานเพิ่มอีกคน สวนดานอาหารควรมีการศึกษา การใหอาหารสุกรใหมากเพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตโดยใชเวลาไมนานเกนิไปโดยที่คณุภาพของเนื้อแดงยังคงอยู เพราะที่บุญบารมีฟารมใชเวลาในการเลี้ยงหมูเฉล่ีย 120 วัน ถึงไดขนาดสงตลาด แตบางฟารมใชเวลาเพียง 105 -115 วัน ก็สามารถสงตลาดได เชนบูรพาฟารม หากลดเวลาลงไดก็ทําใหชวงการลงทุนสัน้ลง สงผลดี คือใน 1 ป สามารถเลี้ยงหมูไดหลายรุน และอัตราการหมุนเวยีนของสนิคาหรือหมูจะเพิ่มขึ้น

Page 54: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

54

ฟารมบูรพา จ.รอยเอ็ด ฟารมบูรพาเปนฟารมเลี้ยงหมูที่ถือวาครบวงจรและมีมาตรฐานในระรับหนึ่งมีเจาของกิจการคือคุณประสิทธิ์ หลวงมณี ฟารมบูรพาตั้งอยูบานเลขที่ 145 หมูที่2 ต.ส่ีแกว อ.เมือง จ.รอยเอ็ด 45000 ประกอบกิจการเลี้ยงหมูแบบครบวงจรคือตั้งแตการผสมพันธ ไปจนถึงการขายสงหมูมีชีวิต และชําแหละขายเอง บูรพาฟารมมีสูตรทั้งสิ้นประมาณ 400ตัว ประกอบดวยหมูแรกเกิด หมูอนุบาล 1500ตัว หมูขนุประมาณ 1800ตัว และแมพันธประมาณ 700ตัว ทางฟารมทําการผสมพันธเองเมือไดลูกหมูก็จะทําการอนุบาลแลวขายหมูอนุบาล1ขนาด 12-15กก.ใหแกลูกคาที่จะมาซื้อไปเลี้ยงตอซ่ึงทางบุญบารมีฟารมที่ไดรับจากที่นีด้วยและอีกสวนหนึ่งทางบูรพาฟารมก็ทําการลี้ยงขุนเองไปจนถงึการสงตลาดและบางสวนกชํ็าแหละขายเอง ประมาณวนัละ 25-30 ตัวตอวัน และบางครั้งก็ไปซื้อหมูขุนที่ฟารมที่เคยซื้อลูกหมูไปเลี้ยงกลับมาใหมอีกครั้ง เชนบางครั้งก็มาซื้อหมูที่บุญบารมีฟารมกลับไปทําการชําแหละตรงหนาฟารม การวิเคราะหตนทุนการเลี้ยงหมูฟารมบูรพา จ.รอยเอ็ด ในสวนของการจัดการดานอาหารบรูพาฟารมไดทาํการผสมอาหารเองและขายใหฟารมอ่ืนบางสวนซึ่งบางครั้งบุญบารมีฟารมก็รับซ้ือมาจากที่บูรพาฟารมดวย บูรพาฟารมไดรับซื้อวัตถุมาจากตลาดทัว่ไป ตารางที่ 10 ราคาวัตถดุิบของฟารมบูรพา ประเภทสินคา ราคา/กระสอบ ราคา/กก. น้ําหนัก/กระสอบ ฟรีมิกซหมูนม 4,000 160 25 หมูเล็ก 4,500 180 25 หมูรุน 3000 120 25 หมูขุน 2850 114 25 แมพันธ 5850 250 25 แมพันธ 4500(หมอภพูาน) 190 25 ได P 21 925 19 50 ได p 18 650 13 50 P 16 450 9 50 ปลายขาว 950 9.50 100 รําสกัด 515 7.36 70

Page 55: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

55

เปลือกถ่ัว 250 5.00 50 รําละเอียด 310 6.20 50 กากถั่วศรีนคร - - 70 กากถั่วอารเจนจินา 805 11.50 70 กากถั่วtvo 830 11.86 70 ถ่ัวอบ 1350 27.00 50 ไกบน 1350 27.00 50 ปลาบนเบอร2 1400 28.00 55 ขาวโพดบด 375 7.50 50 มันบด 240 4.80 50 ขาวโพดเมล็ด 350 7.00 50 เกลือ 190 4.00 50 หินฝุน 95 2.00 50 ไลซีน 2125 85.00 25 เมธไซโอนีน 3250 130.00 25 ทรีโอนีน 5250 220.00 25 ไรแฟกซ 1000 40 25 ท่ีมา : ฟารมบูรพา ตารางที่ 11 ระยะการเลี้ยงหมูบูรพาฟารม ขนาดสุกร น้ําหนกั(กก.) อายุสุกร(วนั) เลียราง แรกเกดิ-หยานม 1-25 อนุบาล1 หยานม-15 25-45 อนุบาล2 15-20 45-60 หมูเล็ก 20-40 60-80 หมูรุน 40-70 80-100 หมูขุน 70-100 100-130 ท่ีมา : ฟารมบูรพา

Page 56: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

56

ตารางที่ 12 ราคาอาหารสุกรสําเร็จรูป(บูรพาฟารม) ขนาดสุกร น้ําหนกั(กก.) ราคาอาหาร(บาท) เลียราง แรกเกดิ-หยานม 23 อนุบาล1 หยานม-15 23 อนุบาล2 15-20 19 หมูเล็ก 20-40 15 หมูรุน 40-70 14 หมูขุน 70-100 12 ท่ีมา : ฟารมบูรพา ตารางที่ 13 แสดงตนทุนการเลี้ยงสุกรตอตัว ขนาดสุกร

ระยะเวลาการเลี้ยง(วัน)

อัตราการกินอาหาร/วัน(กก.)

ราคาอาหาร/กก.(บาท)

ตนทุน(บาท)

เลียราง 25 0.05 23 28.75 อนุบาล1 20 0.2 23 92 อนุบาล2 15 0.5 19 142.5 หมูเล็ก 20 1.2 15 360 หมูรุน 20 1.8 14 504 หมูขุน 30 2 12 720 รวม - - - 1847.25 ท่ีมา : ฟารมบูรพา บูรพาฟารมมีตนทุนดานอาหารในการเลี้ยงสุกร ประมาณ 1847.25 บาทตอตัว และมีตนทนุอ่ืนๆคือตัวยาที่มีมากในชวงหมูแรกเกิดจนถึงน้ําหนัก15 กิโลกรัม และคาใชจายอ่ืนๆเชนคาน้ํา คาไฟ ประมาณ700บาท (สอบถามจากฝายผลิต) ซ่ึงรวมแลวมีตนทุนทั้งส้ิน 2547.25 บาท และหมูที่สงเขาตลาดมีน้ําหนักเฉลี่ย 100กิโลกรัม ตนทนุการเลี้ยงหมเูฉลี่ยแลวไดกิโลกรัมละ 25.47 บาท แลวทางฟารมก็สงใหเขยีงหมูในราคากิโลกรัมละ33บาท มีสวนตางกิโลกรัมละ7.53 บาท คิดในหนึ่งตวัก็จะมกีําไรตวัละ753 บาทบูรพาฟารมไดมกีารชําแหละหมูขายเองหนาฟารมวันละ 25-30 ตัว และสงใหเขียงวันละประมาณ15ตัว ขนาดหมู100กิโลกรัม

Page 57: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

57

ตารางที่ 14 แสดงราคาของแตละชิน้สวน(บูรพาฟารม) ช้ินสวน น้ําหนกั(กิโลกรัม) ราคา/กิโลกรัม(บาท) จํานวนเงิน(บาท) เนื้อสะโพก 35 65 2,275 เนื้อรวม -เนื้อติดมนั -เนื้อสามชั้น

35

50 1,750

หัว 6 25 150 ขา,กระดูก 10 25 130 ไสออน,ไสตัน,เครื่องใน

2 65 130

ตับ 1.5 65 97.5 รวม 89.5 - 4652.50 ท่ีมา : ฟารมบูรพา การที่ฟารมบูรพาชําแหละหมูเองแลวนํามาขายหนาฟารม ทําใหเกดิรายได 4,652.50 บาทตอตัว ซ่ึงจะทําใหมีกาํไรตัวละ 2,105.25 เมื่อหักตนทุนและคาใชจายในการชาํแหละ200บาท และหากคิดในสวนตางของการขายหมูมชีีวิต กิโลกรัมละ 33บาท หรือตัวละ 3300 บาทจะใหมีผลตางถึง 1,352.5 บาท พี่ทัดผูควบคุมฝายการผลิต ใหเหตผุลวาการที่ฟารมหนัมาชําแหละเองในปริมาณมากขึ้น ถึงวันละ 30ตวั เนื่องจากวา กําไรที่ไดมีคามากกวาการขายหมูมีชีวิต ซ่ึงขายหมูมีชีวิตไดกําไรตวัละ 756 บาท แตหากชําแหละเองจะมีกําไรถึงตัวละ 2,105.25 บาท และอกีเห็นผลหนึ่งคือ การที่เขียงหมูซ้ือไปในราคา กก. 33บาท ซ่ึงถือวาถูกแตยังขายปลีกในราคาสูงอยู 80 บาทตอกิโลกรัม ทําใหเกิดการเอาเปรียบผูบริโภคเกนิไปทําใหการบริโภคลดลง การที่ฟารมชําแหละเองและขายในราคาที่ถูกจึงเปนการกระตุนการบริโภคอีกทางหนึ่ง

Page 58: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

58

การเปรียบเทียบตนทุนการเลี้ยงหมบูุญบารมีฟารมกับบูรพาฟารม ตารางที่ 15 เปรียบเทียบตนทุนการเลี้ยงสกุรของบุญบารมีฟารมกับบรูพาฟารม

ระยะเวลาเลี้ยง อัตตาการกินตอวัน(กก)

ราคาอาหาร(บาท/กก)

ตนทุน/วัน ตนทุนรวม ขนาดสุกร

บูรพา บุญบารมี

บูรพา บุญบารมี

บูรพา

บุญบารมี

บูรพา บุญบารมี

บูรพา บุญบารมี

เลียราง 25 - 0.05 - 23 - 1.15 - 28.75 อนุบาล1 20 - 0.2 - 23 - 4.6 - 32 1100(ซ้ือ

มา) อนุบาล2 15 15 0.5 0.8 19 17 9.5 14 142 210 สุกรเล็ก 20 30 1.2 0.8 15 17 18 14 360 420 สุกรรุน 20 30 1.8 1.6 14 14 25.2 23. 504 690 สุกรขุน 30 30 2 2.5 12 13 24 32 720 960 รวม 1847.25 3380

ท่ีมา : ฟารมบูรพา และบุญบารมีฟารม ตนทุนรวมทั้งหมดของฟารมบูรพาและบุญบารมีฟารมมีความแตกตางกันมากถึง1532.75 บาท แตหากมองจากระยะการเลี้ยงตั้งแตอนุบาล2 เปนตนมาเพราะบุญบารมีจะเริ่มเลีย้งจากหมูรุนนี้จะพบมีความแตกตางกัน 553.5 บาท.แตในสวนของหมนูอย ตั้งแตแรกเกิดถึงอนุบาล1 จะแตกตางกันมากคือบูรพาฟารมจะมีตนทุนอาหารทีต่่ํากวามากเพราะทางฟารมทาํการผสมพันธุเองซึ่งตางจากบุญบารมีฟารมทีตองไปรับซื้อจากทางบูรพาฟารมอีกทีห่นึ่งในราคา ตัวละ 900 บาท สําหรับหมู 12กิโลกรัมและบวกเพิม่กิโลกรัมละ35 บาทซึ่งเฉลี่ยแลวบญุบารมีฟารมตองซื้อลูกสุกรในราคาตัวละประมาณ1100 บาทความแตกตางทางดานตนทุนนี้เกิดจากหลายปจจัยไดแกระยะเวลาการเลี้ยงอัตราการกินของหมูแตละวนัและดานราคาอาหารสุกร ระยะเวลาการเลี้ยงทางบูรพาฟารมมีระยะเวลาการเลี้ยงที่ส้ันกวาบุญบารมีฟารมโดยเฉพาะในชวงน้ําหนกัหมู 20-70กิโลกรัม อาจเกิดจากสารอาหารในอาหารและสภาพแวดลอมของฟารมในการเลี้ยงหมูเพราะที่บูรพาฟารมมีการเลี้ยงเปนลักษณะฟารมเปดมีระบบอากาศที่ดีทําใหหมูมีอัตตาการเจริญเติบโตทีดีกวาภายในโรงเรือนอากาศเยน็สบายเหมาะแกการเจริญเติบโตของหมูมากจึงทําใหหมูโตเรว็แตในบุญบารมฟีารมจะเปนพืน้ทีโลงเปนลักษณะโรงเรือนเปดทําใหอัตราการการเจริญเติบโตชากวาเพราะอากาศรอนทําใหมีการเผาพลาญมากกวาหมูเลยโตไมไดเตม็ที่

Page 59: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

59

อัตราการกินอาหารของหมูในแตละวนัโดยเฉลี่ยแลวที่บุญบารมีฟารมหมูจะมีอัตราการกินมากกวาเล็กนอยตลอดการเลี้ยงตั้งแตการเลี้ยงระดับอนบุาล2จนถึงสงขายตลาดหมทูี่บุญบารมีฟารมกินอาหารรวม159 กก.(105วนั)แตหมูที่บูรพาฟารมกินอาหารทั้งหมด127.5กก.(85วัน)มีสวนตาง31.5กิโลกรัมอาจเกิดจากระยะเวลาในการเลี้ยงที่ไมเทากนัคือทางบุญบารมีฟารมใชเวลาในการเลี้ยงมากกวาอัตราการกินเลยมากกวา เมื่อหมมูีปริมาณการกินที่ไมเทากันจึงทําใหมีตนทุนที่ตางกัน และที่บูรพาฟารมมีสภาพที่เอื้อตอการเจริญเติบโตของหมู หมจูึงไมตองกินมากไปก็เจริญเตบิโตไดเต็มที่ ซ่ึงตางจากบุญบารมีที่หมูของที่นี้ตองกินในปริมาณที่มากกวา ดานราคาอาหารสุกรเนื่องจากบูรพาฟารมไดทําการผสมอาหารสุกรเองเพื่อเล้ียงสุกรในฟารมทุกขนาด(ตั้งแตแรกเกดิ-สงขายตลาด) และผลิตในปริมาณมากเพราะมีการผลิตเพื่อขายดวยอีกสวนหนึ่งจงึทําใหมีตนทนุที่ต่ํา แตในบญุบารมีฟารมจะผสมเองสวนหนึ่งและรับซื้อจากบูรพาฟารมอีกสวนหนึ่งจึงทําใหมีตนทุนดานอาหารสูงกวาบรูพาฟารม จึงสงผลใหตนทุนรวมสูงกวา ราคาสุกร ตารางที่ 16 แสดงราคาสุกรประจําวันท่ี 3 มกราคม 2550จังหวัดมหาสารคาม

รายการ หนวย ราคาวันนี ้สุกรมีชีวิต (ฟารม) ขนาดน้ําหนัก 100 ก.ก.ขึ้นไป (ราคาหนาฟารม) กิโลกรัม 35-36

สุกรมีชีวิต (ฟารม) ขนาดน้ําหนัก 100 ก.ก.ลงมา (ราคาหนาฟารม) กิโลกรัม 33-34

ลูกสุกร - ขนาดน้ําหนัก 12 ก.ก. ตัว 900-1,000 - สวนเกินน้ําหนัก 12 ก.ก. คิดเพิ่ม กิโลกรัม 34 - สวนขาดน้ําหนัก 12 ก.ก. คิดลง กิโลกรัม - สุกรชําแหละ (ผาซีก) ขายสง - เนื้อสัน กิโลกรัม 80-85 - เนื้อแดงธรรมดา กิโลกรัม 80-85 - เนื้อสามชั้น กิโลกรัม 70-75 - เนื้อสุกร (มนัแข็ง) กิโลกรัม 25

ท่ีมา : สํานักงานการคาภายในจังหวัดมหาสารคาม

Page 60: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

60

ตารางที่ 17 ราคาชิน้สวนของสุกร

ชิ้นสวน เนื้อสกุร ราคา/กก. สันนอกและสนัใน ราคา 110 บาท

เนื้อแดง ราคา 100 บาท เนื้อแดงตดิมัน ราคา 95 บาท เนื้อสามชั้น ราคา 95 บาท หมูบด ราคา 100 บาท

กระดกูซี่โครง ราคา 100 บาท กระดกูสันหลัง ราคา 75 บาท กระดกูซุป ราคา 60 บาท ขาหนา ราคา 80 บาท ขาหลัง ราคา 70 บาท

กระเพาะ,หัวใจ,ได,มาม ราคา 85 บาท ไสออน ไสตัน ราคา 100 บาท

ตับ ราคา 105 บาท หัวที่ปอกแลว ราคา 75 บาท

ล้ิน ราคา 85 บาท หนังหม ู ราคา 20 บาท ปอด ราคา 20 บาท/ชอ หัวหม ู ราคา 250 บาท/หัว

ท่ีมา : ตลาดสดมหาสารคาม หมายเหตุ ราคาขณะที่เนื้อสุกรยังราคาสูง เดือน มีนาคม 2548

Page 61: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

61

การวิเคราะหดานราคาสุกร

การเปลี่ยนดานราคาของหมูเกิดจากผลกระทบสองดานไดแก ผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนดานความตองการการบริโภคหมู และผลกระทบจากพฤติกรรมการขายของฟารม

มีการเปลี่ยนแปลงดานการบริโภคเนื้อสัตว นับตั้งแตมีการระบาดของไขหวัดนกใน ประเทศไทย สงผลใหการบริโภคเนื้อหมูเพิ่มขึ้น เนื่องจากคนหันมากนิหมูแทนไก สงผลใหคนเล้ียงหมูมีกําไรกันมาก กลาวไววาเปนปทองของคนเลี้ยงหมูกว็าได เพราะดูจากสถานการณหนาฟารมจัดไดวาอยูในระดับทีผู่เลี้ยงมีกําไรกนัถวนหนา และมีกําไรยาว จวบจนมาถึงปลายป 2549 สถานการณราคาหมูกลับมีแนวโนมตกต่ําลงมาอยูที่ในระดับ เกษตรกรบางรายขาดทุน เพราะมีหมูตวัใหญ น้ําหนกัเกินออกมาสูตลาดมาก ทั้งหนักเกนิออกมาสูตลาดมาก ทั้งนี้สืบเนื่องจากหลายปจจยัดวยกัน ไมวาจะเปนเรื่องอากาศที่เย็นลง ทําใหหมกูินอาหารดี ความเสียหายจากโรคมีนอยหมูก็โตไดด ี รวมทั้งในเรื่องของสถานการณ การบริโภคเมื่อหมูของคนไทยไมเพิ่มขึน้ตามกําลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น ซ่ึงเปนที่ทราบกันดีวาในชวง 2-3 ป ที่ผานมานั้น ไมวาจะเปนฟารมขนาดเล็กหรือขนาดใหญหลายแหง เมื่อไดกําไรจากการขายหมูในชวงไขหวดันกระบาดกท็ําการขยายฟารมกันมาก และมีผูเล้ียงรายใหมๆ โดยเฉพาะคนเลี้ยงไกบางแหงทีป่ระสบปญหาจากไขหวัดนก หันมาเลีย้งหมูกันมากขึ้น จึงสงผลใหผลผลิตสุกรเริ่มทยอยออกมาสูตลาดกันมากขึ้น อีกประเดน็หนึ่งที่ไดจากการตั้งขอสังเกตกันมาตลอดเวลาก็คือการกักหมูเพื่อหวังจะขายในชวงที่ราคาดี คือ พอทราบวาทางสมาคมผูเล้ียงสุกรแหงชาติจะประกาศขึ้นราคาสุกร คนเลี้ยงก็พยายามกักหมไูวขาย พอพอคาตามซื้อก็บอกวาไมมี ซ่ึงมักจะทําอยูอยางนี้เปนประจาํ สุดทายแลวเมื่อสถานการณราคามันไมไดเปนไปอยางที่คาดการการณไว ผลที่ตามมาคือการลดราคาเพื่อจะขายหมูออก คราวนี้ก็เปนโอกาสของพอคา ที่สามารถเลือกซ้ือหรือกดราคารับซื้อหมูขุนได เพราะคนเล้ียงตางคนกอ็ยากจะขาย อยากจะระบายหมูของตวัเองออกไป ถึงแมจะขายในราคาถูกหรือต่ํากวาตนทุนก็ตาม ซ่ึงคนไดรับผลกระทบจากพฤติกรรมของฟารมหมูอยางนี้มากที่สุดกค็ือผูเล้ียงจะเพิม่สูงขึ้น น้ําหนกัตัวก็เพิ่มสูงขึน้เกินกวาทีพ่อคาตองการคือ ที่น้ําหนกั 90-110 และหากจะขายไดก็ตองขายในราคาถูก ปจจุบัน ผูเล้ียงหมูทั้งรายใหญหรือรายยอยตางก็ประสบปญหาภาวะขาดทุนเนื่องจากราคาหนาฟารมตกต่ําอยางมาก โดยราคาที่กิโลกรัมละ 35 บาท ( 3 มกราคม 2550 ) จากเดมิกิโลกรัมละ 38-45 บาท ซ่ึงเปนผลมาจากปริมาณสุกรขุนมีมากเกนิความตองการ และประกอบกับผูบริโภคตองซ้ือเนื้อสุกรจากเขียงในราคาที่แพงอยางไมสมเหตุสมผลกับสถานการณ ทําใหกําลังการบริโภคลดลง

Page 62: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

62

ราคาหนาฟารมของหมูตกต่าํลงมาก แตราคาหนาเขียงกลับยังขายอยูกโิลกรัมละ 80-85 บาท ทั้งๆที่เขียงสามารถที่จะลดราคาหนาเขียงใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกับราคาหนาฟารม และจะตองมีการรณรงคใหประชาชนบริโภคเนื้อเพิ่มขึ้น ก็จะเปนการทําใหอัตราการบริโภคเพิ่มขึ้น ซ่ึงจะชวยคล่ีคลายปญหาสภาวะราคาตกต่ําได ซ่ึงเปนการชวยเหลือเกษตรกรผูเล้ียงหมูอีกทางหนึง่

การที่ราคาหมูตกต่ําอีกเหตุผลหนึ่งเกิดมาจาก ฟารมขนาดใหญสงหมใูนราคาที่ต่ํา ทําใหพอคาหรือเขียงหมูมีอํานาจการตอรองกับฟารมขนาดเล็ก หรือผูเล้ียงรายยอยมากขึ้น โดยอางวาอยูในชวงราคาหมูตกต่ํา ผูเล้ียงก็ยอมลดราคาลง หากไมลดลงก็ขายไมออกและจะทําใหตอนทุนสูงขึน้ ทําให ผูเล้ียงโดยเฉพาะผูที่ไมคอยไดติดตามขาวสารกับฟารมอ่ืนๆเกิดความตระหนกัคิดวาหมูจะลนตลาด และราคาจะตก จึงรีบเทขายสุกรออกมาสูตลาดเพราะเกรงวาจะประสบปญหาขาดทนุ สงผลใหมีสุกรมากเกินความตองการเพิม่ขึ้น ทําใหราคาหนาตกต่ําลงอีก ปริมาณหมูที่ลนตลาดนี้ไมมทีราบวา ปริมาณสุกรขุนเกนิความตองการจริงหรือไมรวมทั้งในชวงเทศกาลปใหม ที่ความตองการนาจะเพิ่มสูงขึ้น แนวโนมราคานาจะดีแตปริมาณหมกูลับลนตลาด ซ่ึงคาดวาราคานาจะด ี ทําใหปริมาณหมใูนตลาดเกินความตองการ นอกจากนีผู้เล้ียงตางก็เพิ่มกําลังการผลิตสุกรขุน ประกอบกับที่ผานมามีสุกรสูญเสียจากโรคระบาดตางๆ โดยเฉพาะโรค บีอารเอส ลดลง จึงสงผลทําใหประสิทธิภาพการผลิตของแตละฟารมสูงขึ้นและเรว็กวาที่คาดการณเพราะอากาศเปนใจ ปริมาณสุกรจึงลนตลาดทําใหราคาสุกรตกต่ําลง แนวทางที่ทางสมาคมผูเล้ียงสุกรแหงชาติ นํามาแกไขปญญาราคาหมูตกต่ําดังนี ้

1. ในระยะสั้นจะประชาสัมพันธใหเกษตรกรทราบสถานการณและอยาตื่นตระหนก อยารีบเทขายสุกร เพื่อใหสุกรที่เกินขนาด และต่ํากวามาตรฐานหมดไป ตลาดกลับเขาสูสภาวะปกติ จะชวยใหราคาออนตัวลงอยางชาๆไมกระทบกับผูเล้ียงมากเกินไป

2. ขอความรวมมือเกษตรกรผูเล้ียงสุกรชวยกันลดกําลังการผลิตลงโดยปลดแมพันธุ 6 ทอง ขึ้นไป เพื่อลดปริมาณสุกร เปนการแกไขปญหาระยะยาว ซ่ึงนาจะเหน็ผลในชวงกลางปหนา โดยการขออนุมัติเงินชดเชย 20 ลานบาท แกเกษตรกรเพื่อเก็บลูกหมูจํานวน 40,000 ตวั ออกจากตลาด และขอความรวมมือกับผูเล้ียงทําการปลดแมพันธุที่ทองมาแลว 6-7 ทองออกจากฝูง 10-15% แตกย็ังไมแนใจวาจะไดรับความรวมมือมากนอยเพียงใด 3. ขอความรวมมือจากกรมการคาภายใน ใหกํากับราคาเนื้อหนาเขยีงใหลดลงตามราคา

Page 63: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

63

หนาฟารม เพือ่กระตุนการบริโภคโดยการทําหนังสือถึงกรมการคาภายใน เพื่อขออนุมัติเงินจากโครงการชวยเหลือเกษตรกร (คชก.) จํานวน 35 ลานบาท แกเกษตรกร เพื่อนํารณรงคการบริโภคโครงการเนื้อหมู 2 กก. 100 บาท เพื่อกระตุนการบริโภค

การแกไขปญหาดังกลาว หากมองแลวคงไมใชวิธีที่ยั่งยืน คราบใดที่คนเล้ียงยังขาดการรวมกลุมที่ด ียงัขาดความสามัคคี เห็นประโยชนสวนตวัเกินไป แตหากผูเล้ียงจะอยูอยางพอเพยีงบาง ไมแขงกนัขยายฟารมจนเกินไป ราคาหมูก็นาจะอยูในระดบัเสถียรภาพไดบาง ไมตองมาตามขอใหรัฐชวยเหลืออยูทุกครัง้ไป เพราะมนัเปนการแกปญหาเฉพาะหนา และเปนการแกปญหาทีไ่มถูกจุด แตการที่จะแกปญหาใหถูกจดุและยัง้ยืนนัน้จะตองแกทีว่ิสัยทัศนของผูเล้ียงสุกรหรือเจาของฟารม มีความจริงใจและจริงจังในการที่จะรวมมือแกไขปญหาไมใชพอเขาตาจนขึ้นมาก็ตัวใครตัวมัน เหมือนอยางที่ทํากันอยูทุกวันนี ้

Page 64: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

64

บทที่4

สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงาน จากการศึกษาปญหาพเิศษการเลี้ยงสกุรของบุญบารมีฟารม ทําใหพบปญหาตางๆมากมายในการทําธุรกิจ ทั้งปญหาการจัดการฟารม ปญหาดานการตลาดและปญหาดานราคา กลุมผูศึกษามีแนวทางที่จะแกปญหาและเสนอแนะดังนี ้ 1.การจัดการฟารม ปญหาดานการจดัการที่พบเดนชัดที่สุดคือ ดานแรงงานและการเจริญเติบโตของสุกรที่ชากวาปกติและปริมาณการกนิอาหารของสุกร

1.1 ดานแรงงาน เนื่องในปจจุบันมีคนงานที่ทําหนาที่เล้ียงและดแูลสุกร อยู 1 คน แตคนเล้ียงขาดความรูในการเลี้ยงสกุร ขาดความเอาใจใสสุกร ทําใหขาดความเขาใจในการเลี้ยงสุกร ผลเสียคือ เวลาสุกรเจ็บปวยหรือมีปญหา คนงานไมสามารถรับรูไดเลย ทําใหไมสามารถแกปญหาไดเลย อาจทําใหสุกรโตชาหรือเสียคาใชจายเพิ่มขึน้ในการรักษา และเสียคาใชจายในการเลี้ยงเพิ่มขึ้น ฉะนั้นควรจัดหาคนที่มีความรูความรูความสมารถมาเลี้ยงสุกรเพื่อใหการเลีย้งสุกรมีประสิทธิภาพมากที่สุด

1.2 การเจริญเติบโตของสุกรและปริมาณการกินอาหารของสุกร จากการเปรียบเทยีบการเจริญเติบโตของสุกรกับฟารมอ่ืน ทําใหเสยีตนทุนในการเลี้ยงสูง ทางฟารมควรจัดสภาพแวดลอมใหเหมาะตอการเจริญเติบโตของสุกรควรมีการศึกษาแนวทางการเลี้ยงทีไ่ดผลดีกวาทีเ่ปนอยู เพราะหากมีระยะเวลาการเลี้ยงมาก ทําใหเกิดตนทุนที่สูง ซ่ึงจะทําใหความสามารถในการแบงสวนตลาดลดลง และอัตราการทํากําไรไมเปนไปตามที่ควรจะได 2.ดานตลาด จากการศึกษาปจจัยดานการเลือกสุกรจากฟารมของเขียงหมูในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม พบวาปจจัยที่เขียงหมูนํามาเปนขาพิจารณาการเลือกไดแก ดานราคา ดานคุณภาพของเนื้อสุกร และความเพยีงพอของสุกรในฟารม

2.1 ดานราคา เขียงหมูจะเลือกซื้อที่ราคาสุกรต่ํากวาซ่ึงเปนผลมาจากตนทุนการเลี้ยงสุกร บางฟารมสามารถจัดการตนทุนการเลี้ยงไดดี จะสามารถขายไดในราคาต่ํากวา ทําใหมีความสามารถในการแขงขนัสูง แตราคาสุกรจะเคลื่อนทีพ่รอมกันทั้งตลาด ทําใหเวลาราคาขึ้นลงก็

Page 65: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

65

เปนไปพรอมกันทั้งตลาด แตตนทุนของบญุบารมีฟารมที่มีสูงกวา จึงทําใหประสบปญหาภาวะขาดทุน จึงทําใหการตอบสนองดานราคาของบุญบารมีฟารมมีนอย จึงเสนอแนะใหทางฟารมมีการศึกษาดานการจัดการตนทุนใหด ีทั้งในดานบริหารคาใชจาย และตนทุนดานอาหาร ซ่ึงพอจะเห็นภาพจากการนําเสนอในขางตน

2.2 ดานคุณภาพการเลี้ยงสุกร จากการศึกษาพบวาเขยีงหมูใหความสําคญักับคุณภาพสุกรในระดบัหนึ่งแตไมสูงมากนัก แตคุณภาพสุกรจะสงผลตอราคาสุกรมากกวา คือ เขาอาจจะยอมรบัซ้ือแตซ้ือในอกีราคาหนึ่ง ฟารมควรเลียงสุกรใหมีคณุภาพ มีเนื้อแดงมากมีมันนอย ซ่ึงจะมีผลมาจากอาหารสุกร สภาพภูมิอากาศ แบะสภาวะอารมของสุกร ควรมีการใสใจในดานดังกลาวใหมาก

2.3 ความสม่ําเสมอหาการตอบสนองจากการศึกษาพบวาเขียงหมูใหความสําคัญกับดานนี้มากที่สุด เขียงหมูสวนใหญเลือกซื้อหมูจากฟารมขนาดใหญเพราะสามารถสงหมูไดตลอดเวลามีหมูเพียงพอทกุวนัซึ่งจะทําใหเขามีรายไดสม่ําเสมอทุกวัน แตบุญบารมีฟารมไมคอยสามารถตอบสนองดานนี้ได เนื่องจากมีจํานวนสุกรนอย ทําใหขาดความสม่ําเสมอใหเขียง แตทางฟารมไดแกปญหาโดยการสงหมใูหฟารมขนาดใหญเชนบูรพาฟารมเปนงวดๆไป งวดละ 10-15 ตัว แลวฟารขนาดใหญจะนําไปขายตอและชําแหละอกีตอ ซ่ึงเปนทางออกที่ดี แตจะทําใหปญหาดานราคา และความเสี่ยงในการที่เขาจะรับซื้อ ซ่ึงอาจจะไมมีการซื้อขายถาตกลงไมได จากปญหาดานการตลาดดังกลาว ฟารมมีแนวทางที่ดีในการตลาด คอื การสรางความสัมพันธกับผูซ้ือ เพราะถื่อวาเปนแนวทางที่ดีในระดับหนึ่ง จะสงผลถึงการเจรจาในดานตางๆ เชน ดานราคาในระยะเวลาทีเ่กิดวิกฤต ผูช้ือก็สามารถชวยเหลือได คือเขายังคงจะซื้อหมูจากเรา และอาจซื้อในราคาที่ฟารมพออยูไดในระยะเวลาที่ราคามหมูขึ้น เขาก็จะทํากิจการมีกาํไรเพิ่มขึ้น เพราะเราสามารถเจรจาใหเขาซื้อหมูไดในราคาที่สูงกวาปกต ิซ้ึงทังหมดกจ็ะขึ้นอยูกับผูเล้ียงกบัผูซ้ือหรือเขียงหมู และการเจรจาที่จะไดผลสําเร็จนั้น นอกจากเรื่องผลประโยชนแลวความสัมพันธสวนตัวก็จะเปนอีกปจจัยหนึ่งที่จะทําใหการเจรจาประสบผลสําเร็จ ซ่ึงจะทําใหเกดิประโยชนลัความพึงพอใจกับทุกฝาย 3.ปญหาดานราคา แนวทางที่นาจะเปนไปไดในการแกปญหาสุกรคือ ตองไดรับความรวมมือจากทุกฝาย โดยเฉพาะอยางยิ่งผูรับผิดชอบตองกระทําอยางจริงจัง จริงใจ โดยรวบรวมขอคิดจากผูเกี่ยวของ มีประสบการณ และการกระทําตองตอเนื่องกัน ไมใชแกปญหาเฉพาะหนา มิฉะนั้นแลวปญหาสุกรจะไมมีทางหมดไปซึ่งจะเกี่ยวเนื่องตอการพัฒนาเศรษฐกิจ แนวทางการแกปญหาดานราคาสุกรดังนี ้

Page 66: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

66

3.1. รีบดําเนินการเรื่องสหกรณใหถูกตองและมีประสิทธิภาพ สหกรณลมลุกคลุกคลานมาตลอด รัฐยังไมสามารถแกปญหานี้ได เงนินี้จะไดนํามาชวยผูเล้ียงสุกร ระบบสหกรณไดผลพอสมสมควรในหลายจังหวัดในภาคกลาง ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ เชน สระบุรี สุรินทร ศรีสะเกษ ๆลๆ ทั้งนี้เนื่องจากผูมีอํานาจเชน สมาชิกผูแทนราษฏรรวมมืออยางจริงจัง

3.2. ผูเล้ียงสุกรอยูแลวหรือผูที่จะเลี้ยงตองจดทะเบียน และรวมตัวกันเปนสหกรณเทานั้น ทั้งนี้เพื่อจะควบคุม หรือประเมินการผลิตสุกรตามความตองการของตลาดได ซ่ึงหมายถึงการควบคุมปริมาณแมสุกรนัน่เอง สําหรับเกษตรกรรายยอยในหมูบาน ตําบล รวมกันเปนสหกรณ และมีตัวแทนเพื่อในระดับอาํเภอและจังหวัด ตามลําดับ

3.3. ปรับปรุงทางดานโครงการการผลิต และการตลาดสุกร นอกจากการผลิตสุกรแลวการตลาดคาสุกรทีชีวิตตองมีขั้นตอนที่เกีย่วของ เชน การคาชําแหละ การคาปลีก ตองเปลี่ยนโครงสรางใหม สหกรณแตละแหลงจะทราบปริมาณสุกรที่จะฆาในแตละทองถ่ิน จึงควรใหผูประกอบการคาในชวงตางๆ จดทะเบยีน และสหกรณเปนผูกําหนดราคาจําหนายสุกรที่จะชําแหละ ทั้งนี้เพื่อจะไดควบคุมใหการตลาดเปนไปโดยความยุติธรรมแกทุกฝาย และมีการลงโทษผูทําผิดอยางเฉียบขาด เชน ผูฆาสุกรเถื่อน ผูคาสุกรราคาเกินที่สหกรณควบคุม นอกจากนั้นควรมีโรงฆาสัตวทันสมัย และพยายามหาแนวทางใหตางประเทศยอมรับซือ้สุกรจากไทย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ซ้ือสุกรที่ชําแหละแลว หรือสงออกในรูปผลิตภัณฑ

หากแกปญหาเรื่องสหกรณผูเล้ียงไดผลโดยใหผูเล้ียงไดรับผลประโยชนกลับคืน รัฐก็จะเก็บภาษีไดอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย และการผลิตสุกรจะไมมีปญหาทั้งผูผลิตสุกร และผูบริโภคซึ่งเปนประชาชนสวนใหญ

3.4. ควบคุมปริมาณการสงวตัถุดิบ และอาหรสําเร็จรูปออกนอกประเทศ แมการสหกรณไดผล แตตนทุนในการผลิตสูงอันเปนสาเหตุเนื่องมาจากคาอาหารเปนสวนใหญ รัฐบาลควรมีมาตรการควบคุมใหมีวตัถุดบิเพียงพอในการผลิตสุกรภายในประเทศ สหกรณแตละแหงควรมีโรงผสมอาหารสัตวจะสามารถพยุงราคาและลดตนทุนคาอาหารได

3.5.รัฐควรวางแผนปองกันและปราบปรามโรคติดตอชนิดรายแรงใหเขมงวดรัดกุม และรวดเร็ว โดยเฉพาะโรคปากและเทาเปอย อหิวาตสุกร โรคพิษสุนัขบาเทียม ๆลๆ สาเหตุนี้นอกจากทําใหเกษตรกรประสบภาวะขาดทนุแลวยังทําใหระบบตลาดผิดออกไป เชนราคาสุกรมีชีวิตตกต่ํา

Page 67: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

67

บรรณานุกรม

ชยา อุยสูงเนิน. 2535. คูมือสุกร. ศูนยผลิตตําราเกษตรเพือ่ชนบท. ปากเกร็ด. นนทบุรี. ธํารงศักดิ์ พลบํารุง. 2535. การเลี้ยงสุกร. บริษัท โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด. กทม. พงษชาญ ณ ลําปาง. เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา การผลิตสุกร (Swine Production). สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, นครราชสีมา. เยาวลักษณ สุรพันธพิศิษฐ. 2536. เทคโนโลยีเนื้อสัตวและผลิตภัณฑ. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, กทม. สุวิทย เฑียรทอง. 2536. หลักการเลี้ยงสัตว. โรงพิมพ โอ.เอส.พร้ินติ้ง เฮาส. กทม. kamphaengphet.doae.go.th www.dld.go.thwww.dit.moc.go.thwww.dusit.ac.th www.thaifeed.net

Page 68: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

68

ภาคผนวก ก

Page 69: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

69

ผลการสํารวจเขียงหมูในเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม เขียงหมูท่ี 1 น.นกบริการ 2 ธ.ค.49 รับหมูมาจาก ชีพี (มีศูนยประสานงานอยูที ่แถวริมคลองสมถวิล ติดกับ N&N สาขาหนึ่ง ) กิโลกรัมละ 43 บาท ฆาวันละ 4-5 ตัว เปนหมูขนาด 100 กก. มีเนือ้แดง 35-38 กก. สถานที่ฆา โรงฆาสัตวจังหวดัมหาสารคาม โดยจายคาบํารุงตัวละ 70 บาท เมื่อเหลือจากที่ขาย นอกจากขายเนื้อแลวทางเขียงยังแปรรูป ทํากุลเชียงดวย หมูจะขายดใีน ทุกๆชวง เพราะหมูเปนอาหารที่ทุกคนนิยมบริโภค เหตุผลที่รับจากซีพี ราคาสงของชีพีถือวาแพงในระดบัหนึ่งแตตองรับจากชีพีเพราะ

1.ดานการบรกิารทางชีพีจะมาสงถึงที่พักหมูเองทําใหลดคาใชจายดานการขนสง ตางจากฟารมขนาดเลก็ที่ตองไปรับเอง ทําใหเสียคาใชจายและตองจายคาจางคนงานที่ไปรับหมูดวย

2.คุณภาพของเนื้อหมูของชพีีมีเนื้อแดงที่ 35-38 กก.ถือวามีคุณภาพทีด่ี ตางจากฟารมขนาดเล็กที่มีเนื้อแดงที่ 28-30 กก.

3.มีความมั่นคงสม่ําเสมอทางดานการสงมปีริมาณที่รองรับตลาดไดดี ตางจากรับจากฟารมขนาดเล็กที่บางชวงหมูจะขาดตลาด ทําใหเสียโอกาส เขียงหมูท่ี 2 ศรีสุข 15 ม.ค. 50 รับหมูมาจาก ชาวบานและฟารมเมทาโกโคราช กิโลกรัมละ 33-34 บาท ฆาวันละ1 ตัว เปนหมูขนาด 80- 100 กก. มีเนื้อแดงประมาณ 30 กก. สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบาํรุงตัวละ 70 บาท รับหมูมาจาก ชาวบานเมื่อหมูขาดตลาดก็จะรับหมูจากฟารมเมทาโก เหตุผล ที่รับมาจากชาวบานเนื่องจากราคาถูกและหางาย หมูจะขายดใีนชวง เทศกาล และฤดูเปดภาคเรียน เขียงหมูท่ี3 แมประการ เล้ียงหมูเองพรอมทั้งทําการฆาเอง ฆาวันละ 1 ตัว เปนหมูขนาด 80กก. มีเนื้อแดงประมาณ 28 กก.

Page 70: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

70

สถานที่ฆา ที่บานของแมประการเอง (ผิดขอบังคับ การฆาสัตวเพื่อการคาและขอกําหนดขององคการอาหารและเกษตรแหงชาติ) เหตุที่เล้ียงเองและฆาชําแหละเอง เพราะสะดวกตอการจัดหาหมู ลงทุนนอย เมื่อเทยีบกับตนทุนแลวผลกําไรคอนขางมาก หมูจะขายดใีนชวง เทศกาล เขียงหมูท่ี4 เจรัตนหมูสด รับหมูมาจาก ซีพี ใน กิโลกรัมละ 35-37 บาท ตามขนาดของหมู คือเมื่อหมูมีน้ําหนักมากก็จะมีราคาที่ถูก ฆาวันละ 5 ตัว เปนหมูขนาด 100 กก. มีเนือ้แดงประมาณ 35-38 กก. สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบาํรุงตัวละ 70 บาท เมื่อขายไมหมด ก็จะแปรรูป เปนไสกรอกและแหนม เหตุผลที่รับจากซีพี เนื่องจากฟารมซีพีมีหมูจําหนายคอนขางเยอะ หมไูมขาดตลาด หมูจะขายดใีนชวง เทศกาล และฤดูเปดภาคเรียน เขียงหมูท่ี5 สัญญา รับหมูมาจาก ชาวบาน กิโลกรัมละ 33บาท ฆาวันละ 2 ตัว เปนหมูขนาด 80 กก. มีเนื้อแดงประมาณ 28-30 กก. สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบาํรุงตัวละ 70 บาท เหตุผลที่รับมาจากชาวบาน เนื่องจากราคาถูกและหางาย หมูจะขายดใีนชวง ฤดูเปดภาคเรียน เขียงหมูท่ี6 ตรีขายหม ูรับหมูมาจาก ฟารมเมทาโก กิโลกรัมละ 31-32บาท ฆาวันละ1-2ตัว เปนหมูขนาด 100 กก. มีเนือ้แดงประมาณ 30-33 กก. สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบาํรุงตัวละ 70 บาท เหตุผลที่รับมาจากฟารมเมทาโก เนื่องจากราคาไมแพงมากเกินไปและมีหมูใหตลอด และเนื้อหมูมีคุณภาพด ีเมื่อขายไมหมด เก็บไวขายในวนัถัดไป

Page 71: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

71

เขียงหมูท่ี7 สมหวัง รับหมูมาจาก ชาวบาน กิโลกรัมละ 32บาท ตามขนาดของหมู คือเมื่อหมูมีน้ําหนักมากก็จะมีราคาที่ถูก และจากซีพี ฆาวันละ 5-6ตัว เปนหมูขนาด 80 กก. มีเนื้อแดงประมาณ 30 -32 กก. สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบํารุงตัวละ 70 บาท เหตุผลที่รับมาจากชาวบาน เนื่องจากราคาถูกและเปนขาประจํา และเหตุผลที่รับจากซีพีเพราะเนื้อมีมันไมมาก . เมื่อขายไมหมด ก็จะเก็บไวขายใหมในวันถัดไป หมูจะขายดใีนชวง ฤดูเปดภาคเรียน เขียงหมูท่ี 8สมบูรณ รับหมูมาจาก ชาวบาน ฟารมสิริชัยบรบือ และฟารมบูรพาจังหวัดรอยเอ็ด ประมาณกิโลกรัมละ 32 บาท ฆาวันละ 3 ตัว เปนหมูขนาด 80-100 กก. มเีนื้อแดงประมาณ 33 กก. สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบาํรุงตัวละ 70 บาท เมื่อขายไมหมด ก็จะเก็บไวขายใหมในวันถัดไป เหตุผลที่รับมาจากชาวบาน เนื่องจากตองการชวยเหลือชาวบาน และรับหมูจากฟารมเนื่องจากมีหมูตลอดไมขาดตลาด เขียงหมูท่ี 9โอเลหมู รับหมูมาจาก ตลาดโคราชที่ชําแหละแลว ประมาณกิโลกรัมละ 70 บาท รับมาวันละ 300 กิโลกรัม เหตุผลที่ซ้ือเนื้อที่ชําแหละ เพราะ สามารถเลือกสวนที่ตองการได เนื้อที่รับมา สวนใหญเปนเนื้อสัน ซ่ึงเปนที่ตองการของตลาด หมูจะขายดใีนชวง ฤดูเปดภาคเรียน เขียงหมูท่ี 10 เฮียถิ่น รับหมูมาจาก ฟารมกุดรังและ บานไผ ประมาณกิโลกรัมละ 32 บาท ฆาวันละ 3 ตัว เปนหมูขนาด 100 กก. มีเนือ้แดงประมาณ 30 กก.

Page 72: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

72

สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบํารุงตัวละ 70 บาท เมื่อขายไมหมด ก็จะสงใหขาประจําในราคาที่ถูกกวาปกติ เหตุผลที่รับมาจากฟารมกดุรัง เนื่องจากมตีิดตอซ้ือขายกันเปนเจาแรก พูดคุยตกลงกันได ราคาเปนที่ยอมรับไดทัง้สองฝาย หมูจะขายดใีนชวง ฤดูเปดภาคเรียน เขียงหมูท่ี 11 มณี รับหมูมาจาก ฟารมเวทะโกโคราช ประมาณกิโลกรัมละ 32 -33 บาท ฆาวันละ 1 ตัว เปนหมูขนาด 100 กก. มีเนือ้แดงประมาณ 30 กก. สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบํารุงตัวละ 70 บาท เมื่อขายไมหมด ก็จะเก็บไวขายใหมในวันถัดไป เหตุผลที่รับมาจากฟารมเวทะโกโคราช เนือ่งจากมีหมใูหตลอด หมูจะขายดใีนชวง ฤดูเปดภาคเรียน เขียงหมูท่ี 12 แอร รับหมูมาจาก ตลาดสดโคราชที่ชําแหละแลว โดยเขยีงทีโ่คราชจะนํามาสง ราคา 70 บาท/กก. รับมาวันละ 60-70 กิโลกรัม เหตุผลที่ซ้ือเนื้อที่ชําแหละ เพราะ สามารถเลือกสวนที่ตองการได เนื้อที่รับมา สวนใหญเปนเนือ้สัน ซ่ึงเปนที่ตองการของตลาด เมื่อขายไมหมด ก็จะเก็บไวขายใหมในวันถัดไป หมูจะขายดใีนชวง ฤดูเปดภาคเรียน เขียงหมูท่ี 13 คุณอะ คุณตอม รับหมูมาจาก เฮียสิริบานไผ ประมาณกิโลกรัมละ 32 บาท ฆาวันละ 2 ตัว เปนหมูขนาด 100 กก. มีเนือ้แดงประมาณ 28-30 กก. ฆาและชําแหละเอง ที่บานคุณอะ เมื่อขายไมหมด ก็จะแชเย็นเก็บไวขายในวนัถัดไป เหตุผลที่รับมาจากเฮยีสิริบานไผ เนื่องจากราคาพูดคุยตกลงกันได และมีหมูตลอดไมขาดตลาด หมูจะขายดใีนชวง ฤดูเปดภาคเรียน

Page 73: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

73

เขียงหมูท่ี 14 เจตอม รับหมูมาจาก หมูชาวบาน ประมาณกิโลกรัมละ 30-31 บาท ฆาวันละ 5-6 ตัว เปนหมูขนาด 80 กก. มีเนื้อแดงประมาณ 28-30 กก. สถานที่ฆา ที่โรงฆาสัตวจังหวัดมหาสารคาม โดยจายคาบํารุงตัวละ 70 บาท เมื่อขายไมหมด ก็จะแชเย็นเก็บไวขายในวนัถัดไป รวมทัง้ทําไปแปรรูปเปนกุนเชียง และไสกรอก เหตุผลที่รับมาจากหมูชาวบาน เนื่องจากตองการชวยชาวบาน และมีราคาถูก เขียงหมูท่ี 15 นาเรา รับหมูมาจาก ผูรวบรวม ประมาณกิโลกรัมละ 30-32 บาท ฆาวันละ 2-3 ตัว เปนหมูขนาด 80-100 กก. มเีนื้อแดงประมาณ 30 กก. ฆาเองที่บาน เหตุผลที่รับมาจากผูรวบรวม เพราะผูรวบรวมจะจัดหาหมูมาใหตลอด ไมขาดตลาด ตลาดโลตัส เนื้อกิโลรับมาจาก ซีพี ประมาณวนัละ 600กิโลกรัม เนื้อบรรจุแพค็รับมาจาก ซีพี เทสโก และคุมคา ประมาณวนัละ200กิโลกรัม ตลาดโลตัสมีการจําหนายเนื้อหมูอยู2ประเภทคือ เนื้อกโิลโดยแบงตามประเภทดังนี ้ เนื้อสันกิโลละ 85 บาท เนื้อสามชั้นกิโลละ 75 บาท เนื้อสะโพกกิโลละ 69 บาท หมูบดกิโลละ 68 บาท และเนื้อบรรจุแพ็คมีอยูสามยี้หอไดแก ชีพี คุมคา และโลตัส หากขายไมหมดเนื้อจะถูกนาํมาแปรรูปเปนผลิตอ่ืนเพื่อจําหนายตอไป

Page 74: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

74

รายงานการปฏิบัตงิาน ตารางที่ 18 รายงานการปฏบิตัิงาน วัน/เวลา กิจกรรม รายละเอียด ผลการดําเนินงาน/หมายเหตุ 21 พ.ย. 49 (11.30-14.00 น.)

พบผูประกอบการ ครั้งที่ 1

เดินทางไปพบคุณสมพงศที่บริษัทสมภาสเอ็นจีเนียริง (2005)จํากัด เพื่อศึกษาขอมูลเบื้องตน ทําความรูจักกับผูประกอบการ และสรางความคุนเคยกับพื้นที่การทํางาน

เดินทางเปนระยะทางประมาณ 22 กม. ถึงบริษัทสมภาสเอ็นจีเนียริง (2005)จํากัด เขาพบคุณสมพงศ เวียงพวง ผูจัดการบริษัท บรรยายความเปนมาของบริษัท ความเปนมาของโครงการเลี้ยงหมู และมอบหมายใหคุณปติพงศ ผูจัดการทรัพยากรบุคคล เปนผูรับผิดชอบ และประสานงานเกี่ยวกับการศึกษา และใหขอมูลที่จําเปนที่จะนํามาใชประกอบการศึกษา

1 ธ.ค. 49 (13.00-14.00 น.)

วางแผนการทํางาน วางแผนเกี่ยวกับการเขาพบผูประกอบการครั้งตอไป กําหนด ทิศทางการทํางาน

กําหนดเวลาเขาพบผูประกอบการคือวันเสารที่ 2 ธ.ค. 49 เพื่อสอบถามปญหาตางๆที่เกิดขึ้น แนวทางการแกปญหาที่คาดวา จะสามารถทําได

2 ธ.ค. 49 ( 8.00-12.00 น.)

พบผูประกอบการครั้งที่ 2

เดินทางไปบริษัทสมภาสเอ็นจีเนียริง(2005)จํากัด ขาพบคุณปติพงศ เพื่อทราบปญหาของโครงการเลี้ยงหมู ศึกษาระบบการจัดการการบริหารฟารมหมู และเก็บภาพการเลี้ยงหมู และรับขอเสนอ แนวการศึกษา เพื่อนํามาเปนแนวทางการแกไขปญหา

ทราบปญหาของฟารมเลี้ยงหมู ไดแก ปญหาดานการตลาด อัตราความตองการของผูบริโภค แนวทางการนําหมูเขาสูระบบตลาดอยางเต็มรูปแบบ การเลี้ยงหมูแตกอนเล้ียงเพ่ือทําอาหารใหพนักงานในโรงงาน แตตอมามีหมูมากขึ้น จึงสนใจที่จะเขาสูระบบตลาด คุณปติพงศ เสนอวาตองไปสํารวจเขียงหมูวามีเทาไหร แต

Page 75: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

75

ละเขียงรับหมูมาจากไหน วันละกี่ตัว รับมาราคาเทาไหร ทําไมจึงรับหมูจากแตละที่ของเขียงหมู และวัฏจักรของราคาหมู แตละป

8 ธ.ค. 49 (12.00-14.00 น..)

คนควาขอมูลวิจัยและหนังสือ

คนควาวิจัยที่เกี่ยวกับการตลาดของหมู และหนังสือตําราตางๆที่เกี่ยวกับการคาขายหมู ที่ตึกวิทยบริการ A ช้ัน 3

ชยา อุยสูงเนิน. 2535. คูมือสุกร. ศูนยผลิตตําราเกษตรเพื่อชนบท. ปากเกร็ด. นนทบุรี. ธํารงศักดิ์ พลบํารุง. 2535. การเลี้ยงสุกร. บริษัท โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด. กทม.

6 ม.ค. 50 (15.00 -16.00 น.)

สํารวจเขียงหมู สํารวจเขียงหมู น.นก เนื้อ ตลาดสดมหาสารคาม

น.นก รับหมูจาก ซีพี วันละ 3 ตัวในราคา กก. ละ 43 บาท รับจากซีพีเพราะเนื้อคุณภาพดี มีหมูตลอด และมีบริการดี

12 ม.ค. 50 ( 3.00 - 5.00 น.)

สํารวจเขียงหมู ไปสํารวจเขียงหมูที่ตลาดสด ไดแก 1.ศรีสุข 2.แมประการ 3.เจรัตนหมูสด 4.สัญญา 5.ตรีขายหมู 6.สมหวัง 7.สมบูรณ

ศรีสุข รับหมูมาจาก ชาวบานและฟารมเบทาโกโคราช ฆาวันละ1 ตัว แมประการ เลี้ยงหมูเองพรอมทั้งทําการฆาเอง ฆาวันละ1 ตัว เจรัตนหมูสด รบัหมูมาจาก ซีพี ฆาวันละ5 ตัว สัญญา รับหมูมาจาก ชาวบาน ฆาวันละ2 ตัว ตรีขายหมู รับหมูมาจาก ฟารมเมทาโก ฆาวันละ1-2ตัว สมหวัง รับหมูมาจาก ชาวบาน และจากซีพี ฆาวันละ5-6ตัว รับหมูมาจาก ชาวบาน ฟารมสิริชัยบรบือ และฟารมบูรพาจังหวัดรอยเอ็ด ฆาวันละ3 ตัว

14 ม.ค. 50 ( 4.00 – 6.00 น.)

สํารวจเขียงหมู ไปสํารวจเขียงหมูที่ตลาดสด ไดแก 1.โอเลหมู 2.เฮียถ่ิน 3.มณี

โอเลหมู รับหมูมาจาก ตลาดโคราชที่ชําแหละแลว รับมาวันละ300 กิโลกรัม เฮียถิ่น รับหมูมาจาก ฟารมกุดรังและ บานไผ ฆาวันละ3 ตัว

Page 76: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

76

4.แอร 5.คุณอะ คุณตอม 6.เจตอม

มณี รับหมูมาจาก ฟารมเวทะโกโคราช ฆาวันละ1 ตัว แอร รับหมูมาจาก ตลาดสดโคราชที่ชําแหละแลว รับมาวันละ60-70 กิโลกรัม คุณอะ คุณตอม รับหมูมาจาก เฮียสิริบานไผ ฆาวันละ2 ตัว เจตอม รับหมูมาจาก หมูชาวบาน ฆาวันละ 5-6 ตัว

15 ม.ค. 50 (14.00-15.30 น.)

สํารวจการขายหมูในตลาดโลตัส

ไปสํารวจการขายหมูที่ตลาดโลตัส ที่หางเสริมไทย ช้ัน 1

พบวาโลตัสขายเนื้อหมูในลักษณะ 2 สวน คือเนื้อกิโลที่รับมาจาก ซีพีโดยตรง มีปริมาณวันละ 600 กก. และการจัดจําหนายเนื้อบรรจุแพ็คที่รับมาจากเทสโก ซีพีและคุมคาในปริมาณวันละ 200 กก.

15 ม.ค. 50 (16.00-16.30)

สํารวจเขียง สํารวจเขียงหมู นาเรา ที่ตลาดสดบานดินดํา

นาเรา รับหมูมาจากผูรวบรวม ฆาวันละ2-3 ตัว

15 ม.ค. 50 (17.00-21.00)

รวบรวมผลสํารวจ วิเคราะหขอมูลและจัดพิมพรายงานความคืบหนา ครั้งที่ 1

รวบรวมผลการสํารวจเขียงหมูทั้ง 15 เขียง และผลการสํารวจที่ตลาดโลตัส แลวนํามาวิเคราะหหาปริมาณการจําหนาย หาสัดสวนของแหลงที่มา อัตราของสวนแบงตลาดของตลาดสดและ ตลาดโลตัส วิเคราะหสภาวะการแขงขัน

ในวันหนึ่งๆ มียอดจําหนาย 4,730 กก. โดยเนื้อหมูที่จําหนายมแีหลงที่มาจากฟารม 71.28 % ชาวบาน 18.2 % ชําแหละ 8.96 % เลี้ยงเอง 1.55 % และมียอดจําหนายที่ตลาดโลตัส 19.37 %

19 ม.ค. 50 (12.00-16.00 น.)

คนควาขอมูล ดานราคา ยอนหลัง

คนควาขอมูลดานราคาสุกรตั้งแตป 2545-2549 ที่ตึกวิทยบริการ A

พบขอมูลดานราคาของสุกรต้ังแต พ.ค. 2525 – ธ.ค. 2549 แลวทําการวิเคราะหหาเหตุผล การเปลี่ยนแปลงดานราคา จัดทําตารางและกราฟแสดงราคาของแตละปเพื่อเปรียบเทียบในแตละป

Page 77: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

77

20 ม.ค. 50 ( 8.00 -12.00 น.)

พบผูประกอบการครั้งที่ 3

เดินทางไปพบคุณปติพงศ เพื่อรายงานความคืบหนาในการทํางานและศึกษาเกี่ยวกับการลงทุนและตนทุนของการเลี้ยงหมู เพื่อวิเคราะหผลกําไรและหาชองทางการเพิ่มผลกําไร

ไดขอมูลดานตนทุนการเลี้ยงหมู คือตัวละ 3,380 บาท และทางเสริมปการชําแหละขายเองในตัวละ 4,000 บาท และมีการจําหนายใหชาวบานในละแวกนั้นเปนเงินเชื่อ

4 ก.พ. 50 (20-23 น. )

วิเคราะหขอมูล ดานราคาและ ขอมูลตนทุน

วิเคราะหขอมูลดานราคาของแตละปและราคาหมู ณ ตลาดปจจุบัน วิเคราะหตนทุนการเลี้ยงหมูของบุญบารมีฟารม หาจุดคุมทุน แนวทางการจัดการการตลาด

วิเคราะหราคาของแตละป แลวแสดงกราฟเปรียบเทียบแตละปแลว และวิเคราะหราคาหมู ณ ราคาปจจุบัน พบวาสาเหตุที่ทําใหหมู ราคาตกต่ําเกิดจากปริมาณหมูที่ลนตลาดและการทุมตลาด ของฟารมขนาดใหญ วิเคราะหดานตนทุน มีจุดคุมทุนอยูที่ราคา 36 บาท/ กก.

10 ก.พ. 50 ( 8.00-14.00 น.)

ไปศึกษาขอมูลดานตนทุน การจัดการการตลาดที่ฟารมบูรพา จ.รอยเอ็ด

เดินทางไปฟารมบูรพา จ.รอยเอ็ด ขออนุเคราะหขอมูลจาก คุณประสิทธิ์ หลวงมณี เจาของฟารม ในดานการตลาด , ดานตนทุน และดูการเลี้ยงหมูของฟารม

ฟารมบูรพาเปนฟารมครบวงจร มีการผสมพันธเองไปจนถึง การขายสงตลาดมีสุกรประมาณ 4,000 ตัว ฟารมบูรพา มีตนทุนการเลี้ยงหมู 100 กก. และขายสงใหเขียงราคากิโลกรัมละ 35 บาท และมีการชําแหละขายนายหนาฟารมดวย

11 ก.พ. 50 (12.00-15.00 น.)

วิเคราะหขอมูล และเปรียบเทียบบุญบารมีฟารม และบูรพาฟารม

เปรียบเทียบดานตนทุนของสองฟารม เพื่อหาผลตางสาเหตุของผลตาง และแนวทางการลดตนทุนของบุญบามีฟารม

ตนทุนของบุญบารมีฟารมสูงกวาของบูรพาฟารม เนื่องมาจาก การจัดการการเลี้ยงอัตราการกินอาหารของหมู และตนทุนดานอาหาร

13 ก.พ. 50 (12.00-15.00 น.)

รวบรวมเปนรูปเลม

นําขอมูลทั้งหมดมารวบรวมเปนรูปเลม

Page 78: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

78

ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรม/การศึกษา

Page 79: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

79

บริษัทโสภาสเอนจิเนียร่ิง(2005)จํากัด

บุญบารมีฟารม

Page 80: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

80

โรงเรือนสุกรของบุญบารมฟีารม

สุกรในบุญบารมีฟารม หมูรุน

Page 81: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

81

สุกรในบุญบารมีฟารม รุนอนุบาล2

ถายรูปรวมกับคุณ ปติพงษ ผุรับผดิชอบฟารมเล้ียงหมู ในบุญบารมีฟารม

Page 82: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

82

บูรพาฟารม จ.รอยเอ็ด

สุกรในบูรพาฟารม รุนอนุบาล 1

Page 83: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

83

สุกรในบูรพาฟารม รุนแมพนัธุ

สุกรในบูรพาฟารม รุนแมพนัธุ

Page 84: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

84

สุกรในบูรพาฟารม รุนแมพนัธุ

หนาทางเขาบรูพาฟารม

Page 85: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

85

เขียงหม ู

เขียงหม ู

Page 86: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

86

เขียงหม ู

เขียงหม ู

Page 87: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

87

เขียงหม ู

เขียงหม ู

Page 88: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

88

รายงานความคืบหนา

กลับบานกัน.....เสร็จซะที

Page 89: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

89

ประวัติผูศึกษา

สมาชิกในกลุม ฟรีดอมฮารท

1. ชื่อ นายวสันต พันธนาค วันเกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2528 ภูมิลําเนา จ. อุบลราชธานี วุฒิการศึกษา พ.ศ.2546 มัธยมศึกษาปที่6 โรงเรียนนาเยียศึกษาราชมังคลาภิเษก

พ.ศ. 2550 (ปจจุบัน) นิสิตวชิาเอกการจัดการ ช้ันปที่3 คณะการบัญชีและ การจดัการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

2. ชื่อ นายสฤษฏพงศ สรรถการอักษรกิจ วันเกิด 26 กันยายน พ.ศ. 2528 ภูมิลําเนา จ. บุรีรัมย วุฒิการศึกษา พ.ศ.2546 มัธยมศึกษาปที่6 โรงเรียนบุรีรัมยพิทยาคม

พ.ศ. 2550 (ปจจุบัน) นิสิตวชิาเอกการจัดการ ช้ันปที่3 คณะการบัญชแีละการจดัการ มหาวิทยาลยัมหาสารคาม

3. ชื่อ นายสุริยะ สังวรณ วันเกิด 30 ธันวาคม พ.ศ. 2528 ภูมิลําเนา จ. ศรีสะเกษ วุฒิการศึกษา พ.ศ.2546 มัธยมศึกษาปที่6 โรงเรียนราษีไศล

พ.ศ. 2550 (ปจจุบัน) นิสิตวชิาเอกการจัดการ ช้ันปที่3 คณะการบัญชแีละการจดัการ มหาวิทยาลยัมหาสารคาม

Page 90: บทที่1 บทนํา - acc.msu.ac.th · 1 บทที่1 บทนํา ความเป นมาและความสํัญาค การพัฒนาของสุกรจากสั

90

ประวัติผูศึกษา(ตอ) 4. ชื่อ นายสุนัย บุดศรี วันเกิด 17 มกราคม 2528 ภูมิลําเนา จ. ยโสธร วุฒิการศึกษา พ.ศ.2546 มัธยมศึกษาปที่6 โรงเรียนคําเขื่อนแกวชนูปถัมภ

พ.ศ. 2550 (ปจจุบัน) นิสิตวชิาเอกการจัดการ ช้ันปที่3 คณะการบัญชีและการจดัการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

5. ชื่อ นายนิตกิร พันธสุดนอย วันเกิด 1 มกราคม พ.ศ. 2528 ภูมิลําเนา จ. มหาสารคาม วุฒิการศึกษา พ.ศ.2546 มัธยมศึกษาปที่6 โรงเรียนสารคามพิทยาคม

พ.ศ. 2550 (ปจจุบัน) นิสิตวชิาเอกการจัดการ ช้ันปที่3 คณะการบัญชีและการจดัการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม