20
อาเซียนหรืออุษาคเนย์อยู่เขตมรสุมเดียวกัน ทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และส่วนที่เป็นหมู่เกาะ จึงมีบรรพชนร่วมกัน และมีประวัติศาสตร์ร่วมกันอย่างแยกไม่ได้ แล้วมีศิลปะและวัฒนธรรมร่วมกัน ศิลปะ และ วัฒนธรรม ศิลปะ เป็นภาษาสันสกฤต มีความหมายดั้งเดิมว่าความรู้ (ของความเป็นมนุษย์) ตรงกับคำาบาลี ว่าสิปปะ ภาษาอังกฤษว่า knowledge สมัยหลังๆ ต่อมา ศิลปะ, สิปปะ เปลี่ยนไปหมายถึงงานช่างเท่านั้น เช่น ช่างเขียน, ช่างปั้น, ช่าง แกะ, ช่างสลัก, ช่างฟ้อน, ช่างดีด สี ตี เป่า, ฯลฯ แล้วเพิ่งบัญญัติศัพท์ใหม่เรียกผู้ทำางานช่างว่าศิลปิน วัฒนธรรม คือ วิถีชีวิตของคนมีทั้งดีและไม่ดี ตั้งแต่เกิด แก่ เจ็บ ตาย จนถึง กิน ขี้ ปี้ นอน ครูบาอาจารย์ผู้ใหญ่ อธิบายว่าวัฒนธรรมหมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน และคนกับ ธรรมชาติ ซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่หยุดนิ่งตายตัว วิถีอย่างนี้มีเหมือนกันหมดทั่วทั้งอุษาคเนย์ที่อยู่ในเขตมรสุมเดียวกัน รู้จักทั่วไปว่าอาเซียน จึง เรียกวัฒนธรรมร่วมของอาเซียน วัฒนธรรม เป็นคำาผูกขึ้นใหม่ ถอดจากภาษาอังกฤษว่า culture เส้นสาย ลายแต้ม ดึกดำาบรรพ์ ก่อนรับลายกระหนกจากอินเดีย บรรดาบรรพชนคนดึกดำาบรรพ์สุวรรณภูมิในอุษาคเนย์ (อาเซียน) ใช้เส้นสายลายแต้มวาดรูปต่างๆ ชำานาญแล้ว ทั้งรูปสัตว์และรูปคน ด้วยกลวิธีหรือเทคนิคหลากหลาย บรรพชนคนอุษาคเนย์ก่อนรู้จักติดต่อกับอินเดีย มีพัฒนาการบ้านเมืองระดับรัฐขนาดเล็กอยู่แล้ว ทั้งในภาคกลางและภาคอีสาน โดยมีเทคโนโลยีถลุงแล้วหล่อโลหะ ก้าวหน้าระดับสูง แต่ระบบการศึกษาของไทยมองข้าม โดยไม่รับรู้สิ่งก้าวหน้าที่มีอยู่จริงตามหลักฐานประวัติศาสตร์ โบราณคดี ก่อนรับอารยธรรมอินเดีย ดังนั้น เมื่อกล่าวถึงเส้นสายลวดลายต่างๆ ในประวัติศาสตร์ศิลปะ จึงไม่มีเส้นสายลายแต้มยุค ดึกดำาบรรพ์ของสุวรรณภูมิในอุษาคเนย์ แต่ข้ามไปยกย่องเยินยอลายกระหนกอย่างเกินจริงจากอินเดีย แล้วแย่งกันริบลายกระหนกเหล่านั้นเป็นของตนอย่างคลุ้มคลั่ง เช่น ลายไทย งามกว่าลายชาติ อื่น เป็นต้น ต้นฉบับคำาให้การฯ งานศิลปวัฒนธรรมอาเซียน กรุงเทพฯ เสาร์ 10 สิงหาคม 2556 | มี 20 หน้า ศิลปะ และ วัฒนธรรมร่วม ของ อาเซียน (อุษาคเนย์) โดย สุจิตต์ วงษ์เทศ มติชน www.sujitwongthes.com https://www.facebook.com/sujitwongthes

SEA Art and Culture

Embed Size (px)

DESCRIPTION

This file's presented about Southeast Asia common art and culture.

Citation preview

Page 1: SEA Art and Culture

อาเซียนหรืออุษาคเนย์อยู่เขตมรสุมเดียวกัน ทั้งส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และส่วนที่เป็นหมู่เกาะ จึงมีบรรพชนร่วมกัน และมีประวัติศาสตร์ร่วมกันอย่างแยกไม่ได้ แล้วมีศิลปะและวัฒนธรรมร่วมกัน

ศิลปะ และ วัฒนธรรมศลิปะ เปน็ภาษาสนัสกฤต มคีวามหมายดัง้เดมิวา่ความรู ้(ของความเปน็มนษุย)์ ตรงกบัคำาบาลี

ว่าสิปปะ ภาษาอังกฤษว่า knowledgeสมัยหลังๆ ต่อมา ศิลปะ, สิปปะ เปลี่ยนไปหมายถึงงานช่างเท่านั้น เช่น ช่างเขียน, ช่างปั้น, ช่าง

แกะ, ช่างสลัก, ช่างฟ้อน, ช่างดีด สี ตี เป่า, ฯลฯ แล้วเพิ่งบัญญัติศัพท์ใหม่เรียกผู้ทำางานช่างว่าศิลปินวัฒนธรรม คือ วิถีชีวิตของคนมีทั้งดีและไม่ดี ตั้งแต่เกิด แก่ เจ็บ ตาย จนถึง กิน ขี้ ปี้ นอนครูบาอาจารย์ผู้ใหญ่ อธิบายว่าวัฒนธรรมหมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน และคนกับ

ธรรมชาติ ซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไม่หยุดนิ่งตายตัววิถีอย่างนี้มีเหมือนกันหมดทั่วทั้งอุษาคเนย์ที่อยู่ในเขตมรสุมเดียวกัน รู้จักทั่วไปว่าอาเซียน จึง

เรียกวัฒนธรรมร่วมของอาเซียนวัฒนธรรม เป็นคำาผูกขึ้นใหม่ ถอดจากภาษาอังกฤษว่า culture

เส้นสาย ลายแต้ม ดึกดำาบรรพ์กอ่นรบัลายกระหนกจากอนิเดยี บรรดาบรรพชนคนดกึดำาบรรพส์วุรรณภมูใินอษุาคเนย ์(อาเซยีน)

ใช้เส้นสายลายแต้มวาดรูปต่างๆ ชำานาญแล้ว ทั้งรูปสัตว์และรูปคน ด้วยกลวิธีหรือเทคนิคหลากหลายบรรพชนคนอษุาคเนยก์อ่นรูจ้กัตดิตอ่กบัอนิเดยี มพีฒันาการบา้นเมอืงระดบัรฐัขนาดเลก็อยูแ่ลว้

ทั้งในภาคกลางและภาคอีสาน โดยมีเทคโนโลยีถลุงแล้วหล่อโลหะ ก้าวหน้าระดับสูงแตร่ะบบการศกึษาของไทยมองขา้ม โดยไมร่บัรูส้ิง่กา้วหนา้ทีม่อียูจ่รงิตามหลกัฐานประวตัศิาสตร์

โบราณคดี ก่อนรับอารยธรรมอินเดีย ดังนั้น เมื่อกล่าวถึงเส้นสายลวดลายต่างๆ ในประวัติศาสตร์ศิลปะ จึงไม่มีเส้นสายลายแต้มยุค

ดกึดำาบรรพข์องสวุรรณภมูใินอษุาคเนย ์แตข่า้มไปยกยอ่งเยนิยอลายกระหนกอยา่งเกนิจรงิจากอนิเดยีแล้วแย่งกันริบลายกระหนกเหล่านั้นเป็นของตนอย่างคลุ้มคลั่ง เช่น ลายไทย งามกว่าลายชาติ

อื่น เป็นต้น

ต้นฉบับคำาให้การฯ งานศิลปวัฒนธรรมอาเซียน กรุงเทพฯ เสาร์ 10 สิงหาคม 2556 | มี 20 หน้า

ศิลปะ และ วัฒนธรรมร่วมของ อาเซียน (อุษาคเนย์)โดย สุจิตต์ วงษ์เทศมติชน

www.sujitwongthes.comhttps://www.facebook.com/sujitwongthes

Page 2: SEA Art and Culture

2

วาดรูปคน แต่ไม่ใช่คนจริงบรรพชนคนอาเซียนทำารูปสัตว์ไดเ้หมือนจริง แต่รูปคนเหนือจริง คือ ไมเ่หมือนจริง แสดงว่า

ตั้งใจทำารูปคนให้ไม่เหมือนจริงเพราะชา่งเขยีนดกึดำาบรรพก์ำาลงัตอ้งการแสดงรปูรา่งของบรรพชนทีล่ว่งลบัไปนานแลว้ ซึง่ไมใ่ช่

คนจริง

รปูหมาเหมอืนจรงิ แตร่ปูคนไมเ่หมอืนจรงิ เพราะตอ้งการแสดงรปูรา่งของบรรพชนทีต่ายไปนานแลว้ ลายเสน้จำาลองภาพเขียนสีอายุราว 2,500 ปีมาแล้ว ที่เขาจันทน์งาม อ. สีคิ้ว จ. นครราชสีมา

ศาสนาผีเส้นสาย, ลายสลัก, จักสาน, และลายแต้ม ยุคดึกดำาบรรพ์ (ก่อนรับลายกระหนกจากอินเดีย)

ลว้นทำาขึน้เนือ่งในศาสนาผ ีซึง่เปน็ระบบความเชือ่ดกึดำาบรรพข์องคนทัง้โลก (กอ่นมศีาสนาพราหมณ,์ พุทธ, คริสต์, อิสลาม)

ผีในที่นี้หมายถึงอำานาจเหนือธรรมชาติ บันดาลให้มีทุกสิ่งทุกอย่าง แล้วคุ้มครองขวัญ (ไม่ใช่วิญญาณ) ที่อยู่ในร่างกายมนุษย์ และอยู่ในสัตว์กับพื้นที่สิ่งของทั่วไป

ในอุษาคเนย์ ศาสนาผีเป็นศาสนาของแม่หญิง เพราะแม่หญิงเป็นหัวหน้าพิธีกรรมโดยมีผู้ชายเป็นบ่าวงาน

ลายขวัญ หม้อบ้านเชียง ภาชนะเขียนสี ที่บ้านเชียง (อ. หนองหาน จ. อุดรธานี) อายุราว 2,500 ปีมาแล้ว มีลวดลาย

ต่างๆ กัน แต่ที่พบมากจนเป็นลักษณะเฉพาะ แล้วเป็นที่รู้จักทั่วไปเรียก ลายก้นหอย (แบบลายนิ้วมือ) นั่นคือ ลายขวัญ ที่คนยุค 2,500 ปีมาแล้ว ทำาขึ้นเพื่อเรียกขวัญ สู่ขวัญ คนตาย

Page 3: SEA Art and Culture

3

คนตาย ขวัญไม่ตายคนแตก่อ่นเชือ่วา่แมเ้จา้ของขวญัจะตายไปแลว้ แตข่วญัยงัไมต่าย และเมือ่คนตายได ้7 วนั ขวญั

ของผู้ตายจะพยายามหาหนทางกลับเหย้าเรือนเดิมของตน (ครั้นได้รับคติทางพระพุทธศาสนาแล้ว ความเชื่อก็ปรับเปลี่ยนไปว่าขวัญจะมีอยู่กับคนที่ยังมี

ชีวิตอยู่เท่านั้น เมื่อคนตายไปแล้วก็ไม่มีขวัญ แต่จะมีวิญญาณแทน แสดงว่าขวัญต่างจากวิญญาณ) สัตว์และสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและการทำามาหากินของคนล้วนมีขวัญทั้งนั้น เช่น ขวัญวัว

ขวัญควาย ขวัญเรือน ขวัญข้าว ขวัญเกวียน ขวัญยุ้ง ฯลฯขวญั คอืสว่นทีไ่มเ่ปน็ตวัตนของคน ซึง่มใีนความเชือ่ของคนทกุชาตพินัธุใ์นอษุาคเนยว์า่คนเรามี

ส่วนประกอบสำาคัญอยู่ 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นตัวตน ได้แก่ ร่างกาย กับส่วนที่ไม่เป็นตัวตนได้แก่ ขวัญขวญัมหีนว่ยเดยีว แตฝ่งักระจายอยูท่ัว่ทกุแหง่หรอืทกุสว่นของรา่งกายตัง้แตเ่กดิมา เชน่ ขวญัหวั

ขวัญตา ขวัญมือ ขวัญแขน ขวัญขา ฯลฯ และมีความสำาคัญมากเท่าๆ กับส่วนที่เป็นตัวตนหรือร่างกาย

ขวัญเป็นรูปวงๆ วนเวียนซ้อนกันหลายชั้นคล้ายลายก้นหอย ในลายเขียนสีบนภาชนะดินเผา ราว 2,500 ปีมาแล้ว ขุดพบที่บ้านเชียง อ. หนองหาน จ. อุดรธานี

Page 4: SEA Art and Culture

4

ไม่ใช่งานศิลปะเส้นสาย, ลายสลัก, จักสาน, และลายแต้ม ยุคดึกดำาบรรพ์ (ก่อนรับลายกระหนกจากอินเดีย)

ไม่ใช่งานศิลปะ (อย่างที่นิยมเรียกศิลปะถ้ำา) แต่เป็นงานช่างศลิปะ อนัเปน็ทีร่บัรูข้องคนทัว่โลกทกุวนันี ้มคีวามหมายโนม้ไปทางปจัเจกบคุคล “โดยปจัเจก เพือ่

ปจัเจก” ทีม่ขีึน้สมยัหลงั (มกัเชือ่วา่มหีลงัปฏวิตัอิตุสาหกรรมยโุรป ราวปลายยคุอยธุยาตอ่เนือ่งยคุธนบรุ)ีแต่งานช่างเป็นกิจกรรมร่วมหมู่ของคนทั้งชุมชน และบางทีขยายไปถึงท้องถิ่นร่วมกันทำาขึ้นเป็น

สมบัติรวมของชุมชนท้องถิ่น

ช่างคนทำาเสน้สาย, ลายสลกั, จกัสาน, และลายแตม้ยคุดกึดำาบรรพ ์(กอ่นรบัลายกระหนกจากอนิเดยี)

ได้รับยกย่องเป็นบุคคลพิเศษที่สมัยต่อมาเรียก ช่าง เช่น ช่างเขียน, ช่างแต้ม, ช่างสลัก, ช่างจักสานคนพวกนี้ได้รับยกย่องจากชุมชนว่ามีอำานาจ (อาจเรียกว่าหมอผีก็ได้) เพราะมีวิชาและความ

สามารถมากกว่าคนอื่น และมักเป็นแม่หญิง มีหน้าที่ตีหม้อ, ทอผ้า, ฟ้อน, ขับลำา, เล่นดนตรี, ฯลฯ

ลายกระหนกราว พ.ศ. 1000 เป็นต้นไป บรรพชนคนอาเซียน มีการติดต่อทางทะเลสมุทรกับอินเดียและลังกา

แล้วค้าขายแลกเปลี่ยนสิ่งของสินค้าซึ่งกันและกันเริม่รบัศาสนา และรบัลายกระหนกจากอนิเดยีเปน็คร ูแลว้เริม่ทำาเลยีนแบบคร ูจงึสมมตุเิรยีกงาน

ช่างนั้นว่าแบบทวารวดี (แต่มักนิยมเรียกศิลปะทวารวดี) ซึ่งต่างมีพื้นฐานเป็นเบสิครองรับมานานมากแล้วก่อนหน้านี้จากเส้นสาย, ลายสลัก, จักสาน, และลายแต้ม

กระหนก หมายถงึเสน้สายลวดลายตา่งๆ จากอนิเดยี ทีแ่พรเ่ขา้มาโดยผกูตดิกบัศาสนาพราหมณ์และพุทธ ถึงดินแดนอาเซียนโดยรวม ไม่จำาเพาะเจาะจงบริเวณหนึ่งใด

เมื่อฝึกฝนเลียนแบบครูจนชำานิชำานาญ จึงมีพัฒนาการเป็นลักษณะเฉพาะท้องถิ่นสุวรรณภูมิ กระทั่งเป็นรัฐชาติ มีชื่อชาติภาษา และประเทศชาติ เลยพากันสมมุติเรียกชื่อเส้นสายต่างๆ กัน

ตามชื่อเหล่านั้นว่า ลายมอญ, ลายเขมร, ลายลาว, ฯลฯ จนถึงลายไทย แต่แท้จริงแล้วล้วนเป็นลายกระหนกจากอินเดียโบราณอย่างเดียวกัน ที่จะแยกให้ต่างกันไม่ได้

เว้นเสียแต่บังคับให้แตกต่างตามการเมืองยุคล่าอาณานิคม

Page 5: SEA Art and Culture

5

วัฒนธรรมร่วม ของอาเซียน (อุษาคเนย์)

อาเซียน หรืออุษาคเนย์ มีวัฒนธรรมร่วมหลายอย่างมานานหลายพันปีแล้ว เพราะอยู่เขตมรสุมเดยีวกนัทัง้สว่นทีเ่ปน็แผน่ดนิใหญแ่ละหมูเ่กาะ จงึมปีระวตัศิาสตรร์ว่มกนัอยา่งแยกไมไ่ด ้แลว้มวีฒันธรรมร่วมกันแบ่งกว้างๆ เป็น 2 ระยะ คือ ก่อนอินเดีย และหลังอินเดีย

ก่อนอินเดีย ก่อนอินเดีย หมายถึง ก่อนรับอารยธรรมจากอินเดีย ตั้งแต่หลายแสนหลายหมื่นหลายพันปีมา

แล้ว จนถึงราว พ.ศ. 1000คนพืน้เมอืงดัง้เดมิดกึดำาบรรพใ์นอาเซยีน มวีฒันธรรมรว่มอยูแ่ลว้ กอ่นรบัอารยธรรมจากอนิเดยี

ดังต่อไปนี้

1. ศาสนาผีคนอุษาคเนย์ดั้งเดิมดึกดำาบรรพ์ล้วนนับถือศาสนาผีเหมือนกัน แต่เรียกชื่อผีต่างกัน เช่น เขมร

เรียก ผีมด, มอญ เรียก ผีเม็ง, ลาว เรียก ผีฟ้า หรือผีฟ้าพญาแถน เป็นต้น

2. นางนาคนางนาค เป็นผีบรรพชนคนอุษาคเนย์ แต่อาจเรียกชื่อต่างกันก็ได้หมู่เกาะนิโคบาร์ กลางทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย มีชื่อเดิมว่า นาควารี ที่ยกย่องนางนาค

เป็นผีบรรพชนนาค มีรากศัพท์จากตระกูลภาษาอินโด-ยุโรป แปลว่า เปลือย, คนเปลือย หมายถึง งู (ไม่มี

ขน เสมือนเปลือย) เป็นคำาดูถูกที่ชาวชมพูทวีป (อินเดียโบราณ) ที่มีเทคโนโลยีก้าวหน้า ใช้เรียกคนพื้นเมืองอุษาคเนย์ที่มีเทคโนโลยีล้าหลัง โดยเฉพาะการทอผ้า แต่คนพื้นเมืองเข้าใจว่าเป็นชื่อยกย่อง จึงรับมาเรียกตนเอง

หลังจากนั้นจึงมีผู้สร้างนิทานให้เกี่ยวข้องกับงูใหญ่เลื่อมใสในพุทธศาสนา

3. แม่หญิงเป็นใหญ่คนอษุาคเนยย์กยอ่งแมห่ญงิเปน็หวัหนา้พธิกีรรมเขา้ทรงผบีรรพชน เชน่ ผฟีา้ (ลาว), ผมีด (เขมร),

ผีเม็ง (มอญ), ฯลฯ ผีบรรพชนไม่ลงทรงผู้ชาย เท่ากับแม่หญิงเป็นหัวหน้าเผ่าพันธุ์ คำาเรียกหญิงว่า แม่ แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ ใช้เรียกสิ่งสำาคัญ เช่น แม่น้ำา (ทางลาวเรียกน้ำาแม่),

แม่ทัพ, แม่เหล็ก ฯลฯ

4. สัตว์ศักดิ์สิทธิ์คนอุษาคเนย์ดั้งเดิมนับถือศาสนาผี (หมายถึง ระบบความเชื่อในอำานาจเหนือธรรมชาติ) แล้ว

เซ่นวักสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำา เช่น กบ (หรือคางคก), งู, จระเข้, ตะกวด (แลน,

Page 6: SEA Art and Culture

6

เหีย้), ฯลฯ ทีค่นยคุนัน้เชือ่วา่มอีำานาจบนัดาลใหฝ้นตก เพราะคนมกัพบสตัวเ์หลา่นีท้กุครัง้ทีฝ่นตก และพิทักษ์แหล่งน้ำาให้ความอุดมสมบูรณ์

สัตว์พวกนี้มีภาพเขียนบนผนังถ้ำาไว้เซ่นวัก บางทีสลักรูปเป็นลายเส้นบนเครื่องมือสัมฤทธิ์ โดยเฉพาะทำาประติมากรรมรูปกบบนหน้ากลองทองไว้ตีขอฝน

5. ขวัญคนอุษาคเนย์มีขวัญ ไม่มีวิญญาณ (เพราะวิญญาณเป็นคติจากอินเดีย)ขวัญมีในคน, สัตว์, สิ่งของ และมีหลายดวง (วิญญาณมีดวงเดียว อยู่ในคนเท่านั้น)คนมีขวัญประจำาอยู่ในอวัยวะทุกส่วน เช่น หัว, หู, ตา, จมูก, ปาก, แขน, ขา, มือ, ตีน เป็นต้น

ช้างม้าวัวควายมีขวัญ แม้ต้นข้าว, นาข้าว, ยุ้งข้าว, เกวียน, ลานนวดข้าว ก็มีขวัญ

6. พิธีศพคนอษุาคเนย ์ตัง้แตร่าว 3,000 ปมีาแลว้ เมือ่มคีนตายไปจะเกบ็ศพหลายวนัใหเ้นือ้หนงัเนา่เปือ่ย

ย่อยสลายเหลือแต่กระดูก แล้วเก็บกระดูกมาทำาพิธีอีก เรียก พิธีศพครั้งที่สอง กระดูกที่เก็บมานี้ อยู่ในภาชนะพิเศษทำาด้วยดินเผา เรียกหม้อดินเผาหรือแค็ปซูล และหิน มี

ตัวอย่างสำาคัญ เช่น ไหหินในลาว, หีบหินบนปราสาทนครวัดกับหมู่เกาะ

7. พิธีแต่งงานพิธีแต่งงานคนอุษาคเนย์ให้ฝ่ายชายไปเป็นบ่าวอยู่บ้านฝ่ายหญิง เท่ากับ “หญิงเป็นนาย ชาย

เป็นบ่าว”

8. สืบตระกูลทางฝ่ายหญิงคนอุษาคเนย์ สืบตระกูลทางสายแม่ โดยลูกสาวเป็นผู้สืบทอดมรดกที่ดินและเรือน ส่วนลูกชาย

ไปเป็นบ่าว คือ ขี้ข้าบ้านหญิง สบืราชสนัตตวิงศท์างสายแม ่เหน็ไดจ้ากวงัหนา้ตอ้งเปน็พีน่อ้งทอ้งแมเ่ดยีวกนักบัวงัหลวง ยกเวน้

ใครก็ได้ยึดอำานาจในหมู่เครือญาติ

9. กินข้าวคนอุษาคเนย์รู้จักปลูกข้าวแล้วกินข้าวเป็นอาหารหลัก ตั้งแต่ราว 5,000 ปีมาแล้วพันธุ์ข้าวเก่าสุดคล้ายข้าวเหนียว (หรือข้าวนึ่ง) พบที่ถ้ำาปุงฮุง (แม่ฮ่องสอน) กับที่โนนนกทา

(ขอนแก่น) แล้วพบพันธุ์ข้าวเจ้าด้วย แต่ไม่มาก

10. เน่าแล้วอร่อยคนอุษาคเนย์กินกับข้าวประเภทเน่าแล้วอร่อย เช่น ปลาแดก, ปลาร้า, ปลาฮอก, ปลาเค็ม, น้ำา

บูดู, ถั่วเน่า, กะปิ, น้ำาปลา, หมักดอง ฯลฯการทำาใหเ้นา่แลว้อรอ่ยเปน็เทคโนโลยถีนอมอาหาร เกีย่วขอ้งกับพธิศีพทีม่ปีระเพณเีกบ็ศพ (ให้

Page 7: SEA Art and Culture

7

เน่า) นานหลายวัน ตั้งแต่ราว 3,000 ปีมาแล้ว

11. เรือนเสาสูงคนอุษาคเนย์ปลูกเรือนเสาสูงตั้งแต่ตอนใต้ลุ่มน้ำาแยงซีลงไปจนถึงหมู่เกาะเรือนเสาสูง ต้องยกพื้น มีใต้ถุนเป็นบริเวณทำากิจกรรมตลอดทั้งวัน เช่น หุงข้าว, ทอผ้า, เลี้ยง

สัตว์, เลี้ยงลูก ตกกลางคืนจึงขึ้นนอนบนเรือนเพื่อหนีสัตว์ร้าย แล้วชักบันไดออก ใต้ถุนบ้านไม่ได้ทำาไว้หนีน้ำาท่วม เพราะคนบางกลุ่มปลูกเรือนบนที่สูงเชิงเขาซึ่งไม่มีน้ำาท่วมก็ยัง

ทำาใต้ถุนสูง หลงัคาทรงสามเหลีย่มมไีมไ้ขวก้นั แลว้คนบางกลุม่เรยีก กาแล เปน็เทคโนโลยคี้ำายนัของไมไ้ผส่อง

ลำาไมใ่หห้ลงัคายบุ มใีนทกุชาตพินัธุ ์คนบางพวกใชก้าแลเปน็ทีแ่ขวนหวัสตัวศ์กัดิส์ทิธิก์ม็ ีเชน่ หวัควาย

12. เทคโนโลยีโลหะคนอุษาคเนย์มีเทคโนโลยีก้าวหน้าเกี่ยวกับถลุงและหล่อโลหะ ไม่น้อยกว่า 3,000 ปีมาแล้วสิ่งนี้เป็นพื้นฐานสำาคัญที่จะหล่อรูปเคารพ เช่น เทวรูป, พระพุทธรูป ในยุคหลังรับอินเดีย

13. เครื่องดนตรีคนอุษาคเนย์มีเคร่ื่องประโคมดนตรีร่วมกันตั้งแต่ยุคแรกเริ่มในวัฒนธรรมไม้ไผ่ ไม่น้อยกว่า

5,000 ปีมาแล้ว โดยมีเครื่องตีจากกระบอกไม้ไผ่ เรียกภายหลังว่า ระนาดหลังจากนั้นมีเครื่องประโคมในวัฒนธรรมโลหะ ราว 3,000 ปีมาแล้ว ต่อมาภายหลังเรียก ฆ้องคนอุษาคเนย์ใช้ฆ้องทำาด้วยโลหะประโคมตีมีเสียงศักดิ์สิทธิ์ดังกังวาน สื่อสารกับผีหรือเทวดา

(หมายถึงอำานาจเหนือธรรมชาติ) ฆอ้งมหีลายขนาด ลว้นสบืประเพณจีากกลองทอง (หรอืมโหระทกึ) แรกมขีึน้เมือ่ 3,000 ปมีาแลว้

บริเวณมณฑลยูนนานกับมณฑลกวางสี แล้วแพร่กระจายลงไปถึงหมู่เกาะระฆัง อยู่ในวัฒนธรรมฆ้อง ประโคมด้วยไม้ตีจากข้างนอก (ต่างจาก bell ของตะวันตก มีลูก

กระทบแขวนตีจากข้างใน) วัฒนธรรมฆ้องไม่มีในตะวันตก จึงไม่มีศัพท์อังกฤษเรียกฆ้อง ต้องใช้ทับศัพท์พื้นเมืองว่า gongระนาดกระบอกไม้ไผ่ ส่งอิทธิพลให้ตะวันตกมีเครื่องดนตรี เรียก xylophone

14. ฟ้อนระบำารำาเต้นคนอุษาคเนย์กางแขน ถ่างขา ย่อเข่า เป็นหลักในการฟ้อนระบำารำาเต้น เรียกสามัญลักษณะ ที่

ศัพท์ละครไทยเรียกท่ายืด (ทำาเข่าตรง) กับ ท่ายุบ (ทำาย่อเข่า) ทา่เตน้ ถา่งขา ยอ่เขา่ เปน็มมุฉาก ไดจ้ากทำาเลยีนแบบใหเ้หมอืนกบศกัดิส์ทิธิ ์เรยีกทา่กบ ยกยอ่ง

เป็นท่าเต้นศักดิ์สิทธิ์ มีหลักฐานภาพสลักตามปราสาทหินในกัมพูชาและไทย เช่น ท่ารำาศิวนาฏราช บนหน้าบันปราสาทพนมรุ้ง (บุรีรัมย์) และท่าโนรา, โขน, ละคร (พระ นาง ยักษ์ ลิง) กับ legon ของอินโดนีเซีย

Page 8: SEA Art and Culture

8

15. ผ้าขะม้าคนอุษาคเนย์ดึกดำาบรรพ์นุ่งผ้าผืนเดียว เตี่ยวพันกาย ต่อมาเย็บติดกันเป็นถุง เรียก ผ้าถุง ผ้า

โสร่ง ฯลฯผ้าผืนเดียวยังใช้สืบมา ไทยเรียก ผ้าขะม้า เขมรเรียก กรอมา มีรากจากคำาเปอร์เซียเรียกผ้าคาด

เอวว่า คะมาร์บันด์ปัจจุบันบางพวกยังใช้พันทับกางเกงตรงสะโพก

16. นอบน้อม ถ่อมตนคนอุษาคเนย์นอบน้อมถ่อมตน ยอมจำานนต่ออำานาจเหนือธรรมชาติ (คือ ผี) และผู้เป็นนาย จึง

มีสำานึกเป็น บ่าวไพร่ข้าช่วงใช้ส่งผลให้มีสำานึกเป็นผู้น้อยคอยรับใช้ผู้อื่น ซึ่งปัจจุบันเรียก สำานึกบริการ (Service mind)

Page 9: SEA Art and Culture

9

หลังอินเดียหลังอินเดีย หมายถึง หลังรับอารยธรรมจากอินเดียคนพืน้เมอืงรบัวฒันธรรมจากอนิเดยีมาประสมประสานวฒันธรรมดัง้เดมิ แลว้เกดิวฒันธรรมใหม่

ที่มีทั้งคล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน มี 3 ระยะ คือ (1) รับศาสนาพราหมณ์-พุทธ กับ (2) รับศาสนาอิสลาม (3) รับอาณานิคม

(1) หลัง พ.ศ. 1000 รับศาสนาพราหมณ์-พุทธคนอษุาคเนยร์บัศาสนาพราหมณ-์พทุธราวหลงั พ.ศ. 1000 ทำาใหร้บัประเพณพีธิกีรรมอืน่ๆพรอ้ม

กันด้วย ดังนี้

1. ศาสนา รับศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ มาเคลือบศาสนาผีที่มีมาแต่เดิม โดยรักษาแก่นของผี

ไว้อย่างเหนียวแน่น เช่น ศาลพระภูมิ, ทำาขวัญนาค, ไหว้ครู ครอบครู ฯลฯ

2. ชายเป็นใหญ่ ศาสนาจากอินเดียยกย่องชายเป็นใหญ่ นับแต่นี้ไปคนอุษาคเนย์ก็ยกย่องชายเป็นใหญ่ตาม

คติจากอินเดีย แต่แม่หญิงไม่ได้หมดความสำาคัญ ยังคงมีอำานาจอยู่เบื้องหลัง

3. ตัวอักษร รบัอกัษรปลัลวะจากอนิเดยีใต ้หลงัจากนัน้พฒันาขึน้เปน็อกัษรของตนเอง เชน่ อกัษรมอญ,

อกัษรขอม, อกัษรกว ิ(ใชใ้นดนิแดนทางใตข้องไทยถงึมาเลเซยีและหมูเ่กาะอนิโดนเีซยี) เปน็ตน้ทางให้มีความแตกต่างต่อไปข้างหน้าเป็นพวกมอญ, พวกเขมร, เป็นต้น

4. กราบไหว้ รับทั้งประเพณีกราบและไหว้จากอินเดียพร้อมพราหมณ์-พุทธ

5. บวชนาค รับจากอินเดีย แต่ประสมประเพณีพื้นเมือง ไทยเรียกบวชนาค

6. สงกรานต์ สงกรานตเ์ปน็พธิพีราหมณเ์พือ่ขึน้ราศใีหม ่จากราศมีนีเปน็ราศเีมษปลีะครัง้ เริม่ในราชสำานกั

ก่อน แล้วแพร่ขยายสู่ราษฎร มีในรัฐทุกแห่งของอุษาคเนย์ที่เคยนับถือศาสนาพราหมณ์

7. มหากาพย์ รับทั้งรามายณะและมหาภารตะ แต่ยกย่องรามายณะมากกว่า ไทยเรียกรามเกียรติ์

8. ลายกระหนก รับจากอินเดีย แล้วปรับชื่อใช้เรียกต่างกัน เช่น ลายไทย, ลายเขมร, ลายลาว

9. ข้าว รับพันธุ์ข้าวเจ้าจากอินเดีย พร้อมศาสนาพราหมณ์, พุทธ

10. กับข้าว รับกับข้าวบางอย่างจากอินเดีย เช่น แกงใส่กะทิ, ขนมต่างๆ เช่น กระยาสารท

Page 10: SEA Art and Culture

10

(2) หลัง พ.ศ. 1800 รับศาสนาอิสลามคนอุษาคเนย์รับศาสนาอิสลามราวหลัง พ.ศ. 1800 แต่แพร่หลายเฉพาะหมู่เกาะ กับดินแดน

ชายทะเลบางแห่งเท่านั้น เช่น มาเลเซีย, เวียดนาม นับแต่นี้ไปอุษาคเนย์จะแตกต่างทางศาสนา

(3) หลัง พ.ศ. 2300 รับอาณานิคมคนอษุาคเนยร์บัอาณานคิมอยา่งเดยีวกนัเมือ่หลงั พ.ศ. 2300 แลว้มวีฒันธรรมรว่มแบบอาณานคิม

ไทยมกัอา้งวา่ไมต่กเปน็อาณานคิมเหมอืนประเทศเพือ่นบา้น แตใ่นความเปน็จรงิแลว้อยูใ่นอาณานคิมอย่างไม่เป็นทางการ เพราะไทยเป็นส่วนหนึ่งของระบบโลกยุคอาณานิคมเหมือนประเทศเพื่อนบ้าน

Page 11: SEA Art and Culture

11

เพลงสิบสองภาษา

เพลงสิบสองภาษา หมายถึง เพลงหลายเพลงมีสำาเนียงนานาชาติภาษาตามต้องการที่มาร้อยเรียงเข้าด้วยกัน ล้วนเป็นเพลงที่ได้ทำานองลีลาจากสำาเนียงภาษาต่างๆ ของผู้คนในบ้านเมืองโดยรอบดินแดนไทยสยาม รวมถึงบ้านเมืองบางแห่งที่คุ้นเคยอยู่ห่างไกลก็ได้

โดยไม่จำาเป็นต้องมีจำานวนสิบสองตายตัว จะมีน้อยกว่าหรือมากกว่าก็ได้ แต่ที่เรียกว่าสิบสองเพราะจำานวนสิบสองมีความเป็นมาศักดิ์สิทธิ์ เช่น 12 นักษัตร

เพลงสิบสองภาษา แสดงความด้อยกว่าของคนอื่น และเหนือกว่าของสยาม เห็นได้จากเริ่มต้นด้วยเพลงกราวนอก ถือเป็นทำานองไทย คำาร้องแสดงการยกทัพที่มีไทยเป็นแม่ทัพ เพลงลำาดับต่อไปมีคำาร้องตอนหนึ่งว่ายกทัพไปจับมอญและคนอื่นๆ ทำานองเพลงต่อจากนั้นเป็นลักษณะที่ไทยยกตนข่มท่าน คือเหยียดชาติพันธุ์อื่นๆ ล้วนล้าหลังตลกคะนอง, โง่เง่าเต่าตุ่น, และบ้านนอก

เคยมีเพลงสิบสองภาษามาก่อนตามแนวสวดคฤหัสถ์ แต่เฉพาะที่จบท้ายด้วยสำาเนียงฝรั่ง ควรมีขึ้นหลัง พ.ศ. 2408 (ปลายแผ่นดิน ร.4) สิ้นสุดสงครามกลางเมืองสหรัฐ เพราะเพลงสำาเนียงฝรั่งได้ทำานองจากเพลงสงครามกลางเมืองสหรัฐคราวนี้

ชื่อเพลงขึ้นต้นด้วยชื่อชาติพันธุ์ชือ่เพลงดนตรไีทยขึน้ตน้ดว้ยชือ่ชาตพินัธุ ์เริม่นยิมอยา่งแพรห่ลายตัง้แตร่าวหลงั พ.ศ. 2400 หรอื

ราว ร.4 เป็นต้นมา เพื่อแสดงความเป็นอื่นที่ด้อยกว่า และอวดความเป็นสยามที่เหนือกว่าแต่อีกด้านหนึ่งก็แสดงให้เห็นลักษณะความสัมพันธ์แบบเครือญาติของสยามกับเพื่อนบ้านโดย

รอบที่ระบุชื่อชาติพันธุ์ เช่น เขมรพายเรือ, พม่าแทงกบ, มอญดูดาว, ลาวกระทบไม้, ญวนทอดแห, จีนขิมเล็ก, แขกต่อยหม้อ, ฯลฯ

ชื่อชาติพันธุ์ที่แสดงความเป็นอื่นที่ด้อยกว่า เริ่มมีใช้แพร่หลายใน ร.4 ไม่เคยมีก่อนหน้านั้น เช่น เขมรป่าดง, ขอมแปรพักตร์, ฯลฯ

ความเป็นอื่นที่ด้อยกว่า กับความเป็นสยามที่เหนือกว่า ไม่จำาเป็นต้องมีจริงในโลก เช่น ฝรั่งไม่ดอ้ยกวา่สยาม และสยามไมเ่หนอืกวา่ฝรัง่ แตใ่นโลกลวงๆ ของสยามแลว้ความเปน็อืน่ตอ้งดอ้ยกวา่ทัง้นั้น ไม่ว่าในโลกจริงจะเป็นอย่างไร

วงปี่พาทย์ ปี่พาทย์ หมายถึง วงประโคม ซึ่งมีปี่เป็นเครื่องเป่าด้นนำาวง พร้อมด้วยเครื่องตี (เรียก พาทย) หลายอย่าง เช่น ฆ้องวง, กลองทัด, ระนาด, เป็นต้น มีพัฒนาการขึ้นในอุษาคเนย์ เรียก ปี่, ฆ้อง, กลอง ไม่น้อยกว่า 3,000 ปีมาแล้ว (ในอินเดียและจีนไม่มีวงแบบนี้) แต่ก่อนไทยเรียกปี่พาทย์ว่า วงพิณพาทย์ เหมือนกัมพูชา และลาว ส่วนบริเวณหมู่เกาะ (เช่น อินโดนีเซีย) เรียก กาเมลัน (แปลว่า เครื่องตี)

Page 12: SEA Art and Culture

12

คำาร้องเพลงสิบสองภาษา

กราวนอก พระไวย ได้ฤกษ์ ให้เลิกทัพ รี้พล โจนจับ อาวุธมั่น หอกดาบ แหลนหลาว เกาทัณฑ์ ปืนสั้น หน้าไม้ อาบยา กึกก้อง กองหน้า กล้าศึก ห้าวฮึก ทั่วทั้ง สามสิบห้า หมายมุ่ง สัปยุทธ ยุทธนา กวัดแกว่ง ศาสตรา คลาไคล

สร้อยกราวแขกเงาะ พวกเราเหวย วันนี้สนุกวา เกรียวกราวฉาวฉ่า เฮฮาอยู่สนั่น ยิ่งยวดกวดขัน เกณฑ์คนเข้ากองทัพ แต่งตัวเสร็จสรรพ จะไปจับมอญ มัวมาปีปอน จับมอญได้มัดมา เพื่อนเราเหวย เพื่อนเอยเพื่อนอย่าช้า เสียงเฮเสียงฮา เริงร่าอยู่คะนอง เต้นรำาลำาพอง คะนองคณานึก อาสาสู้ศึก หาญฮึกอยู่เกรียวกราว

เงี้ยว เงี้ยวลาย ส่านถั่วต้มเน้อ ปี้บ่หย่อน เมียงนางน้องโลม ยาลำาต้ม ตวยสู ปี้เล้า แหน่น..........ลา.......... ฮักกั๋น บ่ได้โลมลา โคเงินใส่โถงปา หมู่เฮามาจากเจียงใหม่..........ลา.......... เส่เลเมา บ่าเดียว ปันกวาง ไปเซาะซื้อจ๊าง ก่อได้ผู้เอกงาขาว เอาไปลากไม้ ก่อตี้เจียงแสน ก้อเจียงดาว เหยปี้เหย ป้าสีปูเลย ป้าดเกริง ตุ้มเกริง เส่เลเมา บ่าเดียว ป๊อกซ็อก ไปเล่นไพ่ป๊อก ก้อเสียตึ๋งลูก ก่อตึ๋งหลาน เล่นไปแถมน้อย ก่อเสียถึงปิ่น ก่อตึ๋งลาน เนาะปี้เนาะ จะขี่เฮือเหาะ ขึ้นบนอากาศ อะโลโละ ส้มบ่าโอ จี้น้ำาพริก เหน็บดอกปิ๊กซิก ต๋าเหลือก ต๋าแหล ไปตังปุ้น ก่อตี้ปะตู๋ ก่อตาแป งามนกัแก อะโหล ่ โลโ้ล แมฮ่า้ง แมห่มา้ย อะโลโละ ไปเมืองโก ตวยปี่เงี้ยว หนทางลดเลี้ยว ข้าน้อย จะเหลียวถาม หนทางเส้นนี้ ก่อไปถนน ก่อเมืองพาน เฮยปี้เฮย ตัวข้านี้เฮย

Page 13: SEA Art and Culture

13

จีนขิมเล็ก ๏ โยธา ฮาเฮ บ้างเสสรวล ขับครวญ ตามภาษา อัชฌาศัย ร้องเป็น ลำานำา ทำานองใน เรื่องขงเบ้ง เมื่อใช้ อุบายกล ขึ้นไปนั่ง บนกำาแพง แกล้งตีขิม พยักยิ้ม ให้ข้าศึก นึกฉงน ไพรี มิได้แจ้ง แห่งยุบล ให้เลิกทัพ กลับพล รีบหนีไป

จีนไจ๋ยอ ๏ สามสุมา กล้าศึก นึกฉงน คร้ามในกล ขงเบ้ง เก่งใจหาย เคยเสียทัพ ยับแทบ ตัวตาย สุมาอี้ นึกหน่าย ฉงนความ เจ๋ใจ่ยอ ฮอฟาน ฮ้อจง ตั่งฮ้อฮอ ตั้งฮ้อ มุ่ยเชียง เอี่ยวหลี มาเพียว อ่ายยอ อายูนัม แต้อิ๋ว นั้มฟั้น อ่ายยอ ๏ ให้ม้าใช้ ไต่สวน กระบวนศึก ตื้นลึก กลใด เที่ยวไต่ถาม ว่ามี สองคน ในกลความ สุมาอี้ นึกขาม ร้องอ๋ายโย หนูตั้งกอ ฮ้อยินไฟ จินเจี้ยวอา ม้าใช้อ่ายยอ เอี่ยวหลี มาเพียว อ่ายยอ อายูลิว ผิวหนู นั้มฟั้น อ่ายยอ ๏ ให้เลิกทัพ กลับพหล พลสิบหมื่น คืน ถอยหลัง ยังฮูโต๋ เข้าเฝ้า เจ้าโจผี บุรีโต ร้องอ๋ายโย เสียทัพ กลับมา ฮ้อฮู่ฮวง ฮ้อซัน ซือแฮ ตั้งฮ้อฮอ ตั้งฮ้อ มุ่ยเชียง เอี่ยวหลี มาเพียว อ่ายยอ อายูลิว ผิวหวัน นั้มฟั้น อ่ายยอ

Page 14: SEA Art and Culture

14

เขมรอมตุ๊ก มาจะกล่าวบทไป เขมรใหม่ เป็นเจ้าเมือง ชื่อท้าว ปทุมรุ่งเรือง ได้ครองเมือง กัมพูชา ได้รับสารทรง ขององค์แม่วัลลา ให้ไปช่วยยุทธนา กับไพรี คิดแล้วแต่งองค์ โสรจสรงวารี ออกพระโรงรูจี เรียกหาเสนี เข้ามาพลัน ตระเตรียมโยธา อย่าช้าขมีขมัน ฤกษ์งามยามจันทร์ ให้ยกพลขันธ์ รีบไป ท่านท้าวอมตุ๊ก สนุกจังแล ลาล็อก กราวเครง ดักสะเนียง เตาลา ละเสียงตีมุก พระเปรยชะวา ดักเหนียง เต้านา หมักหะเกริง ตีกรอง

เขมรเร็ว มาจะกล่าว ถึงขุนมาร ชาญศักดา ท้าวพิโรธ โกรธา ดังไฟกัลป์ ว่าเหวย บ้องตัน มันทำาโอหัง ค้างส่วย หลายครั้ง แล้วทำาหน้าเหย ตรัสเรียกผีพราย นายเอ๋ยถ่ายเท ทวงส่วย ว้าเหว่ ที่อ้ายบ้องตัน ผีพราย ได้ฟัง ทั้งผีป่า วิ่งวุ่น ไปมา ชนกันดังแฉะ ว่าเหวย ชาวเรา ได้ฟังท้าวสั่ง รีบมา พร้อมพรั่ง เดินก้าวเหยาะแหยะ ตรัสเรียกผีพราย นายเอ๋ย ขะโหมด จักกระโดด โลดเตาะ ม้าฮ่อไปแฮะ

ตะลุงบ้องตัน จำากูจะไป ให้มันถึงเรือน จะไปเตือน บ้องตัน ที่มันทำาเฉยแหะ ฝ่ายว่าบ้องตัน มันฝันแลเห็น กระโดดโลดเต้น เอามือตีแปะ สิบสองบ้องตัน เสร็จฝันตื่นนอน พาเมียรีบจร เขาดงพงป่า ถือหอกกำายำา ด้ามยาวสามวา เข้าดงพงป่า เที่ยวหาเนื้อทราย เสียงนกร้องบอก หัวถลอกเสือขบ บ้องตันแลพบ ร้องเรียกอียาย เสียงนกบอกเหตุ กูสังเกตมาหลาย คงจะปะเสือร้าย ยายเร่งระวังตัว ถ้ามันโฮกเข้ามา อย่าช้าอียาย จงยึดบั้นท้าย เอาไว้อย่ากลัว กูจะแทงด้วยหอก ให้มันกลอกหัว จะได้เอาตัว ไปถวายเจ้านาย

Page 15: SEA Art and Culture

15

ข่า (ปร๊อกช่าปร๊อก ช่าปร๊อก ต้นมะปร๊อกๆ ๆ ) มาจะกล่าว ถึงเจ้าเมืองข่า (เอ้าหน้าแฮ) ครอบครองพารา อยู่ที่เมืองปิล็อก เมื่อได้ฟังทูล จากพวกเสนา (เอ้าหน้าแฮ) ว่ามีคนมา จากเมืองบางก๊อก มันมาไล่ยิง ฝูงสัตว์ในป่า (เอ้าหน้าแฮ) มอดม้วยมรณา ไปตั้งหลายครอก เมื่อท้าวได้ฟัง ให้แสนโกรธา (เอ้าหน้าแฮ) กระทืบบาทา เสียงดังก๊อกก๊อก สัตว์ในป่า ของกูเลี้ยงไว้ (เอ้าหน้าแฮ) ช่างไม่เกรงใจ ไอ้พวกกิ๊กก๊อก จะต้องยกพล จรดลออกไป (เอ้าหน้าแฮ) กูจับตัวได้ กูไม่ไว้มันหรอก ตรัสสั่งเสนี ให้เตรียมโยธา (เอ้าหน้าแฮ) เร็วๆ อย่าช้า เฮ้ยไอ้ปาไอ้ป๊อก พอท้าวสั่งเสร็จ จัดแจงกายา (เอ้าหน้าแฮ) ถือหอกด้ามงา ขี่ม้าสีหมอก แล้วให้กองหลัง โบกธงสัญญา (เอ้าหน้าแฮ) พอได้เวลา ให้ยกทัพออก พวกพลโยธา ต่างโห่ฮาลั่น ขบเขี้ยวเคี้ยวฟัน แล้วทำาตาหลอก กวัดแกว่งอาวุธ ยื้อยุดยิงฟัน รวดเร็วหุนหัน ขยั้นขยอก บ้างโลดบ้างโผน บ้างโจนทะยาน บ้างคืบบ้างคลาน น่าขยั้นขยอก เงื้อมีดเงื้อพร้า ทำาท่าตีรัน ท่าแทงท่าฟัน พัลวัลกลับกลอก

Page 16: SEA Art and Culture

16

แอ่วลาว (1) ซำาแม่นหวา....แกม ปาลาแกมลา ปาลา นับว่าเป็นบุญตา บ่ห่อนว่าจักแกล้ง ได้ยลโฉม เพื่อนแพงน้องน้อย *เซาะหญิงใดในใต้แหล่งหล้า งามเลิศฟ้า บ่ มีไผเปรียบ ไผ บ่ เทียบเจ้าดรุณี งามจักอี๊ บ่ อื้อไผได้ชม นับว่าบุญบ่สม สิ บ่ ชมโฉมนาง ซำาแม่นหวา...แกม องตงแก้มเจ่า องตง นวลน้องสององค์ ช่างงามแต่เน้อนวล *เซาะหญิงใดในใต้แหล่งหล้า งามเลิศฟ้า บ่ มีไผเปรียบ ไผ บ่ เทียบเจ้าดรุณี งามจักอี๊ บ่ อื้อไผได้ชม นับว่าบุญบ่สม สิ บ่ ชมโฉมนาง

แอ่วลาว (2) แก้มใหม่ๆ แก้มเจ้าใหม่ๆ ผักไซเครือเขียว ผักตำาลึงเครือเดียว เกี่ยวก่ายแม้เย้อว อยู่ออมลอม... โอมพุทโธ นะโมเป็นข้าว ข้อยซิเว้า พื้นกาพย์ปัญหา นาฬิกา ใครมาตั้งแต่ง แม่นคนเจ๊ก หรือแม่นคนไทย มันเดินไป หมดมื้อเท่าค่ำา ตะวันต่ำา มันก็บ่อเซานอน มันเดินจน เถียงวันเถียงคืน มันบ่ยืน เดินไปแปล็กๆ ฟังแปลกๆ มีหลายภาษา แข้งแลขา เหลียวหาบ่พ่อ หน้างึดง้อ แต่ว่ามันเดินเป็น หรือว่ามีเอ็น กระดูกติดต่อ หนังหุ้มห่อ มีบ่อทองดี เวลามันตี เป็นทุ่มเป็นโมง อันใหญ่ๆ น้อยๆ ก็มี อันรีๆ ยาวๆ น้อยๆ เอาไปห้อย แขวนไว้แจ่ฝา ถึงเวลา มันก็ตีม๊องมอง......... ศรีจำาปา ฉลองศรัทธา เท่านั้นแล้ว..... โอละหนอ โอละหนา ข้อยซิว่า กลอนโต๊ะล่งตง (โต๊ะลงตง ล่งโต๊ะ ล่งตง) ลงไปท่ง เก็บหอยเก็บปู เก็บมาได้ พายมาหลังโก่ง ผัวเมีย ได้กันใหม่ๆ แล้วพากันไป เที่ยวถ้ำาเขาวง ฝนตก ลงมาพรำาๆ เลยหลบเข้าถ้ำา ไปอยู่ในโพรง ในถ้ำา มันก็มืดตื๊ดตื๋อ เจ้าผัวเอื้อมมือ ไปจับขอบกระโปรง ฝ่ายเมีย นั้นก็สงสัย มาจับทำาไม นะขอบกระโปรง ฝ่ายผัว จึงบอกออกไป พี่จะพาสายใจ ไปจับนกกิ้งโครง ฝ่ายเมีย จึงถามออกไป จะจับไปทำาไม นะไอ้นกกิ้งโครง ฝ่ายผัว จึงตอบออกไป พี่จะจับมันไป เลี้ยงไว้ในกรง จะเลี้ยงดู มันให้ดิบดี มันทันถึงปี จะให้อ้วนท้องโป่ง เมียว่า ถ้ายังงั้นก็ตามใจ น้องก็อยากจะได้ ลูกนกกิ้งโครง ในโพรง มันก็มืดตึ๊ดตื๋อ ผัวเมียร่วมมือ กันจับนกกิ้งโครง

Page 17: SEA Art and Culture

17

พม่ากงแด มาจะกล่าวบทไป ถึงสิบอได เป็นเจ้าพม่า ครองเมืองพุกาม งามสง่า พวกพลโยธา ก็มากมี (สร้อย) เมื่อได้รับสารา ของแม่วัลลา แสนยินดี ให้ไปช่วย ต่อตี กับพวกไพรี แสนศักดา (สร้อย) พรั่งพร้อม พลนิกาย ทั้งขวาทั้งซ้าย มากหน้า พอได้ฤกษ์งาม ตามเวลา ให้ยกโยธา ดำาเนินจร (สร้อย) (สร้อย) มาลี มาลา มาตุฉา กงแค เทิงบองซิมองโซะ เอาว่า ซางัน ยาเล---เล้---เลเล---เลเหล่

พม่าทุงเล ทุงเลทุงเล ทีนี้จะเห่ พม่าใหม่ ตกมาอยู่เมืองไทย มาเป็นผู้ใหญ่ตีกลองยาว ตีว่องตีไวตีได้จังหวะ ทีนี้จะกะเป็นเพลงกราว เลืองชื่อลือฉาว ตีกลองยาวสลัดได (สร้อย) ซองเล ซองเล กะทุ้งยะเกรซอยแว เฮ้เฮ้เฮ้........... เซาะวาแมซวยมอง เซาะเซาะวาแมซวยมอง เหล่เล เลเล้ เล้เหล่เล เลเหล่ เหล่เลเล้ เล้เหล่เล เลเล

พม่าปองเงาะ เหล่เล เลเล เลเหล่เลเล ปองเงาะ ปองเงาะ เฮาะอาปุเลวา มาเฮาะเปียวเปียว อีมังเยี้ยววา นิกะปู๋ นิกะป๋า

พญาลำาพอง ครั้นว่า ดาวประกาย พรึกขึ้น กองทัพ โห่ครื้น สนั่นป่า ปีเปี่ยวกาวเอย ม้องเหมี่ยงบายๆ กาวละ ยะตอเซียะละ ยาละเตยเฮย ให้รีบยก พหล พลโยธา ออกจากค่าย ชายป่า พนาลัย ฮุมเสียง เฮี่ยมปร๊าด ลัดใบ ลัดตะโก ฮามละ เล้...อุยยาย ฉันจะอาชัย ให้ตั๊กกะปรอนเฮย

Page 18: SEA Art and Culture

18

ญวนทอดแห เทิม เทิม เหย่อว เจ๊กเปา ตะละจี่แม่เยิว เจ๊กเปาเจ๊กเปากงหยี่ ตะละจี่จี๊จัม ตะละจี่จี๊จัม หนูมา กงไถ่ แหกดอย กงจาหนูเอย หนูมา กงไถ่ แหกดอย กงจ่าหนูเอย จีฟาง ฮ้อฟาง ฝันเมือง เทืองยาง จงดุ๋ย จงดุ๋ย กงจา หนูมาเอวบาง จี่เอ๋ยจี่ ทอดแหตรงนี้ เขาว่าจะมีกุ้งนาง จี่เอ๋ยจี่ ถือท้ายไม่ดี ระวังชนเว็จขี้เขาพัง จี่ทองทองเทือง จี๊จับเดื้องอา อั๊กแด อั๊กดุ่ย ทองเทืองจับเอื้องอา จงดุ๋ย กงจา เทือง จับเดื้องอา

ก้านเชา น้ำาขึ้นเต็มจอก ดอกบัวขึ้นเต็มฝั่ง โอ้แม่ทองทั้งตัว เจ้าหล่อนมีผัวแล้วหรือยัง ฝนตกแดดออก นกกระจอกเข้ารัง แม่ม่ายใส่เสื้อ มองเห็นเนื้อเห็นหนัง น้องนางบ้านนอก ใส่เสื้อดอกสวยจัง น้องจ๋ามานี่ มานั่งใกล้พี่จะร้องให้ฟัง ตัวพี่นี้จน ขัดสนไม่มีสตางค์ รับพี่เป็นผัว ขอเจ้าอย่ากลัวพี่ยังเตะปี๊บดัง จะแอบออดอ้อน ลืมละครโขนหนัง โด๊ปไข่ใส่โสม เร่งหักเร่งโหมเติมพลัง ไม่ให้น้องช้ำา ต้องระกำาแค้นคั่ง สะกิดพี่เมื่อไร เป็นต้องได้จริงจัง ยามร้อนนอนพัด ปฏิบัติร้อยชั่ง มิให้เดือดร้อน ต้องหลับนอนแต่ลำาพัง ยามหนาวเฝ้ากอด สวมสอดแนบนั่ง ฝนตกฟ้าร้อง กรตระกองไม่เหห่าง ยามหิวนั่งป้อน แม้นหาวนอนปวดหลัง พี่จะชวนมารศรี เล่นจ้ำาจี้สนุกจัง จ้ำาจี้เสร็จสรรพ เหงื่อซับชุ่มหลัง ชวนเจ้าอาบน้ำา ร่างเย็นฉ่ำาดึ๋งดั๋ง ปทุมทองตูมเต่ง ยิ่งเพ่งยิ่งตั้ง สุดห้ามใจเมิน ขอรีเทอร์นอีกสักครั้ง รักพี่เถิดนะ เจ้าจะสมหวัง แต่อย่างไรวันนี้ เมตตาพี่ของยืมสตังค์ (ก้านเชา อังกุเล ก้านเชา (ซ้ำา) อังคุละ หนูเอย อังคุโล บะละฮึม)

Page 19: SEA Art and Culture

19

เกริ่นแขก เยโฮ.....ไมสะลา....ฮ้าฮา....ยะอิดสะมิเล..เฮ้....ไมเล....เฮ้....เค...

ชุดแขกยิงนก จะกล่าวถึง อะบูฮะซัน เป็นคนสำาคัญ อยู่อรัญวา แม่มิ่งมิตร ขนิษฐา แม่สร้อยระย้า เป็นคู่ครอง ชวนนาง ทางปราศรัย แม่นิ่มใน นวลละออง ไปชมนก วิหคร้อง ในเหมห้อง วนาลี ครั้นถึงป่า พนาแนว พฤกษาแถว ริมวิถี โน่นแนะนก ชื่อโนรี ดูแดงดี เสียงโด่งดัง สร้อยระย้า นึกอยากได้ จึงวอนไหว้ ให้สามีฟัง จงยิงนก ให้ตกรัง พ่อร้อยชั่ง เมียอยากดู ตุ่มมะระอัด สะระกัด สะระนา ยะตุ๊มปารา ฮุดไซนาเฮ เห่เฮ้ เห้เฮ้ เฮ เฮ เฮ เฮ ยะตุ๊มปารา ฮุดไซนาเฮ ฮายีฮา ยีบายีนู ซาฮุดซา ฮุดซา ฮุดเซ็น จะรุมปา ฮา ฮา ฮา ฮา.......... ปันจะเฮ.......... ตานุตา นูตา นูต่า นูตา จะตุ่ม ปัดสะรา ฮุดไซนาเฮ สะยันตุม มาละกากิยา อาดัดมาละกากิยา มิกันตังยะโฮ ยะโฮ สุระเก สุเรฮุนทา ยะหมั่นหยะนิกา ยะนิกานะ... หมิ่นทา มินทา อุบปะรา อุบปา หมิ่นลานะ เมาลานะ

แขกฮุมไบ หล่าลาล้า ล่าลาล้า หล่าลาล้า หล่าซุมไบเซ มินตอระกัน ตะปันตะริยา มินตอระกัน ตะปันตะริยา ลา...ไฮมักกะตา ยานาเฮ หล่าล่าล้า หล่าล่าล้า หล่าล่าล้า หล่าฮุมไบเซ มินตอระกัน ตะปันตะริยา มินตอระกัน ตะปันตะริยา ลา..... ไฮมักกะโห ยานี (ฉับแกระ ฉับแกระ ฉับแกระ) แม่ปลาตะเพียน ช่างเวียนช่างแวะ หลบหน้า มาตั้งหลายปี มาเจอเจ้าหนี้ เลยนั่งหัวเราะแหะแหะ (ฉับแกระ ฉับแกระ ฉับแกระ) กินแกงฟักทอง มันปวดท้องจริงแฮะ ไปนั่งถ่ายทุกข์ ที่ริมคู ก้มลงไปดู เห็นงูกะแบะกะแบะ (ฉับแกระ ฉับแกระ ฉับแกระ) โผล่ออกมาครึ่งตัว มันส่ายหัวเงาะแงะ อาศัยอยู่ ที่กอลำาเจียก ตัวยาวแค่เกียก หัวเปียกเปียกแฉะแฉะ (ฉับแกระ ฉับแกระ ฉับแกระ) เดินไปชายป่า ไปพบตาสาขี่แพะ นางแพะ มันก็ชอบใจ มันพูดไม่ได้ ได้แต่ร้องแบ๊ะแบ๊ะ (ฉับแกระ ฉับแกระ ฉับแกระ) กลุ้มอกกลุ้มใจ จะไปทางไหนดีแฮะ ตั้งใจ ว่าจะไปเมืองเพชร จะไปเยี่ยมน้าเด็จ เขาว่าแกมีเพชรเอาไว้แยะ (ฉับแกระ ฉับแกระ ฉับแกระ)

Page 20: SEA Art and Culture

20

มาร์ชทรูจอเจียร์ กล่าวถึง เจ้ากระวิน ผู้เรืองเดช ครองยูไน เตทสเตท พาราใหญ่ ได้ทราบสาร ของวัลลา ยอดยาใจ ที่นางส่ง มาให้ กับรูปทรง พิศพักตรา นาสา วิไลล้ำา ให้กลุ้มกล้ำา เคลิ้มคลุ้ม จนลุ่มหลง อยากจะเห็น ทรามสงวน นวลอนงค์ สั่งให้ยก จัตุรงค์ ดำาเนินจร

ทำานองมาจากเพลงมารช์ชิง่ ทร ูจอรเ์จยี (Marching through Georgia) ของกองทพัสหรฐัฝา่ยเหนอื สมยัสงครามกลางเมอืง ประพนัธข์ึน้ในป ีพ.ศ. 2408 โดยเฮนรี ่เคลย ์เวริค์ (Hurry Clay Work)

หลงัสิน้สงครามกลายเปน็เพลงยอดนยิมในหมูท่หารผา่นศกึของกองทพัสหรฐัฝา่ยเหนอื แลว้แพร่เข้ามาถึงสยามในสมัย ร.5

ต่อมานักดนตรีไทยจำาทำานองไปเล่นในวงดนตรีไทย และใส่เนื้อร้องเสียใหม่ในชื่อ “เพลงคุณหลวง” หรือ “ฝรั่งเดินทัพ” เป็นบทเพลงสั้นๆ มีเนื้อร้องดังนี้

คุณหลวง คุณหลวง อยู่กระทรวงยุทธนา เงินเดือนยี่สิบบาท ดูเปิ๊ดสะก๊าดเสียเต็มประดา ใส่เสื้อราชปะแตน ทำาไมไม่แขวนนาฬิกา

ยี่แฮม ยี่แฮม ดิสไพร์ ซัมซัม ดิสกรัม แอนด์เดช ดิสไพร์ มูเลฮูม ซัมวะรี ดิสปริน เดอออร์ไพร์ ยอแรม ยอแรม แซมวะรี่รี่..........

สมเด็จฯ กรมพระยาดำารงราชานุภาพ ทรงรับสั่งไว้กับหม่อมเจ้ามารยาตรกัญญา ดิศกุล ว่าเป็น เพลงฮิมน์ (Hymn - A sacred metrical poem set to music, and formimg part of a religious service) หมายถึง บทกวีนิพนธ์ที่มีความขลังหรือความศักดิ์สิทธิ์ ใช้ดนตรีบรรเลงประกอบให้เข้ากับทำานองสวดทางคริสต์ศาสนา

นกัดนตรไีทยสมยันัน้ไมม่คีวามรูภ้าษาองักฤษ จงึจดจำามารอ้งโดยไมเ่ขา้ใจความหมาย จนไมส่ามารถ แปลเนื้อร้องย้อนกลับไปสู่ต้นฉบับได้ ดังเทียบเนื้อร้องไทยและเนื้อร้องฝรั่งต้นแบบ ดังนี้

The Heavenly Bridegroom soon will come ยี่เฮ็มปรีไปรมาสู่เวรสู่กรรมTo cliam his bride, and Take her home ตู๊เรนรีสไปรแอนเต็ดเฮือห่อนTo reign will Him on high ซูสี ดิสปริน ออละฟรายTrim your lamp and be ready ยอแหร่ม ยอแรม แซมวอรี่รีFor the midnight cry. ฝาระมีนายไกร

(คำาอธิบายเพิ่มเติม เพลงมาร์ชทรูจอเจียร์กับเพลงยี่แฮม สรุปย่อจากหนังสือ สังคีตสมัย ของ พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2556 หน้า 12-13)