189

2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ
Page 2: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

2

สารบัญ

เรื่อง หนา การพัฒนาระบบบริการผูปวยเบาหวาน 7 การหักภาษี ณ ท่ีจาย และนําสงภาษีใหแกกรมสรรพากรตามนโยบาย 4.0 8 การแยกผากอนสงซัก 9 การรับสงหนังสือราชการ 10 การพัฒนาระบบการจัดซ้ือจัดจาง ตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจาง 2560 11 ประสิทธิภาพการใหบริการงานการเงินและบัญชี 12 การดําเนินงานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยโรงพยาบาลทาวังผา 13 เรียนรูงานโภชนาการรวมดวยชวยกัน 15 การใหบริการอาหารแกผูปวยในท่ี admit เวรบาย 16 การพัฒนาอาหารใหทางสายยางโรงพยาบาลทาวังผา 17

การรวบรวมจัดเก็บขอมูลวันหมดอายุใบประกอบโรคศิลปะ 18

งานซอมบานประตูหองนํ้าโรงพยาบาลทาวังผา 19

การพัฒนาแนวทางปฏิบัติการบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลทาวังผา 20 คัดแยกใบส่ังยาตามสิทธิ 21 กลองกระดาษเหลือใชสําหรับหอผาอนามัยในสุขาหญิง 22 ปญหาการเคลมคารักษาทันตกรรมของคนไขสิทธิประกันสังคม 23 การพัฒนารูปแบบการขอรับบริการตาง ๆของงานโสตทัศนศึกษา 24 การพัฒนาระบบบําบัดสุราของเครือขายบริการสาธารณสุขอําเภอทาวังผา 26 ระบบการติดตามผูพยายามฆาตัวตายไมมีการทํารายตนเองซํ้า 27 การจัดการความม่ังคงปลอดภัยในการใชงานอินเตอร Free Wi-Fi 28 การใหบริการผูปวยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานดวยหัวใจความเปนมนุษย 29 การจัดระบบเคร่ืองมือการออกหนวยทันตกรรมในโรงเรียน 30 การพัฒนางานดวย R2R 31 ฉุกเฉินชวยได 32 การสงงานออนไลน 33 การพัฒนาระบบลูกหน้ีโรงพยาบาลทาวังผา 34 การใหบริการอาหารแกผูปวยในท่ี admit เวรบาย 35 การเพ่ิมประสิทธิภาพการสงคืนเวชระเบียนทันเวลา 36 การพัฒนารูปแบบการใหความรูเพ่ือชะลอไตเส่ือม 37 พัฒนาระบบการวินิจฉัยผูปวยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง โรงพยาบาลทาวังผา 38 การพัฒนาระบบการบริการตรวจสุขภาพประจําปสําหรับบุคคลท่ัวไป 39 การดูแลมารดาท่ีมีภาวะซีด 40 เคร่ืองยึดเคร่ืองสูบนํ้าซับเมิสซิเบ้ิลในระบบประปา 41 การเฝาระวังคุณภาพนํ้าด่ืม 42 ทารกคลอดทา OPP (Occiput Posterior Position) 43

Page 3: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

3

สารบัญ

เรื่อง หนา

การทําปายบอกทางผูรับบริการ 45 การเสริมพลังชุมชนในดานการดูแลผูปวยเร้ือรังและดอยโอกาสในชุมชน 46 การพัฒนาระบบการเฝาระวังการด้ือยาตานไวรัสในผูติดเช้ือ/ผูปวยเอดส โรงพยาบาลทาวังผา 47 การใหบริการผูปวยนอกกับผูดอยโอกาส กรณี ชองทางดวนแบบวงกวาง 48 MI Fast track systems 49 การจัดการอุปกรณในหอง PV (หองตรวจภายใน) ใหพรอมใชงานตลอดเวลาเม่ือแพทยตองการ 50 ผูปวยไดรับการใสฟนปลอมตรงตามเวลาท่ีนัดหมาย 51 ตราปม x-ray 52 การปองกันการต้ังครรภซํ้าในหญิงอายุนอยกวา20ป 53

หลอดดูด มหัศจรรย 54

เกาอ้ี Recycle 55 การพัฒนารูปแบบการจัดซ้ือรวมวัสดุวิทยาศาสตรการแพทยจ.นาน 56 การพัฒนาคุณภาพการตรวจวิเคราะหคาการแข็งตัวของเลือด (PT INR) 57 ใบนําสงตรวจลดโลกรอน 58 การจัดระบบการเบิกจายวัสดุส้ินเปลืองของหนวยงานทันตกรรมในรพสต. 60 การดูแลทารกคลอดนํ้าหนักนอย 61 การจําหนายผูปวยกลับบาน 63 การทําสมุดรับสงเอกสารเคลมฟนปลอมระหวางหนวยงาน 64 การปองกันการติดเช้ือด้ือยาในเจาหนาท่ี 65 ท่ีใสไมคํ้ายันรักแร 66 การพัฒนารูปแบบการจัดการอาการรบกวน 67 การพัฒนาระบบออกหนวยทันตกรรมดาน รับ-สง ฝายยานยนตโรงพยาบาล 68 การพัฒนาระบบขอมูลสินทรัพยของ Cup อําเภอทาวังผา 69 การพัฒนาระบบงานการลางเคร่ืองมือและการบรรจุหีบหอ sterile 70 การพัฒนาระบบการจัดเก็บรายไดจากผูประสบภัยจากรถ 71 การพัฒนาศักยภาพความรอบรูดานสุขภาพของผูปวยเบาหวาน 72 การใหคําปรึกษา งานผูปวยนอก รพ ทาวังผา 73 การทําทะเบียนประวัติผูมารับบริการ 74 ประสิทธิผลของการพัฒนารูปแบบการใหบริการวัคซีนไขหวัดใหญ 75 กลุมบุคลากรรพ.ทาวังผาป 2560-2561 CA UTI 76 ผลของการพัฒนาการจัดเตรียมSetคลอดไมพรอมใช 77 ความไมพรอมใชของ Ambubag ผูใหญ 78 ผลของการตรวจเช็คเคร่ืองมือหนวยงานหองคลอดกอนลาง 79 ผลของการดําเนินงานการปรับเปล่ียนรูปแบบการใชถุงมือปราศจากเช้ือ 80

Page 4: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

4

สารบัญ

เรื่อง หนา การสํารวจสาเหตุท่ีผูปวยระดับ5 (ไมเรงดวน) เขารับบริการในหองฉุกเฉิน 80 การใหนมบุตรมารดาครรภแรก 82 การปรับเปล่ียนพฤติกรรมกลุมเส่ียงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงตําบลทาวังผา 83 เร่ืองผลแนวทางการสรางความปลอดภัยในการใชรถพยาบาล 84 การตรวจสอบประจําวัน/อุปกรณตางในรถพยาบาล 85 การยึดตรึงอุปกรณภายในรถยนตและรัดเข็มขัดนิรภัย 86 การปฏิบัติตามกฎจราจร 87 การดูแลผูปวยไสต่ิงอักเสบเฉียบพลัน( Acute appendicitis) 88 หลังคากันแดดกันฝนเคร่ืองปมลม 90 การพัฒนาการระบบการลงทะเบียนและจําหนายผูปวยท่ีเสียชีวิต 91 ใหครอบคลุมลดขอผิดพลาดในการลงขอมูลในระบบ HOS XP ผลการดําเนินงาน เคร่ืองมือทันตกรรมไมพรอมใช 92 การการพัฒนาระบบการดูแลผูปวยท่ีไดรับยา Warfarin 93 การพัฒนาระบบการติดตามการรักษาผูปวยโรคเบาหวาน 94 เสริมสรางความม่ันใจในผูปกครองในการดูแลลูกขณะท่ีปวย 95 ความคุมคา คุมทุน ดานยาและเวชภัณฑมิใชยา 96 การพัฒนาการถายภาพรังสีดวยระบบPACS 97 การพัฒนาระบบการใชอุปกรณEMS 98 การปรับเปล่ียนเวลาข้ึนปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบการทําบัตร 99 และลงทะเบียนเขารับการรักษาพยาบาลท่ีแผนกผูปวยนอก การลงทะเบียนรับใบเสนอความตองการพัสดุ 100 การลดการจัดยาผิดชนิดยา รูปแบบยาและความแรงของยา 101 การพัฒนาระบบการคัดกรองเพ่ือคนหาผูปวยโรควัณโรคปอด 102 ปฏิทินยาวาฟารินหนวยงาน เภสัชกรรม 103 การดูแลพัดลมและไสกรองแอรในตึกผูปวยใน 104 การเช็คสิทธิการรักษาสําหรับผูมารับบริการงานแพทยแผนไทย 105 ออกหนวยทันตกรรมฟนเทียมนอกสถานท่ีใน รพ.สต. 106 กลองจัดระเบียบจากกลองเหลือใช 107 การตรวจสอบการขอมูลคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลางประเภทผูปวยนอก 108 การบริบาลทางเภสัชกรรมในผูปวยท่ีไดรับยาวารฟารินของโรงพยาบาลทาวังผา 110 คุณภาพการจัดทําแผน จัดซ้ือ-จัดจางวัสดุไฟฟาและวิทยุ (ตอเน่ือง) 111 การรักษาคุณภาพยา 112 การจัดการยาเหลือใชจากผูปวยโรคเร้ือรัง โรงพยาบาลทาวังผา 113 การจัดการขยะหนวยงาน 114 การพัฒนาทําแทนวางปมลมทันตกรรม ในรพ.สต.บานดอนตัน 115 edication Reconcilliation 116

Page 5: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

5

สารบัญ

เรื่อง หนา ยาพนถูกชนิด ถูกวิธีใช 118 การตรวจสอบชดเชยคาปฏิบัติการEMSกับระบบสารสนเทศโปรแกรม ITEMS 119 แนวการดูแลผูปวยท่ีมีภาวะ Alcohol withdrawal syndrome (ภาวะถอนพิษสุรา) 120 โดยใช แบบประเมิน AWS การทําสัญลักษณบนขวดตวงปสสาวะ เพ่ือความถูกตองและงายตอการ Reccord I/O 121 เช็ดตัวลดไข 122 ปลูกถายฟนใหตนเอง(auto tooth transplant) 123 การพัฒนาระบบส่ือสารเก่ียวกับการรับเอกสาร พ.ร.บ 125 การปองกันการหกลม-ล่ืนลมในหองทํางาน 126 การตรวจเช็คอุปกรณภายในหองอบสมุนไพร 127 การปองกันการเกิดแผลพุพองจากการประคบรอน 128 ตรวจวัดคาความดันโลหิตทุกคร้ังกอนรับบริการ 129 ไมซํ้าเติมไต ปลอดภัยดานยา 130 ติดต้ังโปรแกรม Automatic Meter Reading (AMR) อานกระแสไฟฟาอัตโนมัติ 131 ประยุกตใชแบตเตอร่ี Nickel metal – hydride ของ Infusion pump 132 การนําบัตรคิวมาใชในแผนกกายภาพบําบัด 133 ปายสัญลักษณ 134 จัดระบบการเบิกจายยาและเวชภัณฑมิใชยาของ รพ.สต. 135 การปองกันขยะติดเช้ือปนเปอนกับขยะท่ัวไปในตึกผูปวยนอก 136 การปองกันการล่ืนลมของผูปวย ญาติ และผูมารับบริการ 137 การปองกันทรัพยสินของผูมารับบริการถูกลักขโมย โรงพยาบาลทาวังผา ป 2561 138 การปองกันของแข็ง ของมีคมบาดขณะปฏิบัติงาน 139 การสงผาถูกตองตามหนวยงานผูใช โรงพยาบาลทาวังผา ป 2561 140 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง โรงพยาบาลทาวังผา ป 2561 141 การพัฒนาระบบทําความสะอาดหองโรคติดตอไมเร้ือรัง 143 การพัฒนาระบบรับใบชันสูตรคดี 144 การพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองในผูปวยHTโดย SMBP (Self Monotoring Blood Pressure) 145 พัฒนาระบบการสงตอผูปวยเพ่ือเขารับการรักษาในโรงพยาบาล 146 การใหบริการแกผูมารับบริการงานคลินิก (NCD) 147

กระเปาะรองนํ้าลางตา 148

การคัดแยกผาสกปรกและผาสะอาดของคนไข 149

การดูแลหลังถอนฟนในเด็กนักเรียนประถมศึกษาหลังออกหนวยทันตกรรม 150

การพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองในผูปวยCAPD 151

การจัดเก็บเวชระเบียน (EKG) 152

การดูแลผูปวยติดเช้ือในกระแสเลือด 153

Page 6: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

6

สารบัญ

เรื่อง หนา การรายงานความเส่ียงในหนวยงานตึกผูปวยใน 154

การใสออกซิเจนบล็อกเด็ก 155 การวางแผนการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยา 156 ความปลอดภัยของผูรับบริการรถเข็นน่ังท่ีแผนกผูปวยนอก 157 การเก็บปสสาวะในเด็กเล็ก 158 การปองกัน IV เด็กเล่ือนหลุด 159 ผาผูกยึดลําตัวผูปวย (Physical Restraint) 160 พัฒนาระบบการดูแลรักษาผูปวยนอก โรงพยาบาลทาวังผา จังหวัดนาน 161 การเจาะวัดระดับนํ้าตาลในเลือดท่ีบาน 162 การจัดอัตรากําลังพยาบาลในขณะท่ีบุคลากรมีจํากัด 163 การตากผาไมแหง 164 ผารองปองกันแผลจากการใสออกซิเจนนาน 165 การพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลแบบช้ีปญหาเฉพาะ 166 การจัดการบริหารกรณีเตียงเต็ม 167 การใหการวินิจฉัย และการดแล และติดตาม ผูปวยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง 168 การใชยาอยางเหมาะสมในผูปวยท่ีมีภาวะ Acute pharyngitis / Acute tonsillitis 169 การบันทึกขอมูลการใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในโปรแกรมผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา R 36 170 การปรับเปล่ียนแนวทางการฉีดวัคซีนสุนัขบาแบบ IM เปน ID ในโรงพยาบาลทาวังผา 171 การพัฒนาการดูแลบาดแผล 172 ความเปนสวนตัวของแพทยกับผูปวยจิตเวชในมุมการใชส่ือสังคมออนไลน 173 ออกหนวยทันตกรรมโรงเรียน 174 การพัฒนาการดูแลเพ่ือปองกันการเกิดแผลกดทับ 175 การดูแลผูปวยไสต่ิงอักเสบเฉียบพลัน( Acute appendicitis) 176 ผลการดําเนินการติดช่ืออุปกรณผิดชนิด 178 การจัดเตรียมกระเปา EMS แบบ advice 179

Bitewing จากกระดาษกลองถุงมือ 180

การควบคุณคุณภาพสียอม Gram stain 181

การพัฒนาระบบการจัดเก็บรายไดจากผูประสบภัยจากรถ 182

การแอดมิทคนไขปรับยาเบาหวาน 183

การคัดแยกผูปวย 184

การลงโปรแกรมชันสูตรพลิกศพลาชา 185

การพัฒนาระบบการนัดผูปวยฟนเทียม 186

การคัดแยกขยะรีไซเคิลในหองอุบัติเหตุฉุกเฉิน 187

การรักษาผูปวยวัณโรคอยางตอเน่ืองและการปองกันการด้ือยา 188

Page 7: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

7

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบบริการผูปวยเบาหวาน

เจาของผลงาน นางนิภาพร ลํานอย หนวยงาน กลุมงานทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา(Problem)

กลุมงานทันตกรรม ไดบริการผูปวยทุกกลุมวัย ไมวาจะเปนงานสงเสริม งานปองกัน การฟนฟู และการรักษา ปญหาท่ีเกิดข้ึนของผูปวยเบาหวานจะไมยอมมารับบริการทางทันตกรรม โดยมีความเช่ือวาการเปนเบาหวาน เม่ือทําฟนแลวจะอันตรายตอตนเอง สงผลใหชองปากมีปญหา เชน เหงือกอักเสบ หินปูนเยอะ มีกล่ินปาก และปญหาของขอมูลผูปวยเบาหวานไดรับการตรวจชองปากนอยมาก จึงไดคนหาสาเหตุ และหาแนวทางการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน โดยจัดการบริการตรวจชองปากแกผูปวยเบาหวาน ณ คลินิค NCD และ การลงขอมูลเองดวยทันตาภิบาล

2.เปาประสงค (Purpose):

เพ่ือพัฒนาระบบบริการผูปวยเบาหวาน และการลงขอมูล

3.กระบวนการพัฒนา (Process) :

1. แจงปญหาท่ีเกิดข้ึนแกผูรับผิดชอบงานNCD งานขอมูล และกลุมงานทันตกรรม เพ่ือรับทราบ 2. มีการประชุม ปรึกษา หาแนวทาง ในการแกไขปญหา 3. นําแนวทางการแกไขปญหา มาดําเนินงาน คือ การจัดเจาหนาท่ีของกลุมงานทันตกรรมไปบริการ ณ จุดคลินิก NCD และนําขอมูลจากการตรวจชองปากมาลงโปรแกรมเอง

4.ผลลัพธ (Performance): 1. มีการพัฒนาระบบบริการท่ีเขาถึงผูปวยเบาหวาน 2. ผูปวยเบาหวานไดรับการบริการตรวจชองปากมากข้ึน ณ จุดคลินิก NCD 3. ผูปวยเบาหวาน มีความรูเร่ืองการดูแลสุขภาพชองปาก มากข้ึน 4. มีขอมูลของผูปวยเบาหวานเพ่ิมข้ึน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) -

Page 8: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

8

Good Practice เรื่อง การหักภาษี ณ ที่จาย และนําสงภาษีใหแกกรมสรรพากรตามนโยบาย 4.0 เจาของผลงาน นางสาวแพรวา นันทชัย หนวยงาน งานการเงินและบัญชี ฝายบริหารงานทั่วไป

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : ดวยกรมสรรพากรไดพัฒนาโปรแกรมภาษีเงินไดหัก ณ ท่ี จาย ใชงานแบบออนไลน 4.0 (WHT

Services System): SVS ไดแก แบบภงด.1 ภงด.2 ภงด.3 ภงด.53 ใหแกผูเสียภาษีท้ังภาครัฐและเอกชนใหใชบริการจัดการดานภาษีเงินได หัก ณ ท่ีจายแบบครบวงจรโดยไมมีคาใชจายใดๆ และขอมูลท่ีนําสงกรมสรรพากรไดเก็บขอมูลไวในระบบอินเตอรเน็ต ไมมีการสูญหาย ลดการใชกระดาษ สามารถเรียกดูขอมูลยอนหลังได และท่ีสําคัญสะดวกแกผูใชงานซ่ึงสามารถเขาไปกรอกขอมูลไดทุกท่ี ทุกเวลา ท่ีไดเช่ือมตอขอมูลทางระบบอินเตอรเน็ตและในการชําระภาษีโดยสามารถเลือกแบบการชําระได ตามความสะดวกของผูรับบริการ

เน่ืองดวยโปรแกรมภาษีเงินไดหัก ณ ท่ี จาย แบบเดิมไมรองรับการทํางานแบบออนไลน ไมสามารถฝากไฟลขอมูลแบบออนไลนได สํารองขอมูลแลวเก็บไวในคอมพิวเตอร อาจเกิดการสูญหายและไมสารมารถเรียกคืนขอมูลเกาไดในกรณีท่ีคอมพิวเตอรเสีย

2. เปาประสงค (Purpose) หนวยงานสามารถปฏิบัติตามโปรแกรมการพัฒนาโปรแกรมภาษีเงินไดหัก ณ ท่ี จาย ใชงานแบบ

ออนไลน (WHT Services System): SVS 4.0 ของกรมสรรพากรไดอยางถูกตองและครบถวน

3. กระบวนการพัฒนา(Process)

1. ใหเจาหนาท่ี IT หนวยงานติดต้ังโปรแกรม (WHT Services System) : SVS ของกรมสรรพากร โดยคอมพิวเตอรตองรองรับ - Abode Acrobat Reader Version 8.0 ข้ึนไป/Microsoft office Excel 2007 ข้ึนไป/JDK Version 1.6 2. ผูรับผิดชอบในการหัก ภาษีเงินไดหัก ณ ท่ีจายของหนวยงานดาวนโหลดคูมือการกรอกขอมูลการหัก ภาษี ณ ท่ีจาย ผานระบบออนไลน พรอมศึกษาข้ันตอนใหเขาใจและปฏิบัติตามอยางถูกตอง

3. ทําการหักภาษี ณ ท่ีจาย และนําสงภาษี หัก ณ ท่ีจาย ใหแกกรมสรรพากรอยางครบถวน ถูกตองทุกเดือน

4. ผลลัพธ (Performance): หนวยงานสามารถหัก ภาษี ณ ท่ีจาย และนําสงภาษีโดยชําระผานระบบออนไลน ใหแกกรมสรรพากร

ไดครบถวนและถูกตอง โดยไมโดนเรียกตรวจสอบภาษียอนหลัง

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) -

Page 9: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

9

Good Practiced เรื่อง การแยกผากอนสงซัก

เจาของผลงาน นางกิตติธร แสนพิช หนวยงาน บริการดานปฐมภูมิและองครวม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

การแยกผากลุมงานดานปฐมภูมิและองครวมมี 2 ประเภท มีจํานวน 2 ถังวางเรียงกัน มีถังผาสะอาดกับผา

สกปรก ถังท่ี 1 ผาสกปรก ถังท่ี 2 ผาเช็ดมือเจาหนาท่ี ท่ีผานมาเจาหนาท่ีและผูรับบริการใสผาท่ีใชแลวผาไมถูก

ถัง ใสผาสะอาดปนกับผาสกปรกแลวยังมีเศษขยะอยูในถังผา ทําใหพบปญหาดังน้ี ผาสะอาดปนกับผาเปอนและเศษ

ขยะ ทําใหเจาหนาท่ีแผนกซักฟอกตองมาคัดแยกอีกรอบ ปญหาเหลาน้ีทําใหเปนอุปสรรคในการทําความสะอาดผา

และอาจทําใหเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของไดรับอันตรายเส่ียงตอการติดเช้ือ เสียเวลาในการปฏิบัติงานซํ้าซอน และเพ่ิม

ภาระแกเจาหนาท่ีงานซักฟอก

2. เปาประสงค (Purpose)

- เส้ือผาผูปวยไมปนกับผาเช็ดมือเจาหนาท่ี - ไมพบขยะปนกับผา - เจาหนาท่ีปลอดภัย

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

- ประชุมและช้ีแจงการหาแนวทางรวมกันในหนวยงาน - เจาหนาท่ีใหคําแนะนําสถานท่ีและวิธีการปฏิบัติแกผูปวยและผูปวยทุกราย - มีปายและสัญลักษณบอกชัดเจน

4. ผลลัพธ (Performance)

การวัดผลและผลของการเปล่ียนแปลงหลังจากในการแยกผาสะอาดกับผาเปอน จากการสอบถามจากหนวยงานท่ีรับผิดชอบแลวเกิดความพึงพอใจ

- ลดความเส่ียงในการแพรกระจายเช้ือโรคในหนวยงานท่ีรับผิดชอบ - ลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน - ลดคาใชจาย - ไมพบขยะปนกับผารอยละ 100 % - ไมมีผาสะอาดปนกับผาเปอนรอยละ 90%

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) จากการดําเนินงานยังพบวายังคงมีผาปนกันรอยละ 10 % จึงหาแนวทางรวมกันดังน้ี

- ประชุมหารือกันในหนวยงานและประชาสัมพันธใหผูรับบริการและเจาหนาท่ีใหมากข้ึน - จัดหาภาชนะใสผาใหมีสีและความแตกตางใหเห็นชัดเจนข้ึน - ทําปายและสัญลักษณท่ีชัดเจนและดูงายตอการปฏิบัติ

Page 10: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

10

Good practice เรื่อง การรับสงหนังสือราชการ

เจาของผลงาน นางวิลาวรรณ เชื้ออวน หนวยงาน ฝายบริหารทั่วไป

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากการรับหนังสือราชการท่ีผานมา งานสารบรรณไดพบปญหาหนางาน คือ การรับหนังสือราชการ

ลาชาไมทันเวลา ทําใหการรับสงหนังสือใหหนวยงานภายในโรงพยาบาลลาชาไปดวย ซ่ึงจะมีผล กระทบตอการดําเนินงานของเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบในการการติดตอประสานงาน

2. เปาประสงค(Purpose) เพ่ือใหการรับสงหนังสือราชการไดถูกตอง รวดเร็ว ทันเวลา

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 1. เขาระบบ E-office ของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนานทุกวันเพ่ือรับหนังสือ

2. แจงงานยานพาหนะในการรับหนังสือราชการ สสจ.นานทุกวันทําการ 3. การประสานงานทางโทรศัพท/ทางแฟกซ 4. การประสานงานทางไลน 5. การสําเนาเอกสารใหกับฝาย/งานท่ีเก่ียวของในกรณีเรงดวน 6. จัดลําดับความสําคัญและความเรงดวนของหนังสือรับ เพ่ือดําเนินการกอนหลัง

4. ผลลัพธ(Performance) 1. การรับสงหนังสือราชการลาชา ไมทันเวลา/ผิดพลาดลดลง 2. การรับสงหนังสือราชการลาชา ไมทันเวลาไดรับการแกไขใหทันเวลา รอยละ 100

5. แผนพัฒนา(Preparedness) การรับสงหนังสือราชการใหถูกตอง รวดเร็ว ทันเวลา ตองมีการช้ีแจงใหทุกหนวยงานภายในโรงพยาบาลไดรับทราบและเห็นความสําคัญของหนังสือราชการ จึงจะสงผลใหแนวทางการปฏิบัติไดรับการตอบสนองท่ีดีและมีประสิทธิภาพ

Page 11: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

11

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจาง ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจาง 2560

ผลงาน นางสาวศุภลักษณ เมธาอภิสิทธิ์ หนวยงาน บริหารงานทั่วไป

1. ความสําคัญปญหา(Problem) ดวยพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

เม่ือวันท่ี 24 กุมภาพันธ 2560 และกําหนดมีผลบังคับใช 180 วัน นับต้ังแตวันประกาศและมีการยกเลิกการปฏิบัติตามระเบียบวิธีการพัสดุเดิมท่ีใชอยู ซ่ึงจําเปนอยางย่ิงท่ีผูปฏิบัติงานดานการจัดซ้ือจัดจางของโรงพยาบาลทาวังผา ไดแกงานพัสดุ ฝายบริหารท่ัวไป งานเภสัชกรรม งานทันตกรรม และงานชันสูตร ตองมีความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานใหมีความถูกตองพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ท่ีมีผลบังคับใช วาสาระสําคัญใดบางท่ีแตกตางจากระเบียบฉบับเดิมและปฏิบัติงานใหเปนไปตามระเบียบใหม เพ่ือใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางถูกตองโปรงใส ตรวจสอบไดและมีประสิทธิภาพ

2. เปาประสงค(Purpose) เพ่ือใหสอดคลองกับกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ และสภาวการณในปจจุบัน อันมีรายละเอียดวิธีปฏิบัติท่ี

แตกตางจากระเบียบเก่ียวกับพัสดุ การจัดซ้ือจัดจาง หรือการบริหารพัสดุเดิม และปฏิบัติงานเปนไปอยางถูกตองโปรงใส ตรวจสอบไดและมีประสิทธิภาพ

3.กระบวนการพัฒนา(Process) 3.๑การเก็บรวบรวมขอมูลความรูเก่ียวกับพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.

2560 ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซ้ือจัดจางและการบริหารงานพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 และกฎกระทรวงตาง ๆท่ีเก่ียวของรวมรวมขอมูลความรูท่ีจําเปนในการปฏิบัติงานดานพัสดุ

3.2 จัดทํา Flowchartข้ันตอนการปฏิบัติงานดานพัสดุ จัดทําคูมือในการปฏิบัติงาน การจัดซ้ือจัดจาง ในวิธีการจัดหา ท่ีผูปฏิบัติงานพัสดุตองดําเนินการเปนประจํา

3.3 นําคูมือท่ีจัดทํา ลงสูการปฏิบัติจริง ตาม Flowchart ข้ันตอนการปฏิบัติงานดานพัสดุ โดยยึดตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560

4.ผลลัพธ(Performance) 1.1 ดําเนินการจัดหาพัสดุไดถูกตองตามระเบียบ โปรงใส ตรวจสอบได 1.2 หนวยงานสามารถเบิกพัสดุไดเพียงพอตอความตองการ รวดเร็ว ทันเวลา

5.แผนพัฒนา(Preparedness)

- วางแผนปรับปรุงFlowchartข้ันตอนการปฏิบัติงานดานพัสดุ ปรับปรุงการจัดทําคูมือในการปฏิบัติงาน การ

จัดซ้ือจัดจาง เม่ือไดรับแจงขอมูลคําส่ัง และระเบียบวิธีการดานพัสดุใหม ๆ

Page 12: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

12

Good Practice เรื่อง ประสิทธิภาพการใหบริการงานการเงินและบัญชี

ชื่อเจาของผลงาน นางศรัณยา มินทร หนวยงาน งานการเงินและบัญชี ฝายบริหารทั่วไป

1. ความสําคัญของปญหา (Problem): งานการเงินและบัญชี มีหนาท่ีความรับผิดชอบในการรับเงิน-เบิกจายเงินทุกประเภท การจัดทํา

บัญชี การรายงานขอมูลทาง การเงิน การจัดทําและควบคุมเงินงบประมาณ และ นอกงบประมาณ การดําเนินงานดานการบริหารวางแผนการใชจายงบประมาณ แตปญหาของการใหบริการงานการเงินและบัญชีของหนวยงาน สวนใหญท่ีพบคือ การปฏิบัติงานยังไมถูกตองตามระเบียบ การเบิกจายเงินลาชา ไมเปนไปตามมาตรฐานระยะเวลาท่ีกําหนด ไดรับการทวงถามจากเจาหน้ี

ดังน้ีการใหบริการงานการเงินและบัญชีท่ีมีประสิทธิภาพ จึงเปนส่ิงสําคัญอยางย่ิง ในการพัฒนาคุณภาพดานการเงินการคลัง ขององคกร

2. เปาประสงค ( Purpose) : เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพ และแนวทางการใหบริการงานการเงินและบัญชีใหมีประสิทธิภาพ และชัดเจนย่ิงข้ึน

3. กระบวนการพัฒนา ( Process) : 1. มีการกําหนดมาตรการ ข้ันตอนและระยะเวลาในการเบิกจายเงินใหถูกตอง รวดเร็ว โดยมีการกําหนดผัง

การไหลของงานโดยมีการทบทวนข้ันตอนและระยะเวลาการเบิก-จายเงิน เน่ืองจากเปนกระบวนการหลักของงานการเงิน

2. ปรับเปล่ียนวิธีการเบิกจาย และลดข้ันตอนท่ีไมจําเปนลง เชน การพิมพเช็คและควบคุมเอกสารการเบิกจาย โดยวิธีการตรวจสอบท่ีเขาใจงาย

3. กําหนดเวลามาตรฐานในการเบิก จายเงิน เพ่ือความทันเวลา เชน ลูกหน้ีเงินยืม 4. จัดเก็บหลักฐานการเงินใหเปนระบบ สะดวกในการคนหา 5. การแจงขอมูลขาวสารงานการเงิน นําประเด็นท่ีตรวจพบขอผิดพลาด แจงในชองทาง Line กรุป และแจงใน

ท่ี ประชุม Morning talk ในทุกเชาวันจันทร 6. มีการกํากับติดตามเฝาระวังเกณฑการประเมินตัวเองของระบบงานการเงินอยาง ครอบคลุมโดยละเอียด

เพ่ือใหอยูในเกณฑมาตรฐานโดยสอดคลองกับตัวช้ีวัดของ หนวยงาน 4. ผลลัพธ ( Performance) : 1. มีความถูกตอง ครบถวน ของระบบการรับ – จาย

2. มีการกําหนดระยะเวลาในการใหบริการท่ีชัดเจน ทําใหสามารถวางแผนการ ปฏิบัติงานดานการเงินงายข้ึน,ระยะเวลาในการเบิกจายเงินมีความเหมาะสมกับข้ันตอนการเบิกจายเงิน สามารถกําหนดวันท่ีในการเบิกจายเงินประจํางวด เชน เงินเดือนคาจาง ,คาตอบแทน , เจาหน้ีคาวัสดุบุคคลภายนอก ทําใหท้ังบุคลากรภายในและบุคคลภายนอก ไดรับเงินภายในระยะเวลาท่ีกําหนด

3. มีการใหคําปรึกษาแนะนําระเบียบเก่ียวกับการเงิน ปญหาขอสงสัยตาง ๆ เผยแพร/ประชาสัมพันธขอมูลการเงิน ผานชองทาง line กลุม , บอรดประชาสัมพันธ , แจงผานท่ี ท้ังน้ีเปนการเอ้ือตอการพัฒนางานการเงิน และสงผลใหประสิทธิภาพการใหบริการงานการเงินและบัญชีดีมากข้ึน

5. การวางแผนการพัฒนา (Preparedness): มีการควบคุม กํากับดูแล ตรวจสอบขอมูลทางดานการเงิน อยางครอบคลุม บุคลากรมีทักษะ ความ

เช่ียวชาญในงานการเงินและบัญชี สามารถรักษาระดับคุณภาพใหอยูในเกณฑมาตรฐาน ท่ีกระทรวงกําหนด

Page 13: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

13

Good Practice เรื่อง การดําเนินงานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยโรงพยาบาลทาวังผา

ชื่อ นางพรฤทัย สินทุมวงค หนวยงาน : โภชนาการ

๑. ความสําคัญของปญหา ( Problem): กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายความปลอดภัยดานอาหารโดยเนนการบริหารจัดการความปลอดภัยดาน

อาหารแบบบูรณาการและมีประสิทธิภาพเพ่ือใหอาหารมีความปลอดภัยครบวงจรเปาหมายสําคัญคือการสนับสนุนใหโรงพยาบาลทุกแหงเปน“ โรงพยาบาลอาหารปลอดภัย” ดังน้ันโรงพยาบาลทาวังผาใหความสําคัญเพราะอาหารท่ีจัดใหบริการในโรงพยาบาลควรเปนอาหารท่ีปลอดภัยไมมีส่ิงปนเปอนท่ีจะทําใหเกิดอันตรายเพ่ือลดการปวยของประชาชนจากโรคการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน

๒. เปาประสงค : (Purpose) มีรูปแบบการดําเนินงานตามโครงการอาหารปลอดภัยตามท่ีกําหนดไวในมาตรฐานอาหารปลอดภัย

กระทรวงสาธารณสุขโดยจัดใหเหมาะสมกับบริบทและสอดคลองกับวิถีชีวิตของผูปวย

๓. กระบวนการพัฒนา (Process ): 1. กําหนดเมนูอาหารลวงหนาอยางนอย 2 เดือน และ จัดทํารายการอาหารหมุนเวียน ลวงหนาทุก 2อาทิตย

เพ่ือวางแผนการผลิตและส่ังซ้ือวัตถุดิบลวงหนาใหสอดคลองกับวัตถุดิบและตามฤดูกาลท่ีมีในพ้ืนท่ี 2. มีการจัดเมนูอาหารโดยเนนวัตถุดิบท่ีมีในทองถ่ินและมาจากแหลงผลิตท่ีเช่ือถือได สอดคลองกับบริบทของ

ผูปวยท่ีนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลทาวังผา 3. มีการตรวจวิเคราะหสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืชในผักและผลไมสด ท่ีใชประกอบอาหารใหกับผูปวยท่ี

นอนพักรักษาตัว โดยมีการสงตรวจผักและผลไมท่ีใชในการประกอบอาหารสําหรับผูปวยในโรงพยาบาลทาวังผากลุมงานคุมครองผูบริโภคและเภสัชกรรมสสจ.นาน และมีการตรวจโดยงาน คบส.ของโรงพยาบาลทาวังผา เดือนละ 2 คร้ัง

4. มีการเลือกใชผักปลอดสารพิษโดยส่ังซ้ือจากแหลงผลิตท่ีเช่ือถือได ไดแกในชุมชนท่ีมีการปลูกผักปลอดสารพิษ สงเสริมใหเจาหนาท่ีในโรงพยาบาลปลูกผักเพ่ือขายใหโรงครัวโรงพยาบาล เชน กระเพรา ขาตะไคร ฟก หากเปนผักท่ีซ้ือจากตลาดสดท่ัวไปไมทราบขอมูลแหลงปลูกปลอดสารฆาแมลงหรือไม มีการลดสารพิษเบ้ืองตนโดยการแชนํ้าสมสายชู กอนนํามาจัดเตรียมเพ่ือประกอบอาหาร มีการใชขาวจากโรงสีขาวพระราชทาน

4. ผลลัพธ (Performance)

4.1 ผลจากการสงตัวอยางผักและผลไมตรวจวิเคราะหหาสารฆาแมลงตกคางไปยังกลุมงานคุมครองผูบริโภค สสจ.นานและงานคบส.โรงพยาบาลทาวังผา พบวาการสงตัวอยางผักและผลไมตรวจพบวา

4.1.1 คร้ังท่ี 1 สง 6 ก.พ.61จํานวน 15 ตัวอยางไมพบ 12 ตัวอยาง พบในระดับปลอดภัย 3 ตัวอยางคร้ังท่ี 2 สง 3 พ.ค.61 จํานวน 15 ตัวอยาง ไมพบ 14ตัวอยาง พบในระดับปลอดภัย 1 ตัวอยาง และตรวจโดยกลุมงาน คบส.โรงพยาบาลทาวังผาอีก 2 คร้ัง

4.1.2 คร้ังท่ี1 25 มิ.ย.61 จํานวน 16 ตัวอยางไมพบ 1 ตัวอยางพบในระดับปลอดภัย 10 ตัวอยางพบในระดับไมปลอดภัย 6 ตัวอยางคร้ังท่ี 2 วันท่ี 20 ก.ค.61 จํานวน 10 ตัวอยางพบในระดับปลอดภัย7 ตัวอยาง และพบในระดับไมปลอดภัย 3 ตัวอยาง

Page 14: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

14

4.2 จากผลการตรวจสอบไดสรางความตระหนักใหกับงานโภชนาการในการคัดเลือกวัตถุดิบ และ ทราบ

แหลงท่ีมาของวัตถุดิบอาหารกอนนํามาปรุงอาหารใหผูรับบริการและสะทอนผลการตรวจใหกับแมคาสงอาหารทราบดวยวาผักและผลไมชนิดใดท่ีพบสารฆาแมลงตกคางและอยูในระดับไมปลอดภัยเพ่ือเปนขอมูลในการคัดเลือกวัตถุดิบอาหารตอไป

4.3 สงผลใหผูรับบริการภายในโรงพยาบาลไดบริโภคอาหารท่ีสะอาดปลอดภัย ลดอัตราการเจ็บปวยจากการบริโภคอาหาร

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness): มีการดําเนินการอยางตอเน่ืองโดยมีการทํา MOU กับแมคาผูสงอาหารใหกับโรงพยาบาลเร่ืองการ

เลือกซ้ือพืชผักปลอดสารพิษจากกลุมเกษตรกรในพ้ืนท่ีและมีการดําเนินงานสุมตรวจหาสารพิษตกคางสมํ่าเสมอจากกลุมงานคบส.

Page 15: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

15

Good Practice เรื่อง เรียนรูงานโภชนาการรวมดวยชวยกัน

ชื่อเจาของผลงาน นางพวง จันทรานนท หนวยงาน โภชนาการ

1. ความสําคัญของปญหา( Problem) : งานโภชนาการมีบุคลากรภายในหนวยงาน 4 คน ประกอบดวยนักโภชนาการ 1 คน และคนครัว

จํานวน 3 คน กอนมีการเปล่ียนแปลงระบบ แมคนครัวท้ัง3 คนจะชวยกันจัดเตรียมวัตถุดิบอาหารพรอมปรุงเม่ือเตรียมวัตถุดิบเสร็จแลวมีการแบงหนาท่ีกันโดยมีคนครัวประจําหนาเตามีหนาท่ีปรุงอาหาร 1 คน และจัดอาหารปรุงสุกรวมถึงแจกจายอาหารตึกผูปวยใน ตึกสงฆอาพาธและหองรอคลอดจํานวน 2 คน โดยแตละคนจะทําหนาท่ีประจํา ยกเวนมีคนขาดหรือลาถึงจะสลับสับเปล่ียนหนาท่ีกันแตการทํางานก็ไมคลองแคลวเพราะไมใชหนาท่ีท่ีตัวเองทําประจํา หลังจากน้ันไดมีการแกไขปญหาโดยมีการใหคนครัวท้ัง 3 คนสลับหนาท่ีกันเร่ิมจากอยูหนาเตาปรุงอาหาร จัดเตรียมอาหารและแจกจายอาหารโดยหมุนเวียนหนาท่ีกันคนละ 1 อาทิตย ทุกคนจะไดทําหนาท่ีแทนกันไดลดความผิดพลาดในการทํางาน

2. เปาประสงค (Purpose): เพ่ือใหเจาหนาท่ีงานโภชนาการมีทักษะและพัฒนางานโภชนาการในทุกๆดาน

3. กระบวนการพัฒนา (Process ) : จัดระบบงานโดยแบงหนาท่ีรับผิดชอบดังน้ี ชวยกันจัดเตรียมวัตถุดิบอาหารกอนนํามาปรุงอาทิตยท่ี 1

รับผิดชอบปรุงอาหาร อาทิตยท่ี 2 รับผิดชอบจัดเตรียมอาหาร อาทิตยท่ี 3 รับผิดชอบแจกจายอาหาร โดยแมครัว 3 คนสลับสับเปล่ียนหนาท่ีกันคนละ 1 อาทิตย

4. ผลลัพธ (Performance) : เจาหนาท่ีในงานโภชนาการสามารถปฏิบัติหนาท่ีทดแทนกันทุกหนาท่ี

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทํา(Preparedness) : มีการพัฒนาทักษะและเรียนรูเพ่ือพัฒนางานโภชนาการอยางตอเน่ือง

Page 16: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

16

Good Practice เรื่องการใหบริการอาหารแกผูปวยในที่ admit เวรบาย

ชื่อเจาของผลงาน นางวิลัย พิยะ หนวยงาน โภชนาการ

๑. ความสําคัญของปญหา ( Problem) : จากนโยบายของโรงพยาบาลเก่ียวกับการจัดหารายไดเขาโรงพยาบาลมีผลใหเวรบายมีการ admit ผูปวย

เพ่ิมมากข้ึน สงผลใหผูปวยท่ีมานอนพักรักษาตัวไมมีอาหารรับประทาน เพ่ือตอบสนองนโยบายดังกลาว งานโภชนาการจึงมีการสํารองอาหารสําหรับใหบริการผูปวยโดยสํารองไว 10 ชุด แบงเปนอาหารออน 3 ชุด อาหารธรรมดาและเฉพาะโรครวม 5 ชุด และอาหารธรรมดาสําหรับผูปวยท่ี admit หลังเวลา 17.30 น.อีกจํานวน 2 ชุดโดยเก็บไวท่ีตึกผูปวยในเพ่ือใหผูปวยมีอาหารรับประทาน

๒. เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือใหผูปวยท่ี admit เวรบายไดรับประทานอาหารเย็น

๓. กระบวนการพัฒนา (Process ) : มีการสํารองอาหารสําหรับใหบริการผูปวยโดยสํารองไว 10 ชุด แบงเปนอาหารออน 3 ชุด อาหาร

ธรรมดาและเฉพาะโรครวม 5 ชุด และอาหารธรรมดาสําหรับผูปวยท่ี admit หลังเวลา 17.30 น.อีกจํานวน 2 ชุดโดยเก็บไวท่ีตึกผูปวยใน

๔. ผลลัพธ (Performance) : ผูปวยท่ี admit เวลา 17.30 น. มีอาหารเย็นรับประทาน

๕. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทํา (Preparedness) : หากผูปวยมีแนวโนมการ admit เพ่ิมข้ึนอาจมีการเพ่ิมจํานวนอาหารสํารองหลังเวลา 17.30 น.

Page 17: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

17

Good Practice เรื่องการพัฒนาอาหารใหทางสายยางโรงพยาบาลทาวังผา

ชื่อเจาของผลงาน นางศรีไว อินตะแสน หนวยงาน โภชนาการ

1. ความสําคัญของปญหา ( Problem) :

จากการท่ีงานโภชนาการไดรับขอรองเรียนเร่ืองอาหารใหทางสายยางไมมีขอบงช้ีท่ีชัดเจน เชน ช่ือ

นามสกุลผูปวย รวมถึงวันผลิตและวันหมดอายุของอาหารใหสายยาง รวมถึงประสบกับปญหาผูปวยท่ีรับสงตอ

จากรพ.นานในชวงเวรบายไมมีอาหารทางสายยางใหบริการเน่ืองจากทางงานโภชนาการไมไดมีการสํารอง

วัตถุดิบสําหรับการทําอาหารใหทางสายยางไวประกอบกับผูปวยไมไดรับอาหารจากรพ.นานมาดวย สงผลให

ผูปวยไมมีอาหารสําหรับใหทางสาย

2. เปาประสงค (Purpose):

เพ่ือใหผูปวยไดรับอาหารท่ีถูกตอง ถูกคนเหมาะสมกับโรคท่ีเปนอยูอยางตอเน่ือง

3. กระบวนการพัฒนา (Process ) : มีการออกแบบสติกเกอรระบุขอบงช้ีตาง เๆชน ช่ือ นามสกุล เตียงนอน หอนอน สูตรและความตองแต

ละม้ือ วันเดือนป ท่ีผลิตและวันเดือนปท่ีหมดอายุเพ่ือติดบนอาหารใหทางสายยางและในกรณีท่ีผูปวยมา admit เวรบายมีการสํารองวัตถุดิบอาหารทางสายยางแบบด่ืมและมีการจัดทําอาหารใหสายยางแบบด่ืมโดยสามารถทางสายไดเพ่ือใหผูปวยไดรับอาหารอยางตอเน่ืองตามแผนการรักษาของแพทย

4. ผลลัพธ (Performance):

หลังจากมีการทําสติกเกอรระบุขอบงช้ีตาง ๆติดกับอาหารใหทางสายยางไมไดรับการรายงานหรือขอ

รองเรียนในเร่ืองของอาหารสายยางผิดคนผิดเตียง

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) : มีการติดตามผลอยางตอเน่ืองและนําผลท่ีไดมาพัฒนาปรับปรุงใหดีข้ึนเพ่ือใหผูปวยไดรับประโยชน

สูงสุด

Page 18: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

18

Good Practice เรื่อง การรวบรวมจัดเก็บขอมูลวันหมดอายุใบประกอบโรคศิลปะ เจาของผลงาน นายศิริชัย สุริยาทัย หนวยงาน ฝายบริหารทั่วไป รพ.ทาวังผา

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากบุคลากรสายวิชาชีพของโรงพยาบาลทาวังผา จะตองมีการตอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

เน่ืองจากวันหมดอายุใบอนุญาตไมตรงกัน เพ่ือปองกันการลืมตอใบอนุญาต จําเปนตองรวบรวมขอมูลดังกลาวใหเปนปจจุบัน

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือรวบรวมขอมูลวันเดือนปท่ีหมดอายุของใบประกอบวิชาชีพของบุคลากร สามารถนําขอมูลมาใชใน

การเตือนวันหมดอายุอยางมีประสิทธิภาพ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - โดยการรวบรวมขอมูลวันหมดอายุของบุคลากรโรงพยาบาลทาวังผาใหเปนปจจุบันจากสําเนาใบประกอบ

วิชาชีพ - ดําเนินการทบทวนขอมูลทุกปโดยทําบันทึกแจงใหหัวหนาฝาย หัวหนางานเพ่ือแจงเตือนวันหมดอายุของ

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพใหแกบุคลากร

4. ผลลัพธ (Performance) - สามารถรูถึงขอมูลวันหมดอายุของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ - สามารถใหขอมูลของเจาหนาท่ีในหนวยงานไดครบถวน ถูกตอง

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) แมไมพบความคลาดเคล่ือนในป 2561 แตมักพบขอมูลดานบุคลากรบางคนดําเนินการลาชา

Page 19: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

19

Good Practice เรื่อง งานซอมบานประตูหองน้ําโรงพยาบาลทาวังผา

ชื่อเจาของผลงาน นายยุทธ อินตะแสน หนวยงาน ซอมบํารุง

1. ความสําคัญของปญหา ( Problem) : เน่ืองจากบานประตูหองนํ้าสําเร็จรูปท่ีถูกออกแบบมาเปนวัสดุท่ีมีความบอบบาง วัสดุท่ีใชทําสวนใหญ

เปนพลาสติกพีวีซี ทําใหเกิดการแตก ชํารุดงาย โดยเฉพาะตรงจุดท่ีใชติดบานพับยึดกับขอบวงกบซ่ึงตะปูเกลียวท่ียึดติดมีเน้ือท่ีบางเวลายึดตะปู ไมคอยคงทน สงผลใหประตูพังงาย

2. เปาประสงค (Purpose): เพ่ือใหเกิดการพัฒนางานและตอบสนองตามนโยบายลดคาใชจายของโรงพยาบาลและใชทรัพยากรท่ี

มีอยูอยางคุมคา งานซอมบํารุงจึงคิดคนรูปแบบและดัดแปลงบานประตูพีวีซีเพ่ือใหมีความคงทน

3. กระบวนการพัฒนา (Process ) : งานซอมบํารุงไดนําบานประตูท่ีชํารุดมาแกะแยกช้ินสวน แลวนําไมเน้ือแข็งขนาด 0.1 X 0.3 ซม.

สอดใสไวดานในของบานประตู เพ่ือทําเปนตัวยึดตะปูเกลียวเพ่ือใหมีความคงทน และตัดเศษไมอัดทําเปนตัวยึดลูกบิดประตูหองนํ้าท้ังดานในและดานนอก จนทําใหไดประตูเกาท่ีนํามาปรับปรุงใชไดเหมือนเดิม

4. ผลลัพธ (Performance): บานประตูใชงานไดเหมือนเดิม ลดคาใชจายในการซ้ือบานประตูใหม

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) : มีการติดตามบันทึกวัน / เดือน / ป ท่ีซอมแซมและมีการประเมินผลการใชงาน

Page 20: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

20

Good Practice

เรื่อง การพัฒนาแนวทางปฏิบัติการบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลทาวังผา ชื่อเจาของผลงาน : นางลุลิดา ไชยสีติ๊บ กลุมงานบริการดานปฐมภูมิและองครวม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) จากการดําเนินงานคลินิกบริการสุขภาพเด็กดี ( WBC )ท่ีผานมามีอัตราการการคนหาเด็กท่ีมีพัฒนาการสงสัย

ลาชานอยมาก และใหบริการทุกๆวันพุธเนนการใหบริการสรางเสริมภูมิคุมกันหรือฉีดวัคซีนเปนหลัก และขาดกิจกรรมหลัก ๆเชนการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กไป และมีผูมารับบริการอัตราเฉล่ีย วันละ 35 – 40 ราย ทําใหการบริการ และการดูแลท่ีไมท่ัวถึง

2. เปาประสงค (Purpose) 1.เพ่ือพัฒนาระบบบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี ( WBC ) 2. เพ่ือเพ่ิมอัตราการคนหาเด็ก 0- 5 ป ท่ีสงสัยพัฒนาการลาชา

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 1. พัฒนาศักยภาพผูรับผิดชอบงานคลินิกสุขภาพเด็กดีใน รพ.ทาวังผา ในการดําเนินงาน ตามมาตรฐาน 2. สถานท่ีบริการแยกเปนสัดสวน 3. มีการเปดบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยมีการกําหนดวัน เวลาใหบริการท่ีชัดเจน บริการในมุกวันพุธ โดย วันพุธสัปดาหท่ี 1 , 3 ของเดือน ใหบริการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค และวันพุธสัปดาหท่ี 2 , 4 ของเดือนใหบริการตรวจคัดกรองพัฒนาการ 4. จัดมุมกิจกรรมสงเสริมพัฒนาการ เชนมุมอานหนังสือ นิทาน ของเลน 3.การใหความรูคําแนะนําแกพอแม ผูดูแล เร่ืองการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค การสงเสริมพัฒนาการเด็ก ทุกคร้ังท่ีมารับบริการ และการมารับการติดตามตามนัด 5. ติดตามกลุมเส่ียง / กลุมท่ีมีปญหาสงสัยพัฒนาการลาชา และชา

4. ผลลัพธ (Performance) 1.มีความเปนสัดสวนมากข้ึน ผูปกครองสามารถนําเด็กมารับบริการไดตามวัน 2. เด็กสามารถเขารับการคัดกรองพัฒนาการไดรอยละ 100 และ คัดกรองพัฒนาการลาชาได รอยละ 30 3. จากการสอบถามผูปกครองมีความพึงพอใจในการใหบริการ

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) 1. จัดทําแนวทางการประชาสัมพันธใหเครือขายทราบการใหบริการ 2.จัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนาการรวมกับชุมชน เชนรวมจัดกิจกรรมกับศูนยพัฒนาเด็กเล็กเพ่ือเปนการเฝาระวังติดตามพัฒนาการ 3.สรางเครือขายการดูแลเด็กท่ีมีปญหาพัฒนาการในชุมชนอยางเหมาะสมตามบริบท

Page 21: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

21

Good Practice เรื่อง คัดแยกใบสั่งยาตามสิทธิ

เจาของผลงาน นางเฉลิม พิยะ หนวยงาน ฝายบริหารทั่วไป รพ.ทาวังผา

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) การรับใบส่ังยาจากหองการเงิน แยกตามสิทธิตาง ๆตามหมวดหมู เอกสารไมสูญหาย

2. เปาประสงค (Purpose) พัฒนางานท่ีไดรับมอบหมายใหมีประสิทธิภาพ เพ่ือการสืบคนไดงาย เกิดความแมนยํา อยางมีประสิทธิภาพ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - รับใบส่ังยาแยกตามฝาย นับจํานวนแตละสิทธิท่ีแตละฝายสงมาลงจํานวนไว - แยกสิทธิตาง ๆตรวจเช็คใหครบตามจํานวน - ถามีการสูญหายตองดําเนินการแจงแตละฝายเพ่ือติดตาม

4. ผลลัพธ (Performance) ทําใหทุกฝายท่ีเก่ียวของกับใบส่ังยามีความรับผิดชอบมากข้ึน ไมทําใหใบส่ังยาสูญหาย

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) แจงทุกฝาย ทุกงานหาแนวทางแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนถามีการสูญหายของใบส่ังยาแลวติดตามไมไดทุกกรณี

Page 22: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

22

Good Practice เรื่อง กลองกระดาษเหลือใชสําหรับหอผาอนามัยในสุขาหญิง

เจาของผลงาน นาง ปรานอม อินไชย (พนักงานบริการ)

1.ความสําคัญของปญหา (Problem): จากการปฏิบัติงานทําความสะอาดบริเวณสุขาหญิงในทุกๆวัน พบวา มีการท้ิงผาอนามัยในสุขาหญิงท่ีไมถูก

สุขลักษณะ ทําใหสภาพแวดลอมภายในสุขาไมสะอาด และอาจเส่ียงตอการแพรกระจายของเช้ือโรค จึงไดจัดทํากลองกระดาษเหลือใชสําหรับหอผาอนามัยไวเพ่ือสรางวินัยในการท้ิงผาอนามัยท่ีถูกสุขลักษณะ สรางบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีดีในสุขาหญิง ลดการแพรกระจายของเช้ือโรคได

2.เปาประสงค (Purpose): เพ่ือแกไขและปรับปรุงหองนํ้า สรางบรรยากาศสภาพแวดลอมท่ีดีใหถูกสุขลักษณะสะอาดนาใช และปองกัน

การแพรกระจายเช้ือโรคในผูมารับบริการและเจาหนาท่ีในโรงพยาบาล

3.กระบวนการพัฒนา (process) รวบรวมกระดาษและกลองลังท่ีไมไดใชแลว นํามาจัดทํากลองกระดาษเหลือใชไวสําหรับหอผาอนามัย และได

นํากลองกระดาษไปติดต้ังภายในสุขาหญิง ติดขอความเชิญชวนใหผูรับบริการนํากระดาษท่ีเหลือใชมาใสกลองเพ่ือนํามาหอผาอนามัยในคร้ังตอไป อธิบายข้ันตอนการหอผาอนามัยท่ีถูกตองกอนท้ิงลงถังขยะ เพ่ือปลูกจิตสํานึกในการท้ิงผาอนามัยใหถูกท่ี และทําใหผูใชบริการ มีสุขภาวะท่ีดี มีความสบายใจกับการใชสุขา อีกท้ังยังเปนการปองกันการแพรกระจายของเช้ือโรคในผูมารับบริการและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน

4.ผลลัพธ (Performance) ผูมารับบริการและเจาหนาท่ีไดปฏิบัติตามและใหความรวมมือในการใชกระดาษหอผาอนามัยกอนท้ิงลงถังขยะ

สรางสุขอนามัยท่ีดี สภาพแวดลอมท่ีดี ผูใชบริการสุขาหญิงเกิดความพึงพอใจในกิจกรรม

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) จัดปายนิเทศ/ ประชาสัมพันธเผยแพรความรูการใชหองนํ้าท่ีถูกสุขลักษณะ รณรงคเพ่ือขอความรวมมือรักษา

ความสะอาดหองนํ้า ปรับตําแหนงในการวางกระดาษหอผาอนามัยเพ่ือใหผูใชใชงานไดงายข้ึนและสะดวกสบายมากย่ิงข้ึน

Page 23: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

23

Good Practices เรื่อง ปญหาการเคลมคารักษาทันตกรรมของคนไขสิทธิประกันสังคม

ชื่อเจาของ นางสาวปยะวรรณ สุตา หนวยงาน กลุมงานทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) จากการตรวจสอบคาบริการทันตกรรมของคนไขสิทธิประกันสังคม พบปญหา คือ ทางโรงพยาบาลไดรับเงินคารักษาทางทันตกรรมจากสํานักงานประกันสังคมไมครบตามจํานวนท่ีรักษาจริง จึงทําใหโรงพยาบาลไมไดรับยอดเงินในสวนน้ีเปนระยะเวลา 11 เดือน รวมเปนยอดเงินท้ังหมด 50,800 บาท และยอดคารักษาใน HxPไมตรงกับขอมูลในเว็บประกันสังคม 2.เปาประสงค( Purpose)

2.1 เพ่ือหาสาเหตุของการไมไดรับคารักษาจากสํานักงานประกันสังคมวาเกิดจากอะไร 2.2 เพ่ือใหทราบสาเหตุของปญหาแลวดําเนินการแกไขเพ่ือใหไดรับคาบริการทันตกรรมจากสํานักงาน

ประกันสังคม 3.กระบวนการพัฒนา (Process)

3.1 หาสาเหตุของปญหาโดยการใหเจาหนาท่ีฝาย IT ทําโปรแกรมแยกสิทธิการรักษาของคนไขท่ีมารับบริการ ทันตกรรม

3.2 ตรวจสอบการลงขอมูลการมารับบริการทันตกรรมจากเว็บของสํานักงานประกันสังคม 3.3 นําขอมูลจากโปรแกรม HxP มาตรวจสอบรายช่ือคนไข หัตถการท่ีทําและคารักษามาเทียบกับขอมูลจาก

เว็บประกันสังคมวาตรงกันหรือไม 3.4 ติดตอเจาหนาท่ีประกันสังคมเพ่ือสอบถามรายละเอียดเก่ียวกับการลงขอมูลและการสงเอกสาร

4.ผลลัพธ (Performance) 4.1 ไดทราบสาเหตุของปญหา ซ่ึงปญหาดังกลาวมีดังน้ี

4.1.1 เจาหนาท่ีกลุมงานทันตกรรมไมกรอกแบบฟอรมการขอใชสิทธิการรักษากรณีทันตกรรมตามท่ีสํานักงานประกันสังคมกําหนด

4.1.2 เจาหนาท่ีกลุมงานทันตกรรมไมลงขอมูลการรักษาในเว็บประกันสังคม เน่ืองจากเขาวาจะตองกรอกเฉพาะเคสท่ีตองชําระคาสวนตาง

4.1.3 เจาหนาท่ีการเงินลงคารักษาเบ้ิล ทําใหคารักษาเกินจากคารักษาจริง กรณีน้ีจะพบในเคสท่ีตองชําระคาบริการเพ่ิมนอกเหนือจากวงเงินท่ีสามารถเบิกได

4.1.4 ไมไดเคลมคาบริการทางการแพทย คายา คา x-ray กรณน้ีจะพบในเคสท่ีไดรับการตรวจแตไมไดทําหัตถการ

4.2 จากปญหาขอ4.1 ทางกลุมงานทันตกรรมไดดําเนินการแกไขใหถูกตอง และไดรับคารักษา ทันตกรรมจากสํานักงานประกันสังคมเปนท่ีเรียบรอยแลว

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึน วางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness) 5.1 การวางแผนงานพัฒนา คือ แจงเจาท่ีกลุมงานทันตกรรมใหตระหนักถึงการลงขอมูล การกรอกเอกสาร ท่ี

จะสงเคลมใหครบถวน เพ่ืองายตอการรวบรวมไมเสียเวลามาแกไขซํ้าซอน 5.2 รวบรวมเอกสารสงใหตรงเวลาทุกๆส้ินเดือน 5.3 ตรวจสอบการสรุปบัญชีคารักษาของเจาหนาท่ีการเงินวาตรงกับขอมูลการรักษาของกลุมงานทันต

กรรมหรือไม

Page 24: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

24

Good Practice เรื่องการพัฒนารูปแบบการขอรับบริการตางๆ ของงานโสตทัศนศึกษา ชื่อเจาของผลงาน นายยุทธนา นะติ๊บ ตําแหนง เจาพนักงานโสตทัศนศึกษาชํานาญงาน

หนวยงาน กลุมงานประกันสุขภาพยุทธศาสตรและสารสนเทศทางการแพทย

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) เน่ืองจากปจจุบัน ในสวนของงานโสตทัศนศึกษา มีงานหลายรูปแบบท่ีใหบริการ บางคร้ังผูมาขอรับบริการมาพรอมกันหลายๆทาน ทําใหการมาขอรับบริการติดขัดในบางคร้ัง และผูใหบริการ ทํางานเกิดขอผิดพลาดได เชน ลืม ทําใหเกิดความเสียหายได 2.เปาประสงค (Purpose)

2.1เพ่ือหารูปแบบ วิธีการเพ่ือใหเจาหนาท่ีทุกคนปฏิบัติท่ีตองการใหออกแบบส่ือประชาสัมพันธตางรวมถึงงานดานโสตทัศศึกษา ใหครอบคลุมมากข้ึน

3.กระบวนการพัฒนา (Process) ออกแบบฟอรมครอบคลุมในทุกงานๆท่ีเก่ียวกับงานโสตทัศนศึกษา และประกาศใหเจาหนาท่ีทุกคนไดรับทราบ เพ่ือปฏิบัติไปแนวทางเดียวกัน

Page 25: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

25

4.ผลลัพธ (Performance)

จากการออกแบบฟอรมครอบคลุมในทุกงานๆท่ีเก่ียวกับงานโสตทัศนศึกษา และประกาศใหเจาหนาท่ีทุกคนไดรับทราบ เพ่ือปฏิบัติไปแนวทางเดียวกัน ทําใหเจาหนาท่ีทําตามระเบียบไดมากข้ึน และมีการกรอกแบบฟอรมการขอรับบริการ ในการออกแบบโปสเตอรมากข้ึน ทําใหงายตอการควบคุมผลงานไดมากข้ึน 5.ผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนอยางไร (Preparedness)

หากเกิดกรณีมีงานดวน ท่ีตองรีบเรง จะตองประประสานผูรับผิดชอบทันที เพ่ือแกไขสถานการณไดทันทวงที

Page 26: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

26

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบบําบัดสุราของเครือขายบริการสาธารณสุขอําเภอทาวังผา

ชื่อ นางสาวนงครักษ ลํานอย หนวยงานบริการดานปฐมภูมิและองครวม

1. ความสําคัญของปญหา ( Problem) จํานวนผูเขารับการบําบัดสุรา ในรอบ 3 ปท่ีผานมา พบวามีผูปวยท่ีเขารับการบําบัดสุราในคลินิกฟาใส มีจํานวนผูเขารับการบําบัดสุราลดลง ดังน้ี ป2559 จํานวน 44 ราย ป2560 จํานวน 36 ราย ป2561 จํานวน 21 ราย จากขอมูลดังกลาว สงผลใหการด่ืมสุรามีผลกระทบ เชน ผูปวยติดสารเสพติดเพ่ิมมากข้ึนมีภาวะดานจิตเวช เกิดโรคระบบทางเดินอาหาร เกิดปญหาทางสังคม และสงผลใหคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนไมดีตามมา เปนตน 2. เปาประสงค (Purpose) 1. เพ่ือพัฒนาระบบการบําบัดสุราของเครือขายบริการสาธารณสุขอําเภอทาวังผา 2. เพ่ือเพ่ิมศักยภาพของเจาหนาท่ี และบทบาท อสม.และเยาวชนเร่ืองการคัดกรองสุรา ใหมีความชัดเจน และมีความถูกตองมากข้ึน 3. กระบวนการพัฒนา (Process)

เร่ิมจากทบทวนสาเหตุและปญหา พรอมกับสะทอนขอมูลทางสุขภาพ ใหผูมีสวนรวมดานการสงเสริมสุขภาพ ในลักษณะดังตอไปน้ี 1.ใหความรูบุคคลกรทางสาธารณสุขในเวทีการประชุมเครือขายจํานวน 15 แหง เร่ืองการคัดกรองสุราเพ่ือเขารับการบําบัด 2.ใชเวทีการประชุมผูใหญบาน กํานัน ใหเห็นความสําคัญของปญหา 3. ใหเจาหนาท่ีเครือขายบริการใหความรูแก อสม.ในวันประชุมประจําเดือนพรอมกับการดําเนินการ ในการคัดกรองผูใชสุราดวยวิธีการท่ีถูกตอง 4.ดําเนินการโดยกลุม To be number one เยาวชนในโรงเรียนทาวังผาพิทยาคม รวมกับครูผูรับผิดชอบงานยาเสพติด รวมกันคัดกรองผูใชสุรา โดยมีแบบคัดกรองระดับการติดสุรา Audit หลังจากน้ันเจาหนาท่ีสาธารณสุขทําการคัดกรองซํ้าอีกที ใหความรูและสะทอนปญหาตามคะแนนท่ีไดคัดกรอง หากพบวา อยูในกลุมเส่ียงและอันตราย ทีมีคะแนนมากกวา 16 มีการออกใบนัดใหเขามารับการเขาโปรแกรมบําบัดสุราท่ีคลินิกฟาใสโรงพยาบาลทาวังผา ตามวันและเวลาท่ีเจาหนาท่ีสาธารณสุขนัดหมาย มีการประสานงานลวงหนาทาง”line Grop” อสม.ทาวังผา หากกลุมผูด่ืมสุราท่ีไมมาตรวจคัดกรองซํ้าให อสม.ประจําหมูบานติดตาม เพ่ือใหกลุมผูด่ืมสุราเกิดความตระหนักตอปญหาสุขภาพของตัวเอง หลังจากน้ันเขาสูกระบวกการบําบัดดังน้ี 1.กําหนดคร้ังท่ี1 เดือนแรกนัดทุกสัปดาห สัปดาหละ 1 วันคือวันอังคารนัดจนครบ 1 เดือน ,2. คร้ังท่ี 2 เดือนท่ี 2 นัดเดือนละ 2 คร้ัง 3.คร้ังท่ี 3 นัดเดือนละคร้ัง ซ่ึงแตละคร้ังท่ีนัดจะประเมิน ระยะของการเลิกสุรา(Stage of change) ทุกคร้ัง เพ่ือดูการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของการลด ละ เลิกสุรา ในท่ีสุด

4. ผลลัพธ (Performance) หลังจากมีการปรับปรุงพัฒนางานและปรับระบบใหสอดคลองกับการพัฒนาระบบบําบัดสุราของเครือขายบริการสาธารณสุขอําเภอทาวังผา ทําใหพบวา หลังจากไดคัดกรองสุราแลว การเพ่ิมจํานวนผูเขารับการบําบัดสุราท่ีคลินิกฟาใสมีจํานวนเพ่ิมข้ึนอยางเห็นผลชัดเจน และท่ีสําคัญไดพัฒนาระบบบําบัดสุราของเครือขายบริการสาธารณสุขอําเภอ ทาวังผา อยางมีรูปธรรม

5. โอกาสพัฒนา (preparedness) พัฒนา อสม. ใหมีความเช่ียวชาญดานวิเคราะหผลการคัดกรองระดับการติดสุราท่ีมีคะแนนต้ังแต 0-7 คะแนนด่ืมแบบเส่ียงตํ่า 8-15 ด่ืมแบบเส่ียง พรอมท้ังใหสุขศึกษาข้ันพ้ืนฐานได ในกรณีท่ีคัดกรองแลวพบ คะแนนมากกวา 16 คะแนน ใหพิจารณาสงตอสถานบริการไดอยางเหมาะสม

Page 27: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

27

Good Practice เรื่อง : ระบบการติดตามผูพยายามฆาตัวตายไมมีการทํารายตนเองซ้ํา

ชื่อเจาของผลงาน : นางธิดารัตน ประพันธ หนวยงาน : กลุมงานบริการปฐมภูมิและองครวม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) ปงบประมาณ 2558-2561 พบอัตราการพยายามฆาตัวตาย/ทํารายตนเองของอําเภอทาวังผาเทากับ

8.92 , 29.44 , 35.35 และ 13.72 ตอแสนประชากรตามลําดับ จากรายงานระบาดวิทยา ป2560 พบรอยละของการพยายามฆาตัวตายสูงสุดสามอันดับแรกในกลุมอาชีพ เกษตรรม รอยละ 58.33 อาชีพ รับจาง ใชแรงงาน รอยละ 25 และ ตกงาน รอยละ 8.33 เม่ือผูพยายามฆาตัวตายทุกรายท่ีมารับบริการ จะมีระบบการติดตามการ คัดกรอง เฝาระวังติดตามอาการเพ่ือปองกันการทํารายตนเองซํ้าและลดอัตราการฆาตัวตายสําเร็จ ซ่ึงอัตราการฆาตัวตายสําเร็จของอําเภอทาวังผาป ปงบประมาณ 2558-2561 คนทาวังผาฆาตัวตายสําเร็จ 29.19 ,17.66 ,11.78 และ 9.79 ตอแสนประชากรตามลําดับ (เกณฑของกรมสุขภาพจิตไมเกิน6.3 คน/แสนประชากร)

2. เปาประสงค (Purpose) ผูพยายามฆาตัวตายไดรับการดูแลตอเน่ือง รอยละ 80

3. กระบวนการพัฒนา (Process) • เม่ือผูพยายามฆาตัวตายท่ีเคยทํารายตนเอง ไดมารับบริการ ไดรับการคัดกรอง เฝาระวังดวยวิธีการหรือ

เคร่ืองมือสําหรับบุคลากรสาธารณสุข ไดรับบริการตรวจรักษาตามอาการและไดรับการดูแลดานสังคมจิตใจ ตามลักษณะปญหา หรืออาการท่ีพบ

• รักษา การใหยา สุขภาพจิตศึกษา ใหคําปรึกษา จิตบําบัด • หลัง D/C 1 wk ทางโรงพยาบาลไดติดตามอาการผูปวย ใหสุขภาพจิตศึกษากับครอบครัวผูปวย แนะนําเร่ือง

สัญญาณเตือนตอการทํารายตนเองซํ้า • มีการติดตามหลังD/C 1 เดือน ออกเย่ียมบาน และใหเย่ียมบาน ทุก1 เดือนจนครบ 3 เดือน • หลัง 3 เดือนไป แจงรพสต.ในพ้ืนท่ีติดตามอาการตอจนครบ ครบ 1 ป

4. ผลลัพธ (Performance) ตัวช้ีวัด รอยละผูพยายามฆาตัวตายไดรับการดูแลตอเน่ือง เปาหมายรอยละ 80

ป 58 รอยละ 100 ป 59 รอยละ 100 ป 60 รอยละ 100 ป61( 10เดือน ) รอยละ 100

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) รณรงคคัดกรองโรคซึมเศราในกลุมเส่ียง7กลุม เชน กลุมโรคเร้ือรัง NCD กลุมผูสูงอายุ ผูปวยต้ังครรภหรือหลัง

คลอด , ผูท่ีมีปญหาสุรา สารเสพติด , กลุมท่ีมาดวยอาการซึมเศราชัดเจน , ผูปวยท่ีมีอาการทางกายเร้ือรังหลายอาการท่ีหาสาเหตุไมได และ กลุมท่ีมีการสูญเสียคนท่ีรักหรือสินทรัพยจํานวนมาก เพ่ือปองการการทํารายตนเองในผูพยายามรายใหม

Page 28: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

28

Good Practice เรื่อง การจัดการความมั่งคงปลอดภัยในการใชงานอินเตอร Free Wi-Fi

นายปฐมชัย ปญญาวงค หนวยงาน กลุมงานประกันสุขภาพยุทธศาสตรและสารสนเทศทางการแพทย

1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

โรงพยาบาลทาวังผาไดมีระบบการใชงานอินเตอร Free Wi-Fiใหกับเจาหนาท่ีภายในโรงพยาบาล ซ่ึงท่ีผานมา

เจาหนาท่ีท่ีมาใชงานอินเตอร Free Wi-Fiมีจํานวนมาก ทําใหการใชงานอินเตอร Free Wi-Fi มีความลาชาและไมมีการ

จัดเก็บรายช่ือผูท่ีใชบริการอินเตอร Free Wi-Fi อยางจริงจัง เพราะท่ีผานมาทําใหผูใชงานอินเตอร Free Wi-Fi ใชงาน

ไดบางไมไดบางและไดมีการโพสต พาดพิงหม่ินประมาท กันในทางท่ีไมดี และไมสามารถจับไดวาบุคคลท่ีทําการโพสต

พาดพิง หรือหม่ินประมาท ในลักษณะน้ันเปนใคร

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือใหผูดูแลระบบอินเตอร Free Wi-Fi สามารถรูวาในขณะน้ีมีใครใชงานอินเตอร Free Wi-Fi บางมีการเขา

ไปใชเว็บไซตใดบางและถามีการโพสต พาดพิง หรือหม่ินประมาท ก็สามารถจับไดวาบุคคลน้ันเปนใคร และสามารถ

ควบคุมการใชงานอินเตอรเน็ตได

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

3.1 มีการติดต้ังระบบการควบคุมการใชงานอินเตอร Free Wi-Fi

3.2 มีการกําหนดความเร็ว เวลา ในการใชงาน บล็อกเว็บไซตบางเว็บท่ีไมสมควร และเก็บขอมูลการใชงาน

อินเตอร Free Wi-Fi

3.3 ผูท่ีจะขอใชงานอินเตอรเน็ต Free Wi-Fi ตองสงสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน พรอมช่ือผูใชงานและ

รหัสผาน เพ่ือสามารถระบุตัวบุคคลได

3.4 มีวิดีโอการสอนเขาใชงานอินเตอร Free Wi-Fi

4. ผลลัพธ (Performance)

ทําใหกําหนดความเร็ว กําหนดเวลา ในการใชงาน และระบุตัวบุคคลท่ีใชงานได

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness)

มีการทบทวนกระบวนการติดต้ังระบบ หาจุดบกพรอง แกไขปญหา

Page 29: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

29

Good Practice เรื่อง การใหบริการผูปวยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานดวยหัวใจความเปนมนุษย ชื่อ เจาของผลงาน นายสมเพชร ยศหลา ตําแหนงผูชวยเหลือคนไข หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : รอยละ80 ของผูปวยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน มารับบริการต้ังแต 5 โมงเชาสวนใหญเปนผูสูงอายุ

เพราะญาติจะมาสงกอนเพ่ือไปทําภารกิจ ท่ีตลาดรวมดวย เปนผูปวยท่ีแพทยนัดมาเจาะเลือดกอนพบแพทย

และงดอาหารและนํ้ากอนมารับบริการ

2. เปาประสงค (Purpose) : ผูปวยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน ไดรับบริการท่ีรวดเร็วข้ึน และพึงพอใจ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. ขนปฏิบัติงานตามเวลาของผูรับบริการโดยใหบริการทําบัตรใหผูรับบริการต้ังแตเวลา 06.00น.

ประกอบดวย จนท.หองบัตร , จนท.หองตรวจชันสูตร และ พยาบาลคัดกรองกอนพบแพทย (เร่ิมใหบริการต้ังแต 07.30น.)

2. พัฒนาระบบการใหบริการแกผูปวยท่ีมีนัดมารับบริการท่ีตองไดรับการตรวจทางหองปฏิบัติการกอนพบแพทยใหเหมาะสมกับเวลาการเขารับบริการของผูรับบริการ

3. ดูแลอํานวยความสะดวกของผูรับบริการเชนจัดหาอาหารเชาให จัดหายาแกผูปวยท่ีลืมเอายามาให

4. ผลลัพธ (Performance) : 1. ป 2561 พบวา รอยละ 80.1 ผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการเขารับบริการ 2. ป 2561 มีผูรับบริการท่ีมีระยะเวลารอคอยไมเกิน90นาท่ีรอยละ 40.1 และมีแนวโนมเพ่ิมข้ึน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) ระบบการนัดมารับบริการโดยยึดพ้ืนท่ีเปนศูนยกลาง คือ หมูบานเดียวกันนัดมาพรอมกัน

Page 30: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

30

Good Practice เรื่อง การจัดระบบเครื่องมือการออกหนวยทันตกรรมในโรงเรียน

ชื่อเจาของผลงาน นางสาวกนกวรรณ ใบยา หนวยงาน ทันตกรรม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) ปจจุบันการออกหนวยทันตกรรมในโรงเรียน จะดําเนินการ 1.การเพ่ิมประสิทธิภาพการแปรงฟน 2. การออก

หนวยทันตกรรมในเด็กนักเรียน โดยการขูดหินปูน และถอนฟนนํ้านมในรายท่ีมีฟนแทข้ึนซอนแลวฟนนํ้านมยังไมหลุด ซ่ึงในแตละคร้ังจะตองเตรียมเคร่ืองมือในการขูดหินปูน และถอนฟนไปดวยทุกคร้ัง เคร่ืองมือท่ีนําไป จะประกอบดวยเคร่ืองขูดหินปูน เคร่ืองดูดนํ้าลาย เกาอ้ีสนามและเคร่ืองมือขูดหินปูนถอนฟน ซ่ึงในการออกแตละคร้ังจะตองยกเคร่ืองมือเหลาน้ีใสรถไปดวย มันทําใหมีของเยอะ เส่ียงตอการเกิดอุบัติเหตุไดในบางพ้ืนท่ีเชน พ้ืนท่ีสูง บนดอย เพราะอุปกรณในการออกหนวยแตละคร้ังมีขนาดใหญ และหนัก

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือจัดการเคร่ืองมือใหเปนระเบียบ สะดวกในการนําไปออกหนวย

3. กระบวนการพัฒนา (Process) ระบบเดิม อุปกรณในการขูดหินปูน ถอนฟน จะใสในเทขนาดใหญท่ีเขาหมออบ ไดเลยทีเดียว หลังจากการใชงานจะแชดวย นํ้ายา ไอโอโดฟอร แลวลางออกดวยนํ้าเปลา ใสเท แลวกลับเอามาอบ ท่ีโรงพยาบาล ถาจะออกคร้ังตอไปก็จะเอาไปท้ังหมดเลย ระบบใหม ไดปรับระบบในการจัดเคร่ืองมือ โดยการแยกเคร่ืองมือถอน เคร่ืองมือขูด และอุปกรณยาชา ใสลงในกระปองขนาดส่ีเหล่ียมมีฝาปด สะดวกตอการยกและพกพา สวนเคร่ืองมือจะแชนํ้ายา ไอโอโดฟอร แลวลางออกดวยนํ้าเปลา หลังจากน้ันจะใสซองซิล แยกวาเปนของออกหนวย โดยการเขียนติดท่ีซองซิลวา ออกหนวย และแยกออกเปน 2 ชุด เพ่ือสะดวกในการออกหนวย มีการเขียนรายการ ติดฝากลอง คนใชคร้ังตอไปจะไดเช็คของถูกวาของท่ีจะตองออกหนวยคร้ังตอไปครบถวนตามรายการท่ีติดไว และนําเคร่ืองขูดหินปูน เคร่ืองดูดนํ้าลายมาเก็บไวท่ีหองฟนตามโซนท่ีจัดเตรียมไว เพ่ือสะดวกในการเคล่ือนยายและจัดเก็บ

4. ผลลัพธ (Performance) จากการออกหนวยป2561 ท่ีผานมาพบวา ไมมีการลืมของ หรืออุปกรณในการออกหนวยขาด เพราะ

กอนการออกหนวยแตละคร้ัง เจาของพ้ืนท่ีจะมาเช็คความพรอมของเคร่ืองมือ และอุปกรณในการออกหนวยทุกคร้ัง และกลองท่ีใชใสเคร่ืองมือมีขนาดเล็กลงสะดวกตอการยก และเคล่ือนยาย มีความพึงพอใจตอเจาหนาท่ีในการออกหนวยมากข้ึน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) เขียนตัวเลขติดซองซิลใหชัดเจน เพ่ือสะดวกในการนํามาจัดเก็บไวตามเดิม หลังจากออกหนวยเสร็จ

Page 31: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

31

Good Practice เรื่อง การพัฒนางานดวย R2R

ชื่อเจาของผลงาน นางจุฬารัตน สุริยาทัย หนวยงาน : LR

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : โรงพยาบาลทาวังผาไดผานการรับรองคุณภาพบริการโรงพยาบาล Hospital Re Accreditation 2

ในวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2561 เพ่ือใหผูใหและผูรับบริการปลอดภัย พึงพอใจ จึงไดพัฒนางานบริการหลายดาน และไดใหความสําคัญกับการพัฒนางานประจําเปนงานวิจัยและการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน (Research implementation) ไปพัฒนางานประจํา

2. เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรใหสามารถทําผลงานการวิจัยจากงานประจําได สามารถนําไปใช

ประโยชนแกไขปญหาในหนวยงานได

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : สรางคุณอํานวยทุกหนวยงาน กระตุนการแกปญหาดวย R2R มีการคนหาปญหาหนางานเชิงรุก เปนพ่ี

เล้ียงในการทํา R2R ติดตาม interim ดวยการจัดกิจกรรมกินขาวเลาสูกันฟง การจัดอบรมการเขียนรายงานวิจัย จัดมหกรรมคุณภาพเสนอผลงาน สนับสนุนการนําเสนอผลงานวิชาการทุกระดับ ช่ืนชมใหความสําคัญทุกผลงานมีคุณคา

4. ผลลัพธ (Performance) : รอยละ 90 ของหนวยงานมีผลงาน R2R สามารถแกปญหาหนางานได รอยละ 100 มีผลงาน CQI

ในป 2561 ไดรับคัดเลือกนําเสนอผลงานระดับจังหวัดนาน 3 เร่ือง ระดับประเทศ 3 เร่ือง และไดรับรางวัล Meta R2R ระดับประเทศไทย 1 รางวัล

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) การสนับสนุนใหทุกหนวยงานมีผลงาน R2R โดยการใชนโยบาย การสรางแรงจูงใจจากผูบริหาร

Page 32: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

32

Good Practice เรื่อง: ฉุกเฉินชวยได

ชื่อเจาของผลงาน นางรัตนาภรณ คํายวง หนวยงาน หองคลอด-หองผาตัด

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : โรงพยาบาลทาวัง มีผาคลอดเฉล่ียปละ120 ราย โดยลักษณะพ้ืนท่ีของอําเภอทาวังผา มีพ้ืนท่ี

หางไกล+ทุรกันดาร รวมถึงทํางานท่ีไรและการเดินทางคอนขางลําบาก ทําใหมารดาบางรายคลอดเองท่ีบาน จากสถิติป 58-59-60-61 ดังน้ี ป 58 ไมมีมารดาคลอดท่ีบาน ป 59 มีจํานวน 4 ราย ป 60 จํานวน 2 ราย และป61 ยังไมมีรายงานมารดาคลอดท่ีบาน ดังน้ันทางทีของหองคลอดยังไดเตรียมทําอุปกรณคลอดฉุกเฉิน ไวใหกับรพ.สต. นําไปแจกมารดาท่ีมาไมทันจริง ๆ

2. เปาประสงค (Purpose) : ปองกันการติดเช้ือ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : มีอุปกรณทําคลอดฉุกเฉินใหรพ.สต. ไวแจกมารดา

4. ผลลัพธ (Performance) : ในป 61 ไมมีมารดาคลอดท่ีบาน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness): 1. ใหคําแนะนํามารดาวางแผนการคลอดเม่ือถึงเวลาเจ็บครรภ 2. แนะนําเจาหนาท่ีรพ.สต. ในการทําคลอดฉุกเฉิน 3. ประสานงานกับ1669 ในการชวยเหลือ 4. พยาบาลหองคลอดออกชวยทําคลอดท่ีบาน

Page 33: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

33

Good Practice เรื่อง การสงงานออนไลน

ชื่อเจาของผลงาน นางสาวพรภิรมย สุยะ หนวยงาน : กลุมการพยาบาล

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) เน่ืองจากมีการลดใชกระดาษ และการดําเนินงานตาม นโยบาย ไทยแลนด 4.0 คือโมเดลท่ีจะสําเร็จ

ได ตองใชแนวทาง สานพลังประชารัฐ โดยมุงเนนการมีสวนรวมของภาคเอกชน ธนาคาร ประชาชน สถาบัน

ศึกษาและสถาบันวิจัยตางๆ ประกอบกับการสงเสริม SME และ Startup เพ่ือขับเคล่ือนไปในทิศทางเดียวกัน

พรอมตองมีโครงสรางดานการส่ือสารและโทรคมนาคมท่ีมีคุณภาพ มีอินเตอรเน็ตท่ีคลอบคลุมประชากรมาก

ท่ีสุด เพ่ือใหสามารถเช่ือมโยงทุกภาคสวนไดอยางไมสะดุด

2. เปาประสงค (Purpose) - เพ่ือเสริมสรางใหบุคคลกรมีความกระตือรือรนในการใชงานเทคโนโลยีมาชวยในการทํางาน - เพ่ือลดการใชกระดาษ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - จัดอบรมใหความรูและใหบุคลากรเล็งเห็นความสําคัญในการใชเทคโนโลยีมากย่ิงข้ึนและความ

สะดวกสบายในการใชเทคโนโลยีมาชวยในการลดภาระงานมากข้ึน - ใหคําอธิบายวิธีการใชงานเก่ียวกับระบบอินเตอรเน็ต - ใหคําปรึกษาทุกคร้ังท่ีบุคลากรมีปญหาในการใชงานผานอินเตอรเน็ตหรืองานออนไลนตาง ๆ- ติดตามการสงงานผานส่ือออนไลนสมํ่าเสมอ

4. ผลลัพธ (Performance) - บุคลกรสามารถสงเอกสารออนไลนมากย่ิงข้ึน - ประหยัดกระดาษ - การสงงานสะดวกสบายย่ิงข้ึนและเม่ือเอกสารผิดผูสงเอกสารสามารถแกไขไดอยางรวดเร็ว

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) - ทบทวนขอผิดพลาด และทําการแกไขตอไป

Page 34: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

34

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบลูกหนี้โรงพยาบาลทาวังผา

ชื่อเจาของผลงาน ประภัสสร จงจิตร หนวยงาน กลุมงานประกันสุขภาพยุทธศาตรและสารสนเทศทางการแพทย

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) จากผลการประเมินทีมนิเทศเขตและ สสจ.นาน พบคะแนนการประเมินเก่ียวกับการจัดการระบบลูกหน้ีไมผานเกณฑ เน่ืองจากมีการบันทึกขอมูลเร่ืองลูกหน้ี/รายไดคารักษาพยาบาลยังไมเปนปจจุบัน ไมมีทะเบียนคุมลูกหน้ีรายตัว ทําใหขาดความนาเช่ือถือ ขาดการประสานงานและคืนขอมูลระหวางกัน ของการเงิน บัญชี และ งานเคลม

2. เปาประสงค(Purpose)

1. เพ่ือพัฒนาระบบลูกหน้ีโรงพยาบาลใหผานเกณฑการประเมินตามมาตรฐาน

3. กระบวนการพัฒนา(Process)

1. ทบทวนระบบลูกหน้ีของโรงพยาบาล วิเคราะห Gap พบวา จากการปรับโครงสรางงานมีการเปล่ียนผูรับผิดชอบงาน ผูรับผิดชอบงานใหมยังขาดความรูความเขาใจในระบบลูกหน้ี และขาดการดําเนินงานตามเกณฑการประเมิน ไดแก การจัดทําบัญชีลูกหน้ีรายตัว การสงขอมูลและการสอบทานยอดระหวางกัน ของ งานการเงิน บัญชี และงานเคลม

2. สงผูรับผิดชอบงานไปศึกษาดูงานโรงพยาบาลท่ีมีระบบลูกหน้ีท่ีอยูในเกณฑท่ีดี ไดแกโรงพยาบาลเชียงกลาง 3. มีการประชุมผูเก่ียวของเพ่ือวางระบบและแนวทางการดําเนินงาน 4. มีการกําหนดการกําหนดสงรายงานลูกหน้ีทุก 10 วันเพ่ือใหงานบัญชีบันทึกการรับรูลูกหน้ี

4. ผลลัพธ(Performance) 1. เกิดการประสานงานและคืนขอมูลระหวางกันของ การเงิน บัญชี และงานเคลม มีการสอบทานยอด

ระหวางกันทุกเดือน 2. รายงานลูกหน้ีมีความเปนปจจุบันและนาเช่ือถือข้ึน พบสวนตางของขอมูลท่ีไมตรงกันนอยลง 3. มีการจัดทําบัญชีลูกหน้ีรายตัวทุกเดือน

5. โอกาสพัฒนา (Preparedness) มีแผนนําโปรแกรมสําเร็จรูป RCM (โปรแกรมลูกหน้ี) เขามาชวยพัฒนาระบบลูกหน้ีของโรงพยาบาล โดยจัดอบรมผูเก่ียวของทุกจุดบริการในการบันทึกขอมูลการรักษาและผูใชงานโปรแกรม โดยเฉพาะ งานการเงิน บัญชี และงานเคลม รวมไปถึงจุดบริการท่ีใหบริการแบบ One Stop Service

Page 35: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

35

Good Practice เรื่อง การใหบริการอาหารแกผูปวยในที่ admit เวรบาย

ชื่อเจาของผลงาน นางศรีพลอย สิทธิยศ หนวยงาน ซักฟอก

1. ความสําคัญของปญหา ( Problem) :

จากการท่ีงานซักฟอกไดรับขอรองเรียนของหนวยงานตางๆในโรงพยาบาลทาวังผา เร่ือง

เคร่ืองผาไมพอใชสําหรับใหบริการผูปวย เชน เส้ือ ผาถุง และผาปูเตียง ท่ีเคร่ืองผาไมพอใช สาเหตุสวน

หน่ึงมาจากการสงตัวผูปวยเพ่ือรักษาตอยังโรงพยาบาลนานซ่ึงมีจํานวนมากข้ึน และทางโรงพยาบาล

นานไมไดสงเส้ือผากลับมาในทันที มีการรวบรวมและสงมาท่ีหลังซ่ึงใชระยะเวลาหลายวัน ทําใหเกิด

ความลาชาและสงผลใหเส้ือผาสูญหายและไมเพียงพอกับการใชงานในโรงพยาบาล

2. เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือใหผูปวยไดรับการบริการอยางเพียงพอและเส้ือผาท่ีสะอาดปราศจากเช้ือโรค

3. กระบวนการพัฒนา (Process ) :

มีการเสนอแผนเพ่ือสํารองเส้ือ ผาถุง ผาปูเตียงใหเพียงพอสําหรับบริการผูปวย และประสาน

ใหพขร. นําเส้ือผาจากโรงพยาบาลนานท่ีผูปวยใสจากการสงตัวผูปวยเพ่ือรักษาตอกลับมาใชตอยัง

โรงพยาบาลทาวังผา

4. ผลลัพธ (Performance) :

มีเคร่ืองผาสํารองเพียงพอตอการใหบริการผูปวยและไมพบขอรองเรียนเก่ียวกับเคร่ืองผาไมพอใช

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทํา (Preparedness) : การติดตามผลอยางตอเน่ืองและนํา ผลท่ีไดมาพัฒนาปรับปรุงใหดีข้ึนเพ่ือใหผูปวยไดรับ

ประโยชนสูงสุด

Page 36: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

36

Good practice เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพการสงคืนเวชระเบียนทันเวลา

ชื่อ นายฐาปนพงค พุฒหมื่น หนวยงาน กลุมงานประกันสุขภาพยุทธศาสตรและสารสนเทศทางการแพทย

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากปจจุบันโรงพยาบาลทาวังผา จ.นาน ไดประสบปญหาภาวะวิกฤตทางการเงินทําใหโรงพยาบาล

ตองดําเนินการแก ไขวิกฤตทางการเ งินของโรงพยาบาล โดยการเ พ่ิมรายได ใหแก โรงพยาบาล การวิจัยคร้ังน้ีจัดทําข้ึนเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพระบบการเบิกชดเชยคาบริการสาธารณสุขของเวชระเบียนผูปวยในใหถูกตอง ครบถวน ทันเวลา

2. เปาประสงค (Purpose) 1.เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการสงคืนเวชระเบียนผูปวยในทันเวลา 2. เพ่ิมประสิทธิภาพระบบการเบิกชดเชยคาบริการสาธารณสุขของเวชระเบียนผูปวยใน

3. กระบวนการพัฒนา (Process) ข้ันตอนท่ี 1 การวิเคราะหสถานการณในเดือนสิงหาคม 2560 – เดือนมกราคม 2561 กลุมตัวอยาง

เปนเวชระเบียนผูปวยท่ีจําหนายในเดือนดังกลาว เก็บขอมูลโดยใชแบบบันทึกขอมูลการติดตามความทันเวลาในการสงเวชระเบียน วิเคราะหขอมูลความทันเวลาของเวชระเบียนโดยใชสถิติเชิงปริมาณ เปนความถ่ีรอยละ ขอมูลปจจัยท่ีเก่ียวของท่ีทําใหสงเวชระเบียนไมทันเวลาและสาเหตุของการสงเวชระเบียนไมทันเวลา ใชการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ

ข้ันตอนท่ี 2 การดําเนินการในเดือนกุมภาพันธ 2561 – เดือนกรกฎาคม 2561 กลุมตัวอยางประกอบดวยทีมสหสาขาวิชาชีพไดแก แพทย พยาบาล เวชสถิติและสหสาขาวิชาชีพ ประชุมปรึกษาหารือเพ่ือวางแผนพัฒนา ไดขอสรุปดังน้ี

ข้ันตอนท่ี 3 ติดตามและประเมินผล เก็บขอมูลโดยใชแบบบันทึกขอมูลการติดตามความทันเวลาในการสงเวชระเบียน จากน้ันวิเคราะหขอมูลความทันเวลาของเวชระเบียน โดยใชสถิติเชิงปริมาณ เปนความถ่ีรอยละ สรุปการสงเรียกเก็บ และปญหาท่ีพบในการดําเนินงานตามข้ันตอนทุกเดือน เสนอผูอํานวยการโรงพยาบาล

4. ผลลัพธ (Performance) จากการวิจัยพบวา หลังจากการสรุปการประชุมกับสหวิชาชีพ จนไดเปนแนวทางในการปฏิบัติรวมกันใน

การสงคืนเวชระเบียนผูปวยในภายใน 7 วัน มีอัตราการสรุปเวชระเบียนทันเวลาเพ่ิมข้ึนอยางไดชัดเจน และสงผลถึงรายไดของโรงพยาบาลท่ีไดรับทันเวลาเพ่ิมตามไปดวย หลังจากท่ีพัฒนาการสงคืนเวชระเบียนผูปวยในใหมภายใน 7 วัน มีการสรุปเวชระเบียนและเบิกจายคารักษาพยาบาลทันเวลาตามไปดวย ซ่ึงเปนจํานวนเงินตามจริงท่ีโรงพยาบาลจะไดรับในแตละเดือน

5. ผลลัพธท่ียังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) คร้ังตอไปตองการวางแผนพัฒนาใน การเพ่ิมประสิทธิภาพในการสรุปเวชระเบียน การสรุปโรคครบถวน เปนการเพ่ิมคา AdjRw ในการไดรับเงินคารักษาพยาบาลเพ่ิมข้ึนเหมือนกัน

Page 37: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

37

Good Practice เรื่อง การพัฒนารูปแบบการใหความรูเพื่อชะลอไตเสื่อม

ชื่อนางสุกฤตา สุวรรณเลิศ หนวยงาน : งานผูปวยนอก คลินิกโรคไมติดตอเรื้อรัง

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : หลังจากการใหความรูและสุขศึกษาแกผูปวยโรคไตเร้ือรังตามทฤษฎีและแนวทางท่ีมีผูเช่ียวชาญ

ศึกษามาแลวน้ัน ยังพบวาผูปวยโรคไตเร้ือรังยังไมสามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ความเคยชินในการ

รับประทานอาหารท่ีเปล่ียนแปลงยาก ความเช่ือและความนิยมท่ีปฏิบัติสืบกันมาหลากหลายบุคคลและ

สถานท่ี ยังพบวารอยละของการชะลอไตเส่ือมมีคาลดลงไมมากนัก จึงทําใหเกิดการพัฒนาการใหความรู

และสุขศึกษาเพ่ือชะลอไตเส่ือมข้ึน โดยใชพลังของครอบครัวและใชแนวทางการดําเนินวิถีชีวิตของผูปวยใน

ทองถ่ิน เพ่ือใหสามารถชะลอไตเส่ือมไดโดยไมสงผลกระทบจากการดําเนินชีวิตตามปกติ

2. เปาประสงค (Purpose) : ผูปวยโรคไตเร้ือรังมีภาวการณทํางานของไตดีข้ึน (การลดลงของ eGFR< 4 มล./นาที/1.72 ม2/ป )

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : เนนการใหความรูและสุขศึกษาแกผูปวยโรคไตเร้ือรัง ดังน้ี

1. ควบคุมอาหารรสเค็ม(รสชาติอาหาร) ลดโซเดียม กินอาหารหลักจากธรรมชาติท่ีไมผานการแปรรูป เพ่ือชวยลดความดันโลหิต และลดอาการบวม

2. การจํากัดอาหารโปรตีน(เน้ือสัตวและไข)เนนโปรตีนจากเน้ือปลา และไขขาว 3. การจํากัดผัก ผลไมท่ีมีโพแทสเซียมสูง 4. การงดใชยาสมุนไพรพ้ืนบาน

4. ผลลัพธ (Performance) :

การตรวจการทํางานของไตในผูปวยโรคไตเร้ือรัง โรงพยาบาลทาวังผา

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. จัดกิจกรรมรณรงคในชุมชน ลดเค็ม ลดโรคได 2. จัดกิจกรรม แลกเปล่ียนเรียนรูในชุมชนท่ีมีผูปวยเพ่ือหาแนวทางการปองกันในชุมชนตอไป 3. กิจกรรมเสริมพลังในการปรับเปล่ียนอาหารโดยใชส่ือท่ีสามารถเห็นไดเชิงประจักษ เชนชุด

ตรวจความเค็มในอาหาร

รายการ ป 2560 ป 2561

จํานวนผูปวยโรคไตเร้ือรัง ราย 1473 1010

การลดลงของ eGFR< 4 มล./นาที/1.72 ม2/ป …ราย 769 701

รอยละ ท่ีลดลง 52.21 69.41

Page 38: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

38

Good Practice เรื่อง พัฒนาระบบการวินิจฉัยผูปวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรงพยาบาลทาวังผา

ชื่อเจาของผลงาน นางรัชนี นาคะพันธ หนวยงาน งานผูปวยนอก คลินิกโรคไมติดตอเรื้อรัง

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : เน่ืองจากป 2561 มีจํานวนผูปวยโรคCOPDท่ีข้ึนทะเบียนรักษาท่ีโรงพยาบาลจํานวน 510 ราย

และพบวาเปนผูปวยท่ีไมไดรับการวินิจฉัยโรคCOPD ตามแนวทางการวินิจฉัยของสมาคมอุรเวชชแหงประเทศไทย โดยใชผลของ Spirometry มาชวยในการวินิจฉัย จึงทําใหแผนการรักษาของแพทยไมไดเปนไปตามมาตรฐานการดูแลผูปวยCOPD

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ือใหผูปวยโรคCOPD ไดรับการวินิจฉัย และดูแลรักษาตามมาตรฐาน 2. เพ่ือใหฐานขอมูลทะเบียนผูปวย COPD มีความถูกตอง เหมาะสมในการวิเคราะหขอมูลสถานะสุขภาพเพ่ือการวางแผนในการดูแลสุขภาพประชาชนตอไป

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. ตรวจสอบขอมูลผูปวยCOPDท่ีข้ึนทะเบียนรักษาท่ีรพ.ทาวังผา 2. กําหนดแนวทางการวินิจฉัยตามแนวทางสมาคมอุรเวชชแหงประเทศไทย 3. คนหาขอมูลผลการตรวจสมรรถภาพปอดของผูปวยแตละราย 4. ใหแพทยยืนยันการวินิจฉัย 5. ปรับปรุงฐานขอมูลในHosXP และHDC 6. ช้ีแจงใหทีมสหสาขาวิชาชีพ ดําเนินงานตามแนวทางท่ีกําหนด

4. ผลลัพธ (Performance) :

จากการตรวจสอบขอมูลCOPDท่ีข้ึนทะเบียนท้ังหมด 510 ราย พบวาไดทําSpirometry ท้ังหมด 400 ราย เปนผูปวยCOPD ตามแนวทางการวินิจฉัย 200 ราย ผูปวยท่ียังไมมีผล Spirometry ยืนยัน 110 ราย

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

1. กําหนดแนวทางการวินิจฉัยและการวางแผนการรักษาใหทีมสหสาขาวิชาชีพทราบและปฏิบัติ 2. ทบทวนการวินิจฉัย และการดูแลรักษาในผูปวยท่ีวินิจฉัยคร้ังแรกทุกราย 3. ทบทวนการดูแลผูปวยท่ีเกิด AE , Res.Fail หรือ Dead อยางสมํ่าเสมอ

Page 39: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

39

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการบริการตรวจสุขภาพประจําปสําหรับบุคคลทั่วไป

ชื่อนางเจียมจิตร อินนอยหนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : เน่ืองจากป 2561 มีการปรับเปล่ียนการทํางานตามแผนการจัดอัตรากําลังของกระทรวงสาธารณสุข

ใหงานตรวจสุขภาพ มาใหงานผูปวยนอกเปนผูจัดบริการจึงทําใหตองมีการปรับระบบบริการและบุคลากรผูรับผิดชอบ ในการใหบริการ 2. เปาประสงค (Purpose) :

1. เพ่ือใหผูรับบริการทุกประเภทท่ีตองการตรวจสุขภาพประจําปเขารับบริการไดตามความตองการและความจําเปนสําหรับแตละบุคคล (ถูกตอง , ปลอดภัย)

2.เพ่ือใหผูรับบริการ ไดรับบริการท่ีรวดเร็ว และพึงพอใจ 3. กระบวนการพัฒนา (Process) :

1. กําหนดผูรับผิดชอบหลักในการดูแลการใหบริการ 2. กําหนดสถานท่ีในการใหบริการท่ีชัดเจน 3. กําหนดกลุมเปาหมายใหชัดเจน แบงเปน

3.1 กลุมท่ีเบิกไดกรมบัญชีกลาง 3.2 กลุมเบิกได อปท. 3.3 สิทธ์ิประกันสังคม 3.4 ประชาชนท่ัวไปท่ีตองการตรวจสุขภาพ

4. เอกสารชุดสิทธิประโยชนท่ีผูรับบริการท่ีไดรับตามสิทธิ หรือตองการตรวจเพ่ิมเติม เพ่ืออธิบายใหผูรับบริการเขาใจ

5. ประสานหนวยงาน องคกร ท่ีตองการเขารับการตรวจเปนหมูคณะ เพ่ือการวางแผนการอํานวยความสะดวกในการเขารับบริการ

6. สอบถามความพึงพอใจตอการใหบริการ 7. ประเมินผลการใหบริการใหผูบริหารทราบ

4. ผลลัพธ (Performance) : ผลการดําเนินงาน ต้ังแตเดือน เมษายน.61-สิงหาคม61 สามารถใหบริการสําหรับบุคคลท่ัวไปดังน้ี(แยกตามสิทธิของผูรับบริการพบวามีผูรับบริการท่ีมีแนวโนมเพ่ิมข้ึนดังน้ี

ประเภทผูรับบริการ/ เดือน เมย.61 พค.61 มิย.61 กค.61 สค.61

ปชช.ท่ัวไป ชําระเงินเอง 38 25 21 24 102

เบิกไดจากกรมบัญชีกลาง/อปท 8 6 44 161 109

-การประเมินความพึงพอใจยังไมไดประเมิน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. สรางทีมในการพัฒนาระบบท่ีประกอบดวยทีมสหสาขาวิชาชีพ 2. มีการประชาสัมพันธเชิงรุกใหมากข้ึน

Page 40: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

40

Good Practice เรื่อง การดูแลมารดาที่มีภาวะซีด

ชื่อเจาของผลงาน ภัศนาวรรณ โชติพัฒนภูมิ หนวยงาน ฝากครรภ

1. ความสําคัญของปญหา โรงพยาบาลทาวังผามีการคลอด เฉล่ียประมาณปละ 120 รายตอป พบวา มารดามีภาวะซีดขณะ

ต้ังครรภ จากสถิติในปงบ58, 59, 60, 61 (ต.ค.60-มิ.ย.61) พบมารดามีภาวะซีด ดังน้ี รอยละ10.56, 10.16, 20, 14.81 ตามลําดับและอาจสงผลใหเกิดภาวะแทรกซอนกอนคลอด ขณะคลอด หลังคลอด เชนอาจมีการตกเลือดหลังคลอดได แผลฝเย็บติดยาก คลอดกอนกําหนด เปนตน ในป61จากสถิติการคลอดพบวามีมารดาท่ีมีภาวะซีดขณะต้ังครรภและคลอดจํานวน 6 รายดังน้ี

1) มารดาทองท่ี 2 มีภาวะซีดเน่ืองจากเปนพาหะโรคทาลัสซีเมีย 1 ราย Hct ขณะ ANC=27%, 29 % กอนคลอด 30% หลังคลอดมีมดลูกหดรัดตัวไมดี ครรภแรกหลังคลอดพบแผลฝเย็บแยก

2) มารดา 5 ราย มีภาวะซีดไมทราบสาเหตุ 1 ราย ANC จากท่ีอ่ืน Hct =32%,26% ขณะนอนโรงพยาบาลใหเลือด เกิดการเจ็บครรภคลอดและคลอด หลังคลอดไมมีปญหา มีมารดา1รายหลังคลอด แผลฝเย็บแยก ตองมาเย็บแผลใหม และมารดา3รายขณะคลอดหลังคลอดปกติ

3) มารดา 1 ราย สงตอท่ีรพ.นาน ดวยอาการเจ็บครรภและ คลอดกอนกําหนด ทารกแรกคลอด นํ้าหนัก 1,865 กรัม

2.เปาประสงค (Purpose ) ปองกันการตกเลือดหลังคลอดและปองกันการคลอดกอนกําหนด

3.กระบวนการพัฒนา (Process) ทบทวนวิเคราะหสาเหตุของภาวะซีดในครรภ เปนรายกรณี โดยพิจารณาใหการดูแลเปนเฉพาะราย 3.1 ใหยารักษารักษาภาวะซีด คือ FF1*3 OTidpc 3.2 ประเมินการเจาะเลือดCBCทุก 1 เดือน ถา Hct <30% ,Hb <8g/dl พิจารณาใหเลือด 3.3 มารดาท่ีมีภาวะซีด อยางนอยตองพบ นักโภชนาการ 1 คร้ัง เพ่ือใหคําแนะนํา 3.4 นัดมารดามา ANC ตามนัดและประเมินเปนระยะ การนับลูกด้ิน อาการเจ็บครรภคลอดกอน

กําหนด 3.5 วางแผนการคลอดท่ีเหมาะสมในโรงพยาบาลท่ีมีสูติแพทย 3.6 มีเครือขายในการดูแลและสงตอท่ีเหมาะสม

4.ผลลัพธ (Performance) ป 2561 จากการคัดกรองเจาะLab 2 ท้ังหมด 108 ราย พบวามีมารดามีภาวะซีด 16 ราย ในจํานวน

น้ีสงตอโรงพยาบาลนาน 1ราย คลอดกอนกําหนด และพบฝเย็บแยก 1 ราย

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร 1. ฝากครรภใหเร็ว กอน 12 สัปดาห เจาะเลือดท้ังมารดา+สามี 2. คนหาสาเหตุท่ีทําใหมารดาเกิดภาวะซีด 3. วินิจฉัยภาวะซีดไดเร็ว+การรักษาท่ีเหมาะสม 4.สงไปโรงพยาบาลท่ีมีสูติแพทยประเมินซํ้าและวางแผนการคลอด

Page 41: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

41

Good Practice เรื่อง เครื่องยึดเครื่องสูบน้ําซับเมิสซิเบิ้ลในระบบประปา

เจาของผลงาน นายคมคิด คําแดง งานอนามัยสิ่งแวดลอม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) ในฤดูฝนเกิดเหตุการณนํ้าหลากสงผลผลกระทบตอขบวนการผลิตนํ้าประปาคือทําใหเคร่ืองสูบ

นํ้าซับเมิสซิเบ้ิล ไมสามารถสูบนํ้าดิบเขาสูระบบได สงผลกระทบตอความไมเพียงพอของนํ้าประปา ทางทีม ENV.จึงไดแกไขปญหาพรอมท้ังหาแนวทางในการปองกันไมใหเกิดเหตุการณข้ึนซํ้า

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือความเพียงพอ พรอมใช ของนํ้าอุปโภคและบริโภค

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 1. ทีม ENV. ของโรงพยาบาลไดดําเนินการคนหาสาเหตุของปญหาท่ีทําใหเคร่ืองซับเมิบซิเบ้ิลไม

สามารถสูบนํ้าดิบเขาระบบ 2. วิเคราะหหาแนวทางในการแกไขปญหา 3. ดําเนินการตอดเสาเข็มเพ่ือใชยึดกับตัวซับเมิบซิเบ้ิล โดยใชทอแปบประปา ขนาด 2 น้ิว เพ่ือปองกัน

ไมใหหลุด 4. จัดทําบันทึกจํานวนคร้ังของการไดรับความเสียหายจากอุทกภัย

4. ผลลัพธ (Performance) - เคร่ืองยึดติดแนน ไมหลุด ไมเกิดเหตุการณซํ้า สามารถสูบนํ้าเขาสูระบบเพ่ือผลิตไดเพียงพอ

พรอมใช

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนทําอยางไร(Preparedness) - มีแผนการสํารวจความพรอมใชของปมซัมเมิบซิเบ้ิล ทุกเดือน ในชวงฤดูฝนตรวจสอบ ทุก 1สัปดาห - มีแนวทางในการขอสํารองนํ้าฉุกเฉินจากการประปาสวนภูมิภาคและเทศบาลตําบลทาวังผาในการขนสงนํ้า เขาสูระบบ

Page 42: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

42

Good Practice เรื่อง การเฝาระวังคุณภาพน้ําดื่ม

เจาของผลงาน นายชาญณรงค จิณะไชย งานอนามัยสิ่งแวดลอม

1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

การบริการนํ้าด่ืมใหกับผูมารับบริการและ จนท. ในรูปแบบถังกดนํ้าด่ืมมีอยูทุกหนวยงานใน

โรงพยาบาล จํานวนท้ังหมด 16 จุด การเฝาระวังคุณภาพนํ้าด่ืมไดสงตรวจวิเคราะหคุณภาพนํ้าท่ีผาน

การผลิตจากโรงผลิตนํ้าด่ืมเพ่ือทดสอบคุณภาพจากหองปฏิบัติการณกรมอนามัย ระยะเวลา 6เดือน/

คร้ังและมีการทดสอบโดยใชชุดทดสอบโคลิฟอรมในนํ้าและนํ้าแข็ง (อ.11) ในถังนํ้าด่ืม แตยังพบมีการ

ปนเปอนของโคลิฟอรมแบคทีเรียในจุดบริการนํ้าด่ืม ทางทีมจึงไดมีการกระตนทุกหนวยงานใหมีการทํา

ความสะอาดตูกดนํ้าทุกคร้ังและดําเนินการสุมสํารวจเพ่ือเฝาระวังคุณภาพนํ้าด่ืมเปนประจํา

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือความสะอาด ปลอดภัย ของผูบริโภคนํ้าด่ืม

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1 งานส่ิงแวดลอมและทีมENV. ไดวิเคราะหปญหาถึงสาเหตุของการปนเปอนเช้ือในถังกดตูนํ้าเย็น 3.2 มีแนวทางในการการทําความสะอาดตูกดนํ้าเปนประจําทุกเดือน และทุกคร้ังกอนเปล่ียนถังนํ้า

3.3 ดําเนินการสุมสํารวจตามเปาหมาย สงตัวอยางนํ้าท่ีผานการผลิตจากโรงผลิตนํ้าด่ืม ปละ 2 คร้ัง 3.4 เฝาระวังคุณภาพนํ้าด่ืมโดยชุดทดสอบโคลิฟอรมในนํ้าและนํ้าแข็ง (อ.11) ท่ีถังกดนํ้าด่ืมท่ีหนวยบริการ ปละ 2 คร้ัง 3.5 ปรับปรุงกระบวนการในจุดท่ีตรวจไมผานโดยการลางภาชนะอุปกรณ การขนยาย การลางทําความสะอาดถังกดนํ้าด่ืมทุกคร้ังท่ีมีการเปล่ียนนํ้าถังใหม 3.6 สํารวจซํ้าในจุดท่ีไมผาน 3.7 สรุปผลการสุมสํารวจใหหนวยงานไดรับทราบ

4. ผลลัพธ (Performance) - ผลการตรวจคุณภาพนํ้าจากหองปฏิบัติการณ กรมอนามัย จํานวน 2 คร้ังผานทุกพารามิเตอร - ผลการตรวจโดยชุดทดสอบโคลิฟอรมในนํ้าและนํ้าแข็ง (อ.11) จํานวน 2 คร้ัง พบวา คร้ังท่ี 1 สุมสํารวจ 15 จุด ผาน 13 จุด คร้ังท่ี 2 จํานวน 11 จุด ผาน 8 จุด

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนทําอยางไร(Preparedness) - มีแผนในการสุมสํารวจทุกเดือน โดยวนไปหลาย ๆจุด - จัดซ้ือชุดทดสอบโคลิฟอรมในนํ้าและนํ้าแข็ง (อ.11) ใหเพียงพอในการสุมสํารวจ - กระตุนใหมีการลางถังกดทุกคร้ังท่ีมีการเปล่ียนขวดนํ้าด่ืม

Page 43: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

43

Good Practice เรื่อง ทารกคลอดทา OPP(( Occiput Posterior Position)

ชื่อเจาของผลงาน พัฒนา อําขํา หนวยงาน หองคลอด

1.ความสําคัญของปญหา (Problem)

โรงพยาบาลทาวังผามีการคลอด เฉล่ียประมาณปละ 120 รายตอป ยังมี มารดาคลอดจากทารกทา OPอยู จากสถิติในปงบ 2558-2561 (ต.ค.60-ก.ค.61) พบมารดาคลอดทาOPP ดังน้ี 3.36,1.45,2.72,1.1 ตามลําดับ ถึงแมวาการคลอดในทา OPP จะมีไมมากแตถาเกิดแลวมีภาวะแทรกซอนสูงท้ังมารดาและทารก เชนเกิดความพิการ พัฒนาการไมสมวัย เกิดการบาดเจ็บตอท้ังมารดาและทารกท่ีรุนแรง เกิดความไมพึงพอใจใหกับมารดา+ญาติ เกิดการฟองรองได นอนโรงพยาบาลนาน ดังน้ันทีมงานฝากครรภและงานหองคลอดจึงไดวางแนวทางปฏิบัติท่ีชัดเจนในการดูแลมารดาท่ีมีทารกอยูในทาท่ีผิดปกติ

ในป61จากสถิติการคลอดพบวามีมารดาจํานวน1รายเปนครรภแรกคลอด เปนทา OPP ทําใหคลอดยาก ทารกติดนาน แรกคลอด APGAR score3-6-6 BW=3,170 กรัม ตองใสทอชวยหายใจ และสงตอโรงพยาบาลนาน

มารดาคลอดในทาท่ีผิดปกติกอใหเกิดภาวะแทรกซอนตามมาดังน้ี 1. การคลอดยาวนาน (prolong labor) ทารกทา OPP อาจสงผลใหระยะท่ี 1 หรือระยะท่ี 2 ของการ

คลอด ยาวนาน และทําใหมีการหยุดเคล่ือนตํ่าของสวนนําในระยะ ท่ี 2 ของการคลอด 2. ไดรับการดูแลรักษาแบบแทรกแซง (intervention) การท่ีทารกอยูในทา OPP สงผลใหเกิดการ

คลอดยาวนาน จึง ทําใหมารดาตองไดรับการดูแลรักษาแบบแทรกแซง เพ่ือให ความกาวหนาของการคลอดเร็วข้ึน เชน การเจาะถุงนํ้าครํ่า การเรงคลอดดวยยา oxytocin และการคลอดโดยใช สูติศาสตรหัตถการ (operative delivery) ซ่ึงไดแก การคลอดดวยคีมชวยคลอด (forceps delivery) การคลอด ดวยเคร่ืองดูดสุญญากาศ (vacuum delivery) และ การผาตัดคลอดทางหนาทอง (cesarean delivery)

3. การฉีกขาดของฝเย็บระดับรุนแรง (severe perineal tears) หรือการบาดเจ็บของหูรูดทวารหนัก (anal sphincter injury) ท้ังน้ีข้ึนอยูกับขนาดของทารก และ การคลอดท่ีใชเคร่ืองมือชวยคลอดรวมดวย ตอทารก ปจจัยท่ีมีความสัมพันธระหวางทา OPP กับผลลัพธของ ทารกแรกเกิด ผลการศึกษาพบวา ปจจัยท่ีมีความสัมพันธ กับทา OPP ไดแก (1) เส่ียงตอคะแนน Apgar score นอยกวา 7 เพ่ิมข้ึน (2) เลือดแดงจากสายสะดือมีภาวะเปนกรด (3) พบข้ีเทาในนํ้าครํ่าและ (4) การบาดเจ็บจากการคลอด ดังน้ันทางทีมงานฝากครรภและงานหองคลอดจึงไดตระหนักในการดูแลและคัดกรองมารดาต้ังแตเร่ิมฝากครรภ กอนคลอด ขณะคลอด โดยการประเมินอัลตราซาวด อยางนอย2คร้ัง/การต้ังครรภ คือคร้ังแรกกอน20สัปดาห และ36สัปดาห

2. เปาประสงค (Purpose) ปองกันทารกคลอดทา OPP และภาวะแทรกซอน

3. กระบวนการพัฒนา (Process) กอนคลอด

1.มารดาฝากครรภเร็ว กอน12สัปดาห 2.ประเมิน U/Sคร้ังแรก กอนอายุครรภ 20 สัปดาห และคร้ังท่ี2 อายุครรภ 36สัปดาหกอนคลอด 3.กอนคลอดแพทย U/S ถาพบหรือสงสัย ทารกอยูในทา OPP สงตอใหสูติแพทยประเมินซํ้า 4.วางแผนการคลอดและการสงตอท่ีเหมาะสมในโรงพยาบาลท่ีมีสูติแพทย

Page 44: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

44

ขณะรอคลอด/คลอด

1.ประเมิน U/S ขณะรอคลอดทุกราย เพ่ือเฝาระวังทารกในทา OPP 2.มารดาเบงนาน>1ชม.ในครรภแรก, มารดาเบงนาน>30นาที ในครรภหลัง Consult สูติแพทย 2. Refer fast act และมีพยาบาลพรอมอุปกรณทําคลอดระหวางสงตอ

4. ผลลัพธ (Performance) ในป 61 พบทารกคลอดในทาOPP จํานวน1ราย และไดสงมารดาสงสัยทารกทาOPP พบสูติแพทย

ประเมินU/Sซํ้าท่ีรพ.นาน จํานวน4ราย ผล มารดากลับมาคลอด ปกติ2ราย และคลอดปกติท่ีรพ.นาน2ราย

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) 1.ประเมินU/S ซํ้าขณะรอคลอดและConsult สูติแพทย 2.แจงเคสรับใหมทุกราย ในกลุมไลน หองคลอดรพ.นาน ใหสูติแพทยรับทราบเบ้ืองตน/ในกรณีสูติ

แพทยไมไดอยูในกลุมไลน แจงเปนเฉพาะกิจ 3.มีแนวทางการดูแลท่ีชัดเจน เชน การสงตอ /การConsult สูติแพทย

Page 45: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

45

Good Practice เรื่อง การทําปายบอกทางผูรับบริการ

เจาของผลงาน นางฐิติกาญจน อะทะไชย หนวยงาน บริการดานปฐมภูมิและองครวม

1.ความสําคัญของปญหา (Problem)

โรงพยาบาลทาวังผามีผูรับบริการจํานวนมากและมีหนวยงานหรือจุดใหบริการหลายจุดของแตละคลีนิก

มีอาคารใหมเพ่ิมข้ึนมีการเปล่ียนโยกยายคลีนิกใหบริการเชน คลินิกสุขภาพเด็กดี วางแผนครอบครัว จิตเวช ยา

เสพติด หองฟน สมุนไพรฯลฯ เลยอาจทําใหผูรับบริการมีความสับสนจึงทําใหผูท่ีมารับบริการหลายทานมาผิด

คลีนิกบางคนมาทําประวัติรอตรวจพอถึงคิวกลายเปนมาผิดคลีนิกเลยทําผูรับบริการเกิดความสับสนบางรายเกิด

ความหงุดหงิดทําใหเกิดความลาชาในการรับบริการและอาจเกิดความเส่ียงในการใหบริการ

2.เปาประสงค (Purpose)

2.1 เพ่ือใหผูปวยมาถูกจุดบริการ 2.2 ลดเวลาในการคนหาคลินิกใหบริการ ทําใหผูรับบริการเขาใจงายไมหงุดหงิด 2.3 ลดความเส่ียงในการใหบริการ

3.กระบวนการพัฒนา(Process)

หนวยงานบริการดานปฐมภูมิและองครวมจะมีคลีนิกใหบริการหลายคลีนิกและจะมีการเปดคลีนิกแตละ

วันและมีหนวยงานอ่ืนเชนหองฟนและสมุนไพรซ่ึงอาจจะเปนทางผานและอาคารเดียวกันเพ่ือกอใหเกิดความ

สะดวก เขาใจงาย มาถูกรับบริการถูกท่ีถูกจุดไมเกิดการสับสนของผูปวยตอการมารับบริการของผูปวยท่ีมารับ

บริการ สรางความพ่ึงพอใจตอผูรับบริการ

4.ผลลัพธ(Performance)

4.1 จากการดําเนินงานพบวาผลลัพธรอยละ 80% 4.2 ผูรับบริการมาถูกจุดบริการ รวดเร็ว ทันเวลา 4.3 ผูรับบริการและญาติเกิดความพ่ึงพอใจและเขาใจงาย

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness)

ทําปายสัญลักษณท่ีบงบอกไดวาหนวยงานหรือจุดบริการอยูตรงไหนถูกตองชัดเจน มีการประชาสัมพันธ

ทางส่ือวิทยุ หรือการลงชุมชนของแตละกิจกรรมเพ่ือแจงใหทราบจุดบริการของแตละคลีนิกแตละวันแจงเสนทาง

ไปคลีนิคทันตกรรมและสมุนไพร

Page 46: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

46

Good Practice เรื่อง การเสริมพลังชุมชนในดานการดูแลผูปวยเรื้อรังและดอยโอกาสในชุมชน

ชื่อเจาของผลงาน นายชาติ อะทะไชย หนวยงาน กลุมงานบริการดานปฐมภูมิและองครวม

1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

ปจจุบันในการดูแลผูปวยเร้ือรังและท่ีดอยโอกาสในชุมชน มีอสม.และอาสาสมัครสาธารณสุข

เปนเครือขายดูแล มีงานเย่ียมบานท่ีเปนเจาหนาท่ีสาธารณสุข ออกเย่ียมบาน ซ่ึงจะออกเย่ียมตามเกณฑ

ท่ีกําหนด จากการดําเนินงานพบวา ยังมีกลุมผูปวยท่ีไมอยูในเกณฑของทีมเย่ียมบาน ท่ีเปนผูปวยท่ีเปน

โรคเร้ือรังญาติผูดูแลยังขาดความรู ทักษะการดูแลเพราะไมไดรับการสอน อสม.และผูนําชุมชนไมทราบ

วามีผูปวยเร้ือรังดอยโอกาสอยูในชุมชนผูปวยและครอบครัวบางคนมีสภาพทางบานยากจน เปน

ผูดอยโอกาส จึงตองมีการสรางระบบการดูแลดวยการเสริมพลังของแกนนําชุมชน อสม.และญาติผูปวย

2. เปาประสงค (Purpose)

1. เพ่ิมศักยภาพของญาติผูดูแลในการดูแลผูปวยท่ีถูกตองเหมาะสม

2. อสม.แกนนําชุมชนมีสวนรวมในการดูแลชวยเหลือผูปวยและผูดอยโอกาสในชุมชน

3. ผูปวยโรคเร้ือรังในชุมชนสามารถเขาถึงระบบการบริการ ลดการเกิดภาวะแทรกซอน

ในขณะอยูท่ีบาน

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการใหอสม.แกนนําชุมชน ญาติผูดูแล โดยการคืนขอมูลสถานการณใน

หมูบาน แนวทางการดูแลผูปวยท่ีสําคัญในชุมชน(ป2561 ดําเนินการ2ชุมชน)

2. ออกเย่ียมผูปวยและสาธิตการดูแลผูปวยในสถานการณจริงในหมูบาน ไดแก การพลิกตัว การ

ทําแผล การใหอาหารทางสายยาง การดูแลสายสวนปสสาวะ

3. มีระบบการชวยเหลือกันในชุมชน ไดแก การชวยปรับสภาพภายในบาน หองนํ้า สภาพเตียงให

เหมาะสมโดยการชวยเหลือของกลุมแกนนําชุมชนและอสม.

4. ผลลัพธ (Performance)

1. มีผูปวยในชุมชนจํานวน 20 ครอบครัว เขารวมการดําเนินงาน จากการสอบถามผูปวยและ

ญาติ มีความพึงพอใจและมีความรูดานการดูแลผูปวยมากข้ึน อสม.มีความพึงพอใจในการไดรับ

ประสบการณตรงจากการสาธิตการดูแลผูปวยท่ีบาน

2. เกิดระบบการดูแลผูปวยและผูดอยโอกาสในชุมชน โดยการมีสวนรวมของชุมชน

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness)

1. ขยายผลการดําเนินงานในชุมชนอ่ืนตอไปเพ่ือใหกลุมเปาหมายไดเขาถึงบริการมากข้ึน

2. ติดตาม กระตุนเสริมพลังในกับแกนนําชุมชน อสม.ใหมีการดําเนินการชวยเหลือในชุมชนอยาง

ตอเน่ืองประสานภาคีเครือขายอ่ืนเชนชมรมผูพิการ หนวยงานพมจ.

Page 47: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

47

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการเฝาระวังการดื้อยาตานไวรัสในผูติดเชื้อ/ผูปวยเอดส

โรงพยาบาลทาวังผา ชื่อนางนงนุช อุนใจ หนวยงาน : งานผูปวยนอก คลินิกเดยแคร

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : เน่ืองจากป 2560 ผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดสท่ีรับการรักษาดวยยาตานไวรัสครบ 12 เดือน

ไดรับ การตรวจ Viral load จํานวน 110 ราย Viral load suppressed (นอยกวา 50 copies)จํานวน 82 ราย คิดเปนรอยละ 82 ซ่ึงตํ่ากวาเกณฑมาตรฐานของประเทศ กําหนดไวรอยละ90 สงผลใหมีการด้ือยาในเวลาตอมา

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ือใหผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดส มีวินัยการกินยาตานไวรัสอยางสมํ่าเสมอ 2. เพ่ือปองกันและเฝาระวังการด้ือยาตานไวรัสในผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดส

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. ตรวจสอบขอมูล ผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดส ท่ีข้ึนทะเบียนรักษาท่ีรพ.ทาวังผา และรายงานตัวช้ีวัด

จากฐานขอมูลในโปรแกรมNAP Report ของสปสช. 2. ใชกระบวนการใหการปรึกษาเตรียมความพรอมกอนเร่ิมยา และระหวางรักษาดวยยาตานไวรัส ท้ัง

รายบุคคล และรายกลุม รายบุคคลทุกvisit รายกลุม ปละ2 คร้ัง 3. ดูแลผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดส ใหไดรับยาตานไวรัสตรงตามสูตรมาตรฐานของประเทศ 4. ติดตามผูปวยใหไดรับการตรวจ Viral load อยางครอบคลุมและติดตามผลการตรวจทาง

หองปฏิบัติการ

4. ผลลัพธ (Performance) : ป 2561 จากการประมวลผลขอมูลในรายงาน NAP Report ของสปสช. พบวา ผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดสท่ีรับการรักษาดวยยาตานไวรัสครบ 12เดือน ไดรับ การตรวจ Viral load จํานวน 107 ราย Viral load suppressed (นอยกวา 50 copies)จํานวน 99 ราย คิดเปนรอยละ 92.52 ตามเกณฑมาตรฐานการดูแลผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดสของประเทศ

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. ทบทวนแนวทางดูแลผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดสตามเกณฑมาตรฐานของประเทศ รวมกับทีมสห

สาขาวิชาชีพ ใหมีการปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน 2. ทบทวนการดูแลผูปวยท่ีด้ือยารวมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ 3. ใชหลักการ PEP ( patient empowerment patient) ในการกระตุนวินัยการกินยาตานอยาง

สมํ่าเสมอ

Page 48: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

48

Good Practice เรื่อง การใหบริการผูปวยนอกกับผูดอยโอกาส กรณี ชองทางดวนแบบวงกวาง

ชื่อนายจํานงค ไชยชอฟา หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : การจัดบริการท่ีแผนกผูปวยนอกไดมีการจัดแบงบัตรคิวเขารับบริการไว 2 ประเภท ไดแก

ผูรับบริการทั่วไป และบัตรชองทางดวนในกลุมผูรับบริการที่ดอยโอกาส ไดแก ผูสูงอายุท่ีมีอายุมากกวา 70ป , เด็กเล็กอายุนอยกวา 2ป ,ผูพิการ , ผูปวยท่ีไมสามารถเดินไดเอง แตพบวาไดรับการรองเรียนจากผูมารับบริการวาเกิดการลัดคิวของผูรับบริการดวยกัน

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ือแกไขปญหาขอรองเรียนเก่ียวกับการลัดคิวของผูรับบริการ 2. เพ่ือใหผูปวยท่ีดอยโอกาสไดรับบริการท่ีรวดเร็ว ถูกตอง เหมาะสม

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : ข้ันตอนการปฏิบัติ 1. ประชาสัมพันธใหผูรับบริการทราบถึงแนวทางการใหบริการตามบัตรคิววามี 2 ประเภท

ตามท่ีกําหนด 2. จัดระบบบัตรคิวชองทางดวนสําหรับผูดอยโอกาสตามท่ีกําหนดอยางถูกตอง เสมอภาค เทา

เทียมกัน 3. กําหนดจุดคัดกรองกอนพบแพทย ท่ีจุดคัดกรองกอนพบแพทย 1 เพ่ือใหบริการสําหรับ

ผูปวยท่ีไดบัตรคิวประเภทน้ี 4. ดูแลชวยเหลือใหผูปวยท่ีไดบัตรชองทางดวนเขารับบริการตามความเหมาะสม และความ

เรงดวนของอาการท่ีเส่ียงตอภาวะวิกฤตขณะรอพบแพทยท่ีแผนกผูปวยนอก 5. จัดท่ีน่ังของผูปวยท่ีรอรับบริการโดยหันหนาเขาหากันเพ่ือใหผูปวยไดมีปฏิสัมพันธกัน

ระหวางผูรับบริการดวยกัน เปนการลดความวิตกกังวลของการรอคอยเขารับบริการ 6. ประชาสัมพันธใหผูรับบริการท้ังหมดไดทราบเปนระยะถึงการจัดบริการบัตรคิวเขารับ

บริการ

4. ผลลัพธ (Performance) : - ไมพบคํารองเรียนเก่ียวกับการลัดคิวเขารับบริการท่ีแผนกผูปวยนอก

- ผูรับบริการมีความพึงพอใจตอการเขารับบริการท่ีแผนกผูปวยนอกเพ่ิมข้ึน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. เปนความรับผิดชอบของจนท.ผูปวยนอกทุกคน ท่ีจะประชาสัมพันธถึงข้ันตอนการเขารับ

บริการท่ีแผนกผูปวยนอก 2. สอบถามถึงอาการผูปวยบอย เๆพ่ือปองกันการเกิดภาวะวิกฤตขณะรอพบแพทย

Page 49: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

49

Good Practice เรื่อง MI Fast track systems

เจาของผลงานชื่อ นางปทิตตา อภิวิชญภาคิน หนวยงาน งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลทาวังผา

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) การทํางานอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการรักษาผูปวยกลามเน้ือหัวใจ หลักของการทํางานใน

หองอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ถึงแมวาจะรักษาใหผูปวยหายเจ็บปวย มีอาการดีข้ึน หรือไดรับการรักษาท่ีมีมาตรฐานแลวก็ตามแตโรคหรือความเจ็บปวยบางประเภทยังตองใหการรักษาท่ีดีย่ิงข้ึนเพราะมีอุบัติการณการเกิดทุพลภาพหรืออัตราตายสูง เชน โรคกลามเน้ือหัวใจขาดเลือด ไมเพียงมีอัตราการเสียชีวิตหรือทุพลภาพท่ีสูงอันดับตนๆของประเทศแลว ยังเปนสาเหตุการตายอันดับหน่ึงของงานอุบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาลทาวังผา สวนใหญผูปวยมาถึงโรงพยาบาลลาชา เน่ืองมาจากสาเหตุความไมรูหรือไมสามารถวินิจฉัยโรคไดอยางรวดเร็วเพียงพอ ดังน้ันถาเรามีการรักษาท่ีรวดเร็วมากข้ึนในโรคดังกลาว จะลดอัตราการเสียชีวิตลงได หรือเกิดภาวะทุพลภาพนอยท่ีสุด

โรงพยาบาลทาวังผาไดมีการพัฒนาระบบเช่ือมประสานระหวางโรงพยาบาล รพ.สต. และชุมชนในการดูแลและสงตอผูปวยใหมีประสิทธิภาพ มีการวางระบบการสงกลับเพอการดูแลตอเน่ืองอยางเปนระบบ มีคุณภาพ ไดมาตรฐานและปลอดภัย เพ่ือความประหยัดและลดคาใชจายดานสุขภาพของสถานบริการระดับตางๆรวมกันใหเกิดประโยชนคุมคาท่ีสุด 2. เปาประสงค(Purpose) 1. ผูปวยสามารถเขาถึงบริการและรับการรักษาไดรวดเร็วทันเวลา 2. ผูปวยไดรับการวินิจฉัยท่ีถูกตอง รวดเร็ว ไดรับการรักษาทันทวงที 3. ลดอัตราการเสียชีวิตในผูปวยโรคกลามเน้ือหัวใจขาดเลือดและใหนอยกวารอยละ 10 3. กระบวนการพัฒนา(Process) 3.1 ทบทวน ช้ีแจงแนวทางปฏิบัติ รวมกับเจาหนาท่ีโรงพยาบาล โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับตําบลและหนวยงานในชุมชน หมูบาน 3.2 แนวทางปฏิบัติงานมีการประสานงานรวมกับดานชุมชน ท้ังหนวยงานในชุมชน หมูบาน ดานบริการการแพทยฉุกเฉิน โรงพยาบาลทาวังผา และระบบการสงตอ โรงพยาบาลนาน 3.3 ผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยกลามเน้ือหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันไดรับการรักษาดวยหัตถการท่ีเหมาะสม และไดรับยา streptokinase ท่ีหองฉุกเฉินโรงพยาบาลทาวังผาภายใตการดูแลและกํากับของอายุรแพทยโรงพยาบาลนาน หากไมมีขอหามในการใชยา ทําใหผูปวยไดรับการรักษาท่ีรวดเร็วข้ึน 3.4 นําระบบการประสานงานผลการดูแลอยางใกลชิดระหวางโรงพยาบาลชุมชนและแมขายภายใตการใชระบบ Telemed เพ่ือใหผูปวยไดรับการดูแลท่ีปลอดภัย ลดภาวะแทรกซอนท่ีรุนแรง 3.5 มีการประสานงานติดตามผลการดูแลและตอเน่ืองท่ีบาน เพ่ือใหคุณภาพชีวิตผูปวยดีข้ึน ไมมีอันตรายและมีภาวะทุพลภาพนอยท่ีสุด 4. ผลลัพธ(Performance) 4.1 บุคลากรในทีมสุขภาพท้ังระดับโรงพยาบาล โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับตําบลและหนวยงานในชุมชน ทราบบทบาทหนาท่ีและสามารถปฏิบัติตามข้ันตอนการดูแลผูปวยได 4.2 ผูปวยไดรับการวินิจฉัยท่ีถูกตอง 96% ในป 2560 4.3 อัตราเสียชีวิตของผูปวยกลามเน้ือหัวใจขาดเลือดลดลง ป 2560 รอยละ 8.70 5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) ผูปวยท่ีมาโดยระบบ EMS ยังไมถึงเปาหมายเน่ืองจากบางสวนอยูใกลโรงพยาบาล ญาติพามาเอง เชนมีรถสวนตัว จึงมีแนวทางการกระตุนและวางแผนในการปฏิบัติงานตอไป

Page 50: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

50

Good Practice

เรื่อง การจัดการอุปกรณในหอง PV (หองตรวจภายใน) ใหพรอมใชงานตลอดเวลาเมื่อแพทยตองการ ชื่อเจาของผลงาน นางชุติกาญจน ปญญาวงค หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : ขาดการดูแลตรวจเช็คอุปกรณในหอง PV (หองตรวจภายใน) บางคร้ังพบปญหา Set หมดอายุ อุปกรณ

ขาดเม่ือแพทยตองการใชอุปกรณในการตรวจภายในผูปวย อุปกรณไมพรอมใชงาน พบปญหาหองไมสะอาดไมพรอมใชงาน

2. เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือใหหอง PV (หองตรวจภายใน) พรอมใชงานตลอดเวลาเม่ือแพทยตองการ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : ข้ันตอนการปฏิบัติ 1.) ทุก เๆชาเขาไปตรวจเช็คอุปกรณในหอง PV (หองตรวจภายใน)ถาขาดอุปกรณอะไรใหเขียนขอเบิก

อุปกรณสง Supply ทุกเชา 2.) หลังจากน้ันใหตรวจเช็ความี Set ท่ีเปดใชไปแลวหรือไมถามีใหนําสง Supply เพ่ือนํา Set ไปทํา

ความสะอาดและนํากลับมาใชคร้ังตอไป 3.) เช็ดทําความสะอาด หอง PV (หองตรวจภายใน)ใหสะอาดจัดระเบียบของใหหยิบใชงานไดงายใน

ทุก เๆชา 4.) ชวงเย็นกอนเลิกงานเขาไปตรวจเช็คหอง PV (หองตรวจภายใน)อีกคร้ังนําผาท่ีใชแลวท่ีอยูในตะกรา

เตรียมซักสงซักทุกวัน

4. ผลลัพธ (Performance) : จากการท่ีไดตรวจเช็คอุปกรณในหอง PV (หองตรวจภายใน) ทุกเชาและเย็น ทําใหไมพบ

ปญหาอุปกรณขาดเม่ือแพทยเรียกใชอุปกรณ

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) มีการจัดทําแนวทางวิธีการใชอุปกรณในหอง PV (หองตรวจภายใน) เม่ือมีเจาหนาท่ีทานอ่ืนมา

ใชอุปกรณเพ่ือปองกันขอผิดพลาดในการสงตรวจ Lab ตามแพทยสง

Page 51: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

51

Good Practice เรื่อง ผูปวยไดรับการใสฟนปลอมตรงตามเวลาที่นัดหมาย

ชื่อนาง จุฬารัตน เจียรอุดมเดช หนวยงาน : ทันตกรรม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : - กลุมงานทันตกรรมมีการใสฟนปลอมใหผูปวยซ่ึงช้ินงานฟนปลอมตองสงทําท่ีตางจังหวัด และตอง

ใชระยะเวลาในการสงกลับ อยางนอย 2 สัปดาห เกิดปญหาช้ินงานฟนปลอมสงกลับมาไมทันตามวันนัดหมาย ทําใหผูปวยและผูใหบริการเสียเวลาในการนัดหมายใหม จึงไดมีการติดตามช้ินงานฟนปลอม เพ่ือใหผูปวยไดรับการใสฟนปลอมตรงตามเวลาท่ีนัดหมาย

2. เปาประสงค (Purpose) : -เพ่ือใหผูปวยไดรับการใสฟนปลอมมาทันตามเวลานัดหมาย

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : - คนหาสาเหตุของปญหาท่ีเกิดข้ึนและประชุมช้ีแจงบุคลในฝาย - มีแนวทางปฎิบัติใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน คือ - ใหทันตแพทยเขียนวันท่ีรับช้ินงานฟนปลอมในใบส่ังแลปกอนถึงวันนัดหมายผูปวยอยางนอย 2 วัน

- เช็คช้ินงานฟนปลอมท่ีสงกลับมาจากแลปใหมากอนถึงวันนัดหมายผูปวย - ถาช้ินงานฟนปลอมยังมาไมถึงโรงพยาบาลใหโทรเช็คแลปวา งานสงออกมาวันท่ีเทาไหร

4. ผลลัพธ (Performance) : - ผูปวยไดใสฟนปลอมตรงตามเวลาท่ีนัดหมาย

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) -

Page 52: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

52

Good Practice เรื่อง ตราปม x-ray

ชื่อ ณัฐธิดา ประดิษฐ หนวยงาน ทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา (Problem)

เน่ืองจากกลุมงานทันตกรรมไดมีการรักษาผูปวย ในบางกรณีตองมีการ x-ray รวมกับการรักษา ซ่ึงในแตละวัน จะมีผูปวยท่ีตอง x –ray เปนจํานวนมาก ทําใหผูชวยท่ี x-ray มีความสับสนในการ x-ray ฟนและเกิดการx-ray ซํ้าซอนในผูปวยรายเดียวกัน สงผลทําใหผูปวยโดนx-ray ซํ้า และสูญเสียทรัพยากร

2.เปาประสงค (Purpose)

- เพ่ือไมใหเกิดการ x-ray ซํ้าซอน

3.กระบวนการพัฒนา (Process)

- ประชุม ช้ีแจงถึงสาเหตุของปญหาท่ีเกิดข้ึน แกเจาหนาท่ีในฝาย - หาแนวขอสรุปแนวทางการปฏิบัติรวมกัน - จึงทําตราปมข้ึนมา โดยการทําตราปม x-ray แลว - ในกรณีท่ีทําการ x-ray เสร็จแลว จะตองปมตราปมทุกคร้ังเพ่ือใหคนอ่ืนรู เพ่ือใหรูวาผูปวยรายน้ัน x-rayเสร็จแลว

4. ผลลัพธ (Performance) - เกิดความปลอดภัยในตัวผูปวย ผูปวยไมโดน x-ray ซํ้าซอน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) -

Page 53: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

53

Good practice เรื่อง การปองกันการตั้งครรภซ้ําในหญิงอายุนอยกวา20ป ชื่อ นางนุกร พิยะ หนวยงาน กลุมงานบริการดานปฐมภูมิและองครวม

1.ความสําคัญ(Problem):

อัตราการต้ังครรภซํ้าของหญิงอายุนอยกวา20ปของอําเภอทาวังผาเทากับรอยละ36 (ตัวช้ีวัดไมเกิน

รอยละ10)

2. กระบวนการพัฒนา(Process): 2.1 จัดใหมีการสอนเพศศึกษารอบดานเพ่ือสรางภูมิคุมกันดานสุขภาวะทางเพศ 2.2 รณรงคและสรางคานิยมเร่ืองเพศสัมพันธท่ีเกิดข้ึนทุกคร้ัง ตองมาจากความสมัครใจ ไมบังคับ

และตองเปนเพศสัมพันธท่ีปลอดภัย 2.3 สรางความเข็มแข็งใหกับระบบการใหคําปรึกษา โดยเนนการสรางเสริมกระบวนใหการปรึกษา

กอนหลังการเผชิญปญหา 2.4 จัดใหมีศูนยบริการอนามัยเจริญพันธท่ีเปนมิตรกับเยาวชนโดยมีเจาหนาท่ี ท่ีมีความรู ความเขาใจ

3.ผลลัพธ(Performance): ป2561อัตราการต้ังครรภซํ้าของหญิงอายุนอยกวา20ปเทากับรอยละ13.6

4.ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึน วางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness):

4.1 มีการดูแลตอเน่ืองหลังคลอด เชนคลินิกวางแผนครอบครัว คลินิกสุขภาพเด็กดี คลินิกใหคําปรึกษาจากครอบครัวและชุมชน

4.2 บูรณาการความรวมมือกับองคกร/ภาคีเครือขายดานสังคมท่ีเก่ียวของ กับการแกไขปญหากรต้ังครรภในวัยรุน

4.3 จัดทําโครงการเพ่ือรองรับการแกไขปญหา ใหเหมาะสมกับความรูวัยรุน ทันเหตุการณ และมีการดําเนินการตอเน่ือง

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) -

Page 54: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

54

Good Practice เรื่อง หลอดดูด มหัศจรรย

ชื่อเจาของผลงาน นางคนึงนิต ดวงธิ หนวยงาน ชันสูตรสาธารณสุข

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) ปจจุบันมีการเจาะเก็บเลือดจํานวนมาก สงผลใหมีการทําสเมียรเลือดมากข้ึนตามไปดวย ในการทํา สเมียรเลือดจําเปนตองหยดเลือดบนสไลดแกวกอนท่ีมีขนาดพอดีแลวจึงคอยไถสไลดเพ่ือทําสเมียรจะไดรูปทรงท่ีพอดี ทําใหเกิดความคิดนําเศษหลอดดูดท่ีเหลือจากการใชงานมาปรับใชเปนอุปกรณสําหรับหยดเลือดบนสไลด ทําใหไดแผนสไลดท่ีสวยงามและมีคุณภาพ

2. เปาประสงค (Purpose) 2.1 เพ่ือลดคาใชจายในการซ้ืออุปกรณทําสเมียรเลือด

2.2 สามารถนําส่ิงของท่ีเหลือจากการใชงานแลวกลับมาใชประโยชนในรูปแบบอ่ืน

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1 จัดหาหลอดดูดท่ีเหลือจากการใชงาน และมีความเหมาะสมท่ีจะนํามาใชงานได

3.2 ตัดแบงหลอดดูดใหมีขนาดพอดีในการจับ 3.3 ทําการไถสไลดเลือดตามปกติ

4. ผลลัพธ (Performance) 4.1 สามารถลดคาใชจายจากการซ้ืออุปกรณทําสไลดเลือดได

4.2 มีอุปกรณหยดเลือดเพ่ือทําสไลดซ่ึงไดจากวัสดุท่ีเหลือใชแลว

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness)

กรณีท่ีหลอดดูดมีขนาดส้ันเกินไป ไมสะดวกในการจับ จะตองมีการปรับขนาดหลอดใหมีความเหมาะสม และงายตอการใชงาน

Page 55: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

55

Good Practice เรื่อง เกาอี้ Recycle

ชื่อเจาของผลงาน นายจรูญ ดวงธิ หนวยงาน ชันสูตรสาธารณสุข

1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

ปจจุบันมีการใชงานวัสดุสํานักงานเพ่ิมมากข้ึน สงผลใหมีวัสดุสํานักงานท่ีชํารุดและเหลือใชจํานวนมาก

หองปฏิบัติการเล็งเห็นถึงปญหาดังกลาว จึงนําเกาอ้ีสํานักงานท่ีชํารุดและไมไดใชงานมาซอมแซมและปรับปรุงมา

เปนเกาอ้ีเจาะเลือด

2. เปาประสงค (Purpose)

3.1 เพ่ือลดจํานวนขยะท่ีเกิดจากวัสดุสํานักงานท่ีชํารุด

3.2 เพ่ือใหมีเกาอ้ีเจาะเลือดท่ีเพียงพอตอการใชงาน

3.3 เพ่ือลดคาใชจายในการจัดซ้ือวัสดุสํานักงานใหม

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

3.1สํารวจเกาอ้ีท่ีชํารุดในโรงพยาบาลเพ่ือนํามาซอมแซมและปรับปรุงเปนเกาอ้ีเจาะเลือด

3.2 ประสานงานซอมบํารุงใหออกแบบรูปแบบเกาอ้ี

3.3 ขออนุมัติซอมแซมโดยชางจากหนวยงานภายนอกเพ่ือนําเกาอ้ีไปซอมแซมและปรับปรุง

3.4 ทดลองใชเกาอ้ีกับผูปวย

4.ผลลัพธ (Performance)

กอนปรับปรุง หลังปรับปรุง

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness)

เน่ืองจากในรพ.ยังมีเกาอ้ีชํารุดและไมไดใชงานอีกหลายจุด งานชันสูตรสาธารณสุขจะดําเนินการสํารวจ

และนํามาปรับปรุงเปนเกาอ้ีเจาะเลือดไวตามจุดตาง ๆเชนหนวยงานตรวจสุขภาพและหองฉุกเฉิน

Page 56: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

56

Good Practice เรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดซื้อรวมวัสดุวิทยาศาสตรการแพทยจ.นาน

ชื่อเจาของผลงาน นางนภาภรณ ฝายนันทะ หนวยงาน ชันสูตรสาธารณสุข

1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

ปจจุบันหองปฏิบัติการมีปริมาณการใชงานวัสดุวิทยาศาสตรท่ีเพ่ิมมากข้ึน มีความหลากหลาย และมีการ

ใชงานเคร่ืองมือวิเคราะหท่ีแตกตางกัน สงผลใหราคาในการจัดซ้ือเพ่ิมสูงข้ึนไมสอดคลองกับตัวช้ีวัดของกระทรวง

ท่ีระบุใหลดราคาการจัดซ้ือวัสดุวิทยาศาสตรการแพทย

2. เปาประสงค (Purpose)

2.1 เพ่ือใหมีการจัดซ้ือตามขนาดของโรงพยาบาล

2.2 เพ่ือเพ่ิมอํานาจการตอรองกับบริษัทผูคา

2.3 เพ่ือใหผานตัวช้ีวัดของกระทรวง

2.4 เพ่ือสามารถยืมวัสดุวิทยาศาสตรการแพทยไดในกรณีท่ีไมเพียงพอ

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

3.1 หองปฏิบัติการแตละแหงระบุปญหาท่ีเกิดจากการจัดซ้ือวัสดุวิทยาศาสตรทางการแพทย

3.2 ประชุมหัวหนาหองปฏิบัติการเพ่ือนําปญหาท่ีไดมาทําการวิเคราะหและทําแผนปฏิบัติการ

3.3 ปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการ

3.4 ประมวลผลท่ีไดจากการจัดซ้ือรวม

4. ผลลัพธ (Performance)

4.1 มีการแบงขนาดของโรงพยาบาลเปน 3 กลุม

4.2 มีการใชเคร่ืองมือวิเคราะหท่ีเหมือนกันตามขนาด รพ.และจัดซ้ือในราคาเดียวกัน

4.3 สามารถนําราคาท่ีจัดซ้ือรวมไปเปนราคากลางของระดับเขตได

4.4 สามารถประหยัดคาใชจายลงไดท้ังจังหวัด

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร

การจัดซ้ือรวมบางรายการท่ีมีมูลคานอย ทําใหบริษัทไมสามารถสงของได ตองรอใหมีจํานวนมากข้ึน

หรือมีโรงพยาบาลอ่ืนส่ังรวมดวยจึงสามารถส่ังได สงผลใหไมมีของใชงาน จึงมีการวางแผนในปถัดไปวาจะทําการ

ซ้ือกับบริษัทท่ีมีการรายงานส่ังซ้ือวัสดุวิทยาศาสตรอ่ืน ๆเพ่ือใหมีวัสดุใชงาน

Page 57: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

57

Good Practice เรื่อง การพัฒนาคุณภาพการตรวจวิเคราะหคาการแข็งตัวของเลือด (PT INR)

ชื่อเจาของผลงาน นางสาวพิลาสลักษณ นาคอภิไชย หนวยงาน ชันสูตรสาธารณสุข

1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

ปจจุบันโรงพยาบาลทาวังผารับผูปวยท่ีไดรับยาวาฟารลินมาดูแล เพ่ือใหผูปวยไดรับบริการใกลบานไม

ตองเดินทางไกล ลดภาระคาใชจาย สงผลใหจํานวนผูปวยในกลุมน้ีเพ่ิมมากข้ึนและตองมีการตรวจติดตามผลของ

ระดับยาวาฟารลินโดยการตรวจวิเคราะหคาการแข็งตัวของเลือด โดยประกอบไปดวยการวัดคา PT และ INR ใน

ปจจุบันหองปฏิบัติการ โรงพยาบาลทาวังผาใหบริการการตรวจวิเคราะหคาการแข็งตัวของเลือดโดยการใชชุด

ทดสอบสําเร็จรูป (Point of care) ท่ีเหมาะสมตอจํานวนผูปวยท่ีนอยและสะดวกตอการตรวจนอกสถานท่ี แตมี

ราคาตนทุนตอหนวยท่ีคอนขางสูง การตรวจวัดทําไดคร้ังราย ผูปวยตองใชระยะเวลาในการรอคอยเจาะเลือด

นาน ในกรณีท่ีเปนผูปวยธาลัสซีเมีย หรือมีภาวะซีดจะไมสามารถวิเคราะหคาได สงผลใหการตรวจวิเคราะหแบบ

ชุดทดสอบสําเร็จรูปไมเหมาะสมตอการใหบริการผูปวยและมีคาใชจายท่ีเพ่ิมมากข้ึน

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือพัฒนาคุณภาพการตรวจวิเคราะหคาการแข็งตัวของเลือด(PT INR)

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

3.1. ศึกษาความสัมพันธของผลการตรวจวิเคราะหคาการแข็งตัวของเลือดโดยการใชเคร่ืองอัตโนมัติ RAC

050 และการใชชุดทดสอบแบบสําเร็จรูป

3.2. วิเคราะหคาความสัมพันธของผลการวิเคราะหท้ังสองแบบ

3.3. ทําการวิเคราะหคาใชจายท่ีลดลง

4. ผลลัพธ (Performance)

ลดคาใชจายตนทุนการวิเคราะหได 10 เปอรเซ็นต

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness)

ทําการเก็บขอมูลและวิเคราะหคาใชจายท่ีลดลง

Page 58: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

58

Good Practice เรื่อง ใบนําสงตรวจลดโลกรอน

ชื่อเจาของผลงาน นายวรายุทธ ถาตา หนวยงาน ชันสูตรสาธารณสุข

1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

ปจจุบันมีการสงตรวจทางหองปฏิบัติการท่ีเพ่ิมมากข้ึนท้ังรายการตรวจท่ีหองปฏิบัติการตรวจไดเองและ

สงตรวจตอไปยังหองปฏิบัติการภายนอก ซ่ึงแตเดิมใบนําสงตรวจทางหองปฏิบัติการจะแยกตามประเภทการ

ตรวจแตละอยาง เม่ือมีการส่ังตรวจผูปวยท่ีเพ่ิมมากข้ึนจึงตองใชใบนําตรวจในปริมาณมากข้ึนตามไปดวยสําหรับ

ผูปวยแตละคนอีกท้ังในระยะเวลาเรงดวนยังสงผลทําใหการกรอกรายละเอียดผูปวยผิดพลาดไดอีกดวย

2. เปาประสงค (Purpose)

2.1 เพ่ือใหเกิดความสะดวกในการกรอกรายละเอียดของขอมูลผูปวย

2.2 ลดการใชกระดาษนําสงตรวจทางหองปฏิบัติการ เพ่ือประหยัดการใชทรัพยากรกระดาษใน

โรงพยาบาลทาวังผา

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

3.1 วางแผน และออกแบบใบนําสงตรวจใหมใหมีขนาดเล็กลง โดยรวมรายการตรวจท่ีสงตรวจเปน

ประจําวัน แยกเปนหมวดหมูท่ีเขาใจงายไวในใบเดียวกัน

3.2 ปร้ินใบนําสงตรวจใหม เพ่ือจายไปยังหนวยงานท่ีมีความเก่ียวของตองใช

3.3 ประสานกับหนวยงานท่ีตองใชใบสงตรวจใหทราบโดยท่ัวถึง และเกิดความเขาใจในการกรอก

ขอมูลของผูปวยพรอมกับรายการตรวจท่ีถูกตอง

4. ผลลัพธ (Performance)

กอนดําเนินการ

Page 59: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

59

หลังดําเนินการ

4.1 ผูกรอกรายการตรวจไมตองกรอกในใบนําสงหลายใบ

4.2 สามารถลดความคลาดเคล่ือนจากการกรอกขอมูลผูปวยลงในใบนําสงหลายใบ

4.3 ลดการใชทรัพยากรกระดาษของโรงพยาบาลทาวังผาได

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness)

กรณีท่ีเปนรายการตรวจท่ีนอกเหนือ จากใบนําสงตรวจใหม ใหใชใบนําสงตรวจใบเดิม เชน การเพาะ

เช้ือท่ีสงตรวจไปยังหองปฏิบัติการโรงพยาบาลนาน การตรวจเสมหะ อุจจาระ และสารนํ้าอ่ืนๆในรางกายเปนตน

และการตรวจท่ีเจอไดไมบอย ใหระบุรายการตรวจในสวน อ่ืน ๆ

Page 60: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

60

Good Practice เรื่อง การจัดระบบการเบิกจายวัสดุสิ้นเปลืองของหนวยงานทันตกรรมในรพสต.

ชื่อ นางสาวปนทอง กันยะ หนวยงาน ทันตกรรม

1. ความสําคัญของปญหา (problem) - งานทันตกรรมใน รพสต. มีการใชวัสดุส้ินเปลืองจํานวนมากและในการเบิกแตละคร้ังจะเบิกไมตรงกัน

ทําใหเสียเวลาและตองจัดของหลายรอบ

2. เปาประสงค (Purpose) - เพ่ือลดเวลาในการเบิกจายวัสดุส้ินเปลืองใหกับรพสต.

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - กําหนดวันเบิกจายแตละเดือนโดยใหสงสมุดเบิกของทุกวันพุธและมารับของในวันศุกรท่ี 2 และ4ของ

เดือนน้ันๆหากสงสมุดไมตรงวันก็จะไมจัดของให

4. ผลลัพธ (Performance) - งานทันตกรรมในรพสต.มีการเช็ควัสดุส้ินเปลืองสมํ่าเสมอ ปญหาของไมพอใชลดลง

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

-

Page 61: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

61

Good Practice เรื่อง การดูแลทารกคลอดน้ําหนักนอย ชื่อเจาของผลงาน พชรพร มีบุญ หนวยงาน หองคลอด

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : โรงพยาบาลทาวังผา มีคลอดตอปดังน้ี2557-2559 =136,120,137 ตามลําดับ มีอัตราการเกิด

LBW ป 2558-2561(ต.ค.–ส.ค.)ดังน้ี 5.88 (7ราย), 8.02(11ราย)6(7ราย),4.8(5ราย) ตามลําดับ จากการวิเคราะหในแตละปพบวา LBW พบในมารดาครรภแรก,ต้ังครรภซํ้า , มารดาต้ังครรภวัยรุนมากท่ีสุด ฝากครรภชาโดยเฉพาะป59 พบวามารดาต้ังครรภแรก8ราย,No ANC 1ราย ,Teenage pregnancy 6ราย พบในมารดาทุกกลุมเชนประชาชนพ้ืนราบ,นักเรียน,ชาติพันธ

2.เปาประสงค (Purpose) 1.ลดอัตราการเกิด LBW <7% 2.ปองกันการเกิดภาวะ Birth Asphyxia, Hypothermia, Hypoglycemia

3.กระบวนการพัฒนา (Process) กอนคลอด งานฝากครรภ

1. Early ANC ฝากครรภใหเร็วกอน 12 สัปดาห 2. มีการเฝาระวังและติดตามดูแลหญิงต้ังครรภท่ีอยูในกลุมเส่ียงอยางตอเน่ือง เชน หญิงต้ังครรภท่ีมี

นํ้าหนักตํ่ากวาเกณฑ ,หญิงต้ังครรภวัยรุน,หญิงต้ังครรภท่ีมีความดันโลหิตสูง ,ภาวะซีดขณะต้ังครรภ สงพบแพทยเพ่ือประเมินซํ้า ถายังมีปญหาใหสงพบสูติแพทย

3. มีการติดตามการประเมินนํ้าหนักหญิงต้ังครรภทุกรายโดยใช Vallop curve และเสนทางลูกรัก 4. มีการใหความรู ปฏิบัติตนขณะต้ังครรภ เชน การรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก การรับประทาน

อาหาร การพักผอน การมาฝากครรภตามนัด 5. มีการใหความรูเพ่ือเฝาระวังภาวะคลอดกอนกําหนด

ระหวางคลอด และหลังคลอด 1. ปองกัน การคลอดกอนกําหนดอายุครรภ<34สัปดาหโดยให steroid แกมารดาทุกรายและ Inhibit

การคลอดถาไมสําเร็จพิจารณาสงตอ 2. ปองกันการเกิดภาวะ Birth Asphyxia, ขณะคลอดและหลังคลอด/พัฒนาทีมNCPR มีความพรอมท้ัง

ทักษะและอุปกรณ 3. การดูแลตาม STABLE Program 4. มีการนัดกระตุนพัฒนาการและติดตามประเมินผลใกลชิดและเหมาะสม พบผิดปกติสงพบแพทย

เฉพาะทางตอไป 5. มีทีมเย่ียมบานประเมินและดูแลตอเน่ือง

Page 62: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

62

4.ผลลัพธ (Performance)

ในป61 พบมีทารกคลอด LBW รอยละ 4.8 ไมพบทารกมีปญหา Hypothermia, Hypoglycemia

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) 1. การปองกันการต้ังครรภวัยรุน ต้ังครรภซํ้า , มารดามีภาวะเส่ียงตาง ๆ2. คนหาและการฝากครรภใหเร็วกอนอายุครรภ 12 สัปดาห และคัดกรองความเส่ียงตาง ๆ3. การปองกันภาวะซีดในขณะต้ังครรภ ใหยาบํารุงธาตุเหล็ก และนัดติดตามเปนระยะ ถาHct <30% มีการ

สงตอพบสูติแพทยและวางแผนการคลอดท่ีเหมาะสม 4. คนหามารดาท่ีANCจากท่ีอ่ืน เพ่ือเขาสูระบบและประเมินในเครือขายใหเร็ว 5. ปองกันการคุมกําเนิดในมารดาต้ังครรภวัยรุนและต้ังครรภซํ้า ใหครอบคลุม

Page 63: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

63

Good Practice เรื่อง การจําหนายผูปวยกลับบาน

ชื่อเจาของผลงาน นางสมศรี ยาวิไชย ตึกผูปวยใน โรงพยาบาลทาวังผา

1. ความสําคัญของปญหา การจําหนายผูปวยกลับบานของโรงพยาบาลทาวังผามีแนวโนมสูงข้ึนทุกวัน เฉล่ียในเดือน

กรกฎาคม 2561 วันละ 10-20 ราย ซ่ึงระยะเวลาในการทําจําหนายผูปวยใชเวลา 10-15 นาทีตอราย จึงสงผลทําใหเกิดการลาชาของการรับยากลับบาน

2. เปาประสงค (Purpose) 1.เพ่ือลดระยะเวลารอคอยการรอรับยากลับบาน 2. เพ่ือเกิดความพึงพอใจของผูรับบริการ และผูใหบริการ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - จัดทําแนวทางการจําหนายผูปวยกลับบานของโรงพยาบาลทาวังผา - ประชุมช้ีแจงแนวทางการจําหนายผูปวยกลับบาน แกเจาหนาท่ีในหนวยงาน - ประเมินความพึงพอใจของผูรับบริการ - นําผลลัพธท่ีไดมาวิเคราะหเพ่ือพัฒนางานการจําหนายผูปวยกลับบาน

4. ผลลัพธ (Performance) - ระยะเวลารอคอยการรอรับยากลับบาน เฉล่ีย 5 นาที ตอราย - ความพึงพอใจของผูรับบริการ รอยละ 85

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีขึ้นวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

- กระตุนทีมใหปฏิบัติตามแนวทางการจําหนายผูปวยกลับบาน

Page 64: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

64

Good Practice เรื่อง การทําสมุดรับสงเอกสารเคลมฟนปลอมระหวางหนวยงาน

เจาของผลงานนางสาวอุภาพร เทพเสน หนวยงานกลุมงานทันตกรรม

1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

เวลามีการเอกสารเก่ียวกับผูปวยท่ีใสฟนปลอมในแตละวันจะมีการสงพรอมกับเจาหนาท่ีทําบัตรเกิดปญหาการลืมสงหรือไปเอกสารหายไมครบ

2. เปาประสงค(Purpose)

ลดปญหาการสงเอกสารไมครบหรือหาย และสงเจาหนาท่ีเคลมเอกสารได ประจําวัน

3. กระบวนการพัฒนา(Process)

โดยการเอาสมุดเบอร4 มาทําตารางรายละเอียดตางเก่ียวกับช่ือ-สกุลผูปวยและจํานวนฟนปลอมท่ีก่ีช้ิน และสิทธิผูปวย ลายเซ็นผูรับเอกสารและวันท่ีรับเอกสาร

4. ผลลัพธ(Performance)

เกิดความพึงพอใจของเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของกับเคลมเอกสารฟนปลอม และเอกสารครบตามจํานวนแตละวัน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness)

การตรวจสอบของเจาหนาท่ีในหนวยงานกอนไปสงประจําวันหรือมอบหมายหนาท่ีในการสงเอกสาร

Page 65: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

65

Good Practice เรื่อง การปองกันการติดเชื้อดื้อยาในเจาหนาที่

ชื่อเจาของผลงาน นางสาววัชรีกร ภิมาลย หนวยงาน กายภาพบําบัด

1. ความสําคัญของปญหา(Problem):

งานกายภาพบําบัดเปนงานท่ีตองสัมผัสกับผูปวยโดยตรงสงผลใหเจาหนาท่ีมีโอกาสสัมผัสและ

แพรกระจายเช้ือโรคท่ีพบในโรงพยาบาลไดงาย โดยเฉพาะเช้ือด้ือยาซ่ึงท่ีไดบอยคร้ังในโรงพยาบาลจาก

การทํางานท่ีผานมาพบอุบัติการณผูปวยหลังผาตัดมีการติดเช้ือด้ือยามาจากโรงพยาบาลศูนยแหงหน่ึงใน

ภาคเหนือแตขาดการสงตอขอมูล ภายหลังจากสงกลับมารักษาท่ีโรงพยาบาลทาวังผา และสงปรึกษานัก

กายภาพบําบัด โดยมีการสวมอุปกรณปองกันการติดเช้ือแตไมเฉพาะเจาะจงในกลุมผูปวยติดเช้ือด้ือยา

และไมเพียงพอ1 เดือนหลังจากน้ันโรงพยาบาลทาวังผาสงเพาะเช้ือ พบวาผูปวยติดเช้ือด้ือยา ทีมไดเห็น

ความสําคัญของการแพรกระจายเช้ือด้ือยาท้ังตอตัวเจาหนา บุคคลใกลชิดและผูปวย จึงไดพัฒนาระบบ

ปองกันการติดเช้ือด้ือยาในเจาหนาท่ีโดยเฉพาะกลุมผูปวยท่ียังไมไดรับการวินิจฉัยติดเช้ือด้ือยา

2. เปาประสงค (Purpose) :

เพ่ือปองกันการติดเช้ือด้ือยาในเจาหนาท่ีท่ีสัมผัสกับผูปวย

3. กระบวนการพัฒนา (Process) :

การใหบริการตึกผูปวยใน :กําหนดผูปวยกลุมเส่ียงตอการติดเช้ือด้ือยา ไดแก ผูปวยท่ีไดรับ

เคร่ืองชวยหายใจ ผูปวยท่ีคาสายสวนปสสาวะ ผูปวยคาสายสวนหลอดเลือด ผูปวยหลังผาตัด ผูปวยท่ีมี

แผลกดทับ และผูปวยท่ีรับไวรักษาในโรงพยาบาลเปนระยะเวลานาน นอกจากน้ียังจัดหาอุปกรณ

ปองกันสําหรับเจาหนาท่ี เชน เส้ือคลุมยาว เปนตน กระตุนใหมีการสวมใสอุปกรณปองกันทุกครั้งเม่ือ

สัมผัสกับผูปวยกลุมเส่ียง ลางมือตามหลักการ 5 moment 7 ข้ันตอน

การใหบริการคลินิกกายภาพบําบัด: คัดกรองผูปวยกอนรับบริการคลินิกกายภาพบําบัด โดยเฉพาะ

กลุมเส่ียงท่ีกําหนดกอนใหบริการเปด HosXPเพ่ือเช็คประวัติการติดเช้ือด้ือยา (แสดง pop up กรณีติด

เช้ือด้ือยา) และ Off ผูปวยท่ีมีการติดเช้ือด้ือยา แตหากจําเปนตองรับการรักษาทางกายภาพบําบัด แยก

ผูปวยเขาไปในหองดานหลัง สวมอุปกรณปองกัน ปฏิบัติตามหลักการ IC

4. ผลลัพธ (Performance) :

ไมพบอุบัติการณเกิดข้ึนซํ้า และ เจาหนาท่ีสวมใสอุปกรณปองกันทุกคร้ังท่ีสัมผัสกับผูปวยกลุมเส่ียง

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) :

ประสานทีม IC ของ รพ. เม่ือพบอุบัติการณเกิดซํ้า นอกจากน้ียังพบผูปวยติดเช้ือ TB 1 รายสงมา

กายภาพบําบัด จึงวางแนวทางการคัดกรองรวมกับทีม

Page 66: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

66

Good Practice เรื่อง ที่ใสไมค้ํายันรักแร

ชื่อเจาของผลงาน นายวิสนุกรณ คํายวง หนวยงาน กายภาพบําบัด

1. ความสําคัญของปญหา(Problem):

ไมคํ้ายันรักแรเปนหน่ึงในกายอุปกรณท่ีจําเปนตองจายสําหรับผูปวยท่ีมีปญหาการลงนํ้าหนักขณะ

เดินโดยในเวลาราชการหนวยงานกายภาพบําบัดจะทําหนาท่ีในการเบิกจายอุปกรณ และนอกเวลา

ราชการหนวยงานศูนยเปลและหองอุบัติเหตุและฉุกเฉินจะทําหนาท่ีดังกลาวจากการดําเนินงานพบวา

ไดรับแจงจากศูนยเปล ไมคํ้ายันรักแรไมตรงตามคู มีขนาดไมเทากันและมีการจัดเก็บกระจัดกระจาย

จํานวน 10 คร้ัง สงผลใหไมสามารถเบิกจายใหผูปวยได

2. เปาประสงค (Purpose) :

เพ่ือใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วในการเบิกจายไมคํ้ายันรักแร

3. กระบวนการพัฒนา (Process) :

วิเคราะหปญหาท่ีพบรวมกับทีมท่ีเก่ียวของ พรอมท้ังขอคําแนะนําจากชางไม รพ.ทาวังผา แลง

นํามาออกแบบ โดยมีการนําไมซ่ึงเปนวัสดุเหลือใชมาทําเปนชองสําหรับวางไมคํ้ายัน เม่ือไดท่ีใสไมคํ้ายัน

รักแรจึงจัดไมคํ้ายันรักแรเปนคู(ตาม size และความสูง) โดย ใชเชือก หลังจากน้ันจึงนําไมคํ้ายันรักแรแต

ละ size ใสลงในชองแตละ size ไดแก ชองสําหรับไมคํ้ายันรักแร 36, 44, 46, 48, 50 และ 52

4. ผลลัพธ (Performance) :

- รายงานอุบัติการณการเบิกจายไมคํ้ายัน จํานวน 3 คร้ัง

- ความพึงพอใจของผูใชงานในระดับมาก

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) :

ภายหลังจากการดําเนินงานพบวาไมคํ้ายันรักแรไมเพียงพอตอการเบิกจาย จึงทํางานแผนรวมกับ

เภสัชกรรมและหาแนวทางการบริหารจัดการใหเพียงพอ

Page 67: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

67

Good Practice เรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการอาการรบกวน ชื่อเจาของผลงาน นางณัฐกฤตา ไชยสลี หนวยงาน ผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

ปจจุบันผูปวยท่ีนอนรักษาตัวอยูในโรงพยาบาลสวนใหญจะมีอาการรบกวนท่ีทําใหเกิดความไม

สุขสบายข้ึน ซ่ึงพบในผูปวยท่ีเจ็บปวยท่ัวไปและผูปวย palliative care and end of life คือ อาการ

ปวดและอาการเหน่ือย ซ่ึงในปจจุบันน้ีพบวาในหนวยงานไดมีระบบและแนวทางการจัดการอาการแลว

เจาหนาท่ียังไมคอยมีการนํามาใชอยางตอเน่ืองและกลุมเปาหมายยังไมชัดเจนและกวางเกินไป ซ่ึงสงผล

ใหผูปวยไมไดรับการจัดการอาการอยางเหมาะสม และทําใหนอนโรงพยาบาลนานข้ึน

2. เปาประสงค (Purpose)

1. เพ่ือใหผูปวยไดรับการจัดการอาการรบกวนท่ีดีข้ึน

2. เพ่ือใหมีการระบุกลุมเปาหมายท่ีชัดเจน

3. เพ่ือใหเจาหนาท่ีมีความรูความเขาใจและปฏิบัติไดถูกตอง

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

1. กําหนดกลุมเปาหมายท่ีตองการ

2. ศึกษาแนวทางการจัดการอาการรบกวนเดิมและนํามาปรับปรุงใชใหเปนรูปแบบท่ีเขาใจงาย

3. จัดทําคูมือแนวทางปฏิบัติการจัดการอาการรบกวน

4. จัดการอบรมใหความรูและความเขาใจเร่ืองรูปแบบและแนวทางปฏิบัติการจัดการอาการรบกวนแก

เจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของ

5. จัดใหมีผูรับผิดชอบเร่ืองการจัดการอาการรบกวนในหนวยงาน

6. จัดทําระบบการใหคําปรึกษาและคลินิก pain

4. ผลลัพธ (Performance)

1. เจาหนาท่ีมีความรูความเขาใจและมีแนวทางปฏิบัติท่ีชัดเจน

2. ผูปวยตามกลุมเปาหมายไดรับการจัดการอาการรบกวนไดอยางเหมาะสม

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness)

1. จัดรูปแบบกระตุนใหมีการนําไปใชแบบเพ่ือนเตือนเพ่ือน

2. นํา case มาทบทวนบอย เๆพ่ือช้ีใหเห็นความสําคัญของการจัดการอาการรบกวนท่ีดี

Page 68: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

68

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบออกหนวยทันตกรรมดาน รับ-สง ฝายยานยนตโรงพยาบาล

ชื่อเจาของผลงาน นายพันศักดิ์ พลทิพย หนวยงาน ทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) หนวยงานทันตกรรมไดบริการออกหนวยทันตกรรมเคล่ือนท่ีโรงเรียนตามโครงการจากอดีต ต้ังแตป

2535 เปนตนมาไดให เจาหนาท่ีฝายยานยนต รับ- สง ทําใหเจาหนาท่ี ยานยนตไมเพียงพอ บางคร้ังตองไปน่ังรอออกหนวยพ้ืนท่ีทุรกันดาร บางคร้ังเจาหนาท่ีฝายยานยนตโรงพยาบาลมีภารกิจ รับ- สง ผูปวยและสงเจาหนาท่ีฝายตางๆในโรงพยาบาล จึงทําหนังสือขอพลขับสํารองจากสาธารณสุขจังหวัด กรณีออกหนวยแตละคร้ังโดยมีใบขับข่ีรับรองจากกรมการขนสงทาง

2.เปาหมาย(Purpose) เพ่ือพัฒนาระบบรับ-สงประหยัด พลขับประจําของโรงพยาบาล แตละคร้ัง

3.กระบวนการพัฒนา(Process) - แจงปญหาเกิดข้ึนแกหัวหนาฝาย หัวหนาฝายบริหารและกลุมงานทันตกรรม รับทราบปญหา - มีการประชุมปรึกษาหาแนวทางแกไข - นําแนวทางแกไขมาดําเนินงาน โดยเจาหนาท่ีในฝายเปนพลขับสํารองและปฏิบัติหนาท่ีออกหนวยไป

ดวย

4.ผลลัพธ(Performance) - มีการพัฒนาระบบการรับ – สง ฝายยานยนต โรงพยาบาลโดยมีใบขับข่ีขนสงทางบกและหนังสือ

รับรองพลขับสํารอง โรงพยาบาลสาธารณสุขจังหวัด - ทําใหประหยัดบุคลากรฝายยานยนตโดยมีเจาหนาท่ีในฝายขับรถไปเอง - ผลท่ีไดรับ ทําใหสะดวก รวดเร็วมีประสิทธิภาพมากข้ึนต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน

5.ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness) -

Page 69: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

69

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบขอมูลสินทรัพยของ Cup อําเภอทาวังผา

ชื่อเจาของผลงาน นางสาว ภรมน จันตะขัน หนวยงาน บริการงานทั่วไป

1. ความสําคัญปญหา(Problem) เน่ืองจากปงบประมาณท่ีผานๆ มา การบันทึกบัญชีเกณฑคงคางของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ของอําเภอทาวังผายังไมมีการสงขอมูลรายงานสินทรัพยท่ีเปนปจจุบันมาใหทางงานบัญชีโรงพยาบาลทาวังผาปรับปรุงขอมูล ซ่ึงทําใหขอมูลรายงานเกณฑคงคางของ Cup อําเภอทาวังผายังไมเปนปจจุบันและยังไมถูกตองตามนโยบายการบันทึกบัญชี

2. เปาประสงค(Purpose)

2.1. เพ่ือใหระบบการสงรายงานเกณฑคงคาสินทรัพยของ รพ.สต. ถูกตอง เปนปจจุบัน และสามารถตรวจสอบ และยันยอดกันไดระหวางงานบัญชีของโรงพยาบาลท่ีบันทึกขอมูลเกณฑคงคาง กับทะเบียนคุมสินทรัพยของ รพ.สต. ถูกตองและตรงกัน

2.2. เพ่ือใหรายงานมีความนาเช่ือถือ ถูกตอง สมบูรณตามนโยบายการบันทึกบัญชี

3. กระบวนการ(Process)

3.1. ประชุมผูรับผิดชอบเก่ียวกับการจัดทํารายงานสินทรัพย เชนการลงทะเบียนคุม การกรอกขอมูลการคํานวณสินทรัพย ฯลฯ ใหถูกตองตามนโยบายการบันทึกบัญชี เพ่ือทําความเขาใจและปรับปรุงรูปแบบการสงขอมูลสินทรัพยใหถูกตองตามระบบการบันทึกบัญชีและนโยบายการบันทึกบัญชี

3.2. สรุปหาแนวทางรวมกันในการสงขอมูลใหงานบัญชีโรงพยาบาลทาวังผา ใหเปนแนวทาง รูปแบบเดียวกัน และมีการตรวจสอบ ติดตาม การสงรายงานทุกเดือน

4. ผลลัพธ(Performance)

4.1 การสงรายงานสินทรัพยสมบูรณ ถูกตองตามนโยบายการบันทึกบัญชี 4.2 รายงานมีความนาเช่ือถือ ถูกตอง สามารถตรวจสอบ และยันยอดกันได

5. แผนพัฒนา(Preparedness) มีการติดตาม และปรับปรุงขอมูลทุกส้ินเดือน

Page 70: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

70

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบงานการลางเครื่องมือและการบรรจุหีบหอ sterile

ชื่อเจาของผลงาน นางบุญนอม พลทิพย หนวยงาน ทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา(Problem)

เน่ืองจากปจจุบันหนวยงานทันตกรรมไดเปล่ียนระบบการทําความสะอาดเคร่ืองมือจากเดิมท่ีจะทําความสะอาดในหนวยงานและน่ึงเองแตเน่ืองจากการเปล่ียนระบบการทํางานใหมทําใหตองสงลางเคร่ืองมือและบรรจุหีบหอเพ่ือสงน่ึงท่ีหนวยจายกลาง ทําใหเจาหนาท่ีหนวยจายกลางตองมีภาระหนางานท่ีเพ่ิมข้ึน เพราะเคร่ืองมือในการทําฟนน้ันเปนเคร่ืองมือช้ืนเล็กการจําช่ือเคร่ืองมือ การบรรจุหีบหอน้ันตองจัดเปนชุดตางๆตองมีความละเอียดและแมนยํา หากจัดชุดผิดหรือไมครบก็ทําใหเสียเวลาในการทํางานท้ังสองหนวยงาน ทําใหทางหนวยงานทันตกรรมเล็งเห็นถึงความสําคัญของปญหาจึงสงเจาหนาท่ีในหนวยงานไปใหความรูแกเจาหนาท่ีหนวยจายกลางต้ังแตกระบวนการลางเคร่ืองมือจนถึงการบรรจุหีบหอ

2.เปาหมาย(Purpose)

-เพ่ือลดความผิดพลาดในการบรรจุหีบหอ -เพ่ือพัฒนาระบบบริการลางเคร่ืองมือและบรรจุหีบหอท่ีระบบเดียวในโรงพยาบาล -เจาหนาท่ีหนวยจายกลางมีความรูความสามารถในการจัดเตรียมเคร่ืองมือทําฟนได

3.กระบวนการพัฒนา(Process) หาแนวทางรวมกันท้ังสองหนวยงาน โดยใหเจาหนาท่ีในหนวยงานทันตกรรมจํานวน 2 คน ไปใหความรูและชวยดูเร่ืองการลางเคร่ืองมือและการบรรจุหีบหอเพ่ือใหเจาหนาท่ีหนวยจายกลางรูจักเคร่ืองมือแตละชนิด

4.ผลลัพธ(Performance)

1. เจาหนาท่ีหนวยจายกลางรูจักเคร่ืองมือและการบรรจุหีบหอทําใหไมเกิดขอผิดพลาดในการจัดชุดทําฟนผิด

2. เจาหนาท่ีหนวยจายกลางมีความรูเก่ียวกับเคร่ืองมือทันตกรรมสามารถเพ่ิมพูนทักษะโดยไมตองมีเจาหนาท่ีทันตกรรมไปประจํา

3. งานหนวยจายกลางของโรงพยาบาลเปนระบบมากข้ึน

5.ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness)

-

Page 71: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

71

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดเก็บรายไดจากผูประสบภัยจากรถ ชื่อเจาของผลงาน นางนงเยาว รัตนเรืองศิลป หนวยงาน ฝายบริหารงานทั่วไป

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) ปจจุบันพบวาการเกิดอุบัติเหตุและประสบภัยจากรถของประเทศไทยมีอุบัติการณ ติด 1 ใน 10 ของโลก ทําใหเกิดภาระคาใชจายทางดานการรักษาพยาบาลท่ีตองสูญเสีย ซ่ึงทางหองการเงินไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว ซ่ึงในแตละปไมสามารถเรียกเก็บคารักษาพยาบาลไดครบเต็มจํานวน เน่ืองจากผูปวยไมไดนําเงินมาชําระหรือสงเอกสารหลักฐานไมครบ ซ่ึงในแตละเดือนผูปวยท่ีประสบภัยจากรถท่ีเขามารับบริการในโรงพยาบาลทาวังผา ต้ังแตเดือนมกราคม-สิงหาคม 2561 มีจํานวน 719 คน คิดเปนจํานวนเงิน 542,023 บาท และมีผูปวยบางรายคางชําระทําใหสูญเสียรายไดของโรงพยาบาล

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือติดตามผูปวยใหมาชําระคารักษาพยาบาลใหครบเต็มจํานวน ครบ 100 เปอรเซ็นต

3.กระบวนการพัฒนา (Process) - ใหเจาหนาท่ีหองบัตรเช็คสิทธิใหถูกตองเปนปจจุบัน

- ใบส่ังยาสิทธิ พรบ.รถ ย่ืนหองการเงินทุกราย - หองการเงินทําสมุดคุมใบส่ังยา พรบ.รถท่ีคางชําระสงงานติดตามหน้ีทุกวัน

4. ผลลัพธ (Performance) พบผูปวยสิทธิ พรบ.รถ ไดนําเงินมาชําระครบเกือบ 100%

5.ผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) - จุดบริการท่ีหองบัตรจะตองใหความสําคัญกับการเช็คสิทธิเปนอันดับแรก - จัดทําทะเบียนคุมลูกหน้ี - สงหนังสือติดตามคารักษาตามท่ีอยู ทวงหน้ีคร้ังท่ี 1 นับจากวันท่ีมารับบริการไปอีก 5 วัน/ ทวงหน้ีคร้ังท่ี 2 นับจากวันท่ีมารับบริการคร้ังท่ี 1 ไปอีก 20 วันและทวงหน้ีคร้ังท่ี 3 นับจาก วันท่ีมารับบริการคร้ังท่ี 2 ไปอีก 20 วัน และถาทวงหน้ีครบ 3 คร้ังและไมไดรับเงิน ทําบันทึก ขอความเสนอผูอํานวยการ

Page 72: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

72

Good Practice เรื่อง การพัฒนาศักยภาพความรอบรูดานสุขภาพของผูปวยเบาหวาน

ชื่อนางนภาพร มหายศนันท หนวยงาน : งานผูปวยนอก กลุมงานการพยาบาล

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : จํานวนผูปวยโรคเบาหวานเพ่ิมข้ึน และพบวาไมสามารถควบคุมโรคไดตามเกณฑ (HbA1C <7%))ทํา

ใหเส่ียงตอการเกิดภาวะแทรกซอนเชนโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเส่ือม โรคเบาหวานข้ึนตา โรคแผลเร้ือรังท่ีเทา

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. ผูปวยโรคเบาหวานสามารถควบคุมโรคได (HbA1C <7%) มากกวารอยละ 40

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. พัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองตามกระบวนการพัฒนาความรอบรูดานสุขภาพของผูปวยเบาหวาน

1.1 พัฒนาทักษะการรับรูขอมูลขอมูลของโรค พยาธิสภาพของโรค การรักษาและภาวะแทรกซอน 1.2 พัฒนาทักษะการรับรูขอมูลสถานะสุขภาพของตนเอง และระดับนํ้าตาลในเลือดของตนเอง

1.3 พัฒนาทักษะในการตัดสินใจ หรือการคิดอยางมีเหตุผล 1.4 พัฒนาทักษะการจัดการตนเอง และการสรางแรงจูงใจในการจัดการตนเอง 1.5 พัฒนาทักษะการรูเทาทันส่ือ

2. การประเมินผล ติดตามผลการดูแลตนเองของผูปวยโรคเบาหวาน

4. ผลลัพธ (Performance) : จากการติดตามผลการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดในผูปวยโรคเบาหวานท่ีรับการรักษาท่ีรพ.ทาวังผา ต้ังแต เดือนตุลาคม 60-สิงหาคม61 พบวามีระดับนํ้าตาลในเลือดท่ีควบคุมได (HbA1C) รอยละ 34.76

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. ทบทวนแนวทางดูแลผูติดเช้ือเอชไอวี/ผูปวยเอดสตามเกณฑมาตรฐานของประเทศ รวมกับ

กระบวนการพัฒนาศักยภาพความรอบรูดานสุขภาพเปนกระบวนการท่ีสามารถทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมสุขภาพไดทุกระดับต้ังแตบุคคล ครอบครัว ชุมชน

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 1. การสรางกระบวนการรับรูขอมูลขาวสาร และขอมูลสถานะสุขภาพรายบุคคลในแตละคร้ังท่ีผูปวย

มารับบริการเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจเพ่ือการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพใหเหมาะสมกับโรค

2. พัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีในการดําเนินงานกระบวนการพัฒนาศักยภาพความรอบรูดานสุขภาพ และสรุปบทเรียนเพ่ือการพัฒนางานตอไป

Page 73: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

73

Good Practice เรื่อง การใหคําปรึกษา งานผูปวยนอก รพ ทาวังผา

ชื่อนางสาวพัชรี โชติกพงศ หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : สถานการณการเจ็บปวยในปจจุบันเปล่ียนแปลงไป จากการเสียชีวิตดวยโรคติดเช้ือ เปล่ียนเปนการ

เจ็บปวยดวยโรคไมติดตอเร้ือรัง ปจจุบันสาเหตุการตายของคน สวนใหญมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการกินอยูและการใชชีวิตของตนเอง ไดแก โรคเก่ียวกับทางเดินหายใจและหลอดเลือด มะเร็ง เอดส โรคหัวใจ ความดันเลือด รวมท้ังอุบัติเหตุบนถนน นอกจากน้ีระบบการแพทยและสาธารณสุขท่ีดีข้ึน คนจะย่ิงมีอายุสูงข้ึน โรคของผูสูงอายุมักจะเปนโรคเร้ือรังท่ีตองการการดูแลระยะยาว เชน โรคเบาหวาน โรคความจําเส่ือม อัมพฤกษอัมพาต สงผลตอภาวะสุขภาพจิต เกิดภาวะวิตกกังวล เครียด เบ่ือหนาย ฆาตัวตาย

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. ผูรับบริการท่ีแผนกผูปวยนอก ท่ีมีอายุต้ังแต 15 ปข้ึนไป ไดรับการคัดกรองภาวะซึมเศราหรือความเส่ียง

ตอการเกิดปญหาสุขภาพจิต 2. ผูท่ีไดรับการคัดกรองแลว พบความเส่ียงตอการเกิดปญหาสุขภาพจิต ไดรับการดูแลรักษา

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. การคัดกรองภาวะโรคซึมเศราหรือภาวะเส่ียงตอการการเกิดปญหาดานสุขภาพจิต ในผูรับบริการท่ีแผนก

ผูปวยนอกทุกคน ท่ีอายุ 15 ปข้ึนไป 2. ผูรับบริการท่ีมีผลการคัดกรองผิดปกติ ไดรับการสงตอยังงานใหคําปรึกษาและสุขภาพจิต 3. มีการประเมิน วินิจฉัยใหการบําบัดรักษาในรายท่ีคัดกรองพบวามีความเส่ียงตอการเกิดปญหาสุขภาพจิต

การติดตามและสงตอขอมูลให งานสุขภาพจิตและจิตเวช เพ่ือดูแล ฟนฟู ตามสภาพของปญหาและความรุนแรงของผูปวย อยางตอเน่ือง

4. การใหสุขภาพจิตศึกษาแกผูปวยและครอบครัวในการปฏิบัติตัว การดูแลเฝาระวังอาการ อาการผิดปกติท่ีตองกลับมาพบแพทยเบาหวาน

4. ผลลัพธ (Performance) : 1. รอยละ 90 ของผูรับบริการท่ีแผนกผูปวยนอก ท่ีมีอายุต้ังแต 15 ปข้ึนไป ไดรับการคัดกรองภาวะซึมเศราหรือความเส่ียงตอการเกิดปญหาสุขภาพจิต 2. รอยละ 100 ผูท่ีไดรับการคัดกรองแลวพบความเส่ียงตอการเกิดปญหาสุขภาพจิต ไดรับการดูแลรักษา

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) ทบทวนระบบการซักประวัติ การคัดกรองภาวะสุขภาพจิต การสงตอผูปวยเขาสูระบบการดูแลรักษา

Page 74: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

74

Good Practice เรื่อง การทําทะเบียนประวัติผูมารับบริการ

ชื่อนางศรัณยภร ธิมา หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : จากรายงานความเส่ียงเก่ียวกับการทําทะเบียนประวัติผูรับบริการพบวา มีความผิดพลาดจาก

การดําเนินงานเชน ไมถูกคนเน่ืองจากช่ือ-สกุลซํ้ากัน สิทธิดานการรักษาพยาบาลผิด

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ือใหการทําทะเบียนประวัติถูกคน ไมผิดพลาด 2. เพ่ือลดการสูญเสียรายไดของโรงพยาบาลจากการตรวจสอบสิทธิดานการรักษาพยาบาลทําให

โรงพยาบาลผิด

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. ประชาสัมพันธใหผูรับบริการทุกคนท่ีมารับบริการแสดงบัตรประชาชน หรือบัตรท่ีมีเลขท่ีบัตร

ประชาชนทุกคร้ังท่ีมารับบริการ 2. การลงทะเบียนการเขารับบริการทุกคร้ังตองสืบคนจากเลขท่ีบัตร ประชาชนเทาน้ัน 3. ทุกคนตองไดรับการตรวจสอบสิทธิดานการรักษาพยาบาลตามแนวทางท่ีกําหนด และ ปร้ินสิทธิ

ดานการรักษาพยาบาลทุกรายในบัตรแสดงขอมูลผูเขารับบริการท่ีลงทะเบียน 4. สอบถามการเขารับบริการทุกคร้ังวามารับบริการอะไร แผนกไหน 5. หากมีใบสงตัว หรือบัตรนัดบริการ ควรตรวจสอบและสงตอตามท่ีกําหนดใหถูกตอง 6. หากพบวาผูปวยมีอาการเส่ียงตอการเกิดภาวะวิกฤต ประสานพบาบาลคัดกรอง เพ่ือประเมินกอน

สงเขารับบริการตามหนวยงานท่ีเหมาะสม

4. ผลลัพธ (Performance) : ในป 2561 พบวามีรายงานความผิดพลาดของการจัดทําบัตรผิดคน หรือสิทธิดานการรักษาพยาบาล

ผิด ลดลง

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. ประชาสัมพันธใหผูรับบริการนําบัตรประชาชนมาแสดงทุกคร้ัง 2. การตรวจสอบสิทธิดานการรักษาพยาบาลของผูรับบริการตองใชบัตรประชาชนของผูรับบริการเสียบ

กับเคร่ืองเพ่ือตรวจสอบทุกคร้ัง

Page 75: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

75

Good Practice :เรื่อง ประสิทธิผลของการพัฒนารูปแบบการใหบริการวัคซีนไขหวัดใหญกลุมบุคลากรรพ.

ทาวังผาป 2560-2561

เจาของผลงาน นางอุดมศรี ไชยชนะ งานบริการดานปฐมภูมิและองครวม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

กระทรวงสาธารณสุขจัดใหมีการใหวัคซีนไขหวัดใหญในบุคลากรสาธารณสุข เพ่ือลดโอกาสท่ี

บุคคลเหลาน้ีจะติดเช้ือไขหวัดใหญและไขหวัดนกอีกท้ังท้ังยังชวยปองกันการแพรกระจายโรคภายใน

สถานพยาบาลจากบุคลากรไปยังผูปวยท่ีมารับบริการ ในปท่ีผานมาพบวาครอบครอบคลุมยังไดตํ่ากวา

เปาท่ีวางไว จึงไดพัฒนารูปแบบการใหบริการวัคซีนไขหวัดใหญข้ึนเพ่ือเพ่ิมความครอบคลุมของการ

ใหบริการวัคซีนไขหวัดใหญ

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือเพ่ิมความครอบคลุมของการใหบริการวัคซีนไขหวัดใหญกลุมบุคลากร รพ.ทาวังผาใหได

มากกวารอยละ 95

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

ปรับปรุงกระบวนการในป 2560 เพ่ิมเติมโดยเนนเร่ืองการประชาสัมพันธ การกระตุนเตือน

โดยหัวหนาหนวยงาน ทางโทรศัพท ทางGroup line ของโรงพยาบาล เพ่ิมทางเลือกให จนท.มารับ

บริการในวันท่ีสะดวก ติดตามรายกรณีเพ่ือใหทราบเหตุผลของการไมรับวัคซีน

4. ผลลัพธ (Performance)

ความครอบคลุมของการไดรับวัคซีนในกลุมบุคลากรในป 2560-2561 เพ่ิมข้ึนจากรอยละ

83.06 เปน รอยละ 93.04

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนทําอยางไร (Preparedness)

ศึกษารายกรณีเพ่ือใหทราบเหตุผลของการไมรับวัคซีน

Page 76: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

76

Good Practice เรื่อง CA UTI

ชื่อเจาของผลงาน นางพจนพร พลแดง หนวยงาน ตึกผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) จากการทบทวนผูปวยติดเช้ือในโรงพยาบาลในตึกผูปวยในต้ังแตป พ.ศ. 2558-2560 พบวา

การติดเช้ือในโรงพยาบาลสวนใหญมีการกลับเปนซํ้ามากข้ึน พบผูปวยในตึกผูปวยในเปน CA UTI

ติดตอกัน 4 ราย จึงตองมีการลดภาวะติดเช้ือในโรงพยาบาลเพ่ือใหผูปวยไดรับการดูแลทางการ

พยาบาลตามมาตรฐานและปลอดภัย

2. เปาประสงค(Purpose) - เพ่ือใหบุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติทางคลินิกตามหลักฐานเชิง

ประจักษเพ่ือปองกันการติดเช้ือระบบทางเดินปสสาวะจากการใสสายสวนปสสาวะคาไว

- เพ่ือลดระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลสงผลใหคาใชจายในการรักษาพยาบาลลดลง

3. กระบวนการพัฒนา(Process) - ใหความรูแกทีมการพยาบาลโดย ICN/ICWNและมีระบบพ่ีสอนนองเร่ืองการใหคําแนะนําใน

การดูแลผูปวยท่ีใสสายสวนปสสาวะคาไว เชน Inchart round ดูลักษณะ สี จํานวนปสสาวะทุกเวร

เวรละ 1 คร้ัง , ใชระบบเตือนความจําในการปฏิบัติงานของพยาบาลท่ีดูแลผูปวยขณะรับสงเวรเพ่ือ

เตือนแพทยในการพิจารณาถอดสายสวนปสสาวะ ,ดูแลไมใหสายปสสาวะดึงร้ัง หักพับงอเพ่ือให

ปสสาวะระบายไดดีไมมีการค่ังคาง , ดูแลใหระบบระบายปสสาวะอยูในระบบปดโดยไมปลดสายสวน

ปสสาวะและขอตอไมวากรณีใด ,ใช 70%Alcohol เช็ดรอบรอยตอกอนปลดสายสวนปสสาวะทุกคร้ัง

โดยใชเทคนิคปราศจากเช้ือและทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุสายสวนปสสาวะดวยNSS เชา-เย็นหรือ

เม่ือผูปวยขับถายอุจจาระหลังทําความสะอาดตองซับใหแห

- ใหความรูแกผูชวยเหลือคนไขและญาติในการดูแลผูปวยใสสายสวนปสสาวะ เชน ใช

70%Alcoholเช็ดรูเปดถุงรองรับปสสาวะกอน-หลังเทนํ้าปสสาวะทุกครั้ง ,เทนํ้าปสสาวะออกจากถุง

รองรับปสสาวะทุก 8 ช่ัวโมงหรือนํ้าปสสาวะอยูในระดับ 3/4ของถุงเพ่ือปองกันการไหลยอนกลับของ

ปสสาวะและดูแลใหถุงปสสาวะอยูสูงจากพ้ืนประมาณ 15 เซนติเมตรและไมวางใกลกับสายหรือขวด

ระบายอ่ืน ๆ

- ใหความรูแกเจาหนาท่ีทุกระดับเพ่ือใหเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของการลางมือกอน-

หลังสัมผัสชุดสวน/เทปสสาวะท้ิงและการพยาบาลผูปวยคาสายสวนปสสาวะ

4. ผลลัพธ(Performance) ไมเกิด CA UTI ในตึกผูปวยใน

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมายวางแผนทําอยางไร (Preparedness) - เนนเจาหนาท่ีทางการพยาบาลในการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุสายสวนปสสาวะดวย

NSS เชา-เย็นโดยการเขียนการดทุกคนท่ีใสสายสวนคาปสสาวะและแจกสําลีแอลกอฮอลใหผูปวยทุก

คนสําหรับเช็ดรูเปดถุงรองรับปสสาวะกอน-หลังเทนํ้าปสสาวะทุกคร้ัง

Page 77: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

77

Good Practice เรื่องผลของการพัฒนาการจัดเตรียมSetคลอดไมพรอมใช

ชื่อเจาของผลงาน นางเครือวัลย เปยงใจ หนวยงาน จายกลาง

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากในเดือนมิถุนายน2561พบอุบัติการณการจัดเตรียมชุดอุปกรณไมพรอมใชของงาน

หองคลอด จํานวน 3Setคืออุปกรณไมครบ จํานวน 2 Setและอุปกรณเกิน จํานวน 1 Set

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหอุปกรณมีความพรอมใช ผูปวยเกิดความปลอดภัย และผูรับผลงานมีความพึงพอใจ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1.การทบทวนสาเหตุท่ีเกิดข้ึน พบวาเปนการปรับระบบการลางอุปกรณหองผาตัดและหองคลอดไป

งานจายกลาง และเจาหนาท่ีหนวยจายกลางยังไมชํานาญ 3.2. มีสมุดคูมือในการจัดเตรียมเคร่ืองมือหองคลอด 3.3.ตรวจสอบใหละเอียดกอนหีบหอทุกคร้ัง 3.4.ติดตามประเมินผล

4. ผลลัพธ (Performance) ไมเกิดอุบัติการณซํ้า บุคลากรหองคลอดมีความพึงพอใจในรอยละ 96 บุคลากรงานจายกลางมี

ความพึงพอใจในรอยละ 95

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมายวางแผนทําอยางไร(Preparedness) คนหาสาเหตุปญหา ประชุมรวมกับทีมงานผูเก่ียวของเพ่ือหาทางแกไขปญหา เพ่ือใหไดผลลัพธ

ท่ีดีข้ึนตอไปอยางตอเน่ือง

Page 78: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

78

Good Practice เรื่อง ความไมพรอมใชของ Ambubag ผูใหญ ชื่อเจาของผลงาน นางพูนทิพย คําแดง หนวยงาน จายกลาง

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากในเดือนกรกฎาคม 2561 หนวยงานจายกลางพบอุบัติการณ ความไมพรอมใชของ

Ambu-bag ผูใหญจากการไมหมุนปด Valve (ล้ินจายลม)จํานวน 4 ชุดจากหนวยงาน ER

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือ ใหAmbu-bag ผูใหญมีความพรอมใช ทําใหผูปวยปลอดภัย เกิดความพึงพอใจในผูใหและ

ผูรับบริการ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1. การประชุมรวมกับเจาหนาท่ีผูเก่ียวของในหนวยงาน 3.2. นํารูปแบบท่ีไดพัฒนาลงสูการปฏิบัติ 3.3. ติดตามประเมินผล

4. ผลลัพธ (Performance) ต้ังแตเดือน สิงหาคม 2561–ปจจุบันไมพบอุบัติการณความไมพรอมใชของ Ambubag ผูใหญ

เจาหนาท่ีในงานจายกลางมีความพึงพอใจ รอยละ97ความพึงพอใจในผูรับบริการรอยละ 96

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) คนหาสาเหตุปญหาท่ีเกิดข้ึน นํามาวางแผนรวมกับผูท่ีเก่ียวของ เพ่ือพัฒนาใหไดผลลัพธท่ีดีข้ึน

ตอไปอยางตอเน่ือง

Page 79: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

79

Good Practice เรื่อง ผลของการตรวจเช็คเครื่องมือหนวยงานหองคลอดกอนลาง

ชื่อเจาของผลงาน นายวัลลพ ทานันท หนวยงานจายกลาง

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากเดือน พฤษภาคม 2561หนวยงานหองคลอด ไดเร่ิมสง เคร่ืองมือไปลางและทําให

ปราศจากเช้ือท่ี หนวยงานจายกลาง พบอุบัติการณ เคร่ืองมือมาไมครบ เคร่ืองมือหาย เพราะนํามารวมกับ หนวยงานอ่ืน ทําให หนวยงาน หองคลอดมี อุปกรณใน Set ไมครบ

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหหนวยงานมีอุปกรณครบ ดวยการแยกเคร่ืองมือหนวยงาน หองคลอด ออกจาก

หนวยงานอ่ืนตรวจเช็คเคร่ืองมือ ใหตรงกับ สมุดสงมาจากหนวยงาน กอนนําเคร่ืองมือลงทําความสะอาด

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1. การประชุมรวมกับเจาหนาท่ีผูเก่ียวของในหนวยงาน 3.2. นําแนวทางลงสูปฏิบัติ 3.3.ประเมินผลลัพธ และมีการพัฒนาตอเน่ือง จนไดรูปแบบท่ีดีท่ีสุด

4. ผลลัพธ (Performance) พบอุบัติการณการรายงานจากเคร่ืองมือไมพรอมใช ลดลงเหลือรอยละ 10 (จากสาเหตุ

เคร่ืองมือ ใน Set ไมครบของงานหองคลอด) ความพึงพอใจของเจาหนาท่ีงานจายกลาง รอยละ 92 ความพึงพอใจของผูรับตรวจรับเคร่ืองมือรอยละ 90

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) คนหาสาเหตุท่ีเกิดข้ึน รวมกับเจาหนาท่ีผูเก่ียวของ หาแนวทางแกไขปญหารวมกัน เพ่ือใหได

ผลลัพธท่ีดีข้ึนกวาเดิมอยางตอเน่ือง

Page 80: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

80

Good Practice เรื่อง ผลของการดําเนินงานการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใชถุงมือปราศจากเชื้อ

ชื่อเจาของผลงานนางศุภลักษณ ธนามี หนวยงาน จายกลาง

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากพบอุบัติการณถุงมือขาดขณะใสกอนทําหัตถการและขณะทําหัตถการ 3-4 คร้ัง/เดือน

หากถุงมือเหลือใชจากหีบหอเดิม ตองนํามา Re-sterile มดเขาไปในหีบหอจากการเปดใชจากหีบหอบรรจุรวม และพบวาบางข้ันตอนของการทําถุงมือปราศจากเช้ือไมถูกตองตามหลักการปองกันและควบคุมการติดเช้ือ และการแพรกระจายเช้ือ

2.เปาประสงค (Purpose) 2.1. เพ่ือปองกันการติดเช้ือแกผูปวย และการแพรกระจายเช้ือสูส่ิงแวดลอมอ่ืน 2.2. เพ่ือความปลอดภัยของบุคลากร ในการใชถุงมือท่ีไมฉีกขาดไดงาย 2.3. เพ่ือลดคาใชจายใหแกโรงพยาบาล

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1 เก็บรวบรวมขอมูล ประชุมวิเคราะหปญหาและความเส่ียง จากการทําและการใชถุงมือ

ปราศจากเช้ือรูปแบบเดิมรวมกับจนท.ท่ีเก่ียวของ 3.2 นํารูปแบบใหมมาปฏิบัติ เปรียบเทียบรูปแบบเดิม 3.3 ประเมินผล

4. ผลลัพธ (Performance) การวิเคราะหตนทุนข้ันตอนการทําถุงมือ พบวาการทําถุงมือรูปแบบเดิมมีคาใชจายแฝง ทําให

สูญเสียคาใชจายของโรงพยาบาลมากกวารูปแบบสําเร็จ 79,546 บาท//ปบุคลากรหนวยงาน มีระดับความพึงพอใจในการใชถุงมือรูปแบบใหม รอยละ 95

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) นําอุบัติการณมาวิเคราะหหาสาเหตุ หาแนวทางแกไขปญหารวมกับทีมท่ีเก่ียวของ เพ่ือพัฒนา

ใหไดผลลัพธท่ีดีมากข้ึน

Page 81: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

81

Good Practice เรื่อง การสํารวจสาเหตุที่ผูปวยระดับ5 (ไมเรงดวน) เขารับบริการในหองฉุกเฉิน

ชื่อเจาของผลงาน นางสุภาภรณ รักษี หนวยงาน ER

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) หองอุบัติเหตุฉุกเฉินใหบริการตรวจรักษาพยาบาลผูปวยตามระดับความรุนแรงของอาการเจ็บปวย

(ยกเวนผูปวยอุบัติเหตุ) โดยคัดกรองผูปวยวิกฤต-ฉุกเฉินใหเขาถึงบริการอยางรวดเร็วและจําแนกประเภทความเจ็บปวยเพ่ือจัดลําดับความเรงดวนในการพบแพทย ผูปวยท่ีมีความเรงดวนภายหลังไดรับการคัดกรองภาวะฉุกเฉิน โดยผูปวยท่ีมีภาวะฉุกเฉินจะไดรับการตรวจในทันทีและถัดมาก็เรียงตามลําดับความเรงดวน (ผูปวยระดับ

ระดับ 1 ฉุกเฉินวิกฤตใหการรักษาทันที ระดับ 2 ฉุกเฉินเรงดวนใหการรักษาภายใน 10 นาที ระดับ 3 เรงดวนใหการรักษาภายใน 30 นาที ระดับ 4 ไมเรงดวนใหการรักษาภายใน 60 นาที ระดับ 5 ไมฉุกเฉินใหการรักษาไดมากกวา 1 ชม. สามารถรอตรวจท่ี แผนกตรวจโรคท่ัวไปท่ีตึกผูปวย

นอกในปจจุบันมีผูปวยระดับ 5 เขารับบริการมากข้ึนในหองฉุกเฉินซ่ึงทําใหผูปวยฉุกเฉินวิกฤตไดรับบริการลาชาหรือไมไดรับการติดตามอาการอยางเหมาะสมอีกท้ังยังมีผูปวยจํานวนมากท่ีมาเขารับบริการตองการมาตรวจหรือติดตอไมตรงกับบริบทของงานเชนมาขอใบสงตัวเพ่ือไปพบแพทยท่ีรพ.นานฯลฯ

2. เปาประสงค(Purpose) เพ่ือศึกษาสาเหตุท่ีผูปวยระดับ 5(ไมฉุกเฉิน) เขารับการรักษาท่ีหองฉุกเฉิน

และลดการแออัดในหองฉุกเฉิน (ER crowding)

3. กระบวนการพัฒนา (Process) พยาบาลคัดแยกท่ีจุดคัดแยก ใชหลักเกณฑการคัดแยกในการคัดแยกผูปวยใหถูกตองและเหมาะสม

4. ผลลัพธ (Performance) ลดจํานวนผูปวยไมเรงดวนท่ีมาเขารับบริการในหองฉุกเฉิน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness) ประชาสัมพันธขอมูลโดยเฉพาะเก่ียวกับหลักเกณฑการประเมินผูปวยเพ่ือคัดแยกตามระดับความฉุกเฉิน

5 ระดับและใหขอมูลเขาถึงสาธารณชนมากข้ึน มีชองทางใหผูปวยไปตรวจตอท่ีแผนกตึกผูปวยนอก (OPD)

Page 82: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

82

Good Practice เรื่อง : การใหนมบุตรมารดาครรภแรก

ชื่อเจาของผลงาน นางภภัสสร รัชตโสตถิ์ หนวยงาน ตึกผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) มารดาครรภแรกสวนใหญจะเปนแมวัยรุน มีความอดทนคอนขางนอย ขาดความต้ังใจและมองไมเห็นประโยชน ของการใหนมบุตร ทําใหเกิดผลกระทบโดยตรงกับเด็ก ท่ีขาดโอกาสทองในชวงน้ีท่ีจะไดรับภูมิคุมกันจากนมแม ความรัก ความอบอุน ซ่ึงไมมีใครทดแทนได

2. เปาประสงค(Purpose)

เพ่ือใหมารดาครรภแรกมีความม่ันใจ ใหนมบุตรไดอยางถูกวิธี

3. กระบวนการพัฒนา(Process) 3.1 สนับสนุนการเล้ียงลูกดวยนมมารดาโดยจัดใหมารดาอยูกับบุตรในหองเดียวกันนอนเตียงเดียวกัน ตลอด 24 ช่ัวโมง 3.2 สรางทัศนคติท่ีดีการใหนมบุตรแกมารดาหลังคลอดครรภแรก 3.3 สอนสาธิตการเล้ียงลูกดวยนมมารดา โดยใชส่ือชวยเชน ภาพพลิก แผนวีซีดี จัดบอรดให ความรูเร่ือง นมแม,แผนพับนมแม 3.4 สงเสริมใหครอบครัวชวยเหลือสนับสนุนการใหนมบุตร 3.5 พูดคุยใหกําลังใจการใหนมบุตรแกมารดาหลังคลอด 3.6 สอนเทคนิคการใหนมบุตร 3.7 เปดโอกาสซักถามปญหาการใหนมบุตร

4. ผลลัพธ(Performance) - มารดาหลังคลอดมีความม่ันใจในการใหนมบุตร ใหนมบุตรดวยตัวเองอยางถูกวิธี ติดตามมารดาใหนม

บุตร 6 เดือน ผลลัพธไมนอยกวารอยละ50

5. ถาผลลัพธยังไมเปนตามเปาหมายหรือตองการใหดีวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness)

- ประสานงานงานฝากครรภของโรงพยาบาล และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลในเขต อําเภอทาวังผา เนนใหความรูการใหนมบุตรต้ังแตตอนฝากครรภ ตระหนักถึงความสําคัญของ การใหนมบุตร

Page 83: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

83

Good Practice เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุมเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงตําบลทาวังผา

ชื่อเจาของผลงาน นางสาวจารุภา ใหมตาหนวยงาน บริการดานปฐมภูมิและองครวม

1. ความสําคัญของปญหา ( Problem ) โรคไมติดตอเร้ือรัง หรือ NCDs คือกลุมโรคท่ีเกิดจากพฤติกรรมการใชชีวิตไมถูกตอง ถือเปนภัย

เงียบท่ีทําลายชีวิตผูคนโดยไมรูตัว นําโดยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง นับเปนปญหาการเจ็บปวยท่ีสําคัญและนํามาซ่ึงความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบตอผูปวยเอง และผูดูแล คารักษาพยาบาล คาใชจายในครอบครัว จากการคัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปข้ึนไป ในเขตตําบลทาวังผา พบวา กลุมเส่ียงโรคความดันโลหิตสูง รอยละ 44.13 กลุมเส่ียงโรคเบาหวาน รอยละ 22.10 เน่ืองจากกลุมเส่ียงมีจํานวนสูงกวากลุมปกติ และกลุมปวย ดังน้ันเพ่ือใหการปองกันกอนเกิดโรคเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดสงเสริมความรูปรับเปล่ียนพฤติกรรมในกลุมเส่ียง

2. เปาประสงค (Purpose) 1. เพ่ือใหกลุมเส่ียงเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรูในการดูแลตนเองไดอยางถูกตอง 2. เพ่ือใหกลุมเส่ียงเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองเหมาะสมในการปอง

โรคได 3. อัตราผูปวยความดันโลหิตสูงรายใหมจากกลุมเส่ียงความดันโลหิตสูงนอยกวารอยละ 10 4. อัตราผูปวยเบาหวานรายใหมจากกลุมเส่ียงเบาหวานนอยกวารอยละ 2.4

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 1. คัดกรองสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปข้ึนไป 2. จัดกิจกรรมเสริมสรางความรู ความเขาใจท่ีถูกตองตามหลัก 3อ.2ส. 3. นัดใหสุขศึกษาการปรับเปล่ียนพฤติกรรมรายบุคคล และรายกลุม 4. ติดตามผลการปรับเปล่ียนทุก 3 เดือน

4. ผลลัพธ (Performance) 1. กลุมเส่ียงเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรอบรูการดูแลตนเองเพ่ิมข้ึน(Pre-test = 73.64 ,

Post-test = 80.86) 2. กลุมเส่ียงเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตองเหมาะสมเพ่ิมข้ึน (Pre-test =

78.85, Post-test = 88.71) 3. อัตราผูปวยความดันโลหิตสูงรายใหมจากกลุมเส่ียงความดันโลหิตสูงรอยละ 5.30 4. อัตราผูปวยเบาหวานรายใหมจากกลุมเส่ียงเบาหวานรอยละ 2.36

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) 1. กระตุนใหกลุมเส่ียงเกิดความสนใจ และตระหนักถึงปญหาสุขภาพมากข้ึนเพ่ือเขารวมรับการคัด

กรองสุขภาพ และรวมรับการปรับเปล่ียนพฤติกรรม 2. ปรับกระบวนการจัดรูปแบบปรับเปล่ียนพฤติกรรม

Page 84: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

84

Good practice เรื่องผลแนวทางการสรางความปลอดภัยในการใชรถพยาบาล

ชื่อเจาของผลงาน นาย สมเพชร สิทธิยศ หนวยงานยานพาหนะ

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) จากการวิเคราะหขอมูลป 2558 พบวารถพยาบาลเคยถูกชน ขณะรับสงผูปวยไปรพ.นาน จํานวน 1

ครั้ง เจาหนาท่ีไดรับบาดเจ็บเล็กนอยรถพยาบาลไดรับความเสียหายและรถพยาบาลกลับจากการนําสงผูปวยประสบเหตุรถชน 1 คร้ังไมมีผูไดรับบาดเจ็บแตรถพยาบาลเสียหายป 2559 รถพยาบาลเกือบถูกเฉ่ียวชนจํานวน 3 คร้ังและเกือบถูกชนขณะปฏิบัติงานรับสงผูปวยอุบัติเหตุทางจราจรจํานวน 2 คร้ัง

2. เปาประสงค (Purpose) 1.เพ่ือพัฒนาแนวทางการสรางความปลอดภัยในการใชรถพยาบาล

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 1. การเตรียมความพรอมของรถพยาบาล/อุปกรณในตัวรถ ๒. การเตรียมความพรอมของบุคลากร ๓. การจัดระบบบริการ

4. ผลลัพธ (Performance) รถพยาบาลทุกคันมีความพรอมกอนออกปฏิบัติงาน มีอุปกรณมาตรฐานเพ่ือปองกันการบาดเจ็บและติด

เช้ือในขณะปฏิบัติงาน บุคลากรท่ีมีความสามารถนําสงผูปวยถึงโรงพยาบาลไดอยางปลอดภัย

5. ผลลัพธท่ียังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) มีการศึกษาในระยะยาวและคนหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนเพ่ือหาแนวทางแกไขในทุกประเด็น รวมท้ังการเสนอแนวทางบางประการท่ีมีความจําเปนแตมีขอจํากัดทรัพยากร เพ่ือสรางความปลอดภัยในการใชรถพยาบาล

Page 85: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

85

Good practice เรื่อง การตรวจสอบประจําวัน/อุปกรณตางในรถพยาบาล

ชื่อ นาย ยรรยง แสนพิช หนวยงานยานพาหนะ

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) จากการวิเคราะหขอมูลเจาหนาท่ีไมมีความรูในการใชเคร่ืองมือและอุปกรณภายในรถพยาบาล และไมมี

ความพรอมของพ.ร.บ. สํารองในการใชรถพยาบาลและใชอุปกรณภายในรถพยาบาล เชน ไฟไซเรน,วิทยุส่ือสาร ระบบตางๆภายในรถพยาบาล 2.เปาประสงค (Purpose)

1.เพ่ือตรวจสอบความพรอมในการอุปกรณภายในรถและการใชรถใหพรอมใชงาน

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 1.กําหนดการตรวจสอบรถประจําวัน ประจําเดือน ๒. ตรวจสอบความถูกตองของรถเลือกอุปกรณตางในรถ,ระบบไฟตางๆภายในรถ ๓. เพ่ิมการยึดตรึงอุปกรณภายในรถใหม่ันคงท่ีถัง O2และอุปกรณอ่ืน ๆ

๔. เพ่ิมอุปกรณท่ีจําเปนไดแกไฟสองสวาง , อุปกรณทุบกระจก,เส้ือสะทอนแสง,นกหวีด,กระบอกไฟจราจร,อุปกรณ ปองกันการติดเช้ือ

๕. ทําคูมือประจํารถ,มีกระเปาอุปกรณการดูแลของหนวยงานของตนเองถามีการใชงานหลังการสงตอตองจัดเตรียมใหพรอมทุกคร้ัง

4.ผลลัพธ (Performance) เจาหนาท่ีพึงพอใจและไดปฏิบัติตามคูมือในการใชรถพยาบาลและไดปฏิบัติอยางเครงครัดและ

ระมัดระวังในการใชเคร่ืองมือและอุปกรณเพ่ือปองกันการบาดเจ็บและการติดเช้ือในขณะปฏิบัติงานและใชอุปกรณอยางถูกตอง

5.ผลลัพธท่ียังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) มักพบปญหาเจาหนาท่ีใชอุปกรณภายในรถไมเปนและพขร. สํารองไดนํามาเทรนและใหความรูเพ่ิมเติมเชิญเจาหนาท่ีทาง ER มาเปนวิทยากรในการใชเคร่ืองมือในการใชรถพยาบาลและอุปกรณภายในรถ

Page 86: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

86

Good practice เรื่อง การยึดตรึงอุปกรณภายในรถยนตและรัดเข็มขัดนิรภัย

ชื่อเจาของผลงาน นาย ชาตรี จันตะยอด หนวยงานยานพาหะนะ

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) งานยานพาหะนะมีผูใชรถพยาบาลหลานแผนก เจาหนาท่ีและผูปวยและญาติไมใชเข็มขัดนิรภัย

2.เปาประสงค (Purpose) 1. เพ่ือสรางความรูเพ่ิมทักษะและตระหนักในความปลอดภัยในการใชรถตูพยาบาล

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 1. สาธิตการใชเข็มขัดนิรภัยทุกจุดแกเจาหนาท่ี ๒. ใชเข็มขัดนิรภัยกับผูปวยและญาติทุกราย ๓. เสนอผูบริการทําประกันภัย รถตูพยาบาลและบุคลากรในการใชรถตูพยาบาล

4.ผลลัพธ (Performance) เพ่ือความปลอดภัยในการใชรถตูพยาบาลและปฏิบัติตามกฎจราจรอยางถูกตองเพ่ือตระหนักถึงความ

ปลอดภัยในรถตูพยาบาล (Satiety First)

5.ผลลัพธท่ียังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) ตองขอความรวมมือกับทุกฝายท้ังเจาหนาท่ีและผูปวย,ญาติเพ่ือความปลอดภัยในขณะเดินทาง

Page 87: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

87

Good practice เรื่องการปฏิบัติตามกฎจราจร

ชื่อเจาของผลงาน นาย บุญชาญ พิยะ หนวยงาน ยานพาหนะ

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) จากเหตุการณและอุบัติเหตุแตละครั้งท่ีเกิดข้ึนมีปจจัยดานส่ิงแวดลอมทางกายภาพ ปจจัยดานสังคม

กฎระเบียบ ขนบธรรมเนียม มาตรฐานความปลอดภัยของอุปกรณท่ีลดความรุนแรงขณะรถชนยังไมไดมาตรฐานคือไมปฏิบัติตามกฎจราจรหรือกฎเกณฑอ่ืนๆท่ีเก่ียวของ

2.เปาประสงค (Purpose) 1. เพ่ือเสริมสรางความรูความปลอดภัยในการขับข่ีรถอยางปลอดภัยและปฏิบัติตามกฎจราจรทุกคร้ังท่ี

ขับรถ

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 1.สงพนักงานขับรถอบรมหลักสูตรพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉินเขารับการอบรม ๒. ไดรับการตรวจสุขภาพประจําปไมมีโรคตองหามขับรถ ๓. พนักงานขับรถมีใบอนุญาตขัยรถยนตชนิดขับข่ีประเภทชนิดท่ี ๒

๔. จัดทําระเบียบในการปฏิบัติงานของพนักงานขับรถ ๕. ไมด่ืมเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล, สารเสพติด,ยาท่ีมีฤทธ์ิทําใหงวงซึม ๖. กรณีเดินทางไกลกวา ๔๐๐ กม. จัดใหมีพนักงานขับรถสํารอง ๒ คน ๗. พนักงานขับรถออกปฏิบัติงาน ณ จุดเกิดเหตุตองทราบวาเกิดเหตุการณอะไรข้ึนจะไดนํารถไปจอดได

ถูกตองและเตรียมเคร่ืองมือพรอมใช ๘. ขับรถไมเกิดกวากฎหมายกําหนด

4. ผลลัพธ (Performance) พนักงานขับรถทุกคนตองผานการอบรมหลักสูตรพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉินจากสถาบันท่ีจัดการ

อบรมและปฏิบัติตามกฎจราจรอยางเครงครัดและมีอนุญาตขับรถอยางถูกตองตามกฎหมายกําหนด

5.ผลลัพธท่ียังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) การเตรียมความพรอมของบุคลากรตองคํานึงถึงกฎจราจรและปฏิบัติตามกฎหมายของกรมการขนสง และไดจัดพนักงานขับรถท่ียังไมผานกาอบรมหลักสูตรของพนักงานขับรถพยาบาลฉุกเฉินไปฝกอบรมตามหลักสูตรของกระทรวงสาธารณะสุข

Page 88: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

88

Good practice เรื่อง การดูแลผูปวยไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน( Acute appendicitis)

เจาของผลงาน นางบุษบา เสนนันตา หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน

๑.ความสําคัญของปญหา(Problem) โรงพยาบาลทาวังผามีผูปวยReferดวยAcute Appendicitis ในป 2557- 2560 จํานวน 51, 80 ,

87,66ราย ตามลําดับ อัตราการเกิด Rupture Appendicitis คิดเปนรอยละ 3.45, 5.13, 2.94,1.96 ตามลําดับ อุบัติการณการเกิด Miss /Delay Diagnosis จํานวน 11, 15 ,8 , 1 ราย ตามลําดับ จากการทบทวน Case ผูปวยRupture appendicitis ทุกราย พบวาเปนจํานวนผูปวย Rupture appendicitis จากการ Miss/Delay Diagnosis คิดเปนรอยละ 20 จากการทบทวนยังพบวาผูปฏิบัติไดปฏิบัติตาม CPG โดยใช Alvarado score ชวยในการประเมินผูปวยท่ีเขารับการรักษาดวยอาการปวดทองและเฝาระวังโรค acute appendicitis เพียงรอยละ 32(ป2557) ดังน้ันโรงพยาบาลทาวังผาจึงได ดําเนินการพัฒนาการดูแลผูปวย Acute appendicitisใหมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากข้ึนเพ่ือไมใหเกิด Rupture Appendicitis จากการ Miss/Delay Diagnosis

๒. เปาประสงค(Purpose) ๒.๑ อุบัติการณการเกิด Rupture appendicitis จากการวินิจฉัยผิดพลาดและลาชา เปน 0 ๒.๒ อัตราการเกิด Rupture appendicitis กอนเขารับการรักษานอยกวารอยละ 3 ๒.๓ ผูปวยท่ีสงสัย acute appendicitis ไดรับการดูแลโดยใช Alvarado score รอยละ 100

๓. กระบวนการพัฒนา(Process) ๓.๑ การเขาถึงบริการ

- แนะนําอาการของไสต่ิงอักเสบ และเนนยํ้าการกลับมาตรวจซํ้าหากอาการเปนมากข้ึน รวมถึงชองทางการขอรับบริการฉุกเฉิน 1669 ในผูปวยท่ีเขารับการรักษาดวยอาการปวดทองทุกรายท่ีอาการเขาไดกับ acute appendicitis หรืออาการปวดทองท่ีเปนอาการเร่ิมแรกของไสต่ิงอักเสบท่ียังไมบงช้ีถึงภาวะ acute appendicitis ท่ีชัดเจน (Alvarado score < 4) ๓.๒ การคัดกรองและประเมิน

- ประเมินผูปวยท่ีสงสัยไสต่ิงทุกรายท่ีเขารับการรักษาดวยอาการปวดทองท่ีอาการเขาไดกับ acute appendicitis แพทยและพยาบาลจะใช Alvarado score ประเมิน

- แนะนําในการสังเกตอาการตอท่ีบานใน ผูปวยท่ี Alvarado score < 4 คะแนนและสามารถสังเกตอาการปวดทองไดดวยตนเอง สวนผูปวยท่ีไมสามารถสังเกตอาการปวดทองไดดวยตนเอง การเขารับการรักษาเปนไปดวยความลําบาก หรือมีความวิตกกังวลเก่ียวกับความเจ็บปวยมาก จะถูกรับไวสังเกตอาการปวดทองในโรงพยาบาลทุกราย

- กําหนดใหในกรณีสงสัย Acute appendicitis ในการตรวจ CBC,UA ใหหองปฏิบัติการรายงานผลภายใน 30 นาที

- รับผูปวยไวสังเกตอาการปวดทองในโรงพยาบาลทุกรายในผูปวยท่ี Alvarado score 4-6คะแนน - สงตัวเพ่ือรับการรักษาตอโดยศัลยแพทย รพ.นาน และ รพ. ปว ทุกรายในผูปวยท่ี Alvarado score ≥ 7 คะแนน

๓.๓ การดูแลรักษา - ทบทวนและปรับปรุง CPG ในการดูแลผูปวยacute appendicitis

Page 89: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

89

- จัดประชุมวิชาการใหความรูแกแพทย และพยาบาลท้ังเครือขายในการดูแลผูปวย acute

appendicitisโดยใชAlvarado score - แจงแนวทางแกแพทยเวียนทุกคนท่ีมาประจําโรงพยาบาลทาวังผารวมท้ังพยาบาลท่ีบรรจุใหมทุก

คน ในการประเมินผูปวยท่ีมารับการรักษาดวยอาการปวดทองท่ีสงสัย Acute appendicitis โดยใช Alvarado score

๔. ผลลัพธ(Performance)

ตัวช้ีวัด เปาหมาย ป

2557 ป

2558 ป

2559 ป

2560 ป 2561

ต.ค. 60 - ส.ค.61 1. อุบัติการณ Miss /Delay diagnosis (ราย)

0 11 15 8 1 3

2. อัตราการเกิด Rupture appendicitis <3 4.08 6.35 1.29 1.96 4.71 3. รอยละของการปฏิบัติตาม CPG หรือการใชAlvarado scoreในการดูแลผูปวย

100 32 70 80 98 94

๕. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมายวางแผนทําอยางไร(Preparedness) - ส่ือสารประชาสัมพันธทางวิทยุกระจายเสียงชุมชน, เสียงตามสายในหมูบาน,เสียงตามสายในโรงพยาบาล เร่ืองอาการโรคไสต่ิงอักเสบเฉียบพลัน เพ่ือใหผูปวยมารับการรักษาไดทันเวลา

- เนนยํ้าใหพยาบาลชวยแนบแบบฟอรม Alvarado score ในผูปวยเขารับการรักษาดวยอาการปวดทองท่ีอาการเขาไดกับ acute appendicitis

Page 90: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

90

Good Practice เรื่อง หลังคากันแดดกันฝนเครื่องปมลม

ชื่อเจาของผลงาน นางสาวนันทนภัส วงคพุฒคํา หนวยงาน ทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา(Problem)

เน่ืองจากหนวยงานทันตกรรม รพ.สต.ตาลชุมต้ังอยูตรงขามกับทิศตะวันออกการติดต้ังเคร่ืองปมลมโดนแดดและฝนตลอดเวลา สงผลใหเคร่ืองปมลมเส่ือมสภาพและมีสีซีดลง

2.เปาหมาย(Purpose)

- เพ่ือปองกันเคร่ืองปมลมโดนแดดและฝน

3.กระบวนการพัฒนา(Process)

หาแนวทางรวมกันโดยการปรึกษาหัวหนาทันตกรรมและหัวหนารพ.สต.ตาลชุมเพ่ือทําโครงสรางหลังคากันแดดกันฝน

4.ผลลัพธ(Performance)

เคร่ืองปมลมมีท่ีกันแดดและฝนทําใหมีอายุการใชงานท่ีมากข้ึน

5.ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness)

-

Page 91: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

91

Good Practice เรื่อง การพัฒนาการระบบการลงทะเบียนและจําหนายผูปวยที่เสียชีวิตใหครอบคลุมลด

ขอผิดพลาดในการลงขอมูลในระบบ HOS XP เจาของผลงาน นางชลิดา ธนะขวาง หนวยงาน กลุมงานบริการดานปฐมภูมิและองครวม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) จากการสํารวจขอมูลใน HOS XP พบวาไดมีการบันทึกขอมูลผูปวยผิดพลาด โดยมีการบันทึกขอมูลการเย่ียมและคัดกรองสุขภาพในผูปวยท่ีเสียชีวิต เน่ืองจากการไมได Apdate ขอมูลในบัญชีใหถูกตองทันเหตุการณและไมไดจําหนายผูท่ีเสียชีวิตออกจากระบบ รวมถึงมีการบันทึกขอมูลยอนหลัง 2. เปาประสงค (purpose) 1. เพ่ือพัฒนารูปแบบการการ Apdate ขอมูลและจําหนายขอมูลผูปวยใหถูกตอง 2. เพ่ือปองกันการลงขอมูลผิดพลาดและลดผลกระทบของปญหาท่ีตามมา 3. เพ่ือการประสานเครือขายในการสงตอขอมูลใหครอบคลุม ทันเวลา ทันเหตุการณ 4. เพ่ือปองกันการลงขอมูลยอนหลัง ลดขอผิดพลาด 3. กระบวนการพัฒนา (Process)

1. จัดใหมีผูรับผิดชอบการลงทะเบียนและจําหนายประชากรประจําฝาย มีการประสานขอมูลทางกลุมไลน อสม. แจงคนเกิดและเสียชีวิตทางไลนทุกคร้ังท่ีมีคนเกิดและเสียชีวิตเพ่ิมเติมจากการรายงานประจําเดือนซ่ึงอาจลาชา

2. ออกสํารวจรายช่ือผูเสียชีวิตจากรายช่ือผูรวบรวมเงินฌาปนกิจของหมูบาน และทําการลงทะเบียนและจําหนายขอมูลใหเปนปจจุบัน

3. พิมพใบส่ังยากอนออกเย่ียมบานเพ่ือความรวดเร็วของการรายงานถาไมทันลงทะเบียนในวันท่ีเย่ียมทําการลบ Visit และทํา Visit ใหมในวันถัดไป

4. เช็คสิทธ์ิผูปวยทุกคร้ังถามีการทํา Visit เพ่ือเช็คขอมูลใหเปนปจจุบัน 4. ผลลัพธของการพัฒนางาน(Performance)

1. มีผูรับผิดชอบการลงทะเบียนและจําหนายขอมูลของกลุมงานท่ีเปนรูปธรรม ชัดเจนเปนระบบ มากข้ึน 2. ลดปญหาขอผิดพลาดจากการบันทึกขอมูลและมีความถูกตอง ทันเหตุการณมากกวารอยละ 60 3. การบันทึกขอมูลทันเหตุการณ การประสานงานเครือขายเปนระบบมากข้ึน 4. มีการรายงานผูท่ีเกิดใหมและเสียชีวิตรวดเร็ว เปนระบบและครอบคลุม

5. โอกาสพัฒนา (Preparedness) - ยังมีการ loss จําหนายผูปวยท่ีเสียชีวิต ทําใหท่ีเสียชีวิตยังคางอยูในระบบโดยเฉพาะผูปวยท่ีอยูนอกเขตตําบล จึงตองประสานเครือขายทางระบบไลนและทางโทรศัพท เน่ืองจากมีการหมุนเวียนเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบทุกป - ระบบทะเบียนเครือขายยังไม Apdate จากการหมุนเวียนเจาหนาท่ีท่ีรับผิดชอบและเปล่ียนเบอรโทรตองมีการจัดทําทะเบียนเครือขายใหม

Page 92: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

92

Good Practice เรื่อง ผลการดําเนินงาน เครื่องมือทันตกรรมไมพรอมใช

ชื่อเจาของผลงาน นายอิศรายุทธ ไชยมิ่ง หนวยงานจายกลาง

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) เน่ืองจากเม่ือวันท่ี 11 กันยายน 2561 พบอุบัติการณอุปกรณ เครื่องมืองานทันตกรรม ไม

พรอมใชงาน คืออุปกรณชุดแตงเหงือก ถูกใชไปงานไปชวงเชา แลวสงไปงานจายกลางชวงบาย จนท.ผูรับผิดชอบในการน่ึง ไมทราบวามีใชเพียง 1 ชุด และชวงบายวันน้ันมีเคร่ืองมือท่ีใชแลวจํานวนไมมากพอ จึงไมไดน่ึงของวันท่ี 12 กันยายน 2561 งานทันตกรรมจะทําหัตถการแตงเหงือกคนไขจึงไมมีเคร่ืองมือใช

2.เปาประสงค (Purpose) 2.1. เพ่ือใหมีเคร่ืองมือมีความพรอมใชงาน 2.2.เพ่ือใหเกิดความสุขและความพึงพอใจท้ังผูใหและผูรับบริการ

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1ประชุมเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของ วิเคราะหหาสาเหตุและปญหา 3.2นํารูปแบบใหมมาปฏิบัติ เปรียบเทียบรูปแบบเดิมโดยงานจายกลางน่ึงอุปกรณทุกบายเพ่ือ

ความพรอมใช งานทันตกรรมหากมีอุปกรณสําคัญและมีจํานวนนอยมีระบบแจงงานจายกลาง และจัดเตรียมอุปกรณใหมีความพรอมใชเปน 2-3 เทาของการใชงาน

3.3 ประเมินผลความพึงพอใจ

4. ผลลัพธ (Performance) ภายหลังจากพัฒนาไมพบรายงานอุบัติการณความไมพรอมใชอุปกรณจากงานทันตกรรม

เจาหนาท่ีงานทันตกรรมมีความพึงพอใจ รอยละ 98 เจาหนาท่ีงานจายกลาง มีความพึงพอใจ รอยละ 97

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมายวางแผนอยางไร (Preparedness) นําอุบัติการณมาวิเคราะหหาสาเหตุและปญหาท่ีเกิดข้ึน หาแนวทางแกไขปญหารวมกัน กับผูท่ีเก่ียวของ เพ่ือพัฒนาใหไดผลลัพธท่ีดีมากข้ึนกวาเดิม

Page 93: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

93

Good Practice เรื่อง การการพัฒนาระบบการดูแลผูปวยท่ีไดรับยา Warfarin

ชื่อ นางสาว นันทินี เทพเสน หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : เน่ืองจากในป61 มีจํานวนผูปวยท่ีไดรับยา Warfarin เพ่ิมข้ึนมีจํานวนท้ังหมด 177 ราย ซ่ึง

ยา Warfarin เปนยาตานการแข็งตัวของเลือดในรูปแบบรับประทานเปนกลุมยาท่ีมีความเส่ียงสูง ยาท่ีมีดัชนีการรักษาแคบ ขนาดของยาท่ีออกฤทธ์ิใหผลการรักษาในผูปวยแตละคนแตกตางกัน ในการติดตามผล Warfarin เพ่ือควบคุมขนาดยาท่ีเหมาะสม ใชการติดตามคา INR ควรอยูในระดับของโรคแตละคน จะตองมีการติดตามอยางตอเน่ือง

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ือใหผูปวย ไดรับยาตานการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน Warfarin อยางตอเน่ือง 2. ผูปวยไมเกิดภาวะแทรกซอนจากการใชยา

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. พัฒนาทีมดูแล มุงเนนการทํางานเปนทีม เพ่ือใหการดูแลผูปวยไดมาตรฐาน ปลอดภัย และไมเกิด

ภาวะแทรกซอน 2. พัฒนาระบบริการ มีการจัดบริการท่ีแผนกผูปวยนอกเพ่ิมคลินิกเปน 3 วันโดยมีการกําหนด

ข้ันตอนการรักษา การดูแล และการติดตามอยางเปนระบบ เนนความปลอดภัยของผูปวยเปนสําคัญ

3. พัฒนาระบบการจัดการดานขอมูลสารสนเทศ มีลงทะเบียน Warfarin รวมกับเครือขาย จ.นาน 4. พัฒนาระบบการติดตามดูแลตอเน่ืองท่ีบาน ทีมเย่ียมบาน เพ่ือติดตามดูแลตอเน่ืองท่ีบานในรายท่ี

มีปญหาซับซอน

4. ผลลัพธ (Performance) :

ขอมูล เปาหมาย ป60 ป61 1. INR In target รอยละ 50 51.76 48.32 2. Bleeding < รอยละ 5 5.60 2.12 3. INR < 1.5 <รอยละ 10 6.82 9.17

4. INR > 5 <รอยละ 10 2.82 2.15

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. พัฒนาระบบการคัดกรองผูปวยท่ีมีความเส่ียง การติดตามตอเน่ืองท่ีบานรวมกับทีม

และรพ.สต 2. จัดใหความรูรายกลุมแกผูปวยท่ีไดรับยาและญาติผูดูแล

Page 94: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

94

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการติดตามการรักษาผูปวยโรคเบาหวาน

ชื่อ นางสาวสุจินต ไชยปรุง หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : การบริหารจัดการโรคไมติดตอเร้ือรังเชนโรคเบาหวาน มีความจําเปนตองจัดบริการใหผูปวยมา

รับการรักษาจากแพทยอยางตอเน่ืองเพ่ือใหผูปวยไดรับการรักษาอยางตอเน่ือง ควบคุมโรคได ไมเกิดภาวะแทรกซอนท่ีปองกันได คลินิกโรคเบาหวานโรงพยาบาลทาวังผาใหบริการทุกวันพุธและศุกร พบวาผูปวยโรคเบาหวานไมมาตามนัดป 2560 อัตราการผิดนัดของผูปวยโรคเบาหวานท่ีคลินิกโรคเบาหวานรอยละ 11.84 ดังน้ีทีมผูใหบริการจึงใหความสําคัญของการติดตามใหผูปวยมารับบริการตามนัดและตอเน่ือง

2. เปาประสงค (Purpose) : ลดอัตราการผิดนัดผูปวยโรคเบาหวานท่ีคลินิกโรคเบาหวาน

3. กระบวนการพัฒนา (Process) :

1. ตรวจสอบขอมูลการขาดนัดของคนไขจากฐานขอมูลโปรแกรม.HosXP. ภายใน 7วัน 2. นําขอมูลผูปวยท่ีไมมาตามนัดเขาสูกระบวนการติดตามนัดดังน้ี

2.1 โทรติดตามในรายท่ีมีเบอรมือถือใวแลว (ภายในสัปดาห วันคลินิกถัดไป) 2.2 กรณีท่ีไมมีเบอรติดตอ ก็จะประสานไปท่ี รพสต.ใหออกติดตามท่ีบาน (ภายในสัปดาห) 2.3 ติดตามแลวยังไมมาก็จะสงจดหมายตามนัด (ไมเกิน2สัปดาห)

2.4 ยังไมมาตามนัด ทีมHHCรพ.ทาวังผาออกติดตาม และวางแผนการรักษาท่ีบานผูปวยพรอมครอบครัว

3. เสริมพลังสรางความตระหนักใหผูปวยทราบถึงขอดีของการเขารับบริการตามนัด 4. ประเมินสาเหตุการผิดนัของผูปวยและรวมหาแนวทางแกไข เชนผูปวยท่ีบานติดกันหรืออยู

ครอบครัวเดียวกันจะปรับนัดใหมาพรอมกันเพ่ือความสะดวก , ในรายท่ีมาลําบาก ลูกหลานท่ีดูแลพามาไมได จะประสานกับทางรพสต.ใหออกไปคุยกับทางญาติวาจะชวยกันแกปญหาชวยเหลือเปนรายกรณีไปเพ่ือใหผูปวยไดรับการรักษาอยางตอเน่ือง

4. ผลลัพธ (Performance) :

ป 2561 อัตราการผิดนัดผูปวยโรคเบาหวานท่ีคลินิกโรคเบาหวานโรงพยาบาลทาวังผา จังหวัดนาน มีแนวโนมลดลง เปนรอยละ 7.62

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) ขอมูลผูปวยโรคเบาหวานท่ีข้ึนทะเบียนรักษาท่ีโรงพยาบาลทาวังผา พบวาสวนมากเปน

ผูสูงอายุและมีแนวโนมเพ่ิมข้ึน ดังน้ี ป2560 -2561 มีผูสูงอายุ(อายุ60ปข้ึนไป) รอยละ 52.23 , 55.34 ตามลําดับ และพบวามีปญหาเร่ืองการเดินทางเขารับบริการตามนัด ดังน้ีเพ่ือใหการมาตามนัดดีข้ึนจึงควรพัฒนาระบบการใหบริการดังน้ี

1. จัดใหบริการคลินิกเบาหวานใหตรงกับพ้ืนท่ีผูมารับบริการนัดเปนหมูบาน/ตําบล 2. ประสานใหจนท.สาธารณสุข/หนวยบริการEMS.ออกไปรับคนไขท่ีผิดนัดจากสาเหตุคนไขติด

บานติดเตียงมารับบริการไมไดโดยใหญาติหรือลูกหลานท่ีดูแลเปนศูนยกลางการดูแลผูปวย

Page 95: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

95

Good Practice เรื่องเสริมสรางความม่ันใจในผูปกครองในการดูแลลูกขณะที่ปวย

เจาของผลงาน นางอัมพร สมศักดิ์ หนวยงาน ผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา ( Problem) ในชวงฤดูฝนพบวามีเด็กจํานวนมากปวยเปนโรคไขหวัด และปอดติดเช้ือ มีอัตราการนอนรักษา

ในตึกผูปวยในจํานวนเพ่ิมข้ึน บางรายไมจําเปนตองนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล เน่ืองจากเปนไขหวัด แตผูปกครองขาดความม่ันใจ ไมสามารถดูแลเด็กไดเองในขณะท่ีปวยไดเองท่ีบาน

2. เปาประสงค ( Purpose) - ผูปกครองม่ันใจในการดูแลเด็กไดเองท่ีบานในขณะท่ีปวย

- ผูปกครองมีความรูและสามารถใหการพยาบาลเบ้ืองตนในการดูแลเด็กท่ีปวยไดเองท่ีบาน

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - มีการใหความรูเก่ียวกับโรคหวัด ไขหวัด ปอดติดเช้ือ แกผูปกครองขณะท่ีพาเด็กมานอนรักษาตัวใน

โรงพยาบาล - สอนวิธี สาธิตการลดตัวลดไขท่ีถูกวิธีแกผูปกครองและลองใหปฏิบัติจริง - เม่ือเด็กมีไขใหไปอาบนํ้านาน 20 นาที เนนเช็ดตามซอกคอ รักแร ขอพับ หลังจากน้ันวัดไขซํ้าดูวา

ไดผลคือ ไขลดลง ซ่ึงเปนการสรางความม่ันใจใหผูปกครองวาเขาสามารถทําไดเองท่ีบาน - ใหทานยาลดไขรวมดวยขณะท่ีมีไข ทุก 4-6 ช่ัวโมง - ในรายท่ีเด็กทานยายากแนะนําใหผสมในนํ้าหวานได - ใหสังเกตอาการเด็กหาก หายใจเร็ว หอบ ซึม ไขสูง ใหรีบพามา ร.พ

4. ผลลัพธ (Performance) - ผูปกครองสามารถดูแลเด็กท่ีปวยดวยโรคไขหวัดไดเองท่ีบานโดยไมตองนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล - มีการ admit ผูปวยเด็กท่ีปวยดวยโรคไขหวัดนอยลง

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึน วางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) หาแนวทางรวมกับ คณะทํางาน ทีมสหสาขา ในการวางแผนพัฒนาตอไป จัดทําบอรด แผนพับเก่ียวกับโรคท่ีพบ

บอยในเด็กใหผูปกครองไดอาน จะไดนําไปใชในการดูแลเด็กท่ีปวยได

Page 96: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

96

Good Practice เรื่อง ความคุมคา คุมทุน ดานยาและเวชภัณฑมิใชยา

ชื่อเจาของผลงาน นายศรัญู ธนเรืองสุวรรณ หนวยงาน เภสัชกรรมชุมชน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

ในปจจุบันมีผูรับบริการเพ่ิมมากข้ึน ผูรับบริการสวนใหญรับการรักษาเก่ียวกับโรคไมติดตอ

เร้ือรัง ซ่ึงมีปริมาณการใชยามากและยาแตละตัวก็มีมูลคาสูง และทําการจัดซ้ือกับบริษัทเดิมเปนประจํา

ทําใหไมเกิดการแขงขันทางการตลาดของแตละบริษัท ทําใหคาใชจายดานยาและเวชภัณฑมิใชยา

เพ่ิมข้ึน และสงผลใหสถานการณดานการเงินของโรงพยาบาลอยูระดับ 7

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือลดคายาและเวชภัณฑมิใชยาของโรงพยาบาล

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

ใหผูแทนแตละบริษัทย่ืนเสนอราคาและคุณลักษณะเฉพาะของยาและเวชภัณฑมิใชยา และนํา

ขอมูลท่ีไดนํามาปรึกษากันในฝายเร่ืองการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยาท่ีมีราคาถูก คุณภาพดี และไม

กอใหเกิดความคลาดเคล่ือนทางยา ดาน LASA Drugs เพ่ือเปนมติในการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยา

มาใชในโรงพยาบาล

4. ผลลัพธ (Performance)

ในปงบประมาณ 2560 พบวามีการเปล่ียนบริษัทในการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยาเปน

จํานวนมาก เพราะกอนทําการจัดซ้ือไดเปรียบเทียบราคาของแตละบริษัท และยังคํานึงถึงคุณภาพของ

ยาและเวชภัณฑมิใชยาทุกคร้ังกอนการส่ังซ้ือและทําใหราคายาและเวชภัณฑมิใชยาลดลง

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness)

จัดทําบันทึกขอมูลดานราคายาและเวชภัณฑมิใชยาของแตละบริษัทท่ีย่ืนเสนอ เพ่ือใหสะดวก

และใชประกอบการตัดสินใจในการส่ังซ้ือและทําแผนการจัดซ้ือ

Page 97: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

97

Good Practice เรื่อง การพัฒนาการถายภาพรังสีดวยระบบPACS

เจาของผลงาน นาย พีรัชพล ใจพล หนวยงานรังวิทยา

1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

ในป พ.ศ. 2558 กลุมงานรังสีวิทยา โรงพยาบาลทาวังผาไดใชระบบ PACS แทนระบบใช

แผนฟลม เพ่ือเลิกใชฟลมและนํ้ายาลางฟลม ท่ีสงผลเสียตอส่ิงแวดลอมและสุขภาพผูใหบริการ ในชวง

ดําเนินการพบวา ยังไมมีแนวทางการดําเนินการท่ีชัดเจน สงผลใหจํานวนฟลมเสียถึงรอยละ2ท่ีตองฟลม

ซํ้าและสูญเสียคาใชจายเพ่ิมข้ึน นอกจากน้ีพบวาผูปฎิบัติ ไมเขใจแนวทางปฏิบัติ

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือพัฒนาการการถายแลสงภาพดวยระบบPACSและลดอัตราฟลมซํ้าใหเหลือรอยละ1.5

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

แบงการดําเนินการออกเปน 3 ระยะ. ระยะท่ี1 ระวิเคราะห โดยศึกษากระบวนการทํางานของ

ระบบPACS รายงานผลการศึกษากระบวนการทํางาน กําหนดบทบาทในการดําเนินการ ในการสราง

และสงภาพระบบPACS ระยะท่ี2 ระยะปฏิบัติการ ส่ือสารช้ีแจงแกผูเก่ียวของ จัดการต้ังระบบ PACS

นําระบบมาใชและแตงต้ังผูรับผิดชอบ ระยะท่ี 3 ศึกษาการใชระบบPACS ประเมินผลหลังดําเนินการ

ประเมินอัตราฟลมซํ้า ความพึงพอใจผูรับบริการ

4. ผลลัพธ (Performance)

อัตราฟลมลดลงจากรอยละ2เหลือรอยละ1.67 ความพึงพอใจอยูในระดับดี

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness)

ทําการแยกจํานวนฟลมเสียแตละชนิดแตละหมวดหมูของอวัยวะโดยเลือกท่ีมีความถ่ีสูงและหา

ปญหาท่ีแทจริง หาแนวทางการลดแตละชนิด สรางนวัตกรรมชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการลดท่ีทําให

เกิดสาเหตุฟลมซํ้า

Page 98: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

98

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการใชอุปกรณEMS

ชื่อเจาของผลงาน นางสาวพัฒนณิชา ปาละ หนวยงาน : อุบัติเหตุฉุกเฉิน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : จากปญหาท่ีพบอุปกรณEMS ไมเพียงพอตอการใชงาน เน่ืองจากมีการยืมจากหนวยงานอ่ืน การแลกเปล่ียนของหนวยFRในพ้ืนท่ี แลการนําไป Refer แลวไมไดอุปกรณคืนหรือไดคืนไมครบ ทําใหอุปกรณเกิดการสูญหาย และไมสามารถติดตามทวงคืนได ทําใหอุปกรณไมพรอมใชงาน/ ไมเพียงพอ และตองทําใหซ้ือใหมอยูเปนประจํา

2. เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือใหมีอุปกรณเพียงพอพรอมใช ไมเกิดการสูญหาย

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. จัดทําแบบฟอรมทะเบียนคุมการยืม อุปกรณ 2. มีการจดบันทึกอุปกรณ และตรวจรับ เม่ือมีการแลกเปล่ียน คืน อุปกรณ 3. ประสานกับรพ.นานกรณีอุปกรณท่ีนําไป Refer คางท่ีรพ.นาน และมีการติดตามทวงคืน 4. มีการตรวจเช็ค เตรียมความพรอม ติดตามอุปกรณ ทุกวัน

4. ผลลัพธ (Performance) : 1. อัตราการเกิด อุปกรณสูญหายลดนอยลง 2. อุปกรณพรอม และเพียงพอใช

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

Page 99: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

99

Good Practice เรื่อง การปรับเปลี่ยนเวลาขึ้นปฏิบัติงานของเจาหนาที่ที่รับผิดชอบการทําบัตรและ

ลงทะเบียนเขารับการรักษาพยาบาลที่แผนกผูปวยนอก ชื่อนางวราจิตร ทนะขวาง หนวยงาน : .งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : งานบริการทําบัตร ลงทะเบียนการเขารับบริการท่ีแผนกผูปวยใหบริการสําหรับผูปวยท่ีมารับบริการ

ท่ีแผนกผูปวยนอกทุกประเภท ผูปวยคลินิกพิเศษ ผูปวยท่ีมารับบริการท่ีหองอุบัติเหตุและฉุกเฉินทุกประเภทโดยเฉล่ียวันละ 300-400ราย และตามบริบทชองประชาชนอําเภอทาวังผาจะมารอคอยเขารับบริการต้ังแต 06.00น เปนตนไปทําใหผูมารับบริการรูสึกวาระยะเวลารอคอยนาน เปนผลทําใหไมพึงพอใจตอการเขารับบริการท่ีลาชา และในปจจุบัน พยาบาลคัดกรองไดปรับเวลาใหบริการคัดกรองผูปวยกอนพบแพทยโดยข้ึนปฏิบัติงานเวลา 07.00น. 1 คน และเวลา 07.30 น. 1 คน ซ่ึงทําใหไมมีบัตรของผูมารับบริการใหพยาบาลคัดกรองกอนพบแพทย

2. เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือใหผูรับบริการพึงพอใจตอการเขารับบริการท่ีแผนกผูปวยนอก

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. ประชุมเจาหนาท่ีงานผูปวยนอกท่ีรับผิดชอบการจัดทําบัตรและลงทะเบียนการเขารับบริการ เพ่ือช้ีแจงถึงเหตุผลของการเปล่ียนแปลง และหาแนวทางในการจัดตารางเจาหนาท่ีเพ่ือข้ึนปฏิบัติงาน 2. ปรับเวลาข้ึนปฏิบัติงานของจนท.ท่ีรับผิดชอบในการทําบัตรเพ่ือลงทะเบียนเขารับบริการท่ีแผนกผูปวยนอกจากเวลา 08.00น. เปน เวลา 07.30 น.

4. ผลลัพธ (Performance) : ผูปวยมีความพึงพอใจตอการเขารับบริการท่ีแผนกผูปวยนอกเพ่ิมข้ึน ไมพบขอรองเรียน

เก่ียวกับระยะเวลารอคอยนาน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) มีจํานวนผูปวยท่ีมารับบริการในภาคเชาจํานวนมาก เพ่ือลดระยะเวลารอคอยในภาคเชาใหลดลงและ

ผูรับบริการพึงพอใจจึงควรมีแนวทางดังน้ี 1. ประชาสัมพันธใหผูมารับบริการท่ัวไปมารับบริการในภาคบาย 2. การนัดผูปวยมารับบริการคร้ังตอไปหากไมไดงดนํ้างดอาหารมาเพ่ือตรวจทางหองปฏิบัติการ / ทํา

หัตถการท่ีตองใชเวลาในการทําหัตถการนัดหรือ แนะนํา ใหมารับบริการภาคบาย

Page 100: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

100

Good Practice เรื่อง การลงทะเบียนรับใบเสนอความตองการพัสดุ

เจาของผลงาน นางปณฑิตา พรมโกน หนวยงาน งานพัสดุ ฝายบริหารทั่วไป

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) โรงพยาบาลทาวังผา มีหนวยงานยอย 26 หนวยงาน ซ่ึงมีความตองการใชวัสดุภายในหนวยงานหลาย

รายการและเปนจํานวนมาก บางรายการมีใหเบิกจากคลังพัสดุ และมีบางรายการท่ีตองเขียนขออนุมัติซ้ือ ซอม จาง ซ่ึงทําใหใบเสนอความตองการพัสดุ ของแตละหนวยงานในโรงพยาบาลทาวังผาในแตละวันมีจํานวนมาก

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหเกิดความรวดเร็ว ไมเกิดความทํางานท่ีลาชา และเปนการควบคุมการใชวัสดุของแตละหนวยงาน

และเพ่ือไดขอมูลเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน

3. กระบวนการพัฒนา (Process) งานพัสดุไดแยกเอกสาร เปนสวนๆ และดูวารายการท่ีแตละหนวยงานไดเขียนขอซ้ือ ซอม จางมา มี

ความเรงดวนระดับไหน จึงไดจัดทําแฟมเอกสารเปน 3 แฟม แฟมรอดําเนินการ แฟมอยูระหวางดําเนินการ และดําเนินการเสร็จส้ินแลว เพ่ือสะดวกตอการคนหา และเปนขอมูลการซ้ือ ซอม จาง ของแตละหนวยงาน ภายในโรงพยาบาลทาวังผา

4. ผลลัพธ (Performance) เอกสารซ้ือ ซอม จาง เปนระเบียบเรียบรอย งายตอการคนหาเอกสาร การใหบริการของงานพัสดุ

รวดเร็ว ทันเวลา

5. ผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) ทําแฟมของหนวยงานยอย 26 หนวยงาน เพ่ือเก็บเอกสารใบเสนอความตองการ ซ้ือ ซอม จาง ของแต

ละหนวยงาน

Page 101: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

101

Good practice เรื่อง การลดการจัดยาผิดชนิดยา รูปแบบยาและความแรงของยา

ชื่อเจาของผลงงาน นางสาวสิรินยา สุริยา ฝายเภสัชกรรมชุมชน

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) ท่ีผานมาฝายเภสัชกรรมไดดําเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ เพ่ือลดความคาดเคล่ือนในการจัดยาแตก็ยัง

พบอุบัติการณอยู วิธีการแกไขปญหาบางอยางตองปรับปรุงเปล่ียนแปลงโดยเฉพาะเร่ืองยาคู LASA เพราะพบวาเม่ือเปล่ียนไปสักระยะหน่ึงเจาหนาท่ีจะคุนเคยจนขาดความระมัดระวังเชนเดิม

2. เปาประสงค (purpose) เพ่ือเพ่ือลดอุบัติการณความคลาดเคล่ือนในการจัดยาผิด

3.กระบวนการพัฒนา (process) ใหเจาหนาท่ีดูฉลากยาใหละเอียดโดยดูกอนจัดยาและหลังจัดยาควบคูกับใบส่ังยา จะใชปากกาไฮไลทไฮไลทขนาดมิลลิกรัมของยาท่ีมีการใชนอย จับแยกท่ีเก็บยาคู LASA ของแตละเดือนท่ีเกิดข้ึนทุกเดือน ใหหางจากกัน ระบุสีของเม็ดยาในยาท่ีมีหลายความแรงโดยจะระบุขางหลังช่ือยาบนฉลากยา

4.ผลลัพธ (performance) จากการลดอุบัติการณความคลาดเคล่ือนในการจัดยาผิดพบความคลาดเคล่ือนในการจัดยาผิดจํานวนในปงบประมาณ 2560 ลดลงท้ังน้ีความคลาดเคล่ือนในการจัดผิดจํานวนท่ีลดลงน้ีไดจากการตรวจสอบโดยจุดเช็คและจุดจาย เทาน้ัน ยังไมไดตรวจสอบความคลาดเคล่ือนในการจัดผิดจํานวนท่ีผูปวยไดรับยาไปแลว จึงควรมีการพัฒนาในสวนน้ีตอไป

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนการวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1.ทบทวนมาตรฐานการจัดยา และกระตุนใหเจาหนาท่ีปฏิบัติตามมาตรฐาน และขอตกลงท่ีทํารวมกัน 2.เซ็นช่ือผูจัดในใบส่ังยาทุกใบ 3.ลงบันทึกความเส่ียงดวยตัวเอง 4.มีการจดบันทึกการจัดยาผิดพรอมผูจัด สรุปรายงานการจัดยาผิดประจําเดือน

Page 102: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

102

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการคัดกรองเพื่อคนหาผูปวยโรควัณโรคปอด

ชื่อ นางวนัชญา คํารังสี หนวยงาน : งานผูปวยนอก คลินิกวัณโรค

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : วัณโรคเปนโรคท่ีปรากฏอาการชา ๆทําใหผูปวยสวนหน่ึงยังอยูในชุมชนและเขาสูระบบบริการ

สาธารณสุขลาชา หรือบางรายเขาไมถึงระบบบริการ หรือเขาสูระบบบริการแลวแตไดรับการวินิจฉัยลาชาทําใหผูปวยมีโอกาสแพรเช้ือวัณโรคไปสูผูอ่ืน สงผลตอการควบคุมวัณโรค จากรายงานอุบัติการณการเกิดโรควัณโรคมีการต้ังเปาหมายถึงการคนพบผูปวยโรควัณโรครายใหมไว 176 / แสนปชช. อําเภอทาวังผา ป 2561 ทําได 103.99/แสนปชก. ดังน้ันทีมดูแลจึงใหความสําคัญในการคัดกรองแบบมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยมุงเนน “คนใหพบ จบดวยหาย พัฒนาระบบและเครือขาย นโยบายมุงมั่น สรางสรรคนวัตกรรม”

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ิมการเขาถึงการคัดกรองวัณโรคในกลุมเส่ียงและประชาชนท่ัวไปในชุมชน 2. ลดอุบัติการณการเกิดโรควัณโรค

3. กระบวนการพัฒนา (Process) :

1. ประชุมทีมดูแลผูปวยโรควัณโรคเพ่ือช้ีแจง กลุมเปาหมาย กลุมเส่ียงท่ีตองคัดกรอง และกําหนดแผนการดําเนินงาน

2. กําหนดแนวทางการคัดกรองในแตละกลุมใหชัดเจน และผูรับผิดชอบหลักในการดําเนินงาน 3. พัฒนาศักยภาพของผูใหบริการสาธารณสุข ในการคัดกรองผูปวยท่ีมารับบริการเพ่ือการวินิจฉัย

วัณโรค 4. เนนการทํางานเชิงรุกโดย

4.1 ใหความรูแกประชาชนเรื่องวัณโรคเพ่ือใหรู เขาใจและตระหนักถึงอาการสงสัยวัณโรค เพ่ือใหเขาสูระบบบริการไดรวดเร็ว และสามารถแนะนําใหผูอ่ืนไปรับบริการตรวจวินิจฉัยท่ีสถานบริการสาธารณสุข 4.2 พัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข ใหมีความรู ความเขาใจจนสามารถคนหาผูมีอาการสงสัยวัณโรคเพ่ือเก็บเสมหะสงตรวจหรือแนะนํา/สงตอผูมีอาการสงสัยวัณโรคใหไปรับการตรวจวินิจฉัยท่ีโรงพยาบาลไดทันเวลา

4. ผลลัพธ (Performance) : 1. ผลการคัดกรองวัณโรคในประชาชนท่ัวไปและกลุมเส่ียงป 2561 รอยละ 85 (เปาหมาย

การคัดกรอง รอยละ 90) 2. อุบัติการณการเกิดโรควัณโรคของอําเภอทาวังผา จังหวัดนาน ป 2561 เทากับ 103.99

ราย/แสนประชากร(รายใหมป 2561 53 ราย ปชก.อ.ทาวังผา50,965 คน) (เปาหมาย อุบัติการณ 176 / แสนประชากร)

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. การวางแผนการดําเนินการคัดกรองแบบมีสวนรวม กับทีมดูแลผูปวยท่ัวไปและกลุมเส่ียงให

ตระหนักถึงการคัดกรองวัณโรค 2. พัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีในการคัดกรองโรควัณโรค 3. สรางความตระหนักในชุมชนในการคัดกรอง และการสงตอ โดยเฉพาะพ้ืนท่ีทีมีผูปวย

Page 103: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

103

Good Practice เรื่อง ปฏิทินยาวาฟารินหนวยงาน เภสัชกรรม ชื่อ นางสาววรรวิภา หลวงทะ หนวยงาน เภสัชกรรมชุมชน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) การจายยาใหกับผูปวยสูงอายุท่ีมีปญหาทางดานสายตา อานหนังสือไมออก ไมมีญาติคอยดูแล

มักประสบปญหาการรับประทานยาท่ีไมถูกตอง จําวิธีการรับประทานยาแบบเดิมทําใหรับประทานยาผิดเปนประจํา ทางฝายเภสัชกรรมจึงไดพัฒนารูปแบบปฏิทินยาวาฟารินใหกับผูปวยท่ีมีปญหาเหลาน้ี

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหผูปวยท่ีอานหนังสือไมออกผูปวยสูงอายุ รับประทานยาวาฟารินไดอยางถูกตอง

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

กิจกรรมพัฒนาท่ี 1 จัดทําสัญลักษณแบบงายส่ือสารดวยตาราง4ชองแทนม้ือเชา กลางวัน เย็น และสัญลักษณวงกลมแทนจํานวนยาท่ีรับประทานใหผูปวยท่ีอานหนังสือไมได

กิจกรรมพัฒนาท่ี2 จัดทําปฏิทินวาฟารินใหกับผูปวยท่ียังทานยาผิดไมมีญาติดูแล

กิจกรรมพัฒนาท่ี3 กรณีท่ีจัดยาแบบปฏิทินแลวแตผูปวยยังทานยาผิด ไดทําการพูดคุยกับญาติท่ีดูแลใหชวยจัดยาแบบ DOT ใหผูปวยทานในแตม้ือ

4. ผลลัพธ (Performance) พบวาผูปวยรับประทานยาตามปฎิทินไดถูกตองรอยละ 96.875และ ผูปวยท่ีมีญาติดูแล

สามารถทานยาไดอยางถูกตองและไมมียาเหลือ

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) คนหาผูปวยเฉพาะรายท่ีมีปญหาโดยใชเวลาในการพูดคุยเพ่ือคนหาปญหาท่ีแทจริงของผูปวย มี

การติดตามผลท่ีบาน เพ่ือใหผูปวยและญาติไดมีสวนรวมในการแกปญหารวมกันในเชิงลึก

Page 104: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

104

Good Practice เรื่อง การดูแลพัดลมและไสกรองแอรในตึกผูปวยใน

เจาของผลงาน นาง กาญจนา ไชยม่ิง ตําแหนง งานทําความสะอาดตึกผูปวยใน

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) : งานทําความสะอาดนับเปนหัวใจสําคัญ การจัดส่ิงแวดลอมเพ่ือการเยียวยาในโรงพยาบาล ปญหาท่ีพบ

ในตึกผูปวยใน จากการเดินสํารวจของคณะกรรมการ ENV พบวา พัดลมเพดานและผนังขาดการดูแลทําความสะอาด และไสกรองแอรขาดการดูแลรักษา ทําใหเปนแหลงเพาะเช้ือโรค ระบบ 5 ส.ไมผาน ทีมผูปฏิบัติงานจึงมีแนวคิดท่ีจะพัฒนางานน้ี

2.เปาประสงค(Purpose): เพ่ือสรางความพึงพอใจแกผูรับบริการ

3.กระบวนการพัฒนา(process) :

ทีมงานทําความสะอาดตึกผูปวยใน ไดวิเคราะหปญหาและหาแนวทางท่ีจะดําเนินการดังน้ี 1) จัดทําแผนปฏิบัติงานรายเดือนโดยระบุกิจกรรมท่ีจะปฏิบัติใหชัดเจน ตองมีกิจกรรมลางทําความ สะอาดไสกรองและพัดลมดวย เสนอแผนใหหัวหนางานรับทราบ 2) มีการติดตามผลการประเมินการปฏิบัติงานโดยหัวหนางาน 3) แกไขปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผูประเมิน

4.ผลลัพธ(Performance) :

พัดลมสะอาดแอรไดรับการบํารุงรักษา ผูรับบริการมีความพึงพอใจ

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness):

ปรับแผนการปฏิบัติงานและหาสาเหตุของปญหา ติดตามและทบทวนรวมดวยกับการสรางความรวมมือจากท้ังเจาหนาท่ีและผูมารับบริการใหชวยกันรักษาความสะอาด

Page 105: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

105

Good Practice เรื่อง การเช็คสิทธิการรักษาสําหรับผูมารับบริการงานแพทยแผนไทย

เจาของผลงาน นาย จรัญ หาญคํา ตําแหนง แพทยแผนไทยปฏิบัติการ

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) : จากการบันทึกอุบัติการณความเส่ียงพบปญหาการตรวจสอบสิทธ์ิผิดพลาดของหนวยบริการท่ีข้ึน

ทะเบียนบัตรผูรับบริการซ่ึงตองมีกระบวนการตรวจสอบสิทธ์ิเพ่ือรับบริการทุกคร้ังดวยการตรวจสอบแบบออนไลนในสปสช. แลวบันทึกสิทธ์ิการรักษาคร้ังน้ันในระบบพบมีการตรวจสอบสิทธ์ิผิดพลาดบอยมากท้ังการเรียกเก็บในสิทธ์ิท่ีไมควรเรียกเก็บ(ชาระเงินเอง)เส่ียงตอการถูกรองเรียนไมเรียกเก็บในกรณีท่ีควรเรียกเก็บสูญเสียรายไดท่ีพึงได

2.เปาประสงค(Purpose): ปองกันความเส่ียงขอรองเรียนดานสิทธ์ิลดขอผิดพลาดในการเรียกเก็บชดเชยคาบริการและลดการ

สูญเสียรายไดจากการเรียกเก็บท่ีพึงเรียกเก็บผูรับบริการไดรับประโยชนตามสิทธ์ิท่ีพึงไดรับ

3.กระบวนการพัฒนา(process):

ข้ึนทะเบียนนายทะเบียนใหผูท่ีเขาตรวจสอบสิทธ์ิในหนวยบริการเพ่ือขอUsername password และใชบัตรประชาชนเขาระบบตรวจสอบผานเคร่ือง smard card เพ่ือตรวจสอบสิทธ์ิผูรับบริการและตรวจสอบสิทธิการรักษาทุกคร้ังพรอมท้ังปร้ินสหลักฐานสิทธิการรักษาแนบหลังกระดาษใบส่ังยา

4.ผลลัพธ(Performance)

อุบัติการณความเส่ียงของการตรวจสอบสิทธิลดลง ไมเกิดการรองเรียนหรือการเรียกเก็บเงินยอนหลังจากผูปวย

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness):

ใหเจาหนาท่ีทุกทานในหนวยงานย่ืนขอรหัสการเขาถึงการตรวจสอบสิทธิการรักษาและจัดแนวทางในการลงทะเบียนและตรวจสอบสิทธิของผูรับบริการใหเขาใจมากข้ึน

Page 106: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

106

Good practiceเรื่องออกหนวยทันตกรรมฟนเทียมนอกสถานที่ใน รพ.สต.

ชื่อ นางสาวศศิวิมล คํายศ หนวยงาน ทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา(Problem): คนไขท่ีทําฟนเทียมสวนใหญเปนผูสูงอายุ ไมสะดวกในการเดินทางมารับการรักษาท่ีโรงพยาบาล

เน่ืองจากระยะทางจากบานมาโรงพยาบาลไกล ไมมีรถสวนตัวหรือรถโดยสาร คนไขอายุมากไมสามารถขับข่ีรถมาเอง หรือไมมีลูกหลาน ญาติมาสง

2.เปาประสงค(Purpose): เพ่ือการเขาถึงบริการอยางท่ัวถึง สามารถมารับการบริการไดสะดวกมากข้ึน มีฟนเทียมใชทดแทนซ่ีฟน

ท่ีสูญเสียไปเพ่ือใหคนไขมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน

3.กระบวนการพัฒนา(Process): ออกหนวยทําฟนเทียมใน รพ .สต.ใน รพ.สต.ท่ีรับผิดชอบ เดือนละ 1 คร้ัง

4.ผลลัพธ (Performance): คนไขสามารถมารับการบริการไดสะดวกมากข้ึนคนไขท่ีอยูในบริเวณใกลเคียง รพ สต สามารถเขาถึง

บริการไดมากข้ึน มักพบในกลุมผูสูงอายุท่ีอยูบานตามลําพัง ไมมีลูกหลานท่ีสามารถพาไปทําฟนท่ีโรงพยาบาลได การทําฟนเทียมมีข้ันการทําหลายข้ันตอนประมาณ 3-5 ครั้งสวนใหญหมอจะทําการนัดคนไขมารับบริการท่ีโรงพยาบาลสลับกับนัดไปทําท่ี รพ สต เพ่ือท่ีคนไขจะไดใสฟนปลอมไดเร็วข้ึน โดยใชเวลาประมาณ 1 ½-2 เดือน แตในกรณีคนไขท่ีไมมีลูกหลานหรือญาติพามาทําฟนท่ีโรงพยาบาลตองรอหมอไปท่ี รพ สต เดือนละครั้ง ทําใหกวาจะไดใสฟนเทียมลาชาไปมาก ตองรอไป 3-5 เดือนถึงจะไดใสฟนเทียม

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร(Preparedness): อาจจะเพ่ิมแผนการออกหนวยทําฟนเทียมเพ่ิมเปนเดือนละ 2 คร้ัง เพ่ือคนไขจะไดใสฟนเทียมไดเร็วข้ึน

Page 107: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

107

Good Practice เรื่อง กลองจัดระเบียบจากกลองเหลือใช

เจาของผลงาน น.ส.รัชริน สุทธหลวง หนวยงาน ทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) : เน่ืองจากวัสดุทางทันตกรรมมีหลายชนิดทําใหการจัดเก็บไมเปนหมวดหมู และกระจัดกระจายทําใหยาก

ตอการหยิบใชงานในเวลาเรงรีบประหยัดพ้ืนท่ีในการจัดเก็บ ขาพเจาจึงเล็งเห็นวากลองพลาสติกท่ีเหลือใช(กลองใสหัวกรอ)สามารถนํามาเจาะเปนกลองเพ่ือจัดเก็บ

วัสดุใหเปนหมวดหมูไดและเพ่ือประหยัดทรัพยากรไดอีกดวย

2. เปาประสงค Purpose) : เพ่ือนําวัสดุเหลือใชมาประดิษฐเปนกลองท่ีสามารถจัดเก็บวัสดุทันตกรรมใหเปนหมวดหมูและงายตอการใชงาน

3. กระบวนการพัฒนา(Performance) : 1. นํากลองพลาสติกท่ีเหลือใช(กลองใสหัวกรอ)มาออกแบบแลวเจาะรูตามรูปรางของวัสดุน้ัน 2. นําวัสดุมาจัดหมวดหมู เชนวัสดุอุดฟน วัสดุแยกเหงือก

4. ผลลัพธ(Performance) : 1.ประหยัดพ้ืนท่ีจัดเก็บและเปนระเบียบ

2. งายตอการหยิบใชงานในเวลาเรงรีบ 3. ประหยัดทรัพยากร

Page 108: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

108

Good practice เรื่องการตรวจสอบการขอมูลคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง

ประเภทผูปวยนอก ชื่อ นางบุศรา หงษดําเนิน หนวยงานกลุมงานประกันสุขภาพยุทธศาสตรและสารสนเทศทางการแพทย

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองดวยกลุมงานประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร และสารสนเทศทางการแพทย ไดพบปญหาท่ีเกิดจากการ

การบันทึกขอมูลคารักษาพยาบาลสิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง ประเภทผูปวยนอกท่ีผิดพลาดซ่ึงมีผลตอการจัดเก็บการจัดเก็บรายได ทางกลุมงานประกันสุขภาพ ยุทธศาสตร และสารสนเทศทางการแพทยจึงไดสะทอนขอมูลการลงขอมูลคารักษาพยาบาลท่ีผิดพลาด ใหกับหนวยงานแตละหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือหาแนวทางปรับปรุงแกไข เพ่ือพัฒนาระบบดังกลาว และผลลัทธหลังการสะทอนขอมูลดังกลาวพบวาปญหาดังกลาวลดลง 2.เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือพัฒนาคุณภาพการบันทึกการคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง ประเภทผูปวยนอกใหครบถวน ถูกตอง 3.กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1 ตรวจหาการบันทึกการคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง ประเภทผูปวยนอก 3.2 จัดทําแบบบันทึกการลงคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง ประเภทผูปวยนอก 3.3 ลงบันทึกการบันทึกขอมูลคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง ประเภทผูปวยนอก ท่ี

ผิดพลาด 3.4 รายงานผลการลงขอมูลคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง ประเภทผูปวยนอก ท่ีผิดพลาด

ใหกับหัวหนาหนวยงาน ทุก เๆชาวันจันทร (Morning Talk)

4.ผลลัพธ (Performance) ตารางการเก็บขอมูลการลงบันทึกคารักษาพยาบาลผิดพลาด ต้ังแตเดือน พ.ค. 2561- ก.ค. 2561

ลําดับ หนวยงาน พ.ค.61 มิ.ย.61 ก.ค.61

ครั้ง จํานวนเงิน ครั้ง จํานวนเงิน ครั้ง จํานวนเงิน 1 งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 21 1,892.00 14 1,600.00 22 875.00 2 งานผูปวยนอก 6 3,610.00 8 8,253.00 19 3,070.00 3 งานทันตกรรม 3 180.00 0 0.00 3 560.00 4 งานกายภาพบําบัด 0 0.00 0 0.00 0 0.00 5 งานแพทยแผนไทย 0 0.00 0 0.00 0 0.00 6 กลุมงานปฐมภมิู 0 0.00 1 644.00 6 120.00 7 งานชันสูตร 0 0.00 0 0.00 0 0.00 8 งานเภสัชกรรม 1 380.00 0 0.00 1 40.00 9 การเงิน 8 5,017.00 0 0.00 0 0.00 รวม 39 11,079.00 23 10,497.00 51 4,665.00

จากตารางการเก็บขอมูลคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง ประเภทผูปวยนอก จะเห็น

ไดวาคาของการบันทึกขอมูลผิดพลาดมีแนวโนมลดลง เน่ืองจากทุกหนวยงานมีความตระหนักในการบันทึกขอมูลการรักษาพยาบาลใหครบถวน ถูกตอง และผลจากการสะทอนขอมูลใหผูปฏิบัติ หนางานแตละจุดบริการ

Page 109: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

109

สามารถบันทึกคารักษาพยาบาลท่ีถูกตอง ครบถวน เกิดความผิดพลาดของการบันทึกขอมูลนอยลง ทําให รพ. ไดรับการจัดสรรเงินคารักษาพยาบาลไดตามท่ีควรจะไดรับ

5.ผลลัพธท่ียังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) แมการบันทึกคารักษาพยาบาล สิทธิ ขาราชการกรมบัญชีกลาง ประเภทผูปวยนอก จะลดลง ก็ยังมีการบันทึกขอมูลจํานวนหน่ึงท่ียังมีการบันทึกท่ีผิดพลาดอยู ซ่ึงจะเปนโอกาสพัฒนาการบันทึกคารักษาพยาบาลใหถูกตองตอไป เพ่ือการเบิกคารักษาพยาบาลใหมีความครบถวนถูกตอง โดยการติดตาม แจงผลใหกับหนวยงานทราบอยางสมํ่าเสมอ

Page 110: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

110

Good Practice เรื่องการบริบาลทางเภสัชกรรมในผูปวยท่ีไดรับยาวารฟารินของโรงพยาบาลทาวังผา

ชื่อ ภญ.ปยพร บุณยวัฒนหนวยงาน เภสัชกรรม 1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

ยาวารฟารินเปนยาตานการแข็งตัวของเลือดท่ีใชปองกันและรักษาการเกิดล่ิมเลือดอุดตัน ยาตัวน้ีมีดัชนีการรักษาท่ีแคบ ทําใหการปรับขนาดยาเพ่ือใหคา International Normalized Ratio (INR)อยูในเปาหมายทําไดยาก และอาจทําใหเกิดอาการไมพึงประสงคท่ีสําคัญคือ ภาวะเลือดออก ฝายเภสัชกรรมจึงไดรวมมือกับทีมสหสาขาวิชาชีพจัดต้ังระบบการติดตามดูแลผูปวยท่ีใชยาวารฟาริน

2. เปาประสงค (Purpose) - เพ่ือศึกษาผลท่ีไดจากการบริบาลทางเภสัชกรรมในผูปวยท่ีไดรับยาวารฟาริน เพ่ือนําผลไป

ปรับปรุงหรือพัฒนาตอไป - เพ่ือใหคา INR ของผูปวยอยูในชวงเปาหมายการรักษา - เพ่ือลดอุบัติการณการเกิดอาการไมพึงประสงคจากยาวารฟาริน

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - ใหการบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยท่ีไดรับยาวารฟาริน

4. ผลลัพธ (Performance) - คาเฉล่ียของรอยละของการมี INR อยูในชวงเปาหมายการรักษาในผูปวยแตละคนหลังใหการ

บริบาลทางเภสัชกรรมสูงกวากอนใหการบริบาลฯอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 - ปญหาจากการใชยาวารฟารินพบปญหาหลักคือ ความไมรวมมือในการใชยา รอยละ 42.20

พบอาการไมพึงประสงคจาการใชยารอยละ36.05 พบอันตรกิริยาระหวางยาวารฟารินกับยาอ่ืน อาหาร สมุนไพร รอยละ 10.62

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) - พัฒนาระบบการดูแลการใชยาวารฟารินของผูปวยโดยสรางนวัตกรรมท่ีชวยเพ่ิมความรวมมือ

ในการใชยา เชน จัดปฏิทินยาสําหรับผูปวยท่ีมีความสับสนในวิธีการใชยาหรืออานหนังสือไมออก

Page 111: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

111

Good Practice เรื่อง คุณภาพการจัดทําแผน จัดซื้อ-จัดจางวัสดุไฟฟาและวิทยุ (ตอเนื่อง)

เจาของผลงาน นางเพ็ญนภา คําอั้น หนวยงาน งานพัสดุ ฝายบริหารทั่วไป โรงพยาบาลทาวังผา

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากการจัดซ้ือวัสดุไฟฟาและวิทยุตามนโยบาย ลดโรครอน และลดคาใชจายในการลดพลังงานความ

รอน เพ่ือใหแผนมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับ สภาวะปจจุบันในการลดคาใชจายและเพ่ิมรายไดของหนวยงาน งานพัสดุจึงเห็นความสําคัญของการใชวัสดุไฟฟาและวิทยุของหนวยงาน จึงมีนโยบายเปล่ียนวัสดุไฟฟา เชนหลอดไฟฟาฟลูออเรนเซนต มาเปนหลอดไฟฟา LED ท่ีประหยัดไฟ ใชพลังงานตํ่าแตใหประสิทธิภาพการสองสวางท่ีสูงมาก ไมมีแสง UV ไมกระพริบขณะเปลงแสง การเปด-ปดหลอดไฟ LED สามารถเปด-ปดอยางรวดเร็ว โดยไมตองเสียเวลารอนานเปนหลอดไฟฟาท่ีประหยัดพลังงานและสามารถเปล่ียนตามระยะเวลาท่ีกําหนดได ทําใหลดคาใชจาย ไดตามแผนท่ีไดกําหนดไวในชวงระยะเวลาของปงบประมาณ คือต้ังแตวันท่ี 1 ตุลาคม ของปหน่ึง ถึงวันท่ี 30 กันยายน ของปถัดป

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหงานพัสดุ มีการจัดซ้ือ-จัดจางวัสดุไฟฟาและวิทยุ เปนไปตามแผนท่ีกําหนดไว อยางมีประสิทธิภาพ

และประสิทธิผล เพ่ือใหเกิดความคุมคาในการใชจายงบประมาณและไดพัสดุตามความตองการของผูใชและเปนไปตามแผนท่ีกําหนด และถูกระเบียบในการจัดซ้ือ-จัดจาง โดยเปดเผย โปรงใส และตรวจสอบได

3. กระบวนการพัฒนา (Process) วางแผนการจัดซ้ือ-จัดจาง โดยการเก็บขอมูล จากป กอนๆ นํามาวางแผน โดยทดลองเปล่ียนมาใชหลอด

ประหยัดไฟ ฟลูออเรนเซนต มาเปน หลอดไฟฟา LED ตามทางเดินทุกจุดภายในโรงพยาบาลทาวังผา โดยคํานึงถึงอายุการใชงานและราคาสินคาตามทองตลาด วามีแนวโนมเพ่ิมข้ึนหรือลดลง โดยสรุปแผนการจัดซ้ือ-จัดจาง เปนรายไตรมาส เสนอตอผูบริหารฯทราบ ตอไป

4. ผลลัพธ (Performance) คาใชจายในการจัดซ้ือวัสดุไฟฟา สูงกวาแผนท่ีกําหนดไว เน่ืองจากมีอาคารใหมเกิดข้ึน และมีการปรับเปล่ียน

จุดการใหบริการผูปวยแตละหนวยงาน หลายจุดเพ่ือใหมีประสิทธิภาพ และใหสอดคลองกับงานมาตรฐาน HA จึงทําใหมีการเบิกจายวัสดุไฟฟามากเกินกวาแผน 1. ขอมูลการวิเคราะหการดําเนินงานจัดซ้ือ วัสดุไฟฟาและวิทยุ ปงบประมาณ 2559-2561

แผนประมาณการจัดซ้ือจัดจาง(วัสดุไฟฟา) ลําดับ ปงบประมาณ 2559 ปงบประมาณ 2560 ปงบประมาณ 2561 ผลการดําเนินงาน เพ่ิม/ลด

ประมาณการ

จายจริง ประมาณการ

จายจริง ประมาณการ

จายจริง ผลตาง รอยละ

1 250000 175121.15 125,000 142,255.60 150,000 162,177 - 37,177 -29.74

129.74

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางไวทําอยางไร (Preparedness) 5.1 ควรจะมีการกําหนดจุดท่ีใหบริการผูปวยท่ีชัดเจน ทําใหเพ่ิมภาระงานในการร้ือถอนบอยๆทําใหเสีย

คาใชจายสูงในการซ้ือวัสดุไฟฟามาปรับปรุงใหม 5.2 ทําสรุปแผนรายไตรมาสใหผูมีอํานาจทราบ 5.3 ดูสินคาท่ีจัดซ้ือ-จัดจางอยูในระเบียบและคุมคากับงบประมาณหรือไม

Page 112: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

112

Good Practice เรื่อง การรักษาคุณภาพยา

ชื่อเจาของผลงาน นางจรีภรณ โพธิ์ศรีทอง หนวยงาน เภสัชกรรม

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) การเก็บรักษายาในหองยาใหอยูในสภาวะท่ีเหมาะสม จะชวยยืดอายุของยาและทําใหยามี

คุณภาพตามมาตรฐานตลอดอายุของยา ซ่ึงจะสงผลใหผูปวยไดรับยาท่ีมีประสิทธิภาพทางการรักษา การควบคุมการเก็บรักษายาจําเปนตองมีการบันทึกอุณหภูมิและความช้ืนในหองเก็บยาเปนประจําเพ่ือตรวจสอบใหอยูในสภาวะท่ีเหมาะสมอยูเสมอ

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือควบคุมการเก็บรักษายาใหอยูในสภาวะท่ีเหมาะสมอยูเสมอ โดย USP และ US FDA ได

จัด ICD guideline สําหรับยาท่ีไวตอความช้ืนและอุณหภูมิไวท่ี 60 % RH และ 25 องศาเซลเซียส หรือตํ่ากวาน้ี

3. กระบวนการพัฒนา (Process) กิจกรรมพัฒนาท่ี 1บันทึกอุณหภูมิและความช้ืนของหองเก็บยาและตูเย็นเก็บยาเปนประจําทุกวัน กิจกรรมพัฒนาท่ี 2หากอุณหภูมิหรือความช้ืนของหอง เกินกวาคาท่ีกําหนด จะแจงเภสัชกรเพ่ือ

ชวยกันหาสาเหตุและแนวทางแกไขตอไป

4. ผลลัพธ (Performance) – ความช้ืนของหองเก็บยา อยูภายใตสภาวะท่ีกําหนด 98% - อุณหภูมิของหองเก็บยาอยูภายใตสภาวะท่ีกําหนด 97% - อุณหภูมิของตูเย็นเก็บยา อยูภายใตสภาวะท่ีกําหนด 100%

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) คนหาสาเหตุ และหาแนวทางแกไขตอไป

Page 113: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

113

Good Practice เรื่อง การจัดการยาเหลือใชจากผูปวยโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลทาวังผา

ชื่อเจาของผลงาน นายปยะวัฒน รัตนพันธุ หนวยงาน เภสัชกรรม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) โรงพยาบาลทาวังผา มีคลินิกโรคไมติดตอเร้ือรัง (NCD) คือ ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน

โรคปอดอุดก้ันเร้ือรังและหอบหืด จํานวนมาก สวนใหญไดรับยาโรคเร้ือรังหลายชนิดและไดรับยาปริมาณมาก และมักมีปญหาในการใชยาทําใหมีโอกาสเกิดยาเหลือใชจํานวนมากดังน้ันควรมีการศึกษาถึงขนาดของปญหาและผลกระทบทางเศรษฐศาสตร เพ่ือเปนแนวทางในการจัดการปญหายาเหลือใชสงเสริมความรวมมือในการใชยา และเปนการแกปญหาการใชยาของผูปวยไดตรงประเด็น

2. เปาประสงค (Purpose) - เพ่ือศึกษาจํานวนและมูลคายาเหลือใชแตละชนิดจากผูปวยโรคเร้ือรัง โรงพยาบาลทาวังผา - เพ่ือหาแนวทางการสงเสริมความรวมมือในการรับประทานยาเพ่ือใหรับประทานยาใหถูกตอง

3. กระบวนการพัฒนา (Process) กิจกรรมพัฒนาท่ี 1ศึกษาถึงจํานวนและมูลคายาเหลือใชแตละชนิดจากผูปวยโรคเร้ือรัง เพ่ือใหทราบขนาดของปญหาและสรางความตระหนักของบุคลากรในการรวมมือการจัดการยาเหลือใช กิจกรรมพัฒนาท่ี 2 ศึกษาสาเหตุของยาเหลือใชและพฤติกรรมการใชยาของผูปวยในรายท่ีมียาเหลือใชในปริมาณมาก กิจกรรมพัฒนาท่ี 3 พัฒนาเคร่ืองมือ/นวัตกรรม/วิธีการเพ่ือชวยใหผูปวยรับประทานยาไดถูกตอง

4. ผลลัพธ (Performance) จากกิจกรรมพัฒนาท่ี 1 พบวามูลคายาเหลือใชเฉล่ียเดือนละ 76,997.43 บาท และ 923,969.16 บาทตอป ซ่ึงเปนมูลคาท่ีสูง การประมาณการผลกระทบของมูลคายาท่ีสามารถประหยัดไดจากการดําเนินกิจกรรมคิดเปนรอยละ 7.2 ของคาใชจายดานยา

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) - จากกิจกรรมพัฒนาท่ี 1 ยังพบวาผูปวยบางรายไมไดนํายาเหลือใชมาดวยและไมไดเก็บขอมูลยาเหลือใชจากผูปวยใน ทําใหมูลคายาเหลือใชนอยกวาท่ีควรจะเปนนอกจากน้ีควรมีการศึกษาถึงยาเหลือใชท่ีเปนยาเส่ือมสภาพเพ่ือประเมินความถูกตองวิธีการจัดเก็บยาในครัวเรือนของผูปวย

- ดําเนินการศึกษาในกิจกรรมพัฒนาท่ี 2 เพ่ือศึกษาสาเหตุของยาเหลือใชและพฤติกรรมการใชยาของผูปวยในรายท่ีมียาเหลือใชในปริมาณมากเพ่ือหาแนวทางการสงเสริมการใชยาของผูปวยใหถูกตอง โดยพัฒนาเคร่ืองมือ/นวัตกรรม/วิธีการ ท้ังน้ีเพ่ือลดยาเหลือใชของผูปวยใหเหลือนอยท่ีสุด

Page 114: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

114

Good Practice เรื่อง การจัดการขยะหนวยงาน

ชื่อเจาของผลงานนายพูนทรัพย ธิมา หนวยงาน เภสัชกรรม

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากฝายเภสัชกรรมมีปริมาณขยะมากโดยพบวาสวนใหญเปนขยะประเภท recycle ท่ี

สามารถนําไปขายตอได เชน กลองยา ,ขวดพลาสติก ,กระดาษ เปนตนแตปญหา คือ เจาหนาท่ีในฝายท้ิงขยะปะปนกัน ไมมีการแยกปะเภท ทําใหขยะบางช้ินถูกท้ิงรวมไปกับขยะท่ัวไป

2. เปาประสงค (Purpose) - เพ่ือเพ่ิมมูลคาขยะและหารายไดเขาฝายเภสัชกรรม

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - เตรียมถังขยะเพ่ือใชแยกประเภทขยะในฝาย - ประชุมฝายเพ่ือช้ีแจงปญหาและแนวทางการท้ิงขยะ,ประเภทขยะ - กําหนดวันท่ีจะนําขยะไปขาย (2 สัปดาห/คร้ัง ) - กําหนดผูรับผิดชอบนําขยะไปขาย

4. ผลลัพธ (Performance) 2559 2560

2561

จํานวนเงิน(บาท) 2,683 2,959 2563

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) ยังพบปญหาการจัดการ เชน ไมไดดึงพลาสติกฉลากออกจากขวดพลาสติก , หนวยงานอ่ืน ๆท่ีมารับ

บริการหรือมาใชบริการท้ิงขยะท่ีฝายเภสัชกรรม ไมทราบการดําเนินการของฝายเภสัชกรรม อาจจะตองแจงใหรับทราบท่ัวกัน

Page 115: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

115

Good practice เรื่อง การพัฒนาทําแทนวางปมลมทันตกรรม ในรพ.สต.บานดอนตัน

ชื่อ นางณีรนุช ประดิษฐ หนวยงาน กลุมงานทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา Problem เน่ืองจากพ้ืนท่ี รพ.สต.บานดอนตันเปนพ้ืนท่ีนํ้าทวมพอถึงหนาฝนก็ตองเตรียมขนของเพ่ือใหพนนํ้า

ทวมบวกกับเจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานทันตกรรมเปนสุภาพสตรีท้ังหมดและปมลมก็เปนอุปกรณสําคัญท่ีตองใชในงานทันตกรรมถาถูกนํ้าทวมก็ตองเสียหายใชการไมไดตองส้ินเปลืองงบประมาณในการซ้ือเคร่ืองใหมจากเดิมปมลมจะวางไวกับพ้ืนและมีร้ัวลอมไวเทาน้ันพอนํ้าข้ึนมามากก็ตองเรียกชางของทางรพ.ทาวังผาหรือเจาหนาท่ีท่ีไดรับการอบรมแลวมาแกะอุปกรณและชวยยกข้ึนมาช้ันบนของอาคารและตัวปมลมก็มีนํ้าหนักมากตองใชคนยกหลายคนดังน้ันทางงานทันตกรรมจึงออกแบบทําแทนวางปมลมใหสูงข้ึนจากพ้ืนเพ่ือปองกันนํ้าทวมปมลม

2.เปาประสงค Purpose

เพ่ือบํารุงรักษาครุภัณฑทางทันตกรรมใหใชงานไดยาวนานและประหยัดงบประมาณของโรงพยาบาล 3.กระบวนการพัฒนา Process 1.ประสานงานกับผอ.รพ.สต.บานดอนตันเพ่ือหาแนวทางการจัดทําแทนวางปมลมรวมถึงงบประมาณในการกอสราง 2.ออกแบบแทนวางปมลมแบบยกพ้ืนสูง 3.ติดตอชางเพ่ือทําการกอสรางแทนวางปมลมแบบยกพ้ืนสูง 4.ไดแทนวางปมลมแบบยกพ้ืนสูงท่ีแข็งแรงสามารถวางปมลมได

4.ผลลัพธ Performance ลดภาระเจาหนาท่ีท่ีตองมาแกะปมลมและไมตองมาขนยายปมลมและสามารถปองกันนํ้าทวมได

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมายวางแผนทําอยางไรน้ัน Preparedness ถาไมสามารถทําแทนวางปมลมแบบยกพ้ืนสูงไดก็ตองประสานของบประมาณจากองคการปกครองสวนทองถ่ินตอไป

Page 116: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

116

Good Practice เรื่อง Medication Reconcilliation ชื่อเจาของผลงานนางสุกัญญา นันทชัย หนวยงาน เภสัชกรรมชุมชน

1 ความสําคัญของปญหา(Problem) ผูปวยท่ีนอนในโรงพยาบาลทาวังผาและท่ีมีโรคเร้ือรัง เชน โรคความดัน เบาหวาน ไมไดรับยาเดิมตอเน่ือง

2 เปาประสงค (Purpose)

• เพ่ือใหผูปวยไดรับการรักษาดวยยาท่ีควรไดรับอยางถูกตองและตอเน่ือง • เพ่ือปองกันการไดรับยาซํ้าซอน • เพ่ือปองกันการเกิด drug interactionระหวางยา

3 กระบวนการพัฒนา (Process) • ปรับระบบการเก็บขอมูลความคลาดเคล่ือนจาก MRการจัดต้ังกลุมออนไลน ปรับแบบฟอรม admitเพ่ือ

เอ้ือตอระบบ MR • การเปรียบเทียบยา • การสงตอขอมูลรายการยา (Transmission) เม่ือrefer

4 ผลลัพธ (Performance)

3.5

1.8

3.2

1.21

2.42.1

1.8

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

พย59 ธค59 มค60 กพ60 มีค60 เมย60 พค60 มิย60

ร้อยละของรายการยาที�เกดิ

ความคลาดเคลื�อน

Page 117: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

117

5 ถาผลลัพธยังไปถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness)

พบความไมครอบคลุมในการทํา MR นอกเวลาทําการของหองยา วางแผนโดยสะทอนขอมูลใหกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ และกระตุนการทําMedication reconciliationใหกับองคกรแพทย และ พยาบาล แตไดรับความรวมมือจากพยาบาลสําหรับเวรบายดึกยังมีนอย จึงเห็นควรมีการเก็บขอมูลความรวมมือของ สหสาขาวิชาชีพ และประเมินความรวมมืออีกคร้ัง

0

50

100

พ.ย.

-59

ธ.ค.

-59

ม.ค.

-60

ก.พ.

-60

มี.ค.

-60

เม.ย

.-60

พ.ค.

-60

ม.ิย.

-60

ชื�อแกน

แยกตามความรุนแรง

A-B

C-D

E-I

68

86 8896 94 100

92 93

0

20

40

60

80

100

120

พย59 ธค59 มค60 กพ60 มีค60 เมย60 พค60 มิย60

ร้อยละของความครอบคลุมในการทาํ MR

Page 118: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

118

Good Practice เรื่อง ยาพนถูกชนิด ถูกวิธีใช

ชื่อภญ.วาสนา วันควร หนวยงาน เภสัชกรรมชุมชน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) จากเดิมฝายเภสัชกรรมมีการคัดลอกคําส่ังการใชยาพนสูดของแพทย และจายยาแกตึกผูปวยใน ซ่ึง

พยาบาลตึกผูปวยในเปนผูดําเนินการสงมอบยาแกผูปวยตอไป โดยเภสัชกรจะเขาไปสอนการใชยาพนสูดแกผูปวยเฉพาะรายท่ีแพทยส่ังใชยาใหมหรือในรายท่ีแพทยใหประเมินการใชยาพนสูดซํ้ากระบวนการทํางานดังกลาวพบวามีอุบัติการณผูปวยในไดรับยาพนสูดผิดชนิด ผิดรูปแบบ ไดรับยาพนสูดซํ้าซอน และขนาดยาไมถูกตองตามคําส่ังแพทย

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหผูปวยในไดรับยาพนสูดถูกชนิด ถูกรูปแบบ และถูกขนาดตามคําส่ังแพทย

3. กระบวนการพัฒนา (Process) กําหนดใหเภสัชกรผูรับผิดชอบจายยาผูปวยในประจําวัน มีหนาท่ีติดตามการใชยาของผูปวยทุกรายท่ีมี

การส่ังใชยาพนสูดทุกชนิด ดังน้ี

เก็บยาพนสูดคืนหากผูปวยนํามาจากบานแตแพทยมีคําส่ังหยุดยาแลวหรือมีคําส่ังเปล่ียนรูปแบบยา

ประเมินยาพนสูดท่ีผูปวยนํามาจากบานหากมีเหลือใหใชยาเดิมกอน

ประเมินการใชยาพนสูด เร่ือง ขนาดและเทคนิคการใชยาพนสูด

4. ผลลัพธ (Performance) หลังการดําเนินการไมพบอุบัติการณผูปวยในไดรับยาพนสูดผิดชนิด ผิดรูปแบบ ไดรับยาพนสูดซํ้าซอน

หรือผิดขนาด

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร(Preparedness) ผูปวยบางสวนมีปญหาดานเทคนิคการใชยาพนสูดไมถูกตอง เชน ผูปวยสูงอายุท่ีไมมีแรงกดยา หรือ

หลงลืม เปนตน มีแผนท่ีจะประเมินการใชยารวมกับญาติหรือผูดูแลโดยทีมเย่ียมบาน(ซ่ึงมีเภสัชกรรวมดวย)

หรือสงตอขอมูลแกงานบริการเภสัชกรรมผูปวยนอก(คลินิกโรคหอบหืดและโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง)ตอไป

Page 119: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

119

Good Practice เรื่องการตรวจสอบชดเชยคาปฏิบัติการEMSกับระบบสารสนเทศโปรแกรม ITEMS

ชื่อ นางสาว พัชราพร สุปนะ หนวยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจาก Case EMS ในแตละเดือนมีจํานวนมาก และมักจะพบปญหาอยูเสมอวา Case EMS ท่ีออก

ปฏิบัติการมีใบชุดปฏิบัติการแตไมมีในระบบITEMS ทําใหไดรับเงินคาตอบแทนไมตรงตามชุดปฏิบัติการบาง สงผลกระทบตอการเบิกจายเงินคาตอบแทนในแตละเดือนสงผลใหคาตอบแทนลดลง

2.เปาประสงค(Purpose) 2.1 เพ่ือให Case EMS ท่ีออกปฏิบัติการมีใบชุดปฏิบัติการตรงตามในระบบITEMS

2.2 เพ่ือให Case EMS ไดรับเงินคาตอบแทนเหมาะสมตรงตามชุดปฏิบัติการ 2.3 เพ่ือใหการเบิกจายเงินคาตอบแทนในแตละเดือนเปนไปดวยความรวดเร็ว

3.กระบวนการพัฒนา(Process) 3.1 ใหเจาหนาท่ี EMT-I รับผิดชอบ ตรวจสอบประเมินความเรียบรอยของแบบฟอรมใหถูกตอง

ครบถวนตรงตามชุดท่ีออกปฏิบัติการ 3.2 ใหเจาหนาท่ี EMT-I รับผิดชอบตรวจสอบประเมินความเรียบรอยของแบบฟอรมท่ีมีการออกเหตุวา

เขียนถูกตอง ครบถวนทุกชองขอมูล กอนทําการต้ังเบิกคาตอบแทนในระบบ ITEMS 3.3 ใหเจาหนาท่ี EMT-I รับผิดชอบในการลงขอมูลในระบบ ITEMS ใหแลวเสร็จในแตละเดือน 3.4 ใหเจาหนาท่ี EMT-I รับผิดชอบจัดเตรียมเอกสารและเขารวมประชุม Audit Case EMS ในแตละ

เดือน เพ่ือตรวจสอบชดเชยคาปฏิบัติการEMSกับระบบสารสนเทศโปรแกรม ITEMS

4.ผลลัพธ(Performance) 4.1 Case EMS ท่ีออกปฏิบัติการมีขอมูลท่ีครบถวนสมบูรณ มีใบชุดปฏิบัติการตรงตามในระบบITEMS 4.2 Case EMS ไดรับเงินคาตอบแทนเหมาะสมตรงตามชุดปฏิบัติการ

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness)

5.1 ใหเจาหนาท่ี EMT-I ทําการตรวจสอบประเมินความเรียบรอยของแบบฟอรมอีกคร้ังกอนทําการขอ

เลขปฏิบัติการกับศูนยนเรนทรนาน หากพบขอผิดพลาดใหทําการแกไขทันทีและทําใหแลวเสร็จภายในเวรของ

ตนเอง

Page 120: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

120

Good Practice เรื่อง แนวการดูแลผูปวยที่มีภาวะ Alcohol withdrawal syndrome

(ภาวะถอนพิษสุรา) โดยใช แบบประเมิน AWS เจาของผลงาน นางเจนจิรา โนศรี หนวยงาน ตึกผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) :

ภาวะถอนพิษสุราจัดเปนปญหาสําคัญทางการแพทยของประเทศ เน่ืองจากผูด่ืมสุราเรื้อรัง ใน

ประเทศไทยมีจํานวนคอนขางสูงตราบจนปจจุบันจากสถิติผูท่ีมารับบริการในตึกผูปวยนอกและตึกผูปวย

ในของโรงพยาบาลทาวังผาดวยโรคพิษสุราและมีอาการขาดสุรา หรือมีอาการหลังจากพักรักษาใน

โรงพยาบาลได 2-3วันดวยความเจ็บปวยอ่ืนต้ังแตป2557-2559 มี 48 ราย, 24ราย และ 44 ราย

ตามลําดับ เกิดภาวะแทรกซอนจากภาวะถอนพิษสุรา 10ราย, 12 ราย , 9 ราย ตามลําดับ (สถิติ

ผูรับบริการโรงพยาบาลทาวังผา ป 2557-2559 ) ภาวะถอนพิษสุราเปนภาวะท่ีสามารถพบไดใน

โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลท่ัวไป เพราะบางคร้ังผูท่ีมารักษาในแผนกผูปวยในอาจมาดวย

อาการเจ็บปวยอยางอ่ืนซ่ึงไมไดมาบําบัดรักษาท่ีเก่ียวกับสุราแตเม่ือมารับการรักษาในโรงพยาบาลจึงทํา

ใหเกิดโอกาสเกิดภาวะถอนพิษสุราโดยไมไดต้ังใจดังน้ัน หากไมมีแนวทางการคัดกรองและดูแลผูปวย

เหลาน้ีอาจสงผลใหผูปวยเกิดภาวะถอนพิษสุราท่ีรุนแรง จนถึงเสียชีวิตได

2. เปาประสงค ( Purpose ) :

เพ่ือดูแลผูปวยติดสุราเร้ือรังมีภาวะถอนพิษสุรา ดวยวิธีการใชแบบประเมิน AWS ในแผนก

ผูปวยในของโรงพยาบาลทาวังผา

3. กระบวนการพัฒนา (Process ):

1.ประเมินปญหาการด่ืมสุรา (Audit )

2.พัฒนาแบบประเมินภาวะถอนพิษสุรา AWS

3.ใหการรักษาตามระดับการประเมิน AWS

4. ผลลัพธ ( Performance ) :

ผูปวยทุกรายท่ีปวยดวยโรคพิษสุราและผูท่ีเขารับการรักษาดวยโรคอ่ืนแตมีอาการถอนพิษสุราท่ี

เขารับการรักษาในตึกผูปวยใน ไดรับการดูแลรักษาภาวะถอนพิษสุราอยางถูกตอง รวดเร็ว รวมถึงการ

เฝาระวังการเกิดภาวะแทรกซอน จนไมพบอุบัติการณการหรือเกิดภาวะแทรกซอนลดลงโดยทีมสห

วิชาชีพ ผูปวยและญาติมีความรูเร่ืองผลกระทบจากการด่ืมสุรา empowerment ใหผูปวยและ

ครอบครัวมีพลังในการลด ละ เลิกด่ืมสุรา

5. ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

พัฒนาทักษะบุคลากรในการประเมินผูปวยต้ังแตแรกรับเนนการซักประวัติเพ่ือใหไดขอมูลท่ี

แทจริง เพ่ือการรักษาท่ีถูกตอง รวดเร็ว

Page 121: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

121

Good Practice เรื่อง การทําสัญลักษณบนขวดตวงปสสาวะ เพื่อความถูกตองและงายตอการ

Reccord I/O เจาของงาน นางเพ็ญศรี จันทรสุข หนวยงาน ตึกผูปวยใน โรงพยาบาลทาวังผา จังหวัดนาน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) :

เน่ืองจากปจจุบันเราใชขวด NSS ในการตวงปสสาวะเพ่ือ Reccord I/O แตขวดท่ีเราใชเปน

ขวดใสทําใหยากตอการมองเห็นตัวเลขขางขวดท่ีชัดเจนทําใหเกิดความลาชาในการทํา I/O จึงไดคิดวิธีท่ี

ทําใหมองเห็นปริมาตรชัดเจน รวดเร็วมากข้ึนโดยกอนท่ีจะนําขวด NSS ไปใหผูปวยท่ีตอง Rccord I/O

ทุกราย ตองเขียนตัวเลขดวยปากกาเคมี ขางขวด เร่ิมตนท่ี 100 – 1000 CC

2. เปาประสงค ( Purpose ) :

เพ่ือใหงายตอการมองเห็นปริมาตรท่ีชัดเจน และสะดวกรวดเร็วลดระยะเวลาในการ Reccord

I/O , มีความถูกตองแมนยําของการตวงปริมาตร I/O

3. กระบวนการพัฒนา (Process ):

1.เขียนตัวเลขขางขวด NSS ท่ีจะนําไป Reccord I/O เร่ิมตนต้ังแต 100-1000 CC

4. ผลลัพธ ( Performance ) :

งายตอการดูปริมาตรในขวด I/O , มีความถูกตองแมนยําของปริมาตรปสสาวะ

5. ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

ตองประชุมช้ีแจงในกลุมผูชวยเหลือคนไข กอนท่ีจะนําขวด NSS ไปตวงปสสาวะผูปวย ท่ี

Reccord I/O ทุกรายตองเขียนตัวเลขขางขวดดวยปากกาเคมี เร่ิมต้ังแต 100- 1000 CC

Page 122: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

122

Good Practice เร่ือง เช็ดตัวลดไข

เจาของผลงาน นางสิริลักษณ ตะวิชัย หนวยงาน ตึกผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) :

เน่ืองจากตึกผูปวยใน โรงพยาบาลทาวังผา สวนใหญมักมีเด็กท่ีเขารับการรักษาดวยอาการไข

จํานวนมากซ่ึงพบวาอาการไขมีสาเหตุตาง เชน โรคติดเช้ือ ไขหวัด ปอดอักเสบ ไขออกผ่ืน ไขเลือดออก

การขาดนํ้าเน่ืองจากอุจจาระรวง ความพิการทางสมอง การแพยา หรือพิษจากสารเคมี และญาติไมรู

วิธีการเช็ดตัวลดไขใหกับเด็กอยางถูกวิธี จะเห็นไดวาสาเหตุของการเกิดไขน้ันไดมาจากหลายสาเหตุ

และสาเหตุเหลาน้ีจะนําไปสูการเกิดภาวะแทรกซอน เชน อาการชักจากไขสูง

2. เปาประสงค ( Purpose ) :

1. เพ่ือใหญาติสามารถเช็ดตัวลดไขใหกับเด็กไดอยางถูกวิธี

2. เพ่ือใหอุณหภูมิรางกายของผูปวยเด็กลดลง

3. เพ่ือใหญาติมีความตระหนักถึงความสําคัญของการเช็ดตัวลดไข

4. เพ่ือลดภาวะแทรกซอนตาง ไๆด

3. กระบวนการพัฒนา (Process ):

1. จัดเตรียมอุปกรณสําหรับเช็ดตัว ไดแก ผาขนหนู 2 ผืน กะละมังสําหรับใสนํ้าอุน ไมควร

ใชนํ้าเย็น เพราะอาจทําใหเกิดการหนาวส่ัน

2. นําผาขนหนูมาชุบนํ้าบิดพอหมาดลูบท่ีใบหนา ซอกคอ แขนโดยลูบจากปลายแขน ใตรักแร ขอ

พับแขน ขอพับเขา ซอกขาหนีบ ใหท่ัว พรอมท้ังแนะนําญาติเช็ดตัวลดไขอยางถูกวิธี

3. เช็ดตัวใหแหง และสวมเส้ือผาท่ีใสสบาย ไมหนาจนเกินไป

4. ผลลัพธ ( Performance ) :

1. ญาติสามารถเช็ดตัวลดไขเด็กไดอยางถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ

2. อุณหภูมิรางกายของผูปวยเด็กสามารถลดลง

3. สามารถลดภาวะแทรกซอนตาง ไๆด เชน อาการชักจากไขสูง

4. ญาติมีความตระหนักถึงผลกระทบของไขสูงมากข้ึน

5. ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

จัดทําแผนพับใหความรูเก่ียวกับการเช็ดตัวลดไข ควบคูกับการแนะนําญาติผูปวยเด็กท่ีเขามา

รักษาทุกราย

Page 123: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

123

Good practice เรื่อง ปลูกถายฟนใหตนเอง(auto tooth transplant)

ชื่อเจาของผลงาน ทพ.ทัศไนย วงศปนตา หนวยงาน ทันตกรรม

1. ความสําคัญของปญหา Problems ผูปวยในวัยหนุมสาวมักพบการสุญเสียฟนแทกอนวัยอันควรจากปญหาฟนผุหรือปริทันตอักเสบ แตในวัย

น้ีมักพบวายังมีฟนท่ีเจริญเติบโตไดไมสมบูรณ(ปลายรากไมปด)โดยเฉพาะอยางย่ิงฟนกรามคุด การปลูกถายฟนใหตนเอง(auto tooth transplant)จึงเปนวิธีการรักษาอันดับตนๆในการทดแทนฟนท่ีสุญเสียไปในกลุมวัยน้ี จากการศึกษาการปลูกถายฟนมีมาหลายรอยป มีรายงานและวิจัยมากมาย หลังป ค.ศ.1950 เปนตนมา มีงานวิจัยเก่ียวกับความสําเร็จ ความลมเหลว และปจจัยตางๆท่ีมีผลตอความสําเร็จของ ชวงเวลาท่ีเหมาะสมสําหรับปลูกถายฟนกรามคุดหรือฟนซ่ีอ่ืนท่ีปลายรากฟนไมปดไดคือชวงอายุ 15-20ปดังน้ันการปลูกถายฟนใหตนเองสามารถนํามาใชไดจริงเพ่ือทดแทนการสุญเสียฟนในคนอายุนอย ท่ีสามารถคาดหวังผลสําเร็จไดสูง และ คุมคา 2. เปาประสงค Purpose

รายงานผูปวย1 ราย :ความสําเร็จการปลูกถายฟนใหตนเองซ่ีฟนกราม 3. กระบวนการพัฒนาProcess เกณฑในการคัดเลือกผูปวย

1.ผูปวยอายุ 15-20 ป สุขภาพดีและแข็งแรง(ASA I) หรือ เปนโรคทางรางกายเล็กนอย ไมรุนแรง ควบคุมไดหรือ รางกายแข็งแรงแตมีปญหาวิตกกังวลหรือกลัวการผาตัด(ASA II)

2.ไมเปนโรคท่ีเปนขอหามในการปลูกถายฟนใหตนเองดังน้ี Hemopphilia,ผูปวยฉายรังสีรักษาบริเวณขากรรไกรและใบหนา,rheumatic fever,diabetes mellitus,โรคตับ,ผูปวยท่ีกําลังไดรับantiprothombin,ผูปวยท่ีมีความผิดปกติของระบบภูมิคุมกัน,มีปญหาในการสรางเม็ดเลือดขาว,ผูปวยท่ีไดรับยาสเตอรอยดเปนเวลานาน,ผูปวยไดรับเคมีบําบัด

3.มีสุขภาพชองปากท่ีดี มีความสามารถดูแลสุขภาพชองปากไดดี เกณฑพิจารณาตําแหนงในการทําการปลูกถายฟนใหตนเองมีดังน้ี

1. Recipient side มีเกณฑพิจารณาดังน้ี 1.1 ความกวางสันเหงือกในแนวแกม-ล้ินประมาณ 14 มม. 1.2 ความกวางสันเหงือกในแนวใกลกลาง-ไกลกลางตองใกลเคียงกับซ่ีdonor จากขนาดในภาพรังสีท่ี

ถายไดขนาน 1.3 ความลึกของหลุมเบาฟน ตองไมทําลายอวัยวะขางเคียงเชน maxillary sinus, mental nerve

หรือ inferior alveolar nerve,รากฟนซ่ีขางเคียง 1.4 ไมมีภาวการณติดเช้ือ(infection)

2. Donor side มีเกณฑพิจารณาดังน้ี 2.1 จากภาพรังสีปลายรากไมปด (ท่ีเหมาะสมคือ ยาว1/2-3/4 ของความยาวราก) 2.2 ขนาดฟนใกลเคียงกับขนาดเบาฟนของ recipient side 2.3 ฟนท่ีนํามาปลูกคอนขางข้ึนตรง ไมควรเปนฟนท่ีลักษณะนอน สามารถนํามาปลูกไดโดยไมบอบซํ้า 2.4 ไมมีภาวะติดเช้ือท่ีตัวฟน

ข้ันตอนการผาตัด 1. เปดmucoperiosteal flap ซ่ี donor side 18 เตรียมซ่ีฟนใหพรอมกอนสําหรับการยาย 2. ถอนฟนซ่ี 46 ระมัดระวังไมใหเบาฟนซอกซํ้าเตรียมเบาฟน recipient side ใหพรอม

Page 124: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

124

3. ขนยาย ซ่ี 18 มาใสในเบาฟนซ่ี 46 โดยมีชองรอบผิวรากฟนใหฟนขยับไดเล็กนอย 4. ใหระนาบสบฟนซ่ี18ท่ีปลูกถาย ตํ่ากวาฟนขางเคียงประมาณ 2 มมเพ่ือไมใหแรงลงบริเวณฟนท่ีปลูก

ถาย 5. เย็บแผลใหม่ันคงและสอนการดูแลชองปาก 6. ตัดไหมท่ี 2สัปดาห และ follow up 1 เดือน, 3 เดือน ,6เดือน และ 1 ปคามลําดับ

4. ผลลัพธ Performance

หลังการผาตัด วันท่ีตัดไหมแผลปกติดีไมมีการติดเช้ือ จากน้ันนัดติดตาม 1เดือน ผูปวยไมมีอาการใดฟนท่ีปลูกถายไมมีภาวะอักเสบใด ๆภาพรังสีไมพบการละลายของรากฟน ติดตาม 3เดือนพบวา ฟนดังกลาวแนนมากข้ึน ไมมีภาวะอักเสบใด ๆภาพรังสีพบมีการสรางกระดูกลอมรอบรากฟน และติดตามท่ี 6เดือน พบวาฟนแนนมากข้ึน ไมมีภาวะอักเสบ ไมพบรองลึกปริทันต จากภาพรังสีพบวา มีการสรางกระดูกลอมรอบรากฟนมากข้ึน รากฟนมีการสรางรากฟนใหยาวมากข้ึน ไมพบการละลายของรากฟน และผูปวยเร่ิมใชเค้ียวอาหารออน ไๆด แตระนาบสบฟนยังไมไดข้ึนมาเทาระดับซ่ีฟนขางเคียง

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร Preparedness หากพบวาฟนตายหลังการรักษา หรือ รากฟนปดไมสมบูรณ ฟนไมโยก แผนการรักษาท่ีเตรียมไวคือ รักษารากฟน และ/หรือ ปดปลายรากฟน รวมกับทําครอบฟน

รูปท่ี 1 หลังผาตัดเสรจ็ รูปท่ี 2ติดตามการรักษาเดือนท่ี 6

รูปท่ี 4ติดตามการรักษาเดือนท่ี 6 รูปท่ี 3ติดตามการรักษา 1 เดือน

Page 125: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

125

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบสื่อสารเกี่ยวกับการรับเอกสาร พ.ร.บ

เจาของผลงาน นางสาวชลนันท ลัญฉกร หนวยงาน กลุมงานประกันสุขภาพยุทธศาตรและสารสนเทศฯลฯ

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) พบอุบัติการณการเรียกเก็บเงินซํ้าซอน ในผูปวยประสบภัยจากรถท่ีสงเอกสาร พ.ร.บ.ใหทาง

โรงพยาบาลเบิกคารักษาพยาบาลแทน และพบปญหาการทวงหน้ีซํ้าในผูปวยท่ีชําระเงินคารักษา นอกจากน้ียังพบปญหาการสะทอนปญหาจากผูปฏิบัติงานท่ีเก่ียวของ ไดแกงานการเงิน จุดบริการ ท่ีไมทราบวาผูปวยประสบภัยจากรถท่ีเขามารับการรักษาในคร้ังตอไป สงเอกสาร พ.ร.บ.ใหกับทางโรงพยาบาลแลวหรือไม เกิดความไมพึงพอใจในระบบการส่ือสาร

2. เปาประสงค(Purpose) 1.เพ่ือลดอุบัติการณการเรียกเก็บเงินจากผูปวยซํ้าซอน 2. เพ่ือสรางระบบการส่ือสารระหวางผูปฏิบัติงานเพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการใหบริการ และมีความ

ชัดเจน

3. กระบวนการพัฒนา(Process) 1.กําหนดใหมีการแจงเตือนในระบบ HOSxP โดยสรางโน็ตในHOSxPทุกคร้ัง กรณีไดรับเอกสาร พ.ร.บ.

จากผูปวยประสบภัยจากรถแลว ขอความระบุวา “คนไข พ.ร.บ สงเอกสารครบแลวไมตองชําระเงิน” 2.จัดทําใบรับรองใหกับผูปวยท่ีสงเอกสารหลักฐานครบแลวเพ่ือใหผูปวยท่ีจะทําการรักษาตอเน่ืองนํามา

ย่ืนทุกคร้ังท่ีมารับบริการท่ีโรงพยาบาล ดังรูปแบบตอไปน้ี

4. ผลลัพธ(Performance) หลังจากทําระบบแลวเปนเวลา 4 เดือนท่ีผานมาไมพบอุบัติการณการเรียกเก็บเงินซํ้าซอนในผูปวยท่ี

สงเอกสารหลักฐานแลว ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness)

พัฒนาระบบแจงเหตุ และการสง รวมไปถึงการติดตามลูกหน้ี พ.ร.บ.ใหครอบคลุมและครบถวนใหไดมากท่ีสุด

ขอรับรองวาไดรับเอกสารประกอบการเบิกคารักษาพยาบาล

กรณีผูปวยประสบภัยจากรถ (พ.ร.บ.) ครบแลว

ช่ือ-สกุล ผูปวย................................................................. ท่ีอยู................................................................................ ลงช่ือ..................................................ผูรบัเอกสาร ( )

วันท่ี.......................................................................

Page 126: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

126

Good Practice เรื่องการปองกันการหกลม-ลื่นลมในหองทํางาน เจาของผลงาน นาย สงา ยาวิไชย หนวยงาน แพทยแผนไทย

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) : จากการบันทึกอุบัติการณความเส่ียงพบปญหา การหกลม-ล่ืนลมของผูมารับบริการและเจาหนาท่ี

ภายในอาคารแพทยแผนไทยอยูบอยคร้ัง เน่ืองจากสภาพของพ้ืนผิวภายในอาคารท่ีมีสภาพล่ืนและเปยกจากข้ันตอนการทํางาน ซ่ึงอาจสงผลกระทบตอความปลอดภัยในการทํางานได

2.เปาประสงค(Purpose): เพ่ือลดอุบัติการณการหกลม-ล่ืนลมของผูมารับบริการและเจาหนาท่ีในอาคารแพทยแผนไทย

3.กระบวนการพัฒนา (process) :

พิจารณาหาพ้ืนท่ีท่ีมีความเส่ียงตอการเกิดปญหา โดยใชมาตรการท่ีเหมาะสมอยางระมัดระวังชวยใหสามารถแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ เชนการสํารวจหาจุดท่ีอาจเกิดปญหาล่ืนลม สะดุดลมบอยครั้งรอบสถานท่ีทํางานรวมถึงบริเวณภายนอกอาคารดวย โดยเฉพาะบริเวณท่ีมีข้ันตอนการทํางานท่ีมีโอกาสเปยก หรือมีฝุนสะสม ใหรีบแกไขทันทีและจัดเตรียมผาเช็ดเทาวางไวหนาทางเจาภายในอาคารและรองเทาเพ่ือสวมใสภายในพ้ืนท่ีอาคารเพ่ือลดการเกิดอุบัติเหตุหกลม-ล่ืนลม

4.ผลลัพธ (Performance):

บริเวณท่ีมักเกิดความเส่ียงในการหกลม-ล่ืนลมคือทางเขาภายในหองนวดแผนไทยและบริเวณโตะวางหมอน่ึงประคบท่ีอาจทําใหเกิดหยดนํ้าจากไอนํ้าของหมอน่ึงซ่ึงทําใหพ้ืนเปยกและเกิดโอกาสการหกลม-ล่ืนลมได และผลของการจัดเตรียมรองเทาใหสวมใสภายในอาคารพบวา ชวยลดการเกิดอุบัติการณความเส่ียงได

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness):

การตรวจสอบและทบทวน รายงานการเกิดอุบัติเหตุและการสอบสวนอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนเพ่ือคนหาจุดท่ียังเปนปญหาหรือขอบกพรอง วามีการพัฒนาปรับปรุงหรือไมรวมถึงสอบถามขอมูลจากผูมารับบริการและเจาหนาท่ีปฏิบัติงาน เพ่ือนํามาวางแผนมาตรการปองกันอุบัติเหตุดังกลาวไดตรงจุดและมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน

Page 127: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

127

Good Practice เรื่อง การตรวจเช็คอุปกรณภายในหองอบสมุนไพร

เจาของผลงาน นางสาว พักตรพิไล ไชยเพียร หนวยงาน แพทยแผนไทย

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) : ปจจุบันการอบสมุนไพรดวยไอนํ้าสามารถทําไดโดยการเขาไปน่ังภายในตูอบสมุนไพรแบบไมสนขนาด

1-2คน ซ่ึงไดนํามาใชทดแทนการเขาอบสมุนไพรดวยไอนํ้าภายในอาคารท่ีสรางแบบเดิมท่ีไมมีอุปกรณการตรวจจับความรอน และอุปกรณการปองกันอันตรายจากการอบไอนํ้า ดังน้ันจึงทําใหผูมารับบริการเกิดความวิตกกังวลและไมปลอดภัยจากการรับบริการ ซ่ึงตูอบไอนํ้าสมุนไพรแบบไมสนท่ีไดรับจัดสรรมาใหมน้ัน มีอุปกรณท่ีตรงตามมาตรฐานจึงทําใหตองมีการตรวจสอบทุกคร้ังกอนการใหบริการ เพ่ือสรางความปลอดภัยแกผูรับบริการ 2.เปาประสงค(Purpose):

เพ่ือลดการเกิดอุบัติการณความเส่ียงท่ีอาจเกิดข้ึนขณะอบไอนํ้าสมุนไพรและเพ่ือตรวจเช็คประสิทธิภาพของอุปกรณภายในตูอบใหไดมาตรฐาน

3.กระบวนการพัฒนา(process) :

กอนการใหบริการจะตองตรวจเช็คและทําความสะอาดตูอบสมุนไพรทุกคร้ัง เพ่ือปองกันการเกิดปญหา

และอันตรายตอผูใช โดยจะตองตรวจสอบเคร่ืองวัดอุณหภูมิ กร่ิงฉุกเฉิน การระบายไอนํ้า พ้ืนผิวของตูอบ

สมุนไพรเพ่ือปองกันการหกลม อีกท้ังตองตรวจเช็คสายไฟและหมอตมใหไดมาตรฐาน มีการจดบันทึกการทํา

ความสะอาดและรายงานหากพบปญหาท่ีอาจสงผลตอการเกิดความไมปลอดภัยแกหัวหนางานเพ่ือใหไดแกไขได

ถูกตอง

4.ผลลัพธ(Performance) :

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness):

จัดทําแนวทางการรักษาและปองกันสําหรับผูมารับบริการและผูใหบริการไดเขาใจและจัดอบรม

เจาหนาท่ีกอนการปฏิบัติงานเพ่ือลดปญหาการเกิดอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนขณะการรักษา

Page 128: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

128

Good Practice เรื่อง การปองกันการเกิดแผลพุพองจากการประคบรอน

เจาของผลงาน นาย มานพ กลับมา ตําแหนง ผูชวยการพยาบาล

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) : จากการใหบริการดานการแพทยแผนไทย การนวดไทย และการประคบสมุนไพร พบวา ในจํานวนผูมา

รับบริการสวนใหญมักมีโรคประจําตัวซ่ึงไดแกโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เม่ือทําการรักษาผูปวยโรคเบาหวานในข้ันตอนการประคบสมุนไพร พบวา ผูมารับบริการจะมีการรับรูความรูสึกท่ีชา หากใชลูกประคบท่ีมีความรอนจะทําใหเกิดแผลพุพองตอผูรับบริการได นอกจากผูมารับบริการท่ีมีโรคประจําตัวดังกลาวแลว ผูมารับบริการทุกรายอาจเกิดแผลพุพองจากความรอนได ซ่ึงสงผลตอการรักษาและอาจเกิดการรองเรียนหากผูมารับบริการไดรับอันตรายจากการรักษา

2.เปาประสงค(Purpose): เพ่ือปองกันการเกิดแผลพุพองจากการประคบสมุนไพรในผูมารับบริการ

3.กระบวนการพัฒนา(process) :

กอนใหบริการเจาหนาท่ีจะสอบถามขอมูลท่ัวไปของผูมารับบริการและในการใหบริการนวดประคบสมุนไพรจะตองทําดวยความระมัดระวัง ในกรณีข้ันตอนการประคบสมุนไพร ผูใหบริการจะใชผาขนหนูหุมลูกประคบกอนและทําการทดสอบความรอนของลูกประคบทุกคร้ังกอนการใหการรักษา และกรณีผูปวยท่ีเปนโรคเบาหวานจะหลีกเล่ียงการประคบดวยความรอนบริเวณแขน ขา เพราะจะเพ่ิมความเส่ียงตอการบาดเจ็บของเน้ือเย่ือ เกิดเปนแผลติดเช้ือเร้ือรังได

4.ผลลัพธ(Performance) :

ชวยลดความเส่ียงในการเกิดอุบัติการณการเกิดแผลพุพองจากการประคบสมุนไพร ผูมารับบริการไดรับการบริการท่ีถูกตอง ปลอดภัย ไมเกิดอันตรายตอรางกาย

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness):

จัดทําแนวทางการรักษาและปองกันสําหรับผูมารับบริการและผูใหบริการไดเขาใจและจัดอบรมเจาหนาท่ีกอนการปฏิบัติงานเพ่ือลดปญหาการเกิดอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนขณะการรักษา

Page 129: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

129

Good Practice เรื่องตรวจวัดคาความดันโลหิตทุกครั้งกอนรับบริการ เจาของผลงาน นาย ศรีนวล บุญแกว ตําแหนง ผูชวยการพยาบาล

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) : จากการใหบริการดานการแพทยแผนไทย พบวา กอนการรับบริการดานการแพทยแผนไทย ผูมารับ

บริการสวนใหญหลีกเล่ียงการวัดความดันโลหิต เน่ืองจากใหเหตุผลวาความดันโลหิตปกติ วัดความดันโลหิตกอนออกจากบานแลว และหากความดันโลหิตสูงเกรงวาจะไมไดรับการรักษา ซ่ึงเปนความเขาใจท่ีผิด หากผูมารับบริการไมไดรับการตรวจวัดความดันโลหิตเพ่ือประเมินกอนการรักษา อาจสงผลอันตรายตอชีวิตได

2.เปาประสงค(Purpose): เพ่ือปองกันและลดอุบัติการณความเส่ียงท่ีอาจเกิดข้ึนในขณะการรับบริการดานการแพทยแผนไทย

3.กระบวนการพัฒนา(process) :

วัดความดันโลหิตผูมารับบริการทุกรายกอนทําการรักษา สอบถามโรคประจําตัวและการทานยาทุกคร้ัง หากกรณีวัดความดันโลหิตคร้ังแรกพบวา มีคาท่ีสูงกวาเกณฑท่ีกําหนดไว ความดันสูงเกิน 140 มิลลิเมตรปรอทและชีพจรมากกวา 80 ครั้ง จะไมสามารถใหบริการนวดได จึงใหน่ังพักกอนแลววัดซํ้าอีกคร้ัง หากคาความดันโลหิตยังคงสูงจะไมสามารถใหการรักษาไดและกรณีท่ีประเมินอาการเบ้ือตนแลวผูมารับบริการมีสภาพรางกายท่ีอาจเกิดความเส่ียงจะสงพบแพทยทันที พรอมท้ังช้ีแจงรายละเอียดใหผูมารับบริการทราบเพ่ือใหเกิดความเขาใจ

4.ผลลัพธ(Performance) :

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness):

จัดทําแนวทางการรักษาและปองกันสําหรับผูมารับบริการและผูใหบริการไดเขาใจและจัดอบรมเจาหนาท่ีกอนการปฏิบัติงานเพ่ือลดปญหาการเกิดอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนขณะการรักษา

Page 130: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

130

Good Practice เรื่อง ไมซ้ําเติมไต ปลอดภัยดานยา

ชื่อ ภญ.อุมาพร ธนะขวาง หนวยงาน เภสัชกรรมชุมชน 1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

จากขอมูลป 2557 รอยละผูปวยโรคไตเร้ือรังระดับ 3 ข้ึนไปท่ีไดรับยากลุม NSAIDs มีจํานวน 4.12 รวมกับปจจุบันจํานวนผูปวยโรคไตท่ีไดรับยาต้ังแตป 2557จนถึงปจจุบันมีจํานวนเพ่ิมข้ึนรอยละ 58.73 ในป 2558โรงพยาบาลทาวังผาไดเขารวมโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (Rational Drug Use Hospital) โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูปวยไดรับยาอยางเหมาะสม ถูกตอง ปลอดภัย ซ่ึงกลุมผูปวยโรคไตเร้ือรังเปนกลุมท่ีมีความเส่ียงตอการเกิดปญหาดานยาเน่ืองจากผูปวยมักการไดรับยาหลายชนิด, อายุมาก, การทํางานของไตลดลงทําใหตองพิจารณาปรับขนาดยา และจํานวนของผูปวยกลุมน้ีมีแนวโนมเพ่ิมข้ึน นอกจากน้ีการไดรับยาบางชนิดอาจเพ่ิมความเส่ียงตอการเกิดภาวะไตวายเฉียบพลันได เชนการใชยากลุม NSAIDs ในผูปวยโรคไตเรื้อรังมีแนวโนมทําใหเกิดภาวะไตวายเฉียบพลันไดเน่ืองจากยากลุมน้ีออกฤทธ์ิยับย้ังการสราง Prostaglandin โดยสงผลให renal blood flow ลดลง นอกจากน้ียังสงผลใหเกิดภาวะ hyperkalemia , hypertension , sodium retention และ edema การท่ีผูปวยไดรับยากลุม NSAIDs จะย่ิงซํ้าเติมใหไตวายเพ่ิมข้ึน

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัยในการใชยาของผูปวยกลุมโรคไตเร้ือรัง โดยผูปวยโรคไตเร้ือรังระดับ 3 ข้ึนไป

ท่ีไดรับยากลุม NSAIDs มีจํานวนนอยกวารอยละ 10 3. กระบวนการพัฒนา (Process)

ทีมระบบยาไดมีการนําขอมูลดังกลาวมาวิเคราะหและนํามาสูการพัฒนาระบบการเฝาระวังการใชยากลุม NSAIDs ในผูปวยโรคไตเร้ือรังดังตอไปน้ี

1. ปงบ 2558 ทบทวนรายการยารวมกับทีม PTC เพ่ือเสนอรายการยาลดอาการปวดท่ีมีผลตอการ ทํางานของไตนอยแทน เชน Tramadol 50 mg inj.แตยังพบวารอยละผูปวยโรคไตเร้ือรังระดับ 3 ข้ึนไปท่ีไดรับยากลุม NSAIDs เพ่ิมข้ึนจึงดําเนินการเพ่ิมเติมโดย

2. จัดทําขอความ Notify แพทยในระบบ HosXP ระบุขอความ “ ระมัดระวังการใชยา NSAIDs” ในผูปวยท่ีข้ึนทะเบียน CKD stage 3 ข้ึนไป

3. ผูปวยท่ีไดรับยา NSAIDs เภสัชกรตรวจสอบคาไตของผูปวยกอนการจายยา 4. ผูปวยนอกท่ีไดรับยาฉีด โดยเฉพาะ Diclofenac inj.จะตองตรวจสอบขอมูลการแพยา และการ

ตรวจสอบคาไตของผูปวยกอนจายยาใหผูปวยนําไปฉีดยาท่ีหองอุบัติเหตุและฉุกเฉินพยาบาลตรวจสอบยาท่ีจายกอนบริหารยาใหกับผูปวย

5. พยาบาลคลินิกไตคัดเลือกกลุมผูปวยท่ีมีข้ึนทะเบียน CKD stage 3 ข้ึนไป ในการใหความรูเร่ือง การปฏิบัติตัว การรับประทานอาหาร การติดตามภาวะไตของผูปวยทุก 6 เดือน

6. เภสัชกรใหความรูผูปวยไมควรซ้ือยาแกปวด, ยาสมุนไพรรับประทานเอง เน่ืองจากอาจทําให ไตวายเฉียบพลันได ควรปรึกษาแพทย เภสัชกรทุกคร้ังกอนใชยา

4. ผลลัพธ (Performance) รอยละผูปวยโรคไตเร้ือรังระดับ 3 ข้ึนไปท่ีไดรับ NSAIDsต้ังแต ป 2558-2561 ดังน้ี

2.20,2.53,1.29และ0.53 ตามลําดับ 5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness)

พัฒนาระบบเฝาระวังรวมกับงาน IT

Page 131: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

131

Good Practice เรื่อง ติดตั้งโปรแกรม Automatic Meter Reading (AMR) อานกระแสไฟฟาอัตโนมัติ

ชื่อเจาของผลงาน นาย ธงชัย กกศรี หนวยงานซอมบํารุง

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจาก ระบบไฟฟาของโรงพยาบาลไมมีตัววัด อานคามิเตอรไฟฟาประจําวัน,เดือน,ป ปกติจะ

ใชชางไฟฟาเปนคนวัดหนวยการใชกระแสไฟฟา และจะมีความยากลําบากในการตรวจเช็คแตละคร้ัง ทางซอมบํารุงจึงดําเนินการติดตอศูนยการจําหนายสายสงของไฟฟาในเขตภาคเหนือ จึงไดโปรแกรม และรหัสการอานมิเตอรไฟฟาอัตโนมัติ

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหทางโรงพยาบาลรูความเคล่ือนไหวของการใชไฟฟา ในแตละวัน,เดือน,ป หรือ ตอช่ัวโมง,นาที รายวัน รายสัปดาห ไดตามตองการ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 1. ทําใหทางโรงพยาบาลจะรูวาชวงไหนมีการใชไฟฟามากท่ีสุดในแตละวัน 2. จะไดรูวาควรแกไข เวลาท่ีมีการใชไฟฟาเยอะเกินไป ใหกลับมาใชไฟฟาแบบปกติ ซ่ึงเปนท่ีมาของ

การเสียคาใชจายโดยไมจําเปน (คาจุดพีคของการใชกระแสไฟฟา)

4. ผลลัพธ (Performance)

1 .ทําใหผูใชไฟฟา ใชไฟอยางมีความเสถียรภาพมากย่ิงข้ึน และงายตอการบํารุงรักษาระบบไฟฟาภายในโรงพยาบาล

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร Preparedness

มีการสํารวจหนวยงานท่ีใชไฟฟาเยอะเกินกวาปกติ 2-3 วันตอสัปดาห

Page 132: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

132

Good Practice เรื่อง ประยุกตใชแบตเตอรี่ Nickel metal – hydride ของ Infusion pump

ชื่อเจาของผลงาน นาย อรรถพล ถาวงศ หนวยงานซอมบํารุง

1. ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจาก Infusion pump ปกติ จะใชถาน Higghcapacity Ni-Cd จะมีปญหาเร่ือง Toxic หรือ

อันตรายจากการสูดดมจึงมีการใชวัสดุหลากหลายชนิดในการนํามาทดแทน แคดเมียมซ่ึงเปนอันตราย แตคุณภาพตองไมแยลงหรือดีข้ึนกวาเดิมจนไดมาเปน Nickel – metal – hydride

2. เปาประสงค (Purpose)

ทางซอมบํารุงจึงหาขอมูลของถาน Nickel – metal – hydride และเปล่ียนมาใชเพ่ือใหการใชงานแบบมีประสิทธิภาพมากข้ึนกวาเดิม

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 4. ทําใหแบตเตอร่ีใชงานอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน 5. ประหยัดคาใชจายของโรงพยาบาลไดมาก

4. ผลลัพธ (Performance)

มีประสิทธิภาพในการใชงานมากข้ึน และมีความปลอดภัยในการใชงาน

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness)

มีการตรวจเช็ค แบตเตอรร่ีของ Infusion pump สัปดาหละ 1 คร้ัง

Page 133: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

133

Good Practice เรื่อง การนําบัตรคิวมาใชในแผนกกายภาพบําบัด

ชื่อ นางสาวกาญจนา ธนะขวาง หนวยงาน กายภาพบําบัด

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) เน่ืองจากผูรับบริการกายภาพบําบัดสวนใหญมาจากระบบการนัดหมายเพ่ือการรักษาท่ีตอเน่ือง

ซ่ึงผูมารับบริการสามารถนําบัตรนัดมารับบริการท่ีแผนกกายภาพบําบัดไดเลย ประกอบกับจํานวนท่ีเพ่ิมมากข้ึนของผูมารับริการแผนกกายภาพบําบัด สงผลใหเกิดความสับสนของคิวการรับบริการข้ึน และผูรับบริการบางทานเกิดความไมพึงพอใจ แผนกไดเห็นถึงปญหาจึงจัดทําบัตรคิวการรับบริการแผนกกายภาพบําบัดข้ึน

2. เปาประสงค(Purpose) 2.1 เพ่ือลดความไมพึงพอใจของผูรับบริการ 2.2 ลดความสับสนคิวการรับบริการของเจาหนาท่ี

3. กระบวนการพัฒนา(Process) 3.1 หนวยงานไดทบทวนถึงสาเหตุของปญหาท่ีเกิดข้ึน 3.2 จัดทําบัตรคิวการรับบริการเปนหมายเลขวางไวหนาหอง 3.3 ผูมารับบริการนําบัตรนัดมาแนบกับบัตรคิวท่ีจัดทําไวใสลงในตะกรา 3.4 เจาหนาท่ีหองกายภาพบําบัดเรียกผูปวยเขารับบริการตามหมายเลขคิว

4. ผลลัพธ(Performance) ไมมีอุบัติการณการสับสนคิวการรับบริการ และผูรับบริการเกิดความพึงพอใจ

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 5.1 พัฒนาระบบการประเมินผลความพึงพอใจของผูรับบริการ

Page 134: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

134

Good Practice เรื่อง ปายสัญลักษณ

ชื่อ น.ส.วิวาห สุทธิแสน หนวยงาน ทันตกรรม

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) - เน่ืองจากเกิดปญหาผูมารับบริการถายภาพเจาหนาท่ีขณะกําลังปฏิบัติงานลงในส่ือออนไลนจึงทําใหเกิดความไมเหมาะสมและเกิดความเสียหายตอภาพลักษณของหนวยงานและองคกร

2.เปาประสงค (Purpose)

- เพ่ือทําสัญลักษณหรือรูปภาพส่ือสาร ใหผูรับมาบริการเขาใจ เพ่ือไมใหใชส่ือมีเดียตาง ๆขณะเจาหนาท่ีปฏิบัติงาน

3.กระบวนการพัฒนา (Process)

- ไดทําปายสัญลักษณติดไวประจําแตละจุด

4. ผลลัพธ (Performance)

- ผูปวยเขาใจสัญลักษณและปฏิบัติตามไมใชส่ือมีเดียขณะเจาหนาท่ีปฏิบัติงาน

Page 135: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

135

Good Practice เรื่อง จัดระบบการเบิกจายยาและเวชภัณฑมิใชยาของ รพ.สต.

ชื่อ นายสุรพงษ ใจจันทร หนวยงาน เภสัชกรรมชุมชน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) ระบบเดิมไดกําหนดให รพ.สต. สงใบเบิกยาและเวชภัณฑมิใชยา หลายแหงพรอมกัน และให

ผูรับผิดชอบเร่ืองยาและเวชภัณฑมิใชยา เปนผูมาตรวจรับดวยตนเอง จึงไดรับเสียงสะทอนจากเจาหนาท่ี รพ.สต.ในการประชุมระบบการเบิก-จายยาและเวชภัณฑมิใชยา วาไดรับยาและเวชภัณฑมิใชยา รายงานมูลคาการเบิกจากงานคลังยาลาชา และทําใหขาดบุคลากรในการใหบริการผูรับบริการ 1 คน ในวันท่ีมารับยาและเวชภัณฑมิใชยาตามท่ีสงเบิก ทําใหสงผลกระทบตอการรายงานยอดคงคลัง ณ วันส้ินเดือน ลาชาไปดวย

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือความสะดวกและรวดเร็วในการไดรับยาและเวชภัณฑมิใชยาและรายงานมูลคาการเบิกจาก

งานคลัง 3. กระบวนการพัฒนา (Process)

ประชุมระบบการเบิก-จายยาและเวชภัณฑมิใชยา หาแนวทางแกไขและขอตกลงรวมกัน โดยแบงเปน 3 รอบการเบิก แบงเปนสัปดาหละ 5-6 แหง ดังน้ี

สัปดาหท่ี 1 รพ.สต.ปาคา,รพ.สต.ริม,รพ.สต.จอมพระ,รพ.สต.ยม,รพ.สต.พราว และ รพ.สต.สบขุน(รับท่ี สสอ.ทาวังผา)

สัปดาหท่ี 2 รพ.สต.ตาลชุม,รพ.สต.ดอนตัน,รพ.สต.สบสาย,รพ.สต.คัวะ และ รพ.สต.ดอยต้ิว สัปดาหท่ี 3 รพ.สต.แสนทอง,รพ.สต.ผาตอ,รพ.สต.แหน,รพ.สต.นํ้าโมง และรพ.สต.นํ้ากิ

และจัดใหมีรถขนสงยาและเวชภัณฑมิใชยา โดยมีเจาหนาท่ีรับผิดชอบ คือ นายอํานาจ โพธ์ิศรี และนายทวี หาญยุทธ ดําเนินการรับยาและเวชภัณฑมิใชยา รวมถึงรายงานมูลคาการเบิกจากคลังยาไปสงมอบใหแตละ รพ.สต.

4. ผลลัพธ (Performance) หลังจากการประชุมหาแนวทางและขอตกลงกัน ทางรพ.สต.แตละแหงไดรับยาและเวชภัณฑ

มิใชยา รวมถึงรายงานมูลคาการเบิก ไดพรอมกัน ไมสงผลกระทบตอการรายงานยอดคงคลัง ณ วันส้ินเดือน ลาชา

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) นําปญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน มาปรับปรุง และจัดประชุมหาแนวทางและขอตกลงอีกคร้ัง

Page 136: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

136

Good Practice เรื่อง การปองกันขยะติดเชื้อปนเปอนกับขยะทั่วไปในตึกผูปวยนอก เจาของผลงาน นาง ทินรัตน จิณะไชย ตําแหนง งานทําความสะอาดตึกผูปวยนอก

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) : จากการบันทึกอุบัติการณความเส่ียงพบปญหา ขยะติดเช้ือจากตึกผูปวยนอกปนเปอนไปกับขยะท่ัวไปท่ี

ถูกนําไปกําจัดในศูนยจัดการขยะของเทศบาลตําบลทาวังผา ซ่ึงทําใหเกิดปญหาขอรองเรียนจากเทศบาลตําบลทาวังผา งานทําความสะอาดตึกผูปวยนอกจึงมีแนวคิดท่ีจะพัฒนางานดานการจัดการปญหาท่ีพบ เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยและลดการแพรกระจายของเช้ือโรคในผูมารับบริการและเจาหนาท่ีภายในโรงพยาบาล อีกท้ังยังเปนการลดภาระและลดปญหาขอรองเรียนจากปญหาดังกลาวดวย

2.เปาประสงค (Purpose): เพ่ือปองกันและลดอุบัติการณความเส่ียงของการแพรกระจายเช้ือโรคจากขยะติดเช้ือลงสูชุมชนและ

เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน

3.กระบวนการพัฒนา (process) : ทีมงานทําความสะอาดตึกผูปวยใน ไดวิเคราะหปญหาและหาแนวทางท่ีจะดําเนินการดังน้ี

3.1) จัดทําปายติดบนถังขยะทุกจุด ระบุประเภทของขยะท่ีควรท้ิงลงถังใหชัดเจน 3.2) ใหคําแนะนําในการแยกประเภทของขยะท่ีควรท้ิงลงในแตละถังใหแกผูมารับบริการและญาติทุกคร้ัง 3.3) ตรวจสอบขยะท่ัวไปในข้ันตอนการเก็บขยะทุกคร้ัง ถาพบมีการปนเปอนของขยะติดเช้ือในถังขยะท่ัวไปตองใชอุปกรณคีบออกและนําไปท้ิงลงในถึงขยะติดเช้ือใหถูกตอง 3.4) ติดปาย ระบุหนวยงาน ช่ือผูเก็บ วันท่ีเก็บใหชัดเจน

4.ผลลัพธ (Performance) : ไมพบรายงานอุบัติติการณความเส่ียงเร่ืองขยะติดเช้ือปนเปอนในขยะท่ัวไป

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness): หาวิธีแกปญหา ปรึกษาหัวหนางานและหนวยงานท่ีเก่ียวของเพ่ือพัฒนางานตอไป

Page 137: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

137

Good Practice เรื่อง การปองกันการลื่นลมของผูปวย ญาติ และผูมารับบริการ

ชื่อ น.ส.จิรินันท แพงลา หนวยงาน : งานทําความสะอาด (ฝายบริหารฯ)

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : เน่ืองจากการทําความสะอาดหองนํ้ารวมผูปวยนอกชาย-หญิง พ้ืนเปยกหลังจากทําความสะอาด ทําให

ผูใชหองนํ้าล่ืน

2 เปาประสงค (Purpose) :

ปองกันการล่ืนลมของผูปวยหรือญาติ ท่ีใชบริการหองนํ้าผูปวยนอกชาย-หญิง

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : ในการดําเนินการปองกันการการล่ืนลมของผูปวยหรือญาติ ท่ีใชบริการหองนํ้าผูปวยนอกชาย-หญิง

3.1 หลังทําความสะอาด ทําการซับนํ้าใหแหง 3.2 เปดพัดลมเพ่ือใหพ้ืนแหง และฉีดสเปรยไลกล่ินอับช้ืน 3.3 จัดเตรียมผาสําหรับเช็ดเทา รองเทาผูใชหองนํ้า

4. ผลลัพธ (Performance) :

ไมมีเหตุการณการล่ืนลมของผูปวยหรือญาติ ท่ีใชบริการหองนํ้าของโรงพยาบาล

5. แนวทางในการพัฒนาผลงาน เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (Preparedness)

1. เร่ิมปฏิบัติงานแตละวันตองอันดับแรกทําความสะอาดหองนํ้าผูปวยนอกชาย-หญิง 2. เบิกอุปกรณการหนีบนํ้าในหองนํ้า / ผาหมท่ีไมใชแลว ในการซับนํ้า ใหเพียงพอ 3. จัดทําปายแจงเตือนระวังล่ืนลมในหองนํ้า

Page 138: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

138

Good Practice เรื่อง การปองกันทรัพยสินของผูมารับบริการถูกลักขโมย โรงพยาบาลทาวังผา ป 2561

ชื่อ นายธนโชติ ตาลาว หนวยงาน : งานรักษาความปลอดภัย (ฝายบริหารฯ)

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : เน่ืองจากผูปวย ญาติ หรือผูมาเย่ียมผูปวยท่ีมาพักรักษาพยาบาล ท่ีนําจักรยานยนต มาจอดบริเวณท่ีจอรถ

โรงพยาบาล วัสดุ/อุปกรณของผูปวยท่ีลืมหรือท้ิงไวกับยานพาหนะ ไดเกิดการสูญหาย จากการถูกลักขโมย

2 เปาประสงค (Purpose) : ปองกันการสูญหายทรัพยสินของผูรับบริการ จากการถูกขโมยในขณะมารับบริการจาก

โรงพยาบาลทาวังผา

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : ในการพัฒนากระบวนการปองกันการสูญหายของวัสดุ/อุปกรณของผูปวย ญาติ จากกถูกลักขโมยได

ดําเนินการดังน้ี 3.1 จัดตารางการออกตรวจ/สอดสองดูแลบริเวณท่ีจอดยานพาหนะ 3.2 ติดต้ังกลองวงจรปดบริเวณลานจอดรถ 3.3 แจงเตือนผูมารับบริการทุกคร้ังในขณะจอดยานพาหนะในการเก็บของท่ีมีคาไว เพ่ือปองกันการถูกขโมย

4. ผลลัพธ (Performance) : ยังมีของผูปวยท่ีถูกขโมย หมวกกันนอก นํ้ามันเบนซิน จํานวน 2 คร้ัง

5. แนวทางในการพัฒนาผลงาน เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (Preparedness) 1. ประสานงานสารสนเทศโรงพยาบาล ติดต้ังกลองวงจรปดเพ่ิมบริเวณมุมอับ / สถานท่ีดูแลไมท่ัวถึง 2. เพ่ิมรอบการตรวจตรา ชวงระยะเวลาท่ีมีผูปวย ญาติท่ีเขามารับริการจํานวนมาก (8.30 น. – 11.00 น.) 3. เพ่ิมประชาสัมพันธเสียงตามสาย แกผูรับบริการ ในการปองกันของสูญหายขณะมารับบริการ

Page 139: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

139

Good Practice เรื่อง การปองกันของแข็ง ของมีคมบาดขณะปฏิบัติงาน

ชื่อ นายประทีป สิงหไชย หนวยงาน : งานสวน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : โรงพยาบาลทาวังผา พ้ืนท่ีสวนมากเปนท่ีลาดเอียง เปนภูเขา จะมีกอนหิน เศษหินมาก ในการตัดหญา

หากไมระวังทําใหใบมีตัดหญากระทบกับกอนหิน ทําใหหินกระเด็นถูกรางกายเกิดการบาดเจ็บข้ึนกับผูปฏิบัติงาน

2 เปาประสงค (Purpose) : ปองกันการไดรับบาดเจ็บขณะปฏิบัติงานตัดหญา

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : แนวทางในการปองกันการบาดเจ็บจากการตัดหญา หิน หรือ เศษหินกระเด็นถูกรางกาย

3.1 สวมหมวกกันนอกท่ีมีหนาการ/สวมใสแวนตาตัดหญา 3.2 สวมรองเทาท่ีสามารถปองกันการบาเจ็บจากหิน เศษหิน 3.3 สวมถุงมือ เส้ือผาท่ีปองกันและสามารถบรรเทาแรกกระแทนของเศษหินท่ีกระเด็นถูกรางกาย

4. ผลลัพธ (Performance) : ยังมีอุบัติการณขณะปฏิบัติงานตัดหญาเศษหินกระเด็นถูกรางกาย ไมรุนแรง ถึงข้ันบาดเจ็บ

5. แนวทางในการพัฒนาผลงาน เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (Preparedness) 1. ตรวจสถานท่ีท่ีตัดหญากอนเบ้ืองตน เพ่ือปองกันการไดรับบาดเจ็บจากหิน หรือเศษท่ีกระเด็นถูกรางกาย 2. สวมรองเทาท่ีมีความเหนียว คงทนตอแรกกระแทกเศษหิน (รองเทาบูท)

Page 140: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

140

Good Practice เรื่อง การสงผาถูกตองตามหนวยงานผูใช โรงพยาบาลทาวังผา ป 2561

ชื่อ นายพยุง ถุงเสน หนวยงาน : งานซักฟอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : จากการสงผาท่ีซักทําความสะอาดแลวคืน ใหตามหนวยงานตาง ๆปรากฏวา ยังมีการสงผาผิดหนวยงาน

ทําใหหนวยงานท่ีไดรับผาผิด ไมสามารถใชผาไดตามวัตถุประสงค ทําใหผูท่ีจําเปนตองใชผาไมเพียงพอ

2 เปาประสงค (Purpose) : หนวยงานผูใชผา ไดรับผาถูกตองตามวัตถุประสงค และเพียงพอ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : ในการคัดแยกผาสงตามหนวยงานผูใช จัดทําแนวทางดังน้ี 3.1 คัดแยกผาตามความคุนเคย คุนชินของหนวยงานผูใชผา 3.2 คัดแยกผาตามเคร่ืองหมายของหนวยงานท่ีติดกับผา

4. ผลลัพธ (Performance) : ยังพบการสงผาผิดหนวยงาน

5. แนวทางในการพัฒนาผลงาน เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย 5.1. ทําเคร่ืองหมายติดผาทุกชนิดของหนวยงานผูใช ท่ีสงซัก 5.2. ตรวจสอบเคร่ืองหมายของหนวยงานท่ีติดกับผาทุกคร้ัง เพ่ือปองกันการชํารุดของเคร่ืองหมาย

Page 141: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

141

Good Practice เรื่อง พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง โรงพยาบาลทาวังผา ป 2561

ชื่อ นายธนธรณ จีปน หนวยงาน : กลุมงานบริหารทั่วไป

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : ในปงบประมาณ 2561 กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดตัวช้ีวัด ระดับจังหวัด คือ รอยละหนวยบริการ

ท่ีประสบปญหาวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7 ไมเกินรอยละ 4 โดยเฉพาะเกณฑประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency) ใชเปนเคร่ืองมือในการควบคุม กํากับ เพ่ือใหบริหารจัดการดานการเงินการคลังเปนไปอยางมีประสิทธิภาพในการบริหารรายได–คาใชจาย–สินทรัพย–เจาหน้ี–ลูกหน้ีและวัสดุคงคลังโรงพยาบาลทาวังผา ไดนําเคร่ืองมือวัดสถานะการเงิน 7 Plus Efficiency Score (เคร่ืองมือวัดประสิทธิ ภาพการบริหาร 7 ระดับ) ในการควบคุมกํากับ ดังน้ี.

หลักเกณฑการวัดสถานะการเงิน ระดับ 7 Plus Efficiency Score .ในการจัด Grade เกณฑการใหคะแนน ผาน ไม

ผาน ผาน

(ขอ) จัด

Grade

1 ประสิทธิภาพการทํากําไร 1 0 7 A 2 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย 1 0 6 A- 3 ระยะเวลาถัวเฉล่ียในการชําระหน้ีการคา 1 0 5 B 4 ระยะเวลาถัวเฉล่ียในการเรียนเก็บหน้ีสิทธิ UC – OP/IP (AE) 1 0 4 B- 5 ระยะเวลาถัวเฉล่ียในการเรียนเก็บหน้ีสิทธิขาราชการ 1 0 3 C 6 ระยะเวลาถัวเฉล่ียในการเรียนเก็บหน้ีสิทธิประกันสังคม (ในเครือขาย) 1 0 2 C- 7 การบริหารสินคาคงคลัง ดานยา เวชภัณฑมิใชยาฯ 1 0 1 D 0 F

2 เปาประสงค (Purpose) : การบริหารจัดการประสิทธิภาพการเงินการคลัง โรงพยาบาลทาวังผา ปงบ 2561 เปาหมายผลงาน

รายเดือน/รายไตรมาส 7 plus = ≥ B- (จากเกณฑประสิทธิภาพทางการเงิน : 7 plus efficiency)

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : ในการพัฒนากระบวนการดําเนินงานดานการบริหารจัดการประสิทธิภาพการเงินการคลัง ทาง

หนวยงานไดดําเนินการดังน้ี 3.1 จัดทําคําส่ังทีม Audit (แพทย/พยาบาล) 3.2 กําหนดระยะเวลาการไหลเวียนชารทผูปวย (ระยะเวลาการ Audit Chart ของแพทย/พยาบาล) 3.3 ตรวจสอบลูกหน้ีคางชําระทุกส้ินเดือน

4. ผลลัพธ (Performance) : การบริหารจัดการประสิทธิภาพการเงินการคลัง โรงพยาบาลทาวังผา ปงบ 2561

เดือน ตค.

60 พย. ธค. มค.

61 กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย.

ผลงาน B- B B- B B- B B B C B- B

Page 142: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

142

ผลงานการดําเนินงาน ต้ังแต ตุลาคม 2560 – สิงหาคม 2561 สรุป ด้ังน้ี 5.1 ผลงานต่ํากวาคาเปาหมาย = ≥ B- จํานวน 1 เดือน 5.2 ผลงานเทากับคาเปาหมาย = ≥ B- จํานวน 4 เดือน 5.3 ผลงานสูงกวาคาเปาหมาย = ≥ B- จํานวน 6 เดือน

5. แนวทางในการพัฒนาผลงาน เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (Preparedness) 1. เปนตัวช้ีวัดของกระทรวงท่ีใหผูบริหารและทีมนํา ใหความสําคัญในการควบคุม กํากับและการติดตาม 2. ช้ีแจงความสําคัญของการบริหารจัดการประสิทธิภาพการเงินการคลังและเกณฑประสิทธิภาพทางการเงิน (7 plus efficiency) ใหบุคลากรและหนวยงานท่ีเก่ียวของทราบ 3. หัวหนาฝายบริหารฯ มีการควบคุม กํากับ ติดตามการเบิกจายเงินลูกหน้ีสิทธิ (ระหวางงานเคลมและบัญชี) 4. หัวหนาฝายบริหารฯ มีการสอบทานระบบลูกหน้ีคางชําระกับนักบัญชีทุกส้ินเดือน 5. แจง/คืนขอมูล ผูบริหาร/ทีมนํา และหนวยงานท่ีเก่ียวของทราบทุกส้ินเดือน เพ่ือเฝาระวังในเดือนถัดไป 6. จัดทําโครงการอบรมเจาหนาท่ีทุกคนโปรแกรม “การจัดเก็บและตรวจสอบลูกหน้ี”

Page 143: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

143

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบทําความสะอาดหองโรคติดตอไมเรื้อรัง

ชื่อ นางสาวอนัญญาลักษณ ตองสู หนวยงาน : ทําความสะอาด (ฝายบริหารฯ)

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : ในเดือนกุมภาพันธ 2561 งานโรคติดตอไมเร้ือรังไดยายสถานท่ีทํางานจากอาคารโรคติดตอไมเร้ือรัง

มาปฏิบัติงานหองกายภาพ (กายภาพยายไปอาคารกลุมเวชฯ) ซ่ึงสถานท่ีปฏิบัติ- งานแหงใหม(หองกายภาพเดิม) จะมีหองนํ้าในอยูในอาคาร ปกติผูปวย NCD ท่ีมารับบริการจะมาเชามาน่ังรอ รับบริการ การไปทําความสะอาดหองนํ้าจะตองหอบห้ิวอุปกรณลางหองนํ้าผานผูปวยท่ีมาน่ังรอบริการ อาจจะสงผลกระทบตอความรูสึกท่ีไมดีตอผูปวยท่ีมารับบริการ

2 เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือใหผูปฏิบัติงานในการทําความสะอาดทําความนะอาดไดรวดเร็ว หองนํ้ามีอุปกรณทําความสะอาด

ครบถวน และเพ่ือเปนการปองกันความไมพึงพอใจของผูปวยท่ีมารับบริการ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : ในการพัฒนาดานการทําความสะอาดหองโรคติดตอไมเร้ือรัง ดังน้ี 3.1 จัดลําดับความสําคัญในการทําความสะอาด (ทําความสะอาดหองแรก หองโรคติดตอไมเร้ือรัง) 3.2 เบิกวัสดุ อุปกรณในการทําความสะอาด ไวในหองนํ้าหองโรคติดตอไมเร้ือรัง

4. ผลลัพธ (Performance) : การบริหารจัดการประสิทธิภาพการเงินการคลัง โรงพยาบาลทาวังผา ปงบ 2561

4.1 ทําความสะอาดไดรวดเร็ว ไมมีผลกระทบตอผูปวยท่ีมารอรับบริการ 4.2 ไมมีขอรองเรียนความไมพึงพอใจ จากผูมารับบริการ 5. แนวทางในการพัฒนาผลงาน เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย (Preparedness)

1. ประสานงาน หาแนวทางในการจัดสถานท่ีเพ่ือใหผูปวย NCD น่ังรอรับบริการ 2. ปรับเวลาในการทําความสะอาดใหเหมาะสม เพ่ือไมใหกระทบตอผูมารับบริการ

Page 144: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

144

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบรับใบชันสูตรคดี

เจาของผลงาน นางสาวชฎานันท คํายันต หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน

1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

ท่ีผานมางานอุบัติเหตุฉุกเฉินรับผิดชอบงานใบชันสูตรคดีและมักมีความลาชาในการเขียน

ใบชันสูตรคดีของแพทย ยังไมมีระบบท่ีชัดเจน และบางคร้ังใบชันสูตรคดีสูญหายตองขอใหมจากทางตํารวจ

จึงมีการจัดทําระบบแฟมเพ่ือจัดใบชันสูตรคดีใหแพทยแตละทาน

2. เปาประสงค(Purpose) 2.1 เพ่ือไมใหใบชันสูตรคดีสูญหาย 2.2 เพ่ือมีระบบการจัดเก็บขอมูลท่ีชัดเจน ไมเปดเผยความลับของผูปวยและเปนการพิทักษสิทธ์ิผูปวย

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1 จัดทําแฟมไว 2 แฟม แฟมแรกใชสําหรับลงทะเบียนรับใบชันสูตรคดี แฟมท่ี 2 เปนแฟม

ประจําตัวแพทยแตละทานโดยจะมีช่ือแพทยติดไว เพ่ือความสะดวกในการคนหาและแพทยแตละทานจะไดทราบวามีใบชันสูตรคดีท่ีตองเขียน

3.2 หลังจากพยาบาลรับใบชันสูตรคดีจากตํารวจแลว นํามาลงทะเบียนในแฟมลงทะเบียนก็จะนําใบชันสูตรคดีไปใสไวในแฟมของแพทยแตละทาน แลวนําเสนอใหแพทยลงความเห็นโดยใสในตะกรา Chart ของแพทย

3.3 หลังจากแพทยลงความเห็นแลวแพทยจะนําแฟมมาคืนท่ีงานอุบัติเหตุฉุกเฉินเพ่ือใหตํารวจมารับไปตอไป

3.4 ในการลงความเห็นของแพทยของใบชันสูตรคดีแตละแบบน้ันจะมีระยะเวลากําหนดโดยท่ีเปนคดีท่ัวไปแพทยจะลงความเห็นใหเสร็จภายใน 7 วัน แตถาเปนใบชันสูตรพลิกศพแพทยตองลงความเห็นทันทีหลังจากท่ีพยาบาลไดลงทะเบียนเสร็จแลว

4. ผลลัพธ(Performance)

4.1 มีระบบจัดเก็บและรับใบชันสูตร ท่ีชัดเจน ครบถวน ตรงเวลา

4.2 ไมมีใบชันสูตรคดีสูญหาย

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness)

5.1 พูดคุยกับแพทยแตละทานท่ีมีการลงความเห็นลาชาใหเรงรัดเวลาในการทําเพ่ือตํารวจจะไดนําไป

ประกอบคดีไดรวดเร็ว

Page 145: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

145

Good Practice เรื่อง การพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองในผูปวยHTโดย SMBP

(Self Monotoring Blood Pressure) ชื่อ นางญาณิน เสฏฐวุฒิพงศ หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : จํานวนผูปวยเพ่ิมมากข้ึน เปาหมายของการดูแลตนเองในผูปวยโรคความดันโลหิตสูงคือตองมี

ระดับความดันโลหิต นอยกวา 140/90 mm.Hg. และไมเกิดภาวะแทรกซอนทางหลอดเลือดสมอง ดังน้ันผูปวยโรคความดันโลหิตสูงตองมีความรอบรูดานสุขภาพในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมใหเหมาะสมกับโรคความดันโลหิตสูง และมีการตรวจวัดความดันโลหิตดวยตนเอง เพ่ือเฝาระวังการเกิดภาวะวิกฤตเม่ือความดันโลหิตสูงใหมาพบแพทยกอนนัด

2. เปาประสงค (Purpose) : ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรูดานสุขภาพในการจัดการตนเองและสามารถควบคุม

ระดับความดันโลหิตได ไมเกิดภาวะแทรกซอนโดยเฉพาะ Stroke

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : - ผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยเปนโรคความดันโลหิตรายใหม ไดรับการข้ึนทะเบียนรับการรักษา

และนัดรับท่ีคลินิกโรคความดันโลหิตสูง(วันอังคาร , วันพฤหัสบดี) - ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงไดรับการรักษาตามแนวทาง และไดรับการพัฒนาศักยภาพการ

จัดการตนเองตามกระบวนการพัฒนาทักษะตามความรอบรูดานสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง - ผูปวยท่ีควบคุมโรคไมได BP>160/100 mm.Hg.ติดตอกัน 2คร้ัง ไดรับการพัฒนาทักษะ

การดูแลตนเองท่ีบานตามกระบวนการSMBG - ทุกคร้ังท่ีมารับบริการไดรับการทวนซํ้าการจัดการตนเองและใหคําแนะนําเพ่ือปรับเปล่ียน

พฤติกรรมใหเหมาะสม - ใหผูปวยท่ีทําSMBGใหนําผลการวัดBPท่ีบานมาดวยทุกคร้ังเพ่ือรายงานแพทยตอไป

4. ผลลัพธ (Performance) : -ป 2560 มีผูปวยท่ีทําSMBP 20 ราย มี 10 รายท่ีระดับBPควบคุมได 1ราย แพทยปรับลด

ยา , 2 รายท่ีแพทยหยุดใหยา แตยังนัดติดตามอาการ - ป 2560 ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได()BP <140/90 mm.Hg. 2

คร้ังติดตอกัน) รอยละ54.21

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) -สงเสริม สนับสนุนใหผูปวยโรคความดันโลหิตสูงมีเคร่ืองวัดBPเปนของตัวเอง และมีการ

Monitorดวยตนเองอยางตอเน่ือง - พัฒนาทักษะเจาหนาท่ีในการจัดกระบวนการพัฒนาทักษะการจัดการความรอบรูดาน

สุขภาพใหกับผูปวยโรคความดันโลหิตสูง - สงเสริมการจัดกลุมเพ่ือนชวยเพ่ือนในการสงเสริมสุขภาพ การควบคุมBP และการจัดการ

ตนเองในชุมชน

Page 146: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

146

Good Practice เรื่อง พัฒนาระบบการสงตอผูปวยเพื่อเขารับการรักษาในโรงพยาบาล

ชื่อ นางธนิศตา พลเล็ก หนวยงาน : งานผูปวยนอก 2. ความสําคัญของปญหา (Problem) :

พบรายงานความเส่ียงการสงตอผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลจากงานผูปวยนอกไมเปนไปตามแนวทางท่ีกําหนด เชน 1) ไมไดทําหัตถการบางอยางท่ี ER หรือ X-Ray EKG การตรวจทางหองปฏิบัติการกอนข้ึนตึก 2.)ไมไดรับยาโดยเฉพาะ ATB ในเวลาท่ีเหมาะสมตามแผนการรักษาของแพทย

2. เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือใหผูปวยท่ีแพทยพิจารณาใหเขานอนโรงพยาบาลไดรับการทําหัตถการ หรือ การตรวจทาง

หองปฏิบัติการ การไดอยาง อยางถูกตอง เหมาะสม รวดเร็ว

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. ทบทวนรายงานความเส่ียงการสงผูปวยเขารับการรักษาท่ีตึกผูปวยในรวมกับทีมท่ีเก่ียวของ 2. กําหนดแนวทางข้ันตอนการสงผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลจากแผนกผูปวยนอก มีสาระสําคัญดังน้ี

- แพทยผูส่ังการรักษาเขียนแผนการรักษาใหชัดเจน - กรณีท่ีผูปวยเส่ียงตอการเกิดภาวะวิกฤต แพทยประสานพยาบาลหนาหองตรวจสงผูปวยไปหอง

ฉุกเฉินทันที - กรณีท่ีตองทําหัตถการท่ีERใหสงผูปวยไปERเลยไมตองลงทะเบียนการเขานอนรพ.ท่ีOPD

หมายเหตุ กรณีสงผูปวยไปท่ีER ยังไมตองลงทะเบียนการเขานอนรพ. ใหประสานERใหลงทะเบียนเขานอนรพ.ท่ีERหลังทําหัตถการ แลวนําใบมาใหแพทยเซนท่ีOPD

- กรณีไมไดสงER พยาบาลOPD ลงทะเบียนเขานอนโรงพยาบาลท่ีOPD นําเอกสารใหแพทยเซ็นและโทรศัพทประสานงานตึกผูปวยใน

- พยาบาลหนาหองตรวจ ตรวจสอบแผนการรักษาของแพทยใหชัดเจน ถูกตอง และ กรณีมีหัตถการหรือการตรวจพิเศษท่ีตองทํากอนข้ึนตึก เชน X-Ray EKG , การตรวจทางหองปฏิบัติการ ใหผูปวยไปทําหัตถการดังกลาวใหเรียบรอย

- สง chart admit ใหหองยาจัดยาสําหรับผูปวยนอนรพ. - ใหพนักงานเปลสงผูปวยข้ึนตึก

หมายเหตุ พยาบาลหนาหองตรวจแพทย ประเมินผูปวยเบื้องตนวาไมมีอาการที่เสี่ยงตออาการไมพึงประสงคที่จะเกิดภาวะวิกฤตขณะรอขึ้นตึกผูปวยใน 3. ช้ีแจงใหเจาท่ี แผนก OPDทราบและใหถือเปนแนวทางปฏิบัติงาน

4. ผลลัพธ (Performance) : การสงตอผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาลพบวายังมีปญหาเล็กๆนอย ๆจากความผิดพลาดของ

ผูใหบริการท่ีไมไดประสานงานกันระหวางแพทย พยาบาลหนาหองตรวจ พยาบาลหนาหองตรวจ กับ ER หรือ IPD หรือหองท่ีใหบริการหัตถการตาง ๆซ่ึงถือวาเปนโอกาสพัฒนางานตอไป

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) - ช้ีแจงแนวทางใหจนท.ทุกคน ทุกระดับทราบและยึดเปนแนวทางปฏิบัติ - ช้ีแจงองคกรแพทย กรณีมีแพทยใหมมาปฏิบัติงาน - ทบทวนความเส่ียงท่ีเกิดความผิดพลาดจากการไมปฏิบัติตามข้ันตอนอยางสมํ่าเสมอ

Page 147: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

147

Good Practice เรื่อง การใหบริการแกผูมารับบริการงานคลินิก (NCD)

ชื่อ นางสาวนมลชนก ไชยวุฒ ิหนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : การจัดบริการท่ีคลินิกNCDกับท่ีพักน่ังรอการคัดกรอง และการตรวจจัดใหผูปวยมาน่ังรอท่ีหนาหอง

ท่ีใหบริการทําใหเวลาพยาบาลเรียกผูปวยเขารับบริการตามคิว ผูปวยท่ีอยูขางนอก ไมยินทําใหผูปวยไมไดรับบริการตามคิว และเกิดขอรองเรียนเก่ียวกับการลัดคิวเน่ืองจากเรียนผูปวยคิวตนๆไมไดยิน และผูปวยNCDตองไดรับการตรวจหัตถการบางอยางท่ีตองทํานอกหองคลินิกNCDเชน X-Ray EKG V/A

2. เปาประสงค (Purpose) : - เพ่ือใหผูปวยคลินิกNCDไดรับบริการคัดรกรอง และพบแพทย ตามคิวท่ีไดรับและสงไปทําหัตถการ

ตามจุดบริการอ่ืนไดถูกตองตามเปาหมาย - เพ่ือใหผูรับบริการเกิดความพึงพอใจตอการเขารับบริการท่ีคลินิกNCD

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : ตรวจสอบบัตรผูเขารับบริการท่ีไดจาดแผนกชันสูตรมาคัดแยก ดังน้ี

1. ผูปวยท่ีไมมีหัตถการใด ๆ ใหเขารับบริการคัดกรองกอนพบแพทย 2. ผูปวยท่ีมีหัตถการอ่ืน เชนEKG X-Ray VA ใหพยาบาลคัดกรองตรวจสอบซํ้าเพ่ือความถูกตอง

กอนเรียกผูปวยไปรับบริการกอนการคัดกรอง 3. เรียกผูปวยเขารับการคัดกรองกอนพบแพทย และพบแพทย ตามลําดับคิวท่ีดําเนินการพรอม

เรียบรอย 4. การเรียกช่ือผูปวย และการทวนซํ้าช่ือผูปวยทุกคร้ังท่ีเรียก ดวยนํ้าเสียงท่ีไพเราะเปนมิตร 5. ประชาสัมพันธข้ันตอนการเขารับบริการอยางสมํ่าเสมอ 6. ใหคําแนะนํา และใหคําปรึกษาแกผูมารับบริการท่ีปญหาเร่ืองการเขารับบริการ 7. เฝาระวังผูปวยท่ีมารอรับบริการเพ่ือปองกันภาวะวิกฤต หรืออาการไมพึงประสงคขณะรอรับ

บริการ รีบประสานพยาบาลประจําหนวยมาประเมินเพ่ือการดูแลตอไป

4. ผลลัพธ (Performance) : จากการใหบริการมีเสียงผูปวยวามีการลัดคิวในบางคร้ังแตไดช้ีแจงถึงเหตุผลเชนเรียกแลวเม่ือก้ี

ผูปวยยังไมมา ผูปวยรถเข็นน่ังตองไดรับบริการกอน ผูปวยมีอาการกําเริบ เส่ียงตออาการไมพึงประสงคจึงตองเขารับบริการกอน ทําใหผูปวยสวนใหญพึงพอใจตอการเขารับบริการ และเขาใจถึงข้ันตอนการรับบริการ

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) - ปรับท่ีน่ังรอคอยการเขารับบริการท่ีคลินิกใหเหมาะสมและสะดวกท้ังผูรับบริการ และผูใหบริการ

โดยมีการใชทรัพยากรบุคคลใหคุมคา - จัดประชาสัมพันธข้ันตอนการเขารับบริการของผูปวยคลินิกNCDอยางสมํ่าเสมอ - จัดหาอุปกรณท่ีใชสําหรับเรียกผูปวยใหพยาบาลคัดกรองทุกโตะ

Page 148: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

148

Good Practice เรื่อง กระเปาะรองน้ําลางตา

เจาของผลงาน นายณัฐสิทธ์ิ คอมสิงห หนวยงาน งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) หนวยงานหองอุบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาลทาวังผา ไดใหบริการและดูแลผูปวยท่ีไดรับบาดเจ็บทางตา

เชน ฝุนละอองเขาตา การระคายเคืองตาจากสาเหตุตาง ๆเปนตน และไดใหการปฐมพยาบาลเบ้ืองตนเก่ียวกับการลางตา จากประสบการณท่ีผานมาพบวา การลางตาใหผูปวยแตละคร้ัง อาจจะทําใหนํ้าไหลเขาหู และทําใหผมเปยก ทีมงานจึงมีแนวคิดท่ีจะพัฒนาจัดทํากระเปาะรองนํ้าลางตาข้ึน เพ่ือชวยใหการทําหัตการมีประสิทธิภาพมากข้ึน เกิดความพึงพอใจแกผูรับบริการมากข้ึน 2.เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือพัฒนารูปแบบการใชตัวชวยลางตาอยางตอเน่ืองและมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหเกิดความพึงพอใจท้ังผูใหบริการและผูรับบริการ

3.กระบวนการพัฒนา (Process)

1.ปรึกษาหาแนวคิดกับเจาหนาท่ีหองอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สืบคนขอมูลตางๆ 2.สรางนวัตกรรมกระเปาะรองรับนํ้าลางตา นําไปใชกับผูปวยจริง 3.นํานวัตกรรมท่ีไดมาปรับเปล่ียน แกไข เพ่ือใหเกิดความพึงพอใจกับผูใหบริการและผูรับบริการมากท่ีสุด

4.ผลลัพธ (Performance) เกิดความพึงพอใจท้ังผูใหบริการและผูรับบริการ

5.การวางแผนการพัฒนา Preparedness

นําไปเผยแพรใหกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน ตึกผูปวยใน ตึกสงฆ หรือเผยแพรใหกับรพ.สต.ตาง ๆและโรงพยาบาลอ่ืนๆตอไป

Page 149: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

149

Good Practice เรื่อง การคัดแยกผาสกปรกและผาสะอาดของคนไข

ชื่อเจาของผลงาน กิตติศักดิ์ จิณะไชย หนวยงาน ซักฟอก

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) ผาเปอนกับผาสะอาดของคนไขปะปนกัน

2.เปาประสงค (Purpose) เพ่ือไมใหเช่ือโรคกระจายไปยังผาท่ีไมเปอนหรือสกปรกและยังปองกันเจา หนาท่ีเวลาเก็บหรือคัดแยกเวลาซักผา

3.กระบวนการพัฒนา (Process) เพ่ิมถังเก็บผาเปอนของคนไขโดยเขียนปายกํากับชัดเจตพรอมภาพตัวอยางผาและแจงใหคนไขญาติ คนไขทราบหากผาเปอนสกปรกใหท้ิงลง ถังเก็บใหถูกตอง 4.ผลลัพธ (Performance) ทําใหเช้ือโรคไมกระจายสูผาอ่ืน ๆเจาหนาท่ีซักฟอกจะไดปองกันถูกตองผาสะอาดข้ึน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) แยกสีถังเก็บผาแตละประเภท

Page 150: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

150

Good practice เรื่อง การดูแลหลังถอนฟนในเด็กนักเรียนประถมศึกษาหลังออกหนวยทันตกรรม ชื่อเจาของผลงานคือ นายทศพร เสนนันตา กลุมงานทันตกรรม

๑. ความสําคัญของปญหา(Problem)

กลุมงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลทาวังผาไดมีการออกหนวยทันกรรมในโรงเรียนประถมศึกษา มีการใหบริการถอนฟน พบวานักเรียนหลังถอนฟน มีปญหากัดริมฝปากและกระฟุงแกมหลังถอนฟนเปนแผลเน่ืองจาก ริมฝปากชา และมีการอักเสบของแผลหลังถอนฟน ทําใหเด็กตองกลับมารับบริการ ท่ีโรงพยาบาล ซํ้าอีก ทําใหเด็กไมสบาย แผลหลังถอนฟนหายชา และเสียเวลาผูปกครองตองพาเด็กมารับบริการ ซํ้าอีก ดังน้ันจึงมีแนวทางปองกันปญหาน้ีโดยใหคําแนะนําหลังถอนฟนแกนักเรียน ใหครูและผูปกครองกําชับนักเรียนใหปฏิบัติตามคําแนะนําหลังถอนฟนอยางเครงครัด

๒. เปาประสงค(Purpose)

๒.๑ อุบัติการณการกัดริมฝปากและกระพุงแกมของนักเรียนหลังรับบริการถอนฟน เทากับ0 ๒.๒ อัตราการพานักเรียนมารับบริการซํ้าหลังถอนฟนเทากับ0

๓. กระบวนการพัฒนา(Process)

๓.๑ ใหคําแนะนําหลังถอนฟนแกนักเรียน ครูผูปกครอง หลังถอนฟน อยางเครงครัด ๓.๒ ใหครูและผูปกครองชวยดูแลนักเรียนหลังถอนฟน

๔. ผลลัพธ(Performance).

ลดปญหาการกัดริมฝปากและกระพุงแกมของนักเรียนหลังรับบริการถอนฟน และปญหาการพานักเรียนมารับบริการซํ้าหลังถอนฟนเทากับ 0

๕. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมายวางแผนทําอยางไร(Preparedness)

กรณีเด็กยังมีการกัดริมฝปากและกระพุงแกมอยู ใหนักเรียน ท่ียังพบปญหาน้ี มารับบริการถอนฟนท่ีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล หรือโรงพยาบาลทาวังผา เพ่ือดูแลหลังถอนฟนอยางใกลชิดตอไป

Page 151: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

151

Good Practice เรื่อง การพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองในผูปวยCAPD

เจาของผลงาน : นางอรทัย ไชยชอฟา หนวยงาน คลินิกโรคไต งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา Problem คลินิกโรคไต ของโรงพยาบาลทาวังผา เปนเครือขายของโรงพยาบาลนานรับผูปวยท่ีทํา

CAPDจาก โรงพยาบาลนาน มาเพ่ือการดูแลตอเน่ือง หากพบวามีปญหาก็สงกลับไปใหโรงพยาบาลนานดูแลตอผูปวยCAPD เปนผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะสุดทายท่ีไดรับการบําบัดรักษาโดยการลางไตทางชองทอง ซ่ึงมีโอกาสเส่ียงตอการติดเช้ือในชองทองหากไมมีการดูแลอยางถูกตองท่ีบาน

2. เปาประสงค Purpose ไมเกิดภาวะแทรกซอนติดเช้ือในชองทอง(Peritonitis)ในผูปวยCAPD

3. กระบวนการพัฒนา Process 1. หลังจากไดรับการประสานจากรพ.นานท่ีจะสงผูปวยมาดูแลตอเน่ืองท่ีรพ.ทาวังผา 2. พยาบาลเฉพาะทางไต ออกเย่ียมบานเพ่ือเตรียมความพรอมเร่ืองการจัดส่ิงแวดลอมใหเหมาะสมกับผูปวย และใหคําแนะนําญาติท่ีตองดูแลผูปวยโดยเนนเร่ืองการปองการติดเช้ือสําหรับผูปวยและญาติ (โดยเนนการจัดส่ิงแวดลอมให สะอาด และผูใหการดูแลลางมือกอนและหลังใหการดูแลทุกคร้ัง) 3. ใหคําแนะนําญาติท่ีตองดูแลการเปล่ียนนํ้ายาใหกับผูปวยถึงข้ันตอนการดําเนินการ ขอควรระวัง ส่ิงผิดปกติท่ีตองกลับมาพบแพทย 4. แนะนําญาติ เก่ียวกับการติดตามดูแลตอเน่ืองดวยตนเองและครอบครัวของผูปวยเชน การช่ังนํ้าหนัก การบันทึกนํ้ายา เขา-ออก และอาการการเปล่ียนแปลงท่ีผิดปกติอยางสมํ่าเสมอทุกวัน 5. แนะนําการกําจัดอุปกรณท่ีใชแลวอยางถูกตองไมเปนปญหากับชุมชน 6. พยาบาลไตติดตามผูปวยหลังออกจากรพ.มาอยูท่ีบานทุกรายในคร้ังแรก 7. จัดชองทางใหคําปรึกษาแกผูปวยและญาติกับพยาบาลไตโดยตรง เชน เบอรโทรศัพท ,ไลน

4. ผลลัพธ Performance ในป 2561 มีผูปวย CAPD ท่ีไดรับการดูแลจากคลินิกโรคไต โรงพยาบาลทาวังผา อําเภอทาวังผา

จังหวัดนาน จํานวน 7 ราย พบภาวะแทรกซอนจากการติดเช้ือในชองทองของผูปวย CAPD จํานวน 1 ราย

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไรPreparedness 1. ผูปวย ญาติ และครอบครัว เขาใจและปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผูปวย CAPD อยางถูกตอง 2. กรณีมีปญหา ญาติโทรแจงเจาหนาท่ีลวงหนา 3. พยาบาลไต ออกติดตามเย่ียมบานอยางสมํ่าเสมอ

Page 152: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

152

Good Practice เรื่อง การจัดเก็บเวชระเบียน (EKG)

ชื่อ นางสุภาพร เจริญคลัง หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : การคนหา EKG เกาไมพบ ทําใหการวินิจฉัย และการวางแผนการรักษาของแพทยลาชา ทําให

ผูปวยไดรับการรักษาท่ีลาชา คนไขบางรายท่ีมารับบริการกอนหนาน้ันไดทํา EKG เดิมแลวหา EKGไมเจอในล็อค อยูทําให

เสียเวลาในการคนหาเพราะ EKGยังไมไดสอดเขาล็อคยังคางอยูในตะกรา 2. เปาประสงค (Purpose) :

สามารถคนหาEKG เกาของผูปวยไดรวดเร็ว ผูปวยท่ีมาตามนัดคร้ังตอไปท่ีแพทยใหตาม EKG เดิมก็จะหาไดงายข้ึนท่ีเตรียมสอดไวเรียงตาม HN ในล็อค

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. สรางแนวทางการสงEKGจากจุดใหบริการมายังหองบัตร ตองกรอกขอมูลใหถูกตอง ชัดเจน

Zเขียน HN , ช่ือ-สกุลผูปวย และวดป.ท่ีทําการตรวจ) 2. นํามาสงท่ีตะกราEKG รอเก็บ ท่ีหองบัตร 3. จนท.หองบัตรจัดเก็บ อยางถูกตอง และเปนปจจุบัน

4.ผลลัพธ (Performance) : การเขารับบริการของผูปวยท่ีแพทยตองการคนหาEKGเกาพบวาสามารถคนหาไดงายและ

รวดเร็วข้ึน แตพบวาบางรายหาไมเจอแตก็ถือวาเปนโอกาสพัฒนาตอไป

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) การทําหัตถการ ตรวจ EKG ถูกทําในหลายจุดใหบริการเชน OPD , ER , IPD จึงขอความรวมมือทุกจุด

บริการดังน้ี 1. เขียน HN , ช่ือ-สกุลผูปวย และวดป.ท่ีทําการตรวจ ใหชัดเจน 2. หลังจากใหบริการผูปวยเรียบรอยใหนําสงท่ี OPDใสในตะกราEKGท่ีรอเก็บ จนท.ผูรับผิดชอบท่ีเวียนมาดูแลการจัดเก็บ ดําเนินงานตามแนวทางการจัดเก็บท่ีกําหนดไวถูกตอง

Page 153: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

153

Good Practice เรื่อง การดูแลผูปวยติดเชื้อในกระแสเลือด

ชื่อเจาของผลงาน นางพันธผกา จินะไชย ตึกผูปวยใน โรงพยาบาลทาวังผา

1. ความสําคัญของปญหา ( Problem ) การเสียชีวิตจากภาวะติดเช้ือในกระแสเลือดของโรงพยาบาลทาวังผามีแนวโนมสูงจากขอมูล

ผูปวยในต้ังแตป พ.ศ. 2557-2560เทากับรอยละ25, 20,9.57และ15.55 ตามลําดับ จากการวิเคราะหผูปวยท่ีเสียชีวิตเปนการติดเช้ือจากชุมชน และเปนผูปวยกลุม palliative ท่ีไมตองการการรักษาแบบ aggressive treatment มีการรวบรวมขอมูลเช้ือจากการสงเลือดเพาะเช้ือต้ังแตป2559-2560 พบมากท่ีสุดคือเช้ือ Eschericia ท้ังน้ีโรงพยาบาลทาวังผา เปนโรงพยาบาลขนาด30 เตียง ไมมีอายุรแพทยทําใหเม่ือมีผูปวยช็อคจากการติดเช้ือในกระแสเลือด(septic shock)ตองสงตอโรงพยาบาลนานท่ีอยูหาง 42 กิโลเมตร ปญหาท่ีพบในกระบวนการดูแลคือ late detection และ late resuscitation จึงไดมีการดําเนินการพัฒนาในการดูแลผูปวยดังกลาว

2.เปาประสงค (Purpose) 1. เพ่ือลดอัตราการตายของผูปวย Sepsis/ Septic shock นอยกวารอยละ 30 2. อัตราการไดรับสารนํ้าอยางนอย 30 cc/kg หรือ 1,000 ml ใน 1 ช่ัวโมงมากกวารอยละ 80 3. อัตราการไดรับยาปฏิชีวนะภายใน 1 ช่ัวโมงหลังการวินิจฉัย Sepsis มากกวารอยละ 80 4. อัตราการทําH/Cกอนให IV. Antibiotic มากกวารอยละ 80

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 1. จัดทําแนวทางการวินิจฉัย Sepsis/ Septic shock แนวใหม 2. จัดทําแผนการดําเนินงาน เพ่ือของบประมาณการดําเนินการ 3. ประชุมช้ีแจงเกณฑการวินิจฉัยใหม ของ Sepsis/ Septic shock ใหบุคลากรทางการแพทย

โดยเฉพาะพยาบาลในโรงพยาบาลทาวังผา และ รพ.สต.เขตอําเภอทาวังผา 1. รายงานผูปวย Sepsis/ Septic shock ใน Sepnet 1 เพ่ือเก็บ KPI ตามตัวช้ีวัด 2. นําผลลัพธท่ีไดมาวิเคราะหเพ่ือพัฒนางานการดูแลผูปวย Sepsis/ Septic shock

4. ผลลัพธ (Performance) 1. อัตราการตายของผูปวย Sepsis/ Septic shock รอยละ 7.24 2. อัตราการไดรับสารนํ้าอยางนอย 30 cc/kg หรือ 1,000 ml ใน 1 ช่ัวโมง รอยละ 97.10 3. อัตราการไดรับยาปฏิชีวนะภายใน 1 ช่ัวโมงหลังการวินิจฉัย Sepsis รอยละ 89.85 4. อัตราการทําH/Cกอนให IV. Antibiotic รอยละ 97.10

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) 1. ขยายผลการดูแลผูปวย กอนเกิดการติดเช้ือในกระแสเลือดในชุมชนโดยอบรมแกนนํา Care Giver เก่ียวกับการดูแลและการปองกันการเกิด Sepsis/ Septic shock 2. กระตุนทีมใหปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผูปวย Sepsis/ Septic shock . 3. ผลักดันใหมีการใช serum lactate เพ่ือชวยวินิจฉัยseptic shock

Page 154: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

154

Good Practice เรื่องการรายงานความเสี่ยงในหนวยงานตึกผูปวยใน

ชื่อเจาของผลงาน นางสาวสุภาวดี เชียงสอน ตึกผูปวยใน โรงพยาบาลทาวังผา

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) ในหนวยงานตึกผูปวยในมีอุบัติการณความเส่ียงเกิดข้ึนมากมายเชน med error ,การติดเช้ือใน

โรงพยาบาลและมีระบบการรายงานความเส่ียงแบบใหมคือ HRMS on clound ซ่ึงทําใหมีการเขาถึงการรายงานลดลงและพบวามีการรายงานอุบัติการณลดลงมีผลทําใหอุบัติการณน้ันเกิดข้ึนซํ้า โๆดยไมไดมีการทบทวนและหาแนวทางการแกไข

2.เปาประสงค (Purpose) 1. เพ่ือลดอัตราการเกิดอุบัติการณความเส่ียงในหนวยงาน 2. เพ่ือใหบุคลากรในหนวยงานตระหนักถึงความสําคัญในการรายงานความเส่ียง 3. เพ่ือใหบุคลากรในหนวยงานสามารถรายงานความเส่ียงผานระบบ HRMS on clound ได

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 1. สรางวัฒนธรรมและปรับทัศนคติเก่ียวกับการรายงานอุบัติการณความเส่ียงในหนวยงาน 2. มีการจัดสอนบุคลากรในหนวยงานในการรายงานอุบัติการณความเส่ียงระบบ HRMS on clound 3. มีการนําอุบัติการณความเส่ียงในระดับ E ข้ึนไปหรืออุบัติการณท่ีเกิดข้ึนซํ้าๆมาทบทวนในหนวยงาน

4. ผลลัพธ (Performance) 1. พบวามีการรายงานความเส่ียงในระดับ A B C เพ่ิมมากข้ึนและอุบัติการณระดับ E ข้ึนไปลดลง 2. พบวายังมีบุคลากรบางทานยังไมมีความม่ันใจในการเขาระบบ HRMS onclound

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) 1. กระตุนและเสริมสรางความม่ันใจแกบุคลากรในหนวยงานในการรายงานอุบัติการณความเส่ียง 2. สรางแนวทางหรือชองทางในการรายงานอุบัติการณความเส่ียงเพ่ิมเติม

Page 155: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

155

Good Practice เรื่อง การใสออกซิเจนบล็อกเด็ก

เจาของผลงาน นางสาว วาสนา ภิมาลย ตึกผูปวยใน โรงพยาบาลทาวังผา จังหวัดนาน

1. ความสําคัญของปญหา ( Problem ) เน่ืองจากตึกผูปวยในสวนใหญจะมีเด็กท่ีเขาการรักษาดวยอาการไข ไอ และบางคนแพทยตองใหใส

ออกซิเจนบล็อก สาเหตุก็จะเกิดจากการท่ีญาติยังไมพรอมซ้ือนํ้าแข็งมาและเห็นเด็กรองงอแงสงสารเด็กท่ีตองใสออกซิเจนบล็อก

2. เปาประสงค ( Purpose ) - เพ่ือใหออกซิเจนในรางกายเด็กดีข้ึน และหายใจดีข้ึนกวาเดิม

- เพ่ือลดภาวะแทรกซอนตางๆ

3. กระบวนการพัฒนา ( Process ) - จัดเตรียมของอุปกรณใหพรอม

- เตรียมนํ้าแข็งท่ีสํารองไวตูเย็นใสลงไปในกลองออกซิเจน - เปดออกซิเจนเขาในกลองออกซิเจน - แนะนําญาติใหเขาใจถึงการใสออกซิเจน

4. ผลลัพธ ( Performance) - ญาติเขาใจถึงการใสออกซิเจนใหเด็ก

- ออกซิเจนเด็กในรางกายดีข้ึนมากกวาเดิม - สามารถลดภาวะแทรกซอนตางๆได

5. ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร ( Preparedness) - จัดทําแผนพับใหความรูเก่ียวกับการใหออกซิเจนบล็อกและแนะนําญาติผูปวยท่ีเขารับการรักษาในโรงพยาบาลทาวังผาทุกราย

Page 156: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

156

Good Practiceเรื่อง การวางแผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑมิใชยา

ชื่อ ภก.ประดับ เพ็ชรจรูญหนวยงาน เภสัชกรรมชุมชน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem)

ในปจจุบันมีผูรับบริการเพ่ิมมากข้ึนจึงทําใหมีปริมาณการใชยาและเวชภัณฑมิใชยาเพ่ิมข้ึน ทํา

ใหคาใชจายดานยาและเวชภัณฑมิใชยาเพ่ิมข้ึนดวย และสงผลใหสถานการณดานการเงินของ

โรงพยาบาลอยูระดับ 7 และทําใหมูลคาการจัดซ้ือจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยาไมเปนไปตามแผนท่ีวาง

และไมสามารถคุมคาใชจายได

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือวางแผนคาใชจายดานการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยาของโรงพยาบาล

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

จัดทําแผนจัดซ้ือประจําปงบประมาณ และจัดทําแผนจัดซ้ือลวงหนา 1 เดือนเพ่ือใหสามารถ

คาดการณคาใชจายดานจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยาของแตละเดือนได และสามารถคาดการณเก่ียวกับ

สถานการณทางการเงินของโรงพยาบาลลวงหนาได หลังจากการจัดซ้ือจริงตองรายงานผลการจัดซ้ือเพ่ือ

เปรียบเทียบกับแผนจัดซ้ือท่ีต้ังไววามีการจัดซ้ือมากหรือนอยกวาแผนจัดซ้ือท่ีคาดการณไวเปนมูลคา

เทาไหร

4. ผลลัพธ (Performance)

สามารถควบคุมคาใชจายดานยาใหเปนไปตามแผนการจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยาไดเปนคร้ัง

คราว เน่ืองจากปริมาณผูรับบริการท่ีเปนผูปวยนอนโรงพยาบาลเปนจํานวนมากข้ึน สงผลใหไมเปนไป

ตามแผนจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยา แตในกรณีท่ีจํานวนผูรับบริการเฉล่ียตอวันไมมากเกินไป ก็

สามารถจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยาไดตรงตามแผนจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยา

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness)

นําปญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน มาปรับปรุง และวางแผนจัดซ้ือยาและเวชภัณฑมิใชยาตอไป

Page 157: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

157

Good Practice เรื่อง ความปลอดภัยของผูรับบริการรถเข็นนั่งที่แผนกผูปวยนอก

ชื่อ นายวัชรินทร ตนะทิพย หนวยงาน : งานผูปวยนอก

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : มีผูปวยท่ีมารับบริการท่ีแผนกผูปวยนอก ท่ีเดินเขารับบริการไมสะดวกเชน ผูพิการขา ผูท่ีมี

ปญหา ขา ปวดขา ปวดเขา และผูสูงอายุ จึงมีความจําเปนท่ีตองใหบริการดวยรถเข็นน่ัง

2. เปาประสงค (Purpose) : เพ่ือใหผูปวยท่ีใชบริการรถเข็นน่ังมีความปลอดภัยไมเกิดอาการไมพึงประสงคจากความไม

พรอมของอุปกรณ

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. จัดทําทะเบียนคุมรถเข็นน่ังท่ีแผนกผูปวยนอก 2.ทําความสะอาดรถเข็นน่ัง และตรวจสอบความสมบูรณพรอมใชของรถเข็นน่ังใหดีพรอมใชงานทุกวันกอนลงเวรเชา 3.เชา ตรวจสอบความพรอมใชอีกคร้ัง 4. สังเกตผูปวยท่ีมีปญหาของการเคล่ือนไหว ใหบริการรถเข็นน่ังใหกับผูรับบริการ

4. ผลลัพธ (Performance) : ท่ีแผนกผูปวยนอก ไมพบอุบัติการณไมพึงประสงคจากการใชรถเข็นน่ังท่ีไมพรอมใหบริการ

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) - หากมีการใชรถเข็นน่ังแลวพบวาชํารุด ไมพรอมใชใหแจงผูรับผิดชอบเพ่ือการสงซอม - หากมีการใชรถเข็นน่ังแลวควรกลับมาเก็บท่ีจัดใหเพ่ือความสะดวกของผูรับบริการรายตอไป

Page 158: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

158

Good Practice เรื่อง การเก็บปสสาวะในเด็กเล็ก

ชื่อเจาของผลงาน น.ส.ศิริพร เดชอุปการ หนวยงาน ผูปวยใน

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) เน่ืองจากเด็กเล็กหรือผูปวยท่ีชวยเหลือตัวเองไมได ท่ีมานอนในตึกผูปวยในบางรายตองมีการสงตรวจ

ปสสาวะเพ่ือหาสาเหตุของการปวย แตเด็กเล็กหรือผูปวยท่ีชวยเหลือตัวเองไมไดไมสามารถท่ีจะบอกไดวาตองการปสสาวะตอนไหนทําใหยากท่ีจะไดปสสาวะไปตรวจ

2.เปาประสงค (Purpose) ทําใหผูปวยท่ีเปนเด็กเล็กหรือผูปวยท่ีชวยเหลือตัวเองไมได ไดรับการตรวจปสสาวะท่ีรวดเร็ว

3.กระบวนการพัฒนา (Process) นําถุงพลาสติกตัดเปนรูหรือเปนทางยาวตามลักษณะของเพศผูปวย แลวแปะพลาสเตอรตามขอบท่ีตัด

แลวนําถุงพลาสติกน้ันแปะลงไปท่ีอวัยวะเพศของผูปวยจากน้ันก็ติดตามเก็บทุก 30 นาที

4.ผลลัพธ (Performance) ผูปวยไดรับการเก็บปสสาวะเพ่ือตรวจวินิจฉัยไดเร็วข้ึน

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมายวางแผนทําอยางไร (Preparedness) ชวยแนะนําญาติในการติดตามการเก็บปสสาวะ

Page 159: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

159

Good practice เรื่อง การปองกัน IV เด็กเลื่อนหลุด

ชื่อเจาของผลงาน นางสาวพิชญา ภิมาลย หนวยงานตึกผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา(Problem)

ในตึกผูปวยเด็กมักจะมีการใหบริการผูปวยเด็กต้ังแตอายุ 0-14 ป ซ่ึงผูปวยท่ีเขามารับการ

บริการมากกวา 50% มักจะเปนเด็กในชวงอายุ 0-5ป และในผูปวยกลุมน้ีเม่ือมีไขมักเกิดความยุงยาก

ในการเช็ดตัวลดไข เน่ืองจากภาวะเจ็บปวย ไมใหความรวมมือ รองไห ด้ิน จึงทําใหตําแหนงท่ีใหสารนํ้า

เปยก เกิดการเล่ือนหลุด และเส่ียงตอการติดเช้ือ และทําใหผูปวยตองไดรับการใหสารนํ้าใหม ไดเจ็บตัว

ซํ้า ๆญาติมีความเครียด วิตกกังวล รูสึกไมตองการอยากจะเช็ดตัวลดไข จึงมีการพัฒนาอุปกรณสําหรับ

ใชดามมือและสวมมือขณะเช็ดตัวลดไข เพ่ือปองกันการเปยกนํ้าและนํ้าเกลือเล่ือนหลุดเพ่ือปองกันการ

เส่ียงตอการติดเช้ือ

2. เปาประสงค (Purpose)

2.1. เพ่ือปองกันการเกิดภาวการณอักเสบของผนังหลอดเลือดดํา

2.2. ปองกันบริเวรท่ีใหสารนํ้าเปยก เล่ือนหลุด และลดภาระงาน

2.3. ผูปวยไมเกิดการเจ็บตัวซํ้าซอน ญาติผูปวยสามารถดูแลและลดความวิตกกังวล และใหความ

รวมมือในการเช็ดตัวลดไขมากข้ึน

2.4. ลดคาใชจายของโรงพยาบาล

3. กระบวนการพัฒนา(Process)

3.1.ประชุมและทบทวนปญหารวมกัน

3.2.หาแนวทางแกไขและคิดคนประดิษฐนวัตกรรม

3.3.หาวัสดุอุปกรณท่ีเหลือใชท่ีมีอยูในหนวยงานมาประดิษฐ

3.4.ทดลองใชนวัตกรรม

3.5.ติดตามประเมินผล

4. ผลลัพธ(Performance)

4.1.ผูปวยไมตองไดรับความเจ็บปวดจากการใหสารนํ้าทางหลอดเลือดดําใหม

4.2.ไมเกิดความเปยกช้ืนและสะสมเช้ือโรคบริเวณท่ีใหสารนํ้าทางหลอดเลือดดํา

4.3.เปนการนําวัสดุอุปกรณท่ีใชงานแลวในหนวยงานกลับมาใชงานใหมเพ่ือเกิดประโยชนอีกคร้ัง

Page 160: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

160

Good Practice เรื่อง ผาผูกยึดลําตัวผูปวย (Physical Restraint)

ชื่อเจาของผลงาน นางณัชชา จันตะยอด หนวยงาน ผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา( Problem ) การผูกมัดผูปวยท่ีมีปญหาทางดานสุขภาพจิตจากแอลกอฮอลไวกับเตียง โดยการใชผาผูกมัดท่ีขอมือ

และขอเทา พบวาบางรายยังสามารถด้ินและแกะผาใหหลุดขาด บางรายดึงสายนํ้าเกลือและสายใหอาหารทางสายยาง บางรายลุกเดินลงจากเตียงและหนีออกจากตึกได

2 . เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยตอผูปวย เพ่ืออํานวยความสะดวกในการรักษาพยาบาล และชวยลดความ

กังวลของญาติในรายท่ีผูปวยเอะอะโวยวาย

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1 ผูกยึดแขนขา โดยใชผาทบหนา 4 ช้ัน เย็บใหเปนเชือกยาวประมาณ 1.50 เมตร เจาะรูตรงกลางเพ่ือสอดปลายเชือก เม่ือผูกยึดแขนขาดึงปลายผาท้ังสองขางผูกมัดกับขางเตียงผูปวย 3.2 ผูกยึดตัวผูปวยโดยใชผาผูกยึดตัวผูปวยทําดวยผาทบหนา 6 ช้ัน เย็บเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา กวาง 80 เซนติเมตร ยาว 100 เซนติเมตร มีปลายเชือกดานซายและขวา ขางละ 2 เสน และดานศีรษะ 2 เสน ยาวเสนละ 120 เซนติเมตร โดยใหผาทาบทับบนหนาอก และหัวไหลท้ัง 2 ขาง ผูกมัดปลายเชือกทุกเสนเขากับเตียงผูปวย

4. ผลลัพธ (Performance)

พบวาผาผูกยึดลําตัวผูปวย สามารถผูกยึดผูปวยใหนอนอยูบนเตียงได เพ่ือใหผูปวยไดรับการรักษาอยางถูกวิธี รวดเร็วปลอดภัย ภายใตการดูแลของเจาหนาท่ีและทีมแพทยพยาบาล และไมพบอุบัติการณการบาดเจ็บจากการผูกยึดผูปวย,การเล่ือนหลุด, การแกะผาของผูปวย และยังสามารถปองกันอุบัติการณท่ีอาจเกิดข้ึนได เชนอุบัติการณผูปวยตกเตียง ผูปวยดึงสายนํ้าเกลือ หรือผูปวยหนีออกจากโรงพยาบาล

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) เน่ืองจากรูปรางนํ้าหนักตัวของผูปวยแตกตางกัน บางรายมีแรงตานตอผาท่ีผูกยึด จนสามารถดึงเชือก

ของผาผูกมัดใหขาดได จึงตองหาวัสดุอุปกรณท่ีมีความคงทนมากกวาผา

Page 161: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

161

Good Practice เรื่อง พัฒนาระบบการดูแลรักษาผูปวยนอก โรงพยาบาลทาวังผา จังหวัดนาน

เจาของผลงาน พญ.ญาดา บุณยะวันตัง หนวยงาน องคกรแพทย

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) เน่ืองจากในแตละวันของการออกตรวจผูปวยนอก จะพบปญหาคือ มีปริมาณผูปวยจํานวนมาก

หลายคนมาย่ืนบัตรต้ังแตเชา แตไดรับการตรวจท่ีลาชา ทําใหเกิดความไมพอใจ บางคร้ังผูปวยเยอะจนทําใหการตรวจตองเลยเวลา ปฏิบัติงานตามเวลาราชการ สงผลใหเจาหนาท่ีหลายสวน ตองเลิกงานชาไปดวยหรือบางคร้ังปญหาท่ีระบบคอมพิวเตอร ย่ิงทําใหการตรวจลาชามากย่ิงข้ึน

2. เปาประสงค (Purpose) 1. เพ่ือใหผูปวยไดรับความสะดวก ปลอดภัย และรวดเร็วในการรักษา

2. เพ่ือลดภาระงานของบุคลากรในรพ.ทาวังผา

3. กระบวนการพัฒนา (Process) 1. กระตุนใหแพทยออกตรวจผูปวยนอกใหตรงเวลามากข้ึน น่ันคือเวลา 9.00น. ยกเวนในกรณีท่ีติด

เคสฉุกเฉินบนตึกผูปวยใน อาจลงมาตรวจชากวากําหนดได 2. ในสวนของการคัดกรอง เคสจําพวก ขอใบรับรองแพทย ขอใบสงตัวไปรพ.นาน ตรงจุดคัดกรองอาจมี

การแนะนําผูปวยวา ในคร้ังตอไป ใหกระจายวันเวลากันมา เชน ผูปวยนอกมักจะมีปริมาณเยอะมากในชวงวันจันทรหรือหลังวันหยุดยาว อาจแนะนําใหคร้ังตอไปกระจายมาวันพุธ/วันพฤหัสบดี เปนตน

3. ในสวนของแพทย หลีกเล่ียงเคสท่ีนัดโดยไมจําเปน หรือหากจะนัด (ในเคสท่ีดูไมรุนแรง) อาจใชคําแนะนําวา “หากอาการดีข้ึน หรือหายแลว ไมตองมาก็ได” เพ่ือลดปริมาณผูปวยท่ีจะมารพ.ลง

4. มีการตรวจสอบระบบคอมพิวเตอรอยูเสมอ หรือหากระบบมีปญหา จะมีผูดูแล เพ่ือใหแกไขไดรวดเร็วข้ึน

5. มีการแบงผูปวยไปในสวนNCD (กรณีเคสท่ีNCDหมดแลว) แตอาจจะเลือกเคสท่ีงายตอการตรวจ รางกาย เชน ไขหวัด ปวดเม่ือย ขอใบรับรองแพทย เปนตน เน่ืองจากหลายคร้ังมีการนําเคส เชน ริดสีดวงทวาร ปวดทองท่ีตองหาสาเหตุเพ่ิม ซ่ึงเตียง+อุปกรณในหองNCDคอนขางไมพรอมและไมเปนสวนตัว ทําใหผูปวยตองเสียเวลารอ หรือบางคร้ังตองใหผูปวยเดินทางไปมา ซ่ึงจะย่ิงเสียเวลามากข้ึน

4. ผลลัพธ (Performance) 1. ปริมาณผูปวยในแตละวันลดลง หรือกระจายไปในแตละวันใหใกลเคียงกัน

2. บุคลากร ทํางานสะดวกข้ึน รวดเร็ว ไมเหน่ือย และมีความสุขกับการทํางาน

5. วางแผนการพัฒนาอยางไร Preparedness 1. แจงใหผูปวยทราบ เชน กรณีเปนไข ปวดเม่ือย อาจใหรับยาท่ีรพสตกอนได เพ่ือลดปริมาณผูปวย

2. Advice เร่ืองการดูแลตัวเองท่ีมากข้ึน

Page 162: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

162

Good practice เรื่อง การเจาะวัดระดับน้ําตาลในเลือดที่บาน

ชื่อเจาของผลงาน พญ. จตุพร ฤกษสมผุส หนวยงาน องคกรแพทย

1. ความสําคัญของปญหา Problem: พบผูปวยติดตามคลินิกโรคเบาหวานท่ีใช insulin มีอาการนํ้าตาลในเลือดตํ่าบอยทําใหไม

สามารถคุมเบาหวานไดตามเกณฑ 2. เปาประสงค Purpose:

ตองการติดตามระดับนํ้าตาลในเลือดท่ีบานเพ่ือประเมินการใชยาและชวงระยะเวลาท่ีมีนํ้าตาลในเลือดตํ่า

3. กระบวนการพัฒนา Process: จัดทําแนวทางการเจาะวัดระดับนํ้าตาลในเลือดท่ีบานโดยเจาะตามชวงเวลากอนวันนัดติดตาม

อาการ2-3 วัน 4. ผลลัพธ Performance:

ผูปวยสามารถวัดระดับนํ้าตาลในเลือดท่ีบานชวงท่ีมีอาการและทําใหทราบระยะเวลาท่ีเกิดเหตุการณระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่ามีผลดีตอการปรับยา insulin และการควบคุมโรคเบาหวานใหไดตามเกณฑ

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร Preparedness: มีเคร่ืองเจาะระดับนํ้าตาลในเลือดประจําตัวเพ่ือใหผูปวยประเมินตนเองและปรับยารักษาดวย

ตนเอง

Page 163: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

163

Good Practice เรื่อง การจัดอัตรากําลังพยาบาลในขณะที่บุคลากรมีจํากัด เจาของผลงาน นางสาวประกอบ ศรีสิทธิพจน หนวยงาน กลุมการพยาบาล

1. ความสําคัญของปญหา Problem ป 2560-2561 มีพยาบาลลาออก 3 คน และลาออกไปบรรจุราชการ 3 คน แตไมไดมี

พยาบาลเขามาเพ่ิม สงผลใหอัตรากําลังไมเพียงพอ พยาบาลมี 42 คน (โครงสรางกลุมการพยาบาล รพ.ทาวังผา มี minimum ได47 คน) หลังจากมีการจัดการโครงสรางกลุมการพยาบาล ไดจัดใหบุคลากรลงตรงโครงสราง ตรงความสามารถของแตละคน พบวามีปญหาในการจัดอัตรากําลังบางหนวยงาน

2. เปาประสงค Purpose เพ่ือใหมีอัตรากําลังพยาบาลเพียงพอ พยาบาลปฏิบัติงานอยางมีคุณภาพ ไมมีรายงานอุบัติการณ

ท่ีเกิดจากอัตรากําลังไมเพียงพอ

3. กระบวนการพัฒนา Process ไดจัดพยาบาลจากหนวยงานอ่ืนท้ังในองคกร และจากองคกรอ่ืนมาชวยปฏิบัติงาน (ผูท่ีเคย

ปฏิบัติงานท่ีรพ.ทาวังผามากอน) ท้ังน้ีมีการ training และ ทํางานอยูภายใตการกํากับของหัวหนาเวร

4. ผลลัพธ Performance จากการดําเนินการท่ีผานมายังไมมีรายงานอุบัติการณท่ีเกิดจากการจัดหมุนเวียนบุคลากร

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร Preparedness วางแผนการจัดอัตรากําลังโดย การรองขออัตรากําลังจากโรงพยาบาลในเครือ และวางแผน ขอ

จางเหมาพยาบาลวิชาชีพ 2 คน

Page 164: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

164

Good Practice เรื่อง การตากผาไมแหง

เจาของผลงาน นายนเรณ สงาเนตร หนวยงาน ซักฟอก

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) ผาไมแหงผาช่ืน 2.เปาประสงค (Purpose) เพ่ือใหผาแหงไมช่ืน 3.กระบวนการพัฒนา (Process)

เม่ือเก็บผาจะทําการอบอีกคร้ังกอนสงหนวยงานตางๆ 4.ผลลัพธ (Performance) ผาไมช่ืน 5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนพัฒนาอยางไร (Preparedness) ทําการปรับปรุงท่ีตางผาเสริมท่ีกันฝนเพ่ือใหเวลาฝนตกแลวไมโดนผา

Page 165: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

165

Good Practice : ผารองปองกันแผลจากการใสออกซิเจนนาน

ชื่อเจาของผลงาน : นางกชพร หานิพัฒน ตึกผูปวยใน โรงพยาบาลทาวังผา จ.นาน

1. ความสําคัญของปญหา( Problem): เน่ืองจากจํานวนผูปวยระยะสุดทายท่ีประสงคจะเสียชีวิตในโรงพยาบาลมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึน ในระยะ

สุดทายของชีวิตผูปวยจะมีอาการหายใจหอบลึก จําเปนตองใสออกซิเจนชนิด Mask with bag เปนระยะเวลานาน สายรัดออกซิเจนจะกดทับผิวหนังบริเวณใบหนา ทําใหเปนรอยและเกิดแผลได

2. เปาประสงค (purpose) เพ่ือปองกันการเกิดแผลจากการใสออกซิเจนเวลานาน

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 1. เก็บรวบรวมขอมูลท่ีพบปญหาจากการใสออกซิเจนชนิด Mask with bag 2.เตรียมผาชนิดน่ิมสําหรับตัดเย็บ 3.เย็บผาเปนปลอก สามารถสวมสายรัดออกซิเจนใหมีความหนาและนุมข้ึน 4. นําผาท่ีตัดเย็บไปใสสายรัดออกซิเจนใหแกผูปวยท่ีใสออกซิเจนชนิด Mask with bag

4. ผลลัพธ(Performance) 1. ผูปวยไมเกิดแผลบริเวณใบหนา 2. ผูปวยและญาติพึงพอใจ

5.ถาผลลัพธไมเปนตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร(Preparedness) เปล่ียนชนิดของผาใหมีความหนานุมข้ึน

Page 166: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

166

GOOD PRACTICE เรื่อง การพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลแบบชี้ปญหาเฉพาะ

ชื่อ นางศิริลักษณ พันธุแกว หนวยงาน งานผูปวยใน

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) บันทึกทางการพยาบาลคือหลักฐานท่ีใชอางอิงการปฏิบัติการพยาบาล เปนเคร่ืองมือส่ือสารท่ีมี

ประสิทธิภาพท่ีทําใหบุคลากรในทีมไดรับทราบขอมูลท่ีถูกตองตามความเปนจริงท่ีตรงกันสามารถติดตามความกาวหนาและการเปล่ียนแปลงของผูปวยได และใชอางอิงทางกฎหมาย

จากผลการตรวจสอบคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผูปวยใน ป2559 และ 2560 ตามเกณฑการประเมินคุณภาพ เวชระเบียนของสํานักงานประกันสุขภาพแหงชาติ รวมกับสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล พบ วาในสวนของการบันทึกทางการพยาบาลมีคะแนน เฉล่ีย 6.32 และ 6.25 คิดเปนรอยละ70.32 และ 69.44 ตามลําดับ ซ่ึงในรายละเอียดพบปญหาคือ ขอมูลท่ีบันทึกไมครบถวนตามแบบบันทึก และแผนการรักษาของแพทย ไมถูกตองและ สอดคลองกับสภาพอาการผูปวย บันทึกเฉพาะ กิจกรรมการพยาบาลท่ีเปนงานประจํากิจกรรม การพยาบาลท่ีบันทึกไมสอดคลองกับส่ิงท่ีปฏิบัติจริงและแผนการรักษา การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาลไมสอดคลองกับการวินิจฉัยและกิจกรรมการพยาบาล บันทึกไมตอเน่ืองครบถวนตามชวง เวลาท่ีผูปวยรักษาตัวในหอผูปวย รวมถึงลายมือ ท่ีบันทึกอานยาก ไมสามารถส่ือถึงเจาของลายมือได จึงไดนําปญหาดังกลาวมาพัฒนา เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการบันทึกการพยาบาล และเปนพลังขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลใหไดมาตรฐาน เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด 2.เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือพัฒนารูปการพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพงานผูปวยใน 3.กระบวนการพัฒนา (Process)

ประชุมกลุมหารือรูปแบบในการเขียนบันทึกทางการพยาบาลแบบมีสวนรวม และไดออกแบบฟอรมการเขียนบันทึกทางการพยาบาลในรูปแบบของการช้ีปญหาเฉพาะ นําสูการปฏิบัติจริง และติดตามประเมินความสมบูรณของคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลหลังการลองใชแบบฟอรมใหม 4.ผลลัพธ (Performance)

จากการประเมินเบ้ืองตน พบวาความสมบูรณในการบันทึกเวชระเบียนยังไมไดคุณภาพในดานของความครอบคลุมตามกระบวนการพยาบาล เชนการประเมินบันทึกแรกรับท่ีขาดประเด็นสําคัญ หรือบันทึกไมครอบคลุมถูกตอง,การบันทึกการวินิจฉัยทางการพยาบาล/ปญหาของผูปวย ,การปฏิบัติการพยาบาล /การประเมินผลไมสอดคลองกัน และการสรุปการจําหนายท่ียังไมชัดเจนครอบคลุมประเด็น

5.ถาผลลัพธไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึน วางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) -พัฒนาแบบฟอรมการประเมินแรกรับ และแบบบันทึกการจําหนายใหสอดคลองกับแนวทางเกณฑใน

การประเมินคุณภาพของสํานักงานประกันสุขภาพแหงชาติ -ประชุมช้ีแจงพยาบาลวิชาชีพงานผูปวยใน ใหเห็นความสําคัญในการประเมินปญหาของผูปวย เพ่ือ

นํามาซ่ึงการวินิจฉัยทางการพยาบาลและการปฏิบัติการพยาบาลท่ีมุงเนนในการแกปญหาของผูปวยแตละรายไดถูกตอง

-พัฒนาดานความรูความเขาใน ทักษะในการเขียนบันทึกทางการพยาบาล -เพ่ิมการกํากับติดตามการบันทึกทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพแตละคนในหนวยงาน มีระบบ

การประเมินผลการบันทึก

Page 167: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

167

Good Practice เรื่อง การจัดการบริหารกรณีเตียงเต็ม

เจาของผลงาน นายแพทยดิเรก สุดแดน หนวยงาน องคกรแพทย

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) เน่ืองจากโรงพยาบาลทาวังผาเปนโรงพยาบาล 30 เตียงแตปรากฏวา มีอัตราการครองเตียงท่ีสูงถึงรอย

ละ 109, 107, 111 ในปพ.ศ. 2559-2560 สงผลกระทบกับเตียงท่ีใหบริการในผูปวย รวมถึงเตียงเสริมไมพอเพียงกับการใหบริการ ทางองคกรแพทยรวมกับทีม PCT จึงไดมีการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเตียงผูปวยใหเพียงพอและเหมาะสมกับการใหบริการ 2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือใหมีการบริหารจัดการเตียงใหเพียงพอและเหมาะสมกับการใหบริการของผูปวยในโรงพยาบาล

3.กระบวนการพัฒนา (Process)

- ประชุมวางแผนรวมกับ PCT ทีมและฝายการพยาบาลในการกําหนดลําดับการใหผูปวยเขาพักใน WARD ตางๆตามลําดับในกรณีเตียงเร่ิมเต็ม

- ใหแพทยผูอยูในเวรหรือแพทยเจาของไข ดําเนินการ ใหผูปวย D/C ในผูปวยท่ีสามารถกลับบานได หรือพนภาวะวิกฤติ กลับพักท่ีบาน หรือยายผูปวยไปในพ้ืนท่ี WARD ท่ีเหมาะสมท่ีไมมีความเส่ียงตามลําดับความสําคัญของโรคโดยใชดุลพินิจของแพทยรวมกับทีมรักษาพยาบาล รวมถึงผูปวยญาติ

-สรางระบบประสานงานกับโรงพยาบาลใกลเคียงเชน รพ.สองแคว รพร .สมเด็จยุพราชปวในการสงตอผูปวยใหเขานอนพักในรพ.ดังกลาว โดยมีระบบการสงตอทีเหมาะสม

4. ผลลัพธ (Performance)

พบวาในรอบ 6 เดือนท่ีผานมา มีอัตราเตียงเต็มเฉล่ีย 3 คร้ัง ตอเดือน และสามารถบริหารจัดการใหมีการเขาพักหรือยายผูปวย ได ตามตองการ รอยละ 91 แตยังประสบปญหา เร่ือง การขอยายผูปวยเชนกรณี ญาติผูปวย ไมยินยอมรับในการยายโรงพยาบาล และเกิดความไมพอใจ

5.การเตรียมแผนดําเนินการ ตอ ไป (Preparedness)

มีการทบทวน ประเด็นท่ี ไมสามารถบริหารจัดการเตียงได เปนรายกรณี และกําหนดแนวทางรวมกันใหม ในทีม PCT และวางแผนนโยบายกําหนดแผนระดับโรงพยาบาลสําหรับการขยายจํานวนเตียงและทรัพยากรท่ีเหมาะสมในการรองรับผูปวย

Page 168: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

168

Good Practice เรื่อง การใหการวินิจฉัย และการดแล และติดตาม ผูปวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

ชื่อ นายทรงพล ประทุม หนวยงาน : องคกรแพทย

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : สืบเน่ืองจากปญหาจํานวนผูปวยท่ีเขารับการรักษาในคลินิกโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง โรงพยาบาลทาวังผามี

จํานวนมาก และจากการสํารวจเบ้ืองตน พบวามีผูปวยเปนจํานวนมากถูกใหการวินิจฉัยโดยไมเหมาะสมและไมถูกตอง ไมมีแนวทางการใหการใหคําวินิจฉัย และแบบแผนการรักษา ทําใหการใหบริการดานการรักษาไมเปนไปตามมาตรฐาน รวมท้ังทําใหเกิดความส้ินเปลืองทรัพยากรในการดูแลผูปวยมากข้ึน โดยท่ีไมกอใหเกิดประโยชนตอผูปวยเพ่ิมมากข้ึน

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ือใหการวินิจฉัยโรคปอดอุดก้ันมีความถูกตอง และไดรับการรักษาอยางเหมาะส 2. เพ่ือลดการใชทรัพยากรในการรักษาโดยไมจําเปน 3. เพ่ือใหผูปวยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรังทุกคนเขาถึงการทํา Spirometry

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. ตรวจสอบรายช่ือผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยดวยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง แยกผูปวยออกเปนสองกลุม คือกลุมท่ีไดรับการทํา Spirometry และ กลุมท่ีไมไดทํา Spirometry 2. ผูปวยท่ีไดรับการท า Spirometry แลว พิจารณาคัดกรองผูปวย ท่ีมีคา Post bronchodilator FEV1/FVC มากกวา 0.7 กลับมาทบทวนและใหการวินิจฉัยท่ีถูกตอง 3. ผูปวยท่ีไมไดรับการท า Spirometry ใหทําการนัดหมาย เพ่ือมาทํา Spirometry โดยมีเปาหมายเพ่ือให ผูปวยทุกคนเขาถึง Spirometry 100% 4. พิจารณาแกไขการลงวินิจฉัยโรคตามแนวทางสมาคมอุรเวชชแหงประเทศไทย 5. ผูปวยท่ีถูกวินิจฉัยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง พิจารณาใหรักษาตามแนวทางรักษาโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง สวนผูปวยท่ีถูกลงวินิจฉัยดวยโรคอ่ืนใหการรักษาตามแนวทางโรคน้ัน ๆและพิจารณา ลดการใชยาท่ีไมจําเปนลง

4. ผลลัพธ (Performance) : 1. ผูปวยไดรับการวินิจฉัย และรับการรักษาท่ีเหมาะสม 2. ลดการใชทรัพยากรท่ีไมจําเปนลง ท้ังในดานผูใหบริการ และผลิตภัณฑยาท่ีไมจําเปน 3. ผูปวยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรังทุกคนไดรับการทํา Spirometry

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) 1. จัดทําแนวทางการใหการวินิจฉัยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง และการดูแลรักษาผูปวย ตามแนวทางสมาคมอุรเวชชแหงประเทศไทย เพ่ือใชเปนมาตรฐานการใหคําวินิจฉัยในโรงพยาบาลทาวังผา 2. ช้ีแจงทีมสหวิชาชีพเก่ียวกับแนวทางการใหการวินิจฉัยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง และการดูแลรักษาผูปวยตามแนวทางสมาคมอุรเวชชแหงประเทศไทย เพ่ือนําไปใชในการดูแลรักษาผูปวยอยางมีมาตรฐานตอไป

Page 169: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

169

Good Practice

เรื่องการใชยาอยางเหมาะสมในผูปวยท่ีมีภาวะ Acute pharyngitis / Acute tonsillitis เจาของผลงาน นพ.ชานนท วงศวิเศษ หนวยงาน องคกรแพทย

1.ความสําคัญของปญหา (Problem)

อาการเจ็บคอท่ีเกิดจากการติดเช้ือแบคทีเรียน้ันพบนอยกวา 10-20% น่ันหมายความวา สวนใหญแลว

การรักษาจะประกอบไปดวยการรักษาโดยไมใชยาปฏิชีวนะ จึงมีความสําคัญอยางย่ิงท่ีแพทยอาจตองนํา Centor

criteria มาชวยตัดสินใจวาผูปวยควรไดรับยาปฏิชีวนะหรือไมเพ่ือใหไมเกิดการใชยาปฏิชีวนะโดยไมจําเปนและ

เกิดการด้ือยาตามมาในอนาคต

2.เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือใหผูปวยไดรับการวินิจฉัยท่ีถูกตองเหมาะสมและไดรับการรักษาท่ีเหมาะสม เพ่ือลดการใชยา

ปฏิชีวนะโดยไมจําเปนและเกิดการด้ือยาตามมาในอนาคต

3.กระบวนการพัฒนา (Process)

มีการทําส่ืออธิบายเร่ืองขอบงช้ีในการใหยาปฏิชีวนะ อาจทําเปนกระดาษแปะติดไวท่ีหองตรวจ เพ่ือให

งายตอการนําไปใช หรือหาขอมูลผานอินเทอรเน็ตก็สามารถไดมาซ่ึงขอมูลอยางรวดเร็วเชนเดียวกัน

4.ผลลัพธ (Performance)

ผูปวยไดรับการรักษาอยางถูกตองเหมาะสมย่ิงข้ึน ทําใหสามารถลดการด้ือยาได

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึน วางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

นําขอมูลมาตรวจสอบในเร่ืองของการวินิจฉัยและยาท่ีไดผูปวยไดรับในแตละคร้ัง แลวดูวามีการใชยา

ปฏิชีวนะเกินความจําเปนจริงหรือไม หากจริงก็ตองทบทวนอีกคร้ังวาเกิดจากอะไร เพ่ือใหแกปญหาไดถูกจุด

Page 170: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

170

Good Practice

เรื่อง การบันทึกขอมูลการใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในโปรแกรมผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา R 36 ชื่อ นางพัชนี โลราช หนวยงาน อุบัติเหตุและฉุกเฉิน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : ในป 2560 การบันทึกขอมูลการใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในโปรแกรมผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา R 36ของโรงพยาบาลทาวังผา ไมเปนปจจุบัน ไมไดบันทึกและขอมูลไมครบถวนทําใหขอมูลเก่ียวกับจํานวนผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบารวมถึงปริมาณการใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในอําเภอทาวังผา ไมแนชัดรวมถึงมีผลกระทบตอปริมาณการสนับสนุนวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในระดับจังหวัด

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ือใหมีการบันทึกการใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในโปรแกรมผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา ท่ีครบถวน สมบูรณ 3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. กําหนดแนวทางปฏิบัติการบันทึกขอมูลการใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในโปรแกรมผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา R 36 และการบันทึกขอมูลในแบบสอบสวนผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา ในหนวยงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน 2. ช้ีแจงใหพยาบาลรวมถึงเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของทราบถึงการบันทึกขอมูลในเอกสารการสัมผัสโรคพิษสุนัขบาเพ่ือรวบรวมเก็บไวบันทึกในโปรแกรมผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา R 36 โดยผูรับผิดชอบบันทึกขอมูลโปรแกรมผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา R 36 ของหนวยงาน ER 3. เร่ิมดําเนินการต้ังแตป 2561 และติดตามประเมินผลเปนระยะ

4. ผลลัพธ (Performance) : มีการบันทึกการใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในโปรแกรมผูสัมผัสโรคพิษสุนัขบา ท่ีครบถวน สมบูรณ ทันเวลาทุกเดือน

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

Page 171: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

171

Good Practice เรื่อง การปรับเปลี่ยนแนวทางการฉีดวัคซีนสุนัขบาแบบ IM

เปน ID ในโรงพยาบาลทาวังผา ชื่อ นายชัยพันธ วิชา หนวยงาน อุบัติเหตุและฉุกเฉิน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) : เน่ืองจากสถานการณผูท่ีสัมผัสโรคพิษสุนัขบาอําเภอทาวังผา ในปงบประมาณ 2560 – 2561 มีจํานวนท่ีเพ่ิมข้ึน มีปริมาณการใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาเพ่ิมข้ึนอยางเห็นไดชัด ทําใหสงผลกระทบตอจํานวนวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในโรงพยาบาลไมเพียงพอใช เม่ือป 2560 มีการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาแบบเขากลามเน้ือ(IM) คือ จํานวน 1 vial ตอผูปวย 1 คน ประกอบกับวิกฤตดานการเงินการคลังในระดับของโรงพยาบาล

2. เปาประสงค (Purpose) : 1. เพ่ือใหประหยัดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาในระดับการบริหารยาของโรงพยาบาล

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. ทบทวนวิชาการแนวทางการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบารูปแบบตาง ๆเพ่ือเปรียบเทียบกับรูปแบบการฉีดเขากลามเน้ือ ซ่ึงพบวา การฉีดเขากลาม (IM) ใชวัคซีน 1 vial ตอจํานวนผูปวย 1 คน แตการฉีดแบบเขา ID ใชวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบา 1 vial ขนาดความจุ 0.5 ml (ID ฉีดคนละ 2 จุดๆละ0.1 ml) ใชไดกับผูปวย จํานวน 2.5 คน ทําใหประหยัดวัคซีนไดถึง 2.5 เทา 2. ช้ีแจงใหแพทยและพยาบาลรวมถึงเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของทราบถึงการนําแนวทางการฉีดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาแบบ ID มาใชแทนการฉีดแบบ IM 3. เร่ิมดําเนินการต้ังแตป 2561 และติดตามประเมินผลเปนระยะ

4. ผลลัพธ (Performance) : ทําใหประหยัดวัคซีนปองกันโรคพิษสุนัขบาไดถึง 2.5 เทา

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

Page 172: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

172

Good Practice เรื่อง การพัฒนาการดูแลบาดแผล

ชื่อ นางระวีวรรณ วิชา หนวยงาน ผูปวยใน

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) :

การทําแผลโดยเฉพาะแผลเร้ือรังในทีมพยาบาลผูปวยในมีเทคนิคการทําแผลท่ีหลากหลาย บางคร้ังทีม

พยาบาลไมม่ันใจในการทําแผลเร้ือรัง เชน การประเมินแผล การหายของแผล (heal) รวมถึงวิธีการตกแตงแผล

เร้ือรัง (debridement) สงผลทําใหแผลเร้ือรังหายชา

2. เปาประสงค (Purpose) :

1. เพ่ือใหผูปวยท่ีมีบาดแผลเร้ือรังหายเร็วข้ึน

2. เพ่ือใหหนวยงานมีแนวทางและมีการทําแผลเร้ือรัง ตามแนวทางการทําแผลเร้ือรัง

3. กระบวนการพัฒนา (Process) : 1. การนําแนวทางการดูแลบาดแผลเร้ือรังแนวใหม มาใชในการดูแลและทําแผลใหกับผูปวยท่ีมีบาดแผลเร้ือรัง 2. นําเอกสารหรือแนวทางปฏิบัติการดูแลแผลเร้ือรังมาใชในหนวยงานผูปวยใน 3. จัดระบบการ consult ทาง LINEการทําแผลโดยเฉพาะแผลเร้ือรัง แกทีมพยาบาลในหนวยงานผูปวยในและเปนพ่ีเล้ียงแกพยาบาลผูปวยในเก่ียวกับแนวทางการทําแผลเร้ือรัง

4. ผลลัพธ (Performance) :

1. ผูปวยท่ีมีบาดแผลเร้ือรังไดรับการทําแผลและแผลหายเร็วข้ึน

2.หนวยงานมีแนวทางและมีการทําแผลเร้ือรัง

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

การเพ่ิมชองทาง Consult ทาง LINE แผลเร้ือรังในหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน ER และ รพ.สต.ทีม HHC

Page 173: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

173

Good Practice เรื่อง ความเปนสวนตัวของแพทยกับผูปวยจิตเวชในมุมการใชส่ือสังคมออนไลน

ช่ือ นพ.ฐากูร ชัยศรีสุข หนวยงาน : องคกรแพทย

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) : พบวามีการลวงลาความเปนสวนตัวของแพทยผูรักษา โดยผูปวยโรคซึมเศรามีการสืบคนขอมูล

สวนตัวแพทยจากอินเตอรเน็ตและมีการหยิบยกขอมูลมาพูดถึงในบทสนทนาระหวางแพทยกับผูปวย มีการขอเปนเพ่ือนใน face book

2.เปาประสงค (Purpose) : สามารถรักษาความเปนสวนตัวระหวางแพทยและผูปวย โดยไมมีผลกระทบกับการรักษาติดตาม

ตอเน่ือง

3.กระบวนการพัฒนา (Process) : - ปรึกษาจิตแพทยถึงแนวทางการปฏิบัติตัว การใชสนทนาเพ่ือไมใหกระทบกับความสัมพันธระหวาง

แพทยผูปวย - มีการคนควาขอมูลวาบุคคลสามารถคนหาขอมูลโดยการคนช่ือแพทยจากอินเตอรเน็ตไดมากนอย

เพียงใด - ปฏิบัติรับเปนเพ่ือนกับผูปวยในโซเชียลเน็ตเวิรกและในการพบกับผูปวยคร้ังถัดไป หลีกเล่ียงการพูดถึง

ขอมูลสวนตัว โดยมุงเนนการสนทนาไปท่ีตัวโรคและอาการของผูปวย

4.ผลลัพธ (Performance) : ยังสามารถพูดคุยดําเนินการรักษาไดจนจบการรักษา โดยไมมีการอางอิงขอมูลสวนตัวอีกและไมมีการ

ดําเนินการทางโซเชียลเน็ตเวิรคใดๆตอจากผูปวย

5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness) - ถาพบวามีการดําเนินการตอ หรือหยิบยกบทสนทนาขอมูลสวนตัวมาพูด - ตองพูดคุยโดยตรงกับผูปวยถึงความเปนสวนตัว หากลุกลามควบคุมสถานการณไมได - ขออนุญาตใหเปล่ียนแพทยผูทําการรักษาหรือติดตอสงตัวพบจิตแพทยเฉพาะทางรพ.นานตอไป

Page 174: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

174

Good Practice เรื่อง ออกหนวยทันตกรรมโรงเรียน นางสาวจุรีพร แซทาว หนวยงาน งานทันตกรรม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) จากการออกหนวยทันตกรรมในโรงเรียนท่ีมีการไปใหบริการ ถอนฟนนํ้านม และ ขูดหินนํ้าลาย

ในเด็กนักเรียนช้ันประถมศึกษา โดยใหบริการปการศึกษาละ1คร้ัง พบปญหาวาเด็กนักเรียนบางคนไมใหความรวมมือในการรักษาทําใหการทําหัตการเปนไปดวยความยากลําบาก อีกท้ังผูปกครองของเด็กบางคนไมไดมีความประสงคใหเจาหนาท่ีไปทําการรักษาโดยไมไดรับอนุญาตจากผูปกครองรวมถึงเจาหนาท่ีไมทราบเก่ียวกับประวัติโรคประจําตัวและประวัติการแพยาของเด็กนักเรียน เน่ืองจากการรักษาดังกลาวเปนหัตการท่ีมีการใชยาชาเฉพาะท่ี และทําใหมีเลือดออก จึงทําใหมีความเส่ียงอันตรายตอเด็กนักเรียนเม่ือใหการรักษาและเส่ียงตอการฟองรองผูปกครองหากมีเหตุการณท่ีไมคาดฝนเกิดข้ึนอีกท้ังการใหรักษาโดยไมมีผูปกครองอยูดวยน้ัน ทําใหผูปกครองไมทราบถึงปญหาสุขภาพชองปากของบุตรหลานและไมไดตระหนักเห็นถึงความสําคัญในการดูแลสุขภาพชองปาก

ดังน้ันทางทีมเจาหนาท่ีออกหนวยใหบริการทันตกรรมในโรงเรียนจึงมีความเห็นวาควรเปล่ียนรูปแบบจากการใหบริการขูดหินนํ้าลาย และถอนฟนนํ้านม ซ่ึงเปนหัตถการท่ีมีความเส่ียงอันตรายตอตัวเด็กนักเรียน เปนกิจกรรมการสงเสริมการดูแลสุขภาพชองปาก และการใหบริการอุดฟนแทน ซ่ึงเปนหัตถการท่ีมีความเส่ียงนอยกวาเน่ืองจากไมมีการใชยาชาเฉพาะท่ีและเปนหัตถการท่ีไมทําใหมีเลือดออก

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือลดความเส่ียงอันตรายจากการรักษาแกเด็กนักเรียน ความเส่ียงจากการถูกฟองรองจาก

ผูปกครองหากมีเหตุการณไมคาดฝนเกิดข้ึน 3. กระบวนการพัฒนา (Process)

เปล่ียนจากการออกหนวยใหบริการขูดหินนํ้าลายและถอนฟนนํ้านม เปนการใหบริการสงเสริมการดูแลสุขภาพชองปากโดยการใหทันตสุขศึกษาแกเด็กนักเรียนทุกระดับช้ัน และใหบริการอุดฟนท่ีไมซับซอน

4. ผลลัพธ (Performance) เน่ืองจากทางทีมออกหนวยทันตกรรมในโรงเรียนกําลังจะทดลองดําเนินการในภาคเรียนหนา

จึงยังไมทราบผลลัพธของการเปล่ียนแปลงรูปแบบ 5. ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

หากผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายอาจมีการประชุมเพ่ือวางแผนรูปแบบการออกหนวย

ใหบริการทันตกรรมในโรงเรียนอีกคร้ังเพ่ือความปลอดภัยของเด็กนักเรียนและเจาหนาท่ีผูใหบริการ

Page 175: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

175

Good Practice เรื่อง การพัฒนาการดูแลเพื่อปองกันการเกิดแผลกดทับ ชื่อเจาของผลงาน นางสุภาพร มีบุญ หนวยงาน ตึกผูปวยใน

1.ความสําคัญของปญหา (Problem)

ผูมารับบริการในขอบเขตท่ีโรงพยาบาลรับผิดชอบน้ัน ประกอบไปดวยผูปวยฉุกเฉินและ โรคเร้ือรัง ซ่ึงผูปวยเร้ือรังเหลาน้ีจําเปนตองไดรับการดูแลอยางตอเน่ืองเปนระยะเวลานาน ในขณะท่ีโรงพยาบาลมีจํานวนเตียงจํากัดท่ีจะรับไวรักษาจึงเปนเหตุใหผูปวยถูกจําหนายกลับบานออกจากโรงพยาบาล ในขณะท่ีผูปวยยังตองรับการดูแลอยางตอเน่ืองทําใหตองมีการดูแลสุขภาพท่ีบาน(Home Health Care) เพ่ือคงไวซ่ึงคุณภาพชีวิตท่ีดี ไมรูสึกถูกทอดท้ิงจากบุคลากรในทีมสุขภาพ เสียคาใชจายถูกกวาในโรงพยาบาล นอกจากน้ียังพบวาภาวะแทรกซอนท่ีพบบอยมากในผูปวยกลุมน้ีคือ การเกิดแผลกดทับ (Bed sore ,Pressure sore) แผลกดทับเปนภาวะแทรกซอนท่ีสําคัญและเปนเปนปญหาท่ีพบไดมากในผูปวยท่ีเขารับการรักษาใน โรงพยาบาล โดยเฉพาะผูปวยสูงอายุท่ีชวยเหลือตัวเองไดนอย ซ่ึงผลกระทบทําใหเกิดความเจ็บปวด ทุกขทรมาน พิการ หรืออาจเสียชีวิตได และทําใหสูญเสียคาใชจายในการรักษาพยาบาลมากข้ึน ทําใหระยะเวลาในการเขารับ รักษาพยาบาลนานข้ึน ตลอดจนปญหาการดูแลตอเน่ืองท่ีบาน การปองกันเปนวิธีท่ีดีท่ีสุด ทําไดงาย การมีแนวปฏิบัติท่ี เปนมาตรฐานและเปนไปในทิศทางเดียวกันในการดูแลและปองกันการเกิดแผลกดทับ จะทําใหการดูแลเปนไปไดอยาง ถูกตอง เหมาะสม และเกิดผลลัพธท่ีดีตอผูปวย 2.เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือลดและปองกันอุบัติการณการเกิดแผลกดทับ ในหนวยงาน 3.กระบวนการพัฒนา (Process) 1. ประชุมช้ีแจงบุคลากรในหนวยงาน ใหเห็นความสําคัญของปญหา 2. แนวทางปฏิบัติในการประเมินความเส่ียงของการเกิดแผลกดทับ

3. แบบประเมินความเส่ียงตอการเกิดแผลกดทับ โดยใชแบบประเมิน Barden scale 4. การใสอุปกรณการปองกันการเกิดแผลกดทับเตียงลม 5.การใชตารางพลิกตะแคงตัว ทุก 2 ช่ัวโมง 6. พยาบาลวางแผนการดูแล การประเมินความเส่ียงในการเกิดแผลกดทับ และแนวทางการดูแล แผล

กดทับสูการปฏิบัติ ติดตามและประเมินผล ประสานงานระหวางทีมการดูแลและญาติสงเสริมทักษะ การดูแลของญาติ ทําหนาท่ีในการประสานงานในการติดตามดูแลตอเน่ืองกับเจาหนาท่ี โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 4.ผลลัพธ (Performance)

อัตราการเกิดแผลกดทับ = 0 (เปาหมายนอยกวา 5 : 1000 วันนอนในผูปวยกลุมเส่ียง ) 5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness)

การพัฒนารูปแบบการดูแลและการวางแผนจําหนาย เปนการพัฒนาศักยภาพของผูปวยและญาติ โดยการเสริมสรางใหมีทักษะและเจตคติท่ีดีตอการดุแลผูปวยท่ีบาน โดยการประเมินปญหาและวินิจฉัยปญหาแลวรวบรวมขอมูลนํามาใชวางแผนรวมกนระหวางทีมสหสาขาวิชาชีพกับผูปวยและครอบครัวโดยกําหนดเปาหมายการดูแลเน้ือหาในการวางแผนการจําหนายเฉพาะผูปวยแตละคนเพ่ือใหผูปวยและญาติไดรับความรูอยาง ครบถวนและใชแผนการจําหนายในลักษณะกิจกรรมการพยาบาลตามรูปแบบ D-M-E-T-H-O-D

Page 176: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

176

Good practice เรื่อง การดูแลผูปวยไสติ่งอักเสบเฉียบพลัน( Acute appendicitis) เจาของผลงาน นางบุษบา เสนนันตา หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน

๑.ความสําคัญของปญหา(Problem) โรงพยาบาลทาวังผามีผูปวยReferดวยAcute Appendicitis ในป 2557- 2560 จํานวน 51, 80 ,

87,66ราย ตามลําดับ อัตราการเกิด Rupture Appendicitis คิดเปนรอยละ 3.45, 5.13, 2.94,1.96 ตามลําดับ อุบัติการณการเกิด Miss /Delay Diagnosis จํานวน 11, 15 ,8 , 1 ราย ตามลําดับ จากการทบทวน Case ผูปวยRupture appendicitis ทุกราย พบวาเปนจํานวนผูปวย Rupture appendicitis จากการ Miss/Delay Diagnosis คิดเปนรอยละ 20 จากการทบทวนยังพบวาผูปฏิบัติไดปฏิบัติตาม CPG โดยใช Alvarado score ชวยในการประเมินผูปวยท่ีเขารับการรักษาดวยอาการปวดทองและเฝาระวังโรค acute appendicitis เพียงรอยละ 32(ป2557) ดังน้ันโรงพยาบาลทาวังผาจึงได ดําเนินการพัฒนาการดูแลผูปวย Acute appendicitisใหมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากข้ึนเพ่ือไมใหเกิด Rupture Appendicitis จากการ Miss/Delay Diagnosis

๒. เปาประสงค(Purpose) ๒.๑ อุบัติการณการเกิด Rupture appendicitis จากการวินิจฉัยผิดพลาดและลาชา เปน 0 ๒.๒ อัตราการเกิด Rupture appendicitis กอนเขารับการรักษานอยกวารอยละ 3 ๒.๓ ผูปวยท่ีสงสัย acute appendicitis ไดรับการดูแลโดยใช Alvarado score รอยละ 100

๓. กระบวนการพัฒนา(Process) ๓.๑ การเขาถึงบริการ

- แนะนําอาการของไสต่ิงอักเสบ และเนนยํ้าการกลับมาตรวจซํ้าหากอาการเปนมากข้ึน รวมถึงชองทางการขอรับบริการฉุกเฉิน 1669 ในผูปวยท่ีเขารับการรักษาดวยอาการปวดทองทุกรายท่ีอาการเขาไดกับ acute appendicitis หรืออาการปวดทองท่ีเปนอาการเร่ิมแรกของไสต่ิงอักเสบท่ียังไมบงช้ีถึงภาวะ acute appendicitis ท่ีชัดเจน (Alvarado score < 4) ๓.๒ การคัดกรองและประเมิน

- ประเมินผูปวยท่ีสงสัยไสต่ิงทุกรายท่ีเขารับการรักษาดวยอาการปวดทองท่ีอาการเขาไดกับ acute appendicitis แพทยและพยาบาลจะใช Alvarado score ประเมิน

- แนะนําในการสังเกตอาการตอท่ีบานใน ผูปวยท่ี Alvarado score < 4 คะแนนและสามารถสังเกตอาการปวดทองไดดวยตนเอง สวนผูปวยท่ีไมสามารถสังเกตอาการปวดทองไดดวยตนเอง การเขารับการรักษาเปนไปดวยความลําบาก หรือมีความวิตกกังวลเก่ียวกับความเจ็บปวยมาก จะถูกรับไวสังเกตอาการปวดทองในโรงพยาบาลทุกราย

- กําหนดใหในกรณีสงสัย Acute appendicitis ในการตรวจ CBC,UA ใหหองปฏิบัติการรายงานผลภายใน 30 นาที

- รับผูปวยไวสังเกตอาการปวดทองในโรงพยาบาลทุกรายในผูปวยท่ี Alvarado score 4-6 คะแนน

- สงตัวเพ่ือรับการรักษาตอโดยศัลยแพทย รพ.นาน และ รพ. ปว ทุกรายในผูปวยท่ี Alvarado score ≥ 7 คะแนน

๓.๓ การดูแลรักษา

Page 177: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

177

- ทบทวนและปรับปรุง CPG ในการดูแลผูปวยacute appendicitis - จัดประชุมวิชาการใหความรูแกแพทย และพยาบาลท้ังเครือขายในการดูแลผูปวย acute

appendicitisโดยใชAlvarado score - แจงแนวทางแกแพทยเวียนทุกคนท่ีมาประจําโรงพยาบาลทาวังผารวมท้ังพยาบาลท่ีบรรจุใหมทุก

คน ในการประเมินผูปวยท่ีมารับการรักษาดวยอาการปวดทองท่ีสงสัย Acute appendicitis โดยใช Alvarado score

๔. ผลลัพธ(Performance)

ตัวช้ีวัด เปาหมาย ป

2557 ป

2558 ป

2559 ป

2560 ป 2561

ต.ค. 60 - ส.ค.61 1. อุบัติการณ Miss /Delay diagnosis (ราย)

0 11 15 8 1 3

2. อัตราการเกิด Rupture appendicitis <3 4.08 6.35 1.29 1.96 4.71 3. รอยละของการปฏิบัติตาม CPG หรือการใชAlvarado scoreในการดูแลผูปวย

100 32 70 80 98 94

๕. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมายวางแผนทําอยางไร(Preparedness) - ส่ือสารประชาสัมพันธทางวิทยุกระจายเสียงชุมชน, เสียงตามสายในหมูบาน,เสียงตามสายในโรงพยาบาล เร่ืองอาการโรคไสต่ิงอักเสบเฉียบพลัน เพ่ือใหผูปวยมารับการรักษาไดทันเวลา - เนนยํ้าใหพยาบาลชวยแนบแบบฟอรม Alvarado score ในผูปวยเขารับการรักษาดวยอาการปวดทองท่ีอาการเขาไดกับ acute appendicitis

Page 178: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

178

Good Practice เรื่อง ผลการดําเนินการติดชือ่อุปกรณผิดชนิด

ชื่อเจาของผลงานนางปราณี ศรีพลัง หนวยงาน จายกลาง

1.ความสําคัญของปญหา(Problem) เน่ืองจากในเดือน สิงหาคม 2561พบอุบัติการณสงอุปกรณใหหนวยงานติดช่ืออุปกรณผิดชนิด

จํานวน 1 คร้ังจากการนําอุปกรณวางไวใกลกันกอนการติดช่ือ

2.เปาประสงค (Purpose) 2.1. เพ่ือใหการติดช่ือชนิดรายการอุปกรณถูกตอง มีความพรอมใช

3.กระบวนการพัฒนา (Process) 3.1.นําปญหามาประชุมรวมกันในหนวยงานจายกลาง เพ่ือหาแนวทางแกไข 3.2.นํารูปแบบท่ีไดพัฒนาลงสูการปฏิบัติ โดยมีการตรวจสอบหีบหออุปกรณทุกคร้ัง กอนการ

ติดช่ือแตละรายการ 3.3. ประเมินผล

4. ผลลัพธ (Performance) ไมพบอุบัติการณติดช่ืออุปกรณผิดชนิด ในเดือนกันยายน 2561 มีระดับความพึงพอใจของ

เจาหนาท่ีในการปฏิบัติงาน รอยละ 96 มีระดับความพึงพอใจของเจาหนาท่ีในหนวยงาน รอยละ 94

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) วิเคราะหสาเหตุของอุบัติการณท่ีเกิด นํามาปรึกษากันในทีมการทํางาน เพ่ือหาแนวทางแกไข

ปญหารวมกันใหดีข้ึนกวาเดิม

Page 179: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

179

Good practice เรื่อง การจัดเตรียมกระเปา EMS แบบ advice

เจาของผลงาน ศิริวิมล เฟองมณี หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน

1. ความสําคัญและปญหา (Problem) จากปญหาท่ีผานมา พบการออก EMS ในพ้ืนท่ีไกลและรถambulance ไมสามารถเขาถึง ทําใหตองขนอุปกรณหลายอยางออกไป ณ จุดเกิดเหตุ บางคร้ังพบผูปวยวิกฤต แตอุปกรณไมครบพรอมในการชวยเหลือ เชน ขาดอุปกรณใส ET-tube , ยาฉุกเฉินบางชนิด ทําใหการรักษาลาชาออกไป

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือใหมีอุปกรณพรอมใชในการชวยชีวิตข้ันสูง

3. กระบวนการพัฒนา (Process)

1. จัดหากระเปา ท่ีสําหรับใสอุปกรณชวยชีวิตท้ังหมดไวในใบเดียว 2. จัดเรียงรายการอุปกรณชวยชีวิตตาง ๆต้ังแตง A,B,C และจัดรายการยาท่ีใชสําหรับผูปวยวิกฤต 3. เบิกของท่ีตองการใช แลวจัดเรียงใสกระเปาอยางเปนระบบ มีปายติดไวชัดเจน เพ่ือใหงายตอผูใชงาน 4. มีการตรวจเช็ค เตรียมความพรอม ติดตามอุปกรณ ทุกสัปดาห

4.ผลลัพธ (Performance)

1. อุปกรณพรอมใชในการออก EMS 2. สามารถออก EMS ไกล ๆโดยกระเปาเพียงใบเดียว

Page 180: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

180

Good Practice เรื่อง Bitewing จากกระดาษกลองถุงมือ

ชื่อ นางสาววิชญาดา จิณะไชย หนวยงาน ทันตกรรม

1.ความสําคัญปญหา (Problem)

เน่ืองจากเคร่ืองมือท่ีใชใน x-ray ฟนมีหลากหลายแบบถาตองจัดซ้ือท้ังหมดจะทําใหส้ินเปลืองมาก

โดยเฉพาะการ x-ray ฟนแบบกัดสบเพ่ือดูกระดูกเบาฟนและฟนผุบริเวณซอกฟน(Bitewing) ซ่ึงเคร่ืองมือท่ีใช

เม่ือใชเสร็จแลวตองทําการฆาเช้ือโดยการอบแกสเทาน้ัน

2. เปาประสงค (Purpose)

เพ่ือการตองการลดคาใชจายในการจัดซ้ือเคร่ืองมือ x-ray ฟนแบบกัดสบเพ่ือดูกระดูกเบาฟนและฟนผุ

บริเวณซอกฟน(Bitewing)

3.กระบวนการพัฒนา (Propose)

นํากลองถุงมือมาตัดใหไดขนาดประมาณกวาง 1 เซนติเมตรยาว 8 เซนติเมตร พับคร่ึงเขาหากันใหพอดี

กับขนาดของ flim x-ray ติดเทปกาวใสตรงปลายเขาดวยกันเพ่ือทําเปนท่ีกัดตอนถาย x-ray ฟน

4.ผลลัพธ (Performance)

เคร่ืองมือท่ีประดิษฐข้ึนมาจากกลองถุงมือสามารถใชในการถายภาพ x-ray ฟนแบบกัดสบเพ่ือดูกระดูก

เบาฟนและฟนผุบริเวณซอกฟน(Bitewing) ไดจริง

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร (Preparedness)

Page 181: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

181

Good Practice เรื่อง การควบคุณคุณภาพสียอม Gram stain

ชื่อเจาของผลงาน นายชูชาติ เนตรวีระ หนวยงานชันสูตรสาธารณสุข

1.ความสําคัญของปญหา(Problem)

การตรวจและวินิจเช้ือโรคทางหองปฏิบัติการ ในการหาเช้ือโรคท่ีเปนสาเหตุของโรค นอกจากการตรวจโดยเพาะเช้ือแลว การตรวจโดยการวิธียอมGram stain ยังชวยใหแพทยวินิจฉัยเช้ือโรคท่ีทําใหเปนสาเหตุของโรค ไดถูกตองรวดเร็วและแมนยํา แตการยอมสีท่ีมีประสิทธิภาพ จะตองมีสียอม Gram stain ท่ีมีคุณภาพ โดยมีการควบคุมคุณภาพสีใหไดมาตรฐาน

3.กระบวนการพัฒนา(Process)

หาตัวเช้ือโรคท่ีเปนตัวควบคุมคุณภาพ โดยเช้ือGram Positive ใชเช้ือ Staphylococcus aureus ท่ีไดจากการ Cultureเปนตัวควบคุม โดยเช้ือGram Negative ใชเช้ือ Escherichia coli ท่ีไดจากการ Cultureเปนตัวควบคุม ทําการควบคุมคุณภาพอาทิตยละสองวัน

4.ผลลัพธ(Performance)

ไดผลการตรวจ Gram stain ท่ีวินิจฉัยตัวเช้ือโรคท่ีถูกตอง รวดเร็ว แมนยํา ผูรับบริการพึงพอใจ

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร

- มีการควบคุมคุณภาพภายใน(Internal)ทุกวัน

Page 182: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

182

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดเก็บรายไดจากผูประสบภัยจากรถ ชื่อเจาของผลงาน นางนงเยาว รัตนเรืองศิลป หนวยงาน ฝายบริหารงานทั่วไป

1.ความสําคัญของปญหา (Problem) ปจจุบันพบวาการเกิดอุบัติเหตุและประสบภัยจากรถของประเทศไทยมีอุบัติการณ ติด 1 ใน 10 ของโลก ทําใหเกิดภาระคาใชจายทางดานการรักษาพยาบาลท่ีตองสูญเสีย ซ่ึงทางหองการเงินไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว ซ่ึงในแตละปไมสามารถเรียกเก็บคารักษาพยาบาลไดครบเต็มจํานวน เน่ืองจากผูปวยไมไดนําเงินมาชําระหรือสงเอกสารหลักฐานไมครบ ซ่ึงในแตละเดือนผูปวยท่ีประสบภัยจากรถท่ีเขามารับบริการในโรงพยาบาลทาวังผา ต้ังแตเดือนมกราคม-สิงหาคม 2561 มีจํานวน 719 คน คิดเปนจํานวนเงิน 542,023 บาท และมีผูปวยบางรายคางชําระทําใหสูญเสียรายไดของโรงพยาบาล

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือติดตามผูปวยใหมาชําระคารักษาพยาบาลใหครบเต็มจํานวน ครบ 100 เปอรเซ็นต

3.กระบวนการพัฒนา (Process) - ใหเจาหนาท่ีหองบัตรเช็คสิทธิใหถูกตองเปนปจจุบัน

- ใบส่ังยาสิทธิ พรบ.รถ ย่ืนหองการเงินทุกราย - หองการเงินทําสมุดคุมใบส่ังยา พรบ.รถท่ีคางชําระสงงานติดตามหน้ีทุกวัน

4. ผลลัพธ (Performance) พบผูปวยสิทธิ พรบ.รถ ไดนําเงินมาชําระครบเกือบ 100%

5.ผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness) - จุดบริการท่ีหองบัตรจะตองใหความสําคัญกับการเช็คสิทธิเปนอันดับแรก - จัดทําทะเบียนคุมลูกหน้ี - สงหนังสือติดตามคารักษาตามท่ีอยู ทวงหน้ีคร้ังท่ี 1 นับจากวันท่ีมารับบริการไปอีก 5 วัน/ ทวงหน้ีคร้ังท่ี 2 นับจากวันท่ีมารับบริการคร้ังท่ี 1 ไปอีก 20 วันและทวงหน้ีคร้ังท่ี 3 นับจาก วันท่ีมารับบริการคร้ังท่ี 2 ไปอีก 20 วัน และถาทวงหน้ีครบ 3 คร้ังและไมไดรับเงิน ทําบันทึก ขอความเสนอผูอํานวยการ

Page 183: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

183

Good practice เร่ือง การแอดมิทคนไขปรับยาเบาหวาน ช่ือเจาของผลงาน พญ.กรมิตา วิวิธอําพน หนวยงาน องคกรแพทย

1. ความสําคัญของปญหา Problem : พบวาการแอดมิทผูปวยนํ้าตาลสูงเพ่ือปรับยาเบาหวาน ขณะแอดมิท มีนํ้าตาลตํ่าเปนจํานวนมาก แทนท่ี

จะปรับยาเพ่ิมในบางคนอาจตองปรับลดยา เน่ืองจากอาหารท่ีบานและรพ.แตกตางกัน

2. เปาประสงค Purpose : การปรับการรักษาใหเขากับบริบทของคนไขเม่ืออยูท่ีบาน เน่ืองจากคนไขไมสามารถทานอาหารแบบท่ี

รพ.ไดตลอด (patient-based)

3. กระบวนการพัฒนา Process: - การใหผูปวยและญาติชวยกันจด อาหารท่ีทานในแตละวันของคนไข (food diary) เม่ืออยูท่ีบาน โดย

ใหเปนไปตามความจริง โดยไมมีการตําหนิ แตอาจใหคําแนะนําไดบาง - ถาผูปวยนํ้าตาลไมสูงมาก อาจใหเคร่ืองเจาะนํ้าตาลไปเจาะท่ีบาน กอนอาหารเชาเย็นสามวันกอนมา

พบแพทย - ถาผูปวยนํ้าตาลสูงมากจนอาจเปนอันตราย จําเปนตองแอดมิท ใหจัดอาหารผูปวยใหเปนไปตามปกติ

เวลาผูปวยอยูท่ีบาน (ตาม food diary) โดยอาจใหโภชนากรของรพ. ชวยดูแลจัดสัดสวนอาหารใหเปนไปตาม food diary และแพทยปรับยาเบาหวานตามน้ัน

4.ผลลัพธ Performance: - การปรับยาเบาหวานประสบความสําเร็จท้ังท่ีบานและท่ีรพ.

5.ถาผลลัพธยังไมเปนไปตามเปาหมายหรือตองการใหดีข้ึนวางแผนการพัฒนาอยางไร Preparedness: นอกจากจะปรับการรักษาเขากับบริบทของคนไข ก็ตองชวยพัฒนาความรูและความตระหนักในการ

รับประทานอาหารของคนไขดวย การทํา Food diary จะทําใหคนไขตระหนักวาวันหน่ึงตนเองรับนํ้าตาลเขาไปมากแคไหน รวมถึงอาจจัดคายเบาหวานท่ีใหองคความรูครอบคลุมต้ังแตเร่ืองตัวโรคเบาหวาน ผลแทรกซอนจากโรค และการรักษาการปฏิบัติตัว

Page 184: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

184

Good practice เรื่อง การคัดแยกผูปวย

เจาของผลงานนางกัณฐิกา พรมโกน หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน

1.ความสําคัญและปญหา(Problem) การคัดแยกผูปวยตามระดับความฉุกเฉินของอาการเจ็บปวยน้ัน มีความสําคัญตอการรักษาทางการแพทย ซ่ึงถาผูปวยไดรับการจัดการ และการบําบัดรักษาท่ีลาชา อาจจะทําใหผูปวยถึงแกชีวิตได ในปจจุบันผูปวยสวนใหญตองการท่ีจะรักษาท่ีหองฉุกเฉินเน่ืองจากความสะดวกและความรวดเร็วในการรักษา อาจทําใหผูปวยท่ีอยูในระยะฉุกเฉินหรือระยะวิกฤตไดรับการรักษาท่ีลาชา ดังน้ัน การคัดแยกระดับความฉุกเฉินของผูปวย จึงมีความสําคัญเปนอยางย่ิง

2.เปาประสงค(Purpose) 1.เพ่ือใหผูรับบริการไดรับการตรวจ วินิจฉัยโรค และการรักษาไดทันทวงที 2.ลดภาระงานและความเหน่ือยลาของพยาบาลจากการปฏิบัติงาน 3.ลดการรองเรียนเร่ืองการรอคอยของผูรับบริการท่ีหองฉุกเฉิน

3.กระบวนการพัฒนา(Process) 5. จัดประชุมเจาหนาท่ีและแพทยท่ีเก่ียวของเพ่ือรับทราบปญหา 6. ช้ีแจงเร่ือง แนวทางการคัดแยกผูปวยตามระดับความฉุกเฉิน ไดแก non-urgen , semi-urgent ,

urgent , emergency และ resuscitation 7. แจงญาติผูรับบริการใหทราบอาการของผูปวยเปนระยะ เพ่ือลดขอรองเรียนตางๆ

4.ผลลัพธ(Performance) - ผูปวยไดรับการรักษาความเรงดวนของอาการ - ลดอัตราการเสียชีวิตของผูรับบริการ - ขอรองเรียนการรอรับบริการท่ีหองฉุกเฉินลดลง

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร(Preparedness) - ประชุมเจาหนาท่ีและแพทยท่ีเก่ียวของเพ่ือแจงปญหาท่ีพบทุก 3 เดือน

Page 185: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

185

Good practice เรื่อง การลงโปรแกรมชันสูตรพลิกศพลาชา

นางกิติยา ขันแปง หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน

1.ความสําคัญและปญหา Problem งานชันสูตรเปนงานท่ีมีความสําคัญอีกงานหน่ึงนอกเหนือจากการดูแลผูปวยตามหลักการสงเสริม ปองกัน รักษาและฟนฟู เน่ืองจากงานชันสูตรเปนงานท่ีเก่ียวของกับคดีความทางกฎหมายการลงรายงานใหถูกตอง ครอบคลุม ครบถวนและตรงเวลาจึงเปนเร่ืองจําเปนและสําคัญสําหรับการลงรายงาน จากท่ีผานมาการลงแบบบันทึกของชันสูตรพลิกศพครบถวน สมบูรณมากข้ึน แตยังพบมีการลงโปรแกรมชันสูตรลาชาเน่ืองจากไมมีการรายงานใหกับผูรับผิดชอบภายหลังจากการออกชันสูตรพลิกศพในวันน้ัน

2.เปาประสงค Purpose

เพ่ือใหการลงโปรแกรมชันสูตรพลิกศพท่ีรวดเร็วและขอมูลครบถวนและตรงเวลาใหกับผูรับผิดชอบ

3.กระบวนการพัฒนา Process

8. จัดประชุมเจาหนาท่ีและแพทยท่ีเก่ียวของเพ่ือรับทราบปญหาเพ่ือใหเห็นถึงความจําเปนและความสําคัญในโปรแกรมชันสูตรพลิกศพท่ีเปนขอมูลปจจุบัน

9. หลังจากมีการชันสูตรพลิกศพทุกคร้ังใหแจงกับผูรับผิดชอบโดยตรง เพ่ือใหไดขอมูลในการลงโปรแกรมชันสูตรพลิกศพท่ีเปนขอมูลปจจุบันภายหลังจากการชันสูตรพลิกศพ1-2 วัน

10. ติดตามการรายงานอยางสมํ่าเสมอทุก 1 เดือน เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลในเดือนน้ัน

4.ผลลัพธ Performance

- มีการลงโปรแกรมชันสูตรพลิกศพท่ีเปนขอมูลปจจุบัน 1-2 วันหลังจากมีการชันสูตรพลิกศพ

5.ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร Preparedness

- ประชุมเจาหนาท่ีและแพทยท่ีเก่ียวของเพ่ือแจงปญหาท่ีพบทุก 3 เดือน - กรณีมีการชันสูตรพลิกศพใหแจงผูรับผิดชอบโดยตรงเพ่ือจะไดติดตามการลงขอมูลใหครบถวน

Page 186: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

186

Good Practice เรื่อง การพัฒนาระบบการนัดผูปวยฟนเทียม เจาของผลงาน ทพญ.กุลธิดา ชินายศ หนวยงาน ทันตกรรม

1. ความสําคัญของปญหา (Problem) ในผูสูงอายุมักมีการเสียฟนไปหลายซ่ี และสงผลใหการเค้ียวอาหารเปนไปไดยาก จากผลสํารวจ

ภาวะชองปากแหงชาติ พ.ศ.2560 พบวา ผูสูงอายุท่ีมีฟนแทใชงาน 20 ซ่ีและมีฟนหลัง 4 คูสบมีเพียง

รอยละ 39.4% การใสฟนเทียมเปนการรักษาท่ีจะชวยใหผูสูญเสียฟน สามารถบดเค้ียวอาหารได ซ่ึงจะ

นําไปสูการมีสภาวะรางกายท่ีดีตอไป อยางไรก็ตาม ในการใหการรักษาดวยการใสฟนเทียมน้ัน

จําเปนตองทําการรักษาหลายข้ันตอน ผูปวยตองไดรับการนัดหมายหลายคร้ัง การนัดหมายผูปวยคร้ัง

ถัดไป หลังจากท่ีรักษาแลวเสร็จในแตละคร้ัง จะสงผลใหการนัดคร้ังถัดไปลาชาเน่ืองจากทันตแพทยแต

ละทานมีตารางการนัดหมายผูปวยท่ีคอนขางนาน จะสามารถนัดผูปวยไดอีกคร้ัง 1-3 เดือนถัดไป ทําให

ผูปวยบางรายตองรอคิวการใสฟนนาน

2. เปาประสงค (Purpose) เพ่ือพัฒนาระยะเวลาการนัดผูปวยฟนเทียมลดระยะเวลาการรอคอยการใสฟนเทียม

3. กระบวนการพัฒนา (Process) - ศึกษาขอมูล ปญหาท่ีเกิดข้ึนของการนัดหมายผูปวยในงานฟนเทียมสาเหตุท่ีทําใหระยะเวลารอใสฟน

เทียมนาน

- ศึกษาขอมูล ระยะเวลารอคอยช้ินงานจากบริษัทผูรับจางทําช้ินงานฟนเทียมแตละข้ันตอน

- ประชุมปรึกษารวมกันของผูท่ีเก่ียวของในการนัดหมายผูปวยฟนเทียม

- มีการกําหนดการนัดหมายกรณีใสฟนเทียมแตละข้ันตอน โดยกําหนดต้ังแตคร้ังแรกท่ีเริ่มทําฟนเทียม

ใหมีระยะหางแตละคร้ัง 1-3 สัปดาห ประสานกับผูปวย/ญาติผูปวยเร่ืองการนัดหมาย เพ่ือให

รับทราบ เตรียมตัว และยืนยัน วัน เวลา คิวนัดของผูปวยท่ีจะมาใสฟนฟนเทียมผูปวยบางรายอาจมี

การนัดท่ีโรงพยาบาลสลับกับการนัดท่ี รพ.สต.ใกลบานเพ่ือใหเกิดความสะดวกแกผูปวยมากข้ึน

4. ผลลัพธ (Performance) - ผูปวยไดรับการใสฟนปลอมเร็วข้ึน ระยะเวลาการรอคอยฟนปลอมลดลง

- ทันตแพทยสามารถจัดสรรเวลาการรักษาฟนเทียมได และสามารถกําหนดระยะเวลาการใสฟนแก

ผูปวยได

- ผูปวยและญาติทราบขอมูลการรักษา ข้ันตอนการรักษาในการใสฟนเทียม

Page 187: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

187

Good Practice เรื่อง การคดัแยกขยะรีไซเคิลในหองอุบัติเหตุฉุกเฉิน

เจาของผลงาน วาสนา ไชยเสน หนวยงาน อุบัติเหตุฉุกเฉิน

1.ความสําคัญและปญหา(Problem)

สืบเน่ืองจากนโยบายลดโลกรอนของโรงพยาบาล ใหมีการคัดแยกขยะเพ่ือนําขยะรีไซเคิลไปใชประโยชน

ได เพราะในหนวยงานอุบัติเหตุฉุกเฉินมีขยะรีไซเคิลท่ีถูกท้ิงไปโดยไมไดนํามาใชประโยชนอยางเต็มท่ี สงผลให

จํานวนขยะท่ัวไปของโรงพยาบาลเพ่ิมข้ึนเปนจํานวนมาก

2.เปาประสงค(Purpose)

2.1 เพ่ือลดจํานวนขยะท่ัวไป

2.2 เพ่ือนําขยะรีไซเคิลไปใชใหเกิดประโยชน

2.3 เพ่ือใหเจาหนาท่ีหองฉุกเฉินตระหนักในการท้ิงขยะประเภทตาง ๆไดถูกตอง

3.กระบวนการพัฒนา(Process)

3.1 จัดประเภทของขยะรีไซเคิลและแนวทางการจัดเก็บขยะรีไซเคิลแตละชนิดและช้ีแจงให

เจาหนาท่ีในหนวยงานทราบ

3.2 จัดทําท่ีจัดเก็บขยะแตละประเภทและจําหนายขยะรีไซเคิลทุกวันพุธ

4. ผลลัพธ(Performance)

4.1 ขยะท่ัวไปของหนวยงานลดลง

4.2 ไดคาขายขยะรีไซเคิลเขาสูหนวยงานสัปดาหละ 100 บาท

4.3 ระบบ 5 ส. ในหนวยงานดีข้ึน

Page 188: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

188

Good practice เรื่อง การรักษาผูปวยวัณโรคอยางตอเนื่องและการปองกันการดื้อยา

พญ.อาทิตยา เพชรดิน หนวยงาน องคกรแพทย

1. ความสําคัญและปญหา(Problem) :

การกินยาไมสมํ่าเสมอในผูปวยวัณโรค

2. เปาประสงค (Purpose):

เพ่ือใหผูปวยไดรักษาตอเน่ือง และปองกันการด้ือยาของวัณโรค

3. กระบวนการพัฒนา (Process):

จัดใหมีการกินยาตอหนาญาติ ทุกคร้ังท่ีกิน(DOT) และมีการลงช่ือเปนหลักฐาน

4. ผลลัพธ (Performance):

ผูปวยกินยาสมํ่าเสมอ การรักษาโรคตอเน่ือง

5. ถาผลลัพธยังไมถึงเปาหมาย วางแผนทําอยางไร (Preparedness):

สงตอเคสใหรพสต.ท่ีรับผิดชอบ + ใหอสม.เปนผูทํา DOT

Page 189: 2 สารบัญ Practice...2 สารบ ญ เร อง หน า การพ ฒนาระบบบร การผป วยเบาหวาน 7 การห กภาษ

189