8
ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุกัญญา จงถาวรสถิตย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน ภาควิชาสังคมศาสตร� คณะสังคมศาสตร�และมนุษยศาสตร� มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาศาสตร�พ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Science

วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

I

ผู�ช�วยศาสตราจารย� ดร.สุกัญญา จงถาวรสถิตย�

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียนภาควิชาสังคมศาสตร� คณะสังคมศาสตร�และมนุษยศาสตร�มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาศาสตร�พ�้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Science

Page 2: วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

II

ISBN : 978-616-443-144-7

จัดพิมพ์โดย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน คณะสังคมศาสตร์เเละมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ออกแบบปกและรูปเล่ม : น�า้ฝน นามวงษ์ ส�านักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์ พิมพ์ที่ : ส�านักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์พิมพ์ครั้งที่ 1ปีที่พิมพ์: 2561พิมพ์จ�ำนวน: 100 เล่ม

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

Page 3: วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

III

วทิยาศาสตร์พืน้ฐานทางคลนิกิ เป็นองค์ความรูท้างการแพทย์พืน้ฐานท่ีส�าคญั ท�าให้เกดิความเข้าใจ

การเกิดโรคในระบบต่างๆ ของร่างกาย การตรวจวินิจฉัยโรค และแนวทางการรักษาของแพทย์ ซึ่งนักศึกษา

เวชระเบียน เป็นบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข มีบทบาทเก่ียวกับการดูแลจัดเก็บประวัติข้อมูล

การรักษาพยาบาลของผู้ป่วยในโรงพยาบาล การให้รหัสกลุ่มโรค รหัสหัตถการทั้งผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน

การให้รหัสทางการแพทย์ในระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม การตรวจสอบคุณภาพรหัสทางการแพทย์และ

เวชระเบียน การจัดท�าสถิติรายงานผู้ป่วย เป็นต้น ความรู้ทางการแพทย์พื้นฐาน จะสามารถน�าไปประยุกต์ใช้

ในการปฎิบัติงานในโรงพยาบาลได้ ไม่ว่าจะเป็นงานเวชระเบียน งานบริการทางคลินิก งานวิชาการ หรือ

งานวจิยั ผูเ้ขยีนได้รวบรวมองค์ความรูท้างการแพทย์ท่ีจ�าเป็นในทางคลนิกิ โรคทีพ่บบ่อยๆ ในผูป่้วย จากต�ารา

ต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ มาเขียนเป็นภาษาไทยให้อ่านเข้าใจง่าย พร้อมกับรวบรวมศัพท์เทคนิคทาง

การแพทย์ที่แพทย์ใช้บ่อยในทางคลินิกควบคู่ไปด้วย จะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจการบันทึกการวินิจฉัยโรค และ

แนวทางการรักษาของแพทย์ในเวชระเบียนไม่ว่าจะเป็นแฟ้มเวชระเบียนหรือเวชระบียนอิเล็กทรอนิกส์

ซึ่งนักศึกษามีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์มาแล้ว ส�าหรับเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ แบ่งตามระบบ

ของร่างกาย 5 ระบบ ได้แก่ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร

ระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์เพศหญิง โดยแต่ละระบบ เนื้อหาประกอบด้วย กายวิภาคและ

สรีรวิทยา พยาธิสภาพของโรค การวินิจฉัย การรักษา หัตถการ และค�าย่อที่ใช้บ่อย

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการอ่านประกอบการเรียนการสอน

ในรายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิก ศัพท์เทคนิคทางการแพทย์ พยาธิวิทยา วิธีด�าเนินการ

ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ การให้รหัสกลุ่มโรค และรหัสหัตถการ ส�าหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาเวชระเบียน และผู้สนใจทั่วไป

ผูเ้ขยีนขอขอบคุณผูท้รงคุณวฒุ ิทีไ่ด้กรุณาให้ค�าแนะน�า ตรวจความถูกต้องครบถ้วนของเนือ้หา ได้แก่

นายแพทย์สมชาย ดุษฎีเวทกุล นายแพทย์ธรรมเชษฐ์ เดชวีระธรรม และรองศาสตราจารย์ ดร.แสงเทียน

อยู่เถา ตลอดจนขอขอบคุณภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่ให้การสนับสนุนในการท�าหนังสือเล่มนี้

ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. สุกัญญำ จงถำวรสถิตย์

ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหิดล

ค�ำน�ำ

Page 4: วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

IV

ค�ำน�ำ

สำรบัญ

บทที่ 1 ระบบกระดูกและกลำ้มเนื้อ

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของกระดูก

พยาธิสภาพของกระดูก

การวินิจฉัยและหัตถการ

กายวิภาคและสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อ

พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อ

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

กายวิภาคและสรีรวิทยาของข้อต่อ

พยาธิสภาพของข้อต่อ

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

บทที่ 2 ระบบหัวใจและหลอดเลือด

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบหัวใจและหลอดเลือด

พยาธิสภาพของโรค

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

III

IV

1

3

3

9

11

12

15

17

18

20

25

26

27

29

31

31

35

47

55

56

สำรบัญ

Page 5: วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

V

บทที่ 3 ระบบทำงเดินอำหำร

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหาร

พยาธิสภาพของโรค

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

บทที่ 4 ระบบทำงเดินปัสสำวะ

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบทางเดินปัสสาวะ

พยาธิสภาพของโรค

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

บทที่ 5 ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

พยาธิสภาพของโรค

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

บรรณำนุกรม

ประมวลค�ำย่อ

Index

ดัชน ี

ประวัติผู้เขียน

สำรบัญ (ต่อ)

57

59

59

64

71

77

78

79

81

81

83

87

94

94

95

97

97

102

108

113

114

115

119

127

137

145

Page 6: วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

147

ประวัติผู้เขียน

กำรศึกษำ

- ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) (นานาชาติ)

มหาวิทยาลัยมหิดล

- วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอก โรคติดเชื้อ (ระบาดวิทยา)

มหาวิทยาลัยมหิดล

- วท.บ. (พยาบาลและผดุงครรภ์)

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สถำนที่ปฎิบัติงำน

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา เวชระเบียน และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชา

การจัดการเวชสารสนเทศ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงำนวิจัย

1. Chongthawonsatid, S., & Chinjenpradit, W. (2017). The use of a pedometer with or

without a supervised exercise program for control of pre to mild hypertension: A randomized

control trial and follow-up study in Thailand. Journal of Health Research. https://doi.org/10.1108/

JHR-11-2017-009

2. Chongthawonsatid, S. (2017). Validity of principal diagnoses on discharge

summaries and coding assessments, ICD 10: The national data in Thailand. Healthcare

Informatics Research. 23(4):293-303.

3. Chongthawonsatid, S. (2017). Inequity of healthcare utilization on mammography

examination and Pap smear screening in Thailand: Analysis of a population-based household

survey. PLoS ONE. 12(3): e0173656. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0173656

4. Chongthawonsatid, S., & Dutsadeevettakul, S. (2017). Validity and reliability of the

ankle-brachial index by oscillometric blood pressure and automated ankle-brachial index.

Journal of Research in Medical Sciences. 22:44.

Page 7: วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

148

5. Prasithsirikul, W., Chongthawonsatid, S., Keadpudsa, S., Klinbuayaem, W., Rerksirikul,

P., & Kerr, S.J. (2017). Depression and anxiety were low amongst virally suppressed, long-term

treated HIV-infected individuals enrolled in a public sector antiretroviral program in Thailand.

AIDS Care. Psychological and Socio-medical Aspects of AIDS/HIV. 29(3). 299-305.

6. Chongthawonsatid, S. (2015). Medical records management of foreign

patients in Thai border hospitals. Journal of Health Research. 29 (6): 473-80.

7. Chongthawonsatid, S. (2015). Relationship between dyslipidemia patients and

hypertension: Follow up medical record data. Journal of Health Research. 29(5): 365-70.

8. Chongthawonsatid, S. (2015). Demographic factors and health care behavior of

hypertension disease in Thailand. Silpakorn University Science and Technology Journal. 9(1): 9-16.

9. Chongthawonsatid, S. (2015). Social epidemiology in public health research.

Journal of Public Health. 44(1): 93-105 (in Thai).

10. Chongthawonsatid, S. (2012). Life expectancy of HIV/AIDS patients in the era of

highly active antiretroviral therapy: Thailand, 2008-2010. Office of Disease Prevention and

Control I Journal. 16(2): 77-9. (in Thai).

11. Chongthawonsatid, S. (2011). Projection of HIV/AIDS patients at Bamrasnaradura

Infectious Diseases Institute, 2011-2013. Journal of Bamrasnaradura Infectious Diseases

Institute. 5(1): 36-41. (in Thai).

12. Ruansawang, P., Chongthawonsatid, S., Prasithsirikul, W., Limjaroen, K., Muangpaisan,

K., & Siriwarothai, Y. (2011). Demographic factors, stage of disease and survival of HIV patients

in adult. Journal of Health Science. 20(4): 586-93. (in Thai).

13. Ruansawang, P., Chongthawonsatid, S., Prasithsirikul, W., Limjaroen, K., Muangpaisan,

K., & Siriwarothai, Y. (2011). Demographic factors, stage of disease and adherence of

antiretroviral drug therapy in HIV/AIDS. Disease Control Journal. 37(1): 18-26. (in Thai).

14. Chongthawonsatid, S. (2010). Cause of death among HIV infected patients.

Office of Disease Prevention and Control I Journal. 14(2): 123-26.(in Thai).

15. Chongthawonsatid, S., Ingkavanit, A., & Poonsawad, N. (2009). The relationship

between age, time of diagnosis and type of pneumonia in patients under five years old,

Ayutthaya province: 2003-2007. Office of Disease Prevention and Control I Journal. 13(2). (in Thai).

16. Theerawitthayalert, R., Chongthawonsatid, S., & Narasetaphan, P. (2009). Knowledge

and behavior of care-taker on prevention of diarrheal disease in children. Disease Control

Journal. 35(1): 39-46. (in Thai).

Page 8: วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Sciencerepository.li.mahidol.ac.th/dspace/bitstream/123456789/43998/3/sh-bk-sukunya-2561.pdfrbmsunศibqd;db30pd-iii

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

149

17. Chongthawonsatid, S., & Rattanadilok Na Bhuket, P. (2009). Demographic factors

and cholera in Thailand, 2007. Journal of Health Science. 18:187-92. (in Thai).

18. Chongthawonsatid, S., Isarabhakdi, P., Jampaklay, A., Entwisle, B., & Suchindran,

C.M. (2008). The relationship between migration and timing of birth in Nang Rong, Thailand.

Journal of Population and Social Studies. 17(1): 1-18.

19. Sirinavin, S., Thavornnunth, J., Sakchainanont, B., Bangtrakulnonth, A., Chongthawon-

satid, S., & Junumporn, S. (2003). Norfloxacin and azithromycin for treatment of nontyphoid-

al salmonella carriers. Clinical Infectious Diseases. 27(9): 37: 685-91.

20. Chongthawonsatid, S., Patumanond, J., & Ratanarat, P. (2002). Survival of patients

with colorectal cancer in Thailand. Bulletin of the Department of Medical Services. 27(9):

434-442. (in Thai).