7
Proceedings of the National Research Conference Northern College 1

Proceedings of the National Research Conference Northern ... · Proceedings of the National Research Conference Northern College 988 บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Proceedings of the National Research Conference Northern ... · Proceedings of the National Research Conference Northern College 988 บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Proceedings of the National Research Conference Northern College 1

Page 2: Proceedings of the National Research Conference Northern ... · Proceedings of the National Research Conference Northern College 988 บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Proceedings of the National Research Conference Northern College 987

การพัฒนาผลิตภัณฑแของที่ระลึก กรณีศึกษา : กลุมผลิตภัณฑแจักสาน ต าบลไมงาม อ าเภอเมืองตาก จังหวัดตาก Development of souvenir products Case study : Plastic basketry products, Mai Ngam

Subdistrict, Mueang Tak District, Tak Province กมลทิพยแ เหมือนสุวรรณ1 และอัมพรรัตนแ กาวินา2

Gamonthip Muansuwan and Aumphonrat Kawina

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคแ 1) เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑแชุมชนประเภทของท่ีระลึกโดยใชวัตถุดิบในทองถิ่น หรือความชํานาญท่ีมีอยู

มาพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลาย และสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑแของกลุมผลิตภัณฑแจักสาน 2) เพ่ือทราบถึงพฤติกรรมและปใจจัยท่ีสงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของท่ีระลึกจากการจักสานดวยพลาสตกิของกลุมผลิตภัณฑแจักสาน ตําบลไมงาม อําเภอเมือง จังหวัดตาก ผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเป็นเพศหญิง มีอายุ 31-40 ปี ประกอบอาชีพพนักงานเอกชน และมีรายได 15,000-20,000 บาท ในดานพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของท่ีระลึก ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีวัตถุประสงคแหลักในการเลือกซือ้ผลิตภัณฑแท่ีระลึก คือ ซื้อเป็นของฝากใหผูอ่ืน ราคาในการซื้อแตละครั้งอยูท่ี 1,000 ถึง 5,000 บาท สถานท่ีเลือกซื้อมักซื้อจากสถานท่ีผลิตโดยตรง รูจักสินคาท่ีระลึกจากคําบอกเลา ซื้อสินคาของท่ีระลึกประจําทุกปี สวนของท่ีระลึกท่ีซื้อบอย อันดับ 1 ผลิตภัณฑแเพื่อการบริโภค อันดับ 2 คือ ประดับตกแตง อันดับ 3 เครื่องจักสาน และอันดับสี่คือ เครื่องปใ้นดินเผาและเซรามิค และผลิตภัณฑแจักสานขนาดเล็กท่ีนิยมซ้ือเป็นของท่ีระลึกคือ พัด และในดานความสําคัญของปใจจัยท่ีสงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของท่ีระลึในดานการใชงานผูตอบแบบสอบถามใหความสําคัญกับคุณภาพของผลิตภัณฑแ และความคงทน และสะดวกตอการใชงาน สามารถมองเห็นผลิตภัณฑแภายในไดชัดเจน เป็นของฝากโดยไมตองหอซ้ํา และบรรจุภัณฑแเหมาะสมกับผลิตภัณฑแ ในดานการตลาด ผูตอบแบบสอบถามใหความสําคัญกับความแปลกใหมของผลิตภัณฑแ มีเอกลักษณแเฉพาะทองถิ่น ผลิตภัณฑแมีความหลากหลาย และสวยงาม สะดุดตา ค าส าคัญ : การพัฒนาผลิตภัณฑแ, ของท่ีระลึก, ผลิตภัณฑแจักสาน Abstract

The objectives of this research were 1) to develop community products of souvenirs using local ingredients. Or existing expertise to develop to increase diversity And create added value for the products of the basketry products

The research found that Most respondents were female, aged 31-40 years, engaged in private employees and earned 15,000-20,000 baht in the behavior of buying souvenir products. Most respondents have the main objective of buying souvenir products, ie to buy as souvenirs for others. Each purchase price is 1,000 to 5,000 baht. The purchase location is usually purchased directly from the production site. Know the product from the hearsay. Buy souvenir products every year. Know the product from the hearsay. Buy souvenir products every year. The most frequently purchased souvenirs, ranked No. 1 for consumer products, are ranked # 3, wickerwork and fourth is Pottery and ceramics And small wicker products that are popularly purchased as souvenirs are blows And in terms of the importance of factors that affect the decision to buy products that are in use, respondents place importance on product quality and durability and ease of use. Can see the internal products clearly Is a gift without having to wrap it again And packaging suitable for the product In marketing Respondents focus on the novelty of the product. With local identity Products are diverse and beautiful. Keywords : Product Development, souvenir, basketry products

1 อาจารยแประจําสาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอรแทเทิรแน 2 อาจารยแประจําสาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยนอรแทเทิรแน

Page 3: Proceedings of the National Research Conference Northern ... · Proceedings of the National Research Conference Northern College 988 บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Proceedings of the National Research Conference Northern College 988

บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) ซึ่งไดจัดทําขึ้นในชวงเวลาของการปฏิรูปประเทศทามกลางสถานการณแโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและเชื่อมโยงกันใกลชิดกันมากขึ้น โดยไดนอมนําหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานําทางในการพัฒนาประเทศตอเน่ืองจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙–๑๑ เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกันและชวยใหสังคมไทยสามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง เกิดภูมิคุมกัน และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม สงผลใหการพัฒนาประเทศสูความสมดุลและย่ังยืน ในการจัดทําแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ ครั้งน้ี สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ (สศช.) ไดจัดทําบนพื้นฐานของยุทธศาสตรแชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ซึ่งเป็นแผนแมบท หลักของการพัฒนาประเทศ และเปูาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) รวมทั้งการปรับโครงสรางประเทศไทยไปสูประเทศไทย ๔.๐ ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ นอกจากน้ัน ไดใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนาทุกภาคสวนทั้งในระดับกลุมอาชีพ ระดับภาค และระดับประเทศในทุกขั้นตอนของแผนฯ อยางกวางขวางและตอเน่ืองเพื่อรวมกันกําหนดวิสัยทัศนแและทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมทั้งรวมจัดทํารายละเอียดยุทธศาสตรแของแผนฯ เพื่อมุงสู “ความมั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืน” (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบสอง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี, 29 ธันวาคม 2559) สําหรับในสวนของจังหวัดตากไดมีการกําหนดแผนพัฒนาจังหวัด ภายใตวิสัยทัศนแ “เมือง นาอยู ประตูการคาชายแดน” โดยมพีันธกิจ/เปาประสงครวม คือ 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนใหมีรายไดและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. เพื่ออนุรักษฟนฟู และปองกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืน 3. เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและเพิ่มมูลคาสินคาทางการเกษตร 4. เพื่อพัฒนาการทองเที่ยว สินคา OTOP และสงเสริมการคา การลงทุน ในพื้นที่การ คาชายแดน และ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 5. พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐและการบริหารจัดการเพื่อปองกันรักษาความมั่นคงชายแดน การ รักษาความสงบเรียบรอยมีประสิทธิภาพ (แผนพัฒนาจังหวัดตาก ปี 2561-2564 สํานักงานจังหวัดตาก กลุมงานยุทธศาสตรและขอมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด)

เทศบาลตําบลไมงาม อําเภอเมืองตาก จังหวัดตาก แบงการปกครองออกเป็น 1 เทศบาลตําบล 9 หมูบาน มีจํานวนประชากรทั้งสิ้น 11,805 คน สวนใหญประกอบอาชีพทํานา ทําสวน ทําไร คาขายและรับจาง ซึ่งจากการที่ไดเขาไปพบกับทานนายกเทศมนตรีตําบลไมงาม ผูนําชุมชน และผูที่มีสวนเกี่ยวของ พบวา ตําบลไมงามมีผลิตภัณฑแชุมชนในทองถิ่น 6 ประเภท คือ ผลิตภัณฑแจักสานพลาสติก ผลิตภัณฑแที่นอน หมอนนุน หมูยอสมุนไพร แคบหมู หมูสม และนํ้าพริกแกง โดยผูประกอบการเป็นชาวบานที่อยูในพื้นที่ ซึ่งยังขาดความรูในการดําเนินกรรมดานการตลาด รวมถึงในสวนของการจัดหาชองทางการจัดจําหนาย และที่สําคัญที่สุดคือยังขาดความรูในดานของการพัฒนาผลิตภัณฑแใหมีความหลากหลาย และมีเอกลักษณแเฉพาะทองถิ่น ทําใหเสียโอกาสในการขาย โดยจากการสัมภาษณแฝุายงานที่มีสวนเกี่ยวของในมีมติวา ผลิตภัณฑแที่ควรจะทําการพัฒนาออกแบบผลิตภัณฑแใหมใหมีความหลากหลายและมีเอกลักษณแเฉพาะทองถิ่นคือ ผลิตภัณฑแจักสานพลาสติก โดยควรออกแบบผลิตภัณฑแสําหรับเป็นของที่ระลึก เพ่ือสรางรายไดที่เพ่ิมขึ้นใหกับชาวบานในชุมชน ซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาจังหวัดตากในขอที่ 1. ที่มีเปูาประสงคแเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนใหมีรายไดและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และขอ 4. เพื่อพัฒนาการทองเที่ยว สินคา OTOP และสงเสริมการคา การลงทุน ในพื้นที่การคาชายแดน และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (สํานักงานเทศบาลตําบลไมงาม, www.maingam.go.th, 2560)

จากความสําคัญและที่มาของปใญหาดังกลาว ทางผูวิจัยจึงเห็นถึงความสําคัญในการทําวิจัยเพื่อหาแนวทางในการออกแบบของที่ระลึกจะการจักสานพลาสติกของกลุมผลิตภัณฑแจักสานเสนพลาสติก โดยมุงใหสมาชิกในชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการพัฒนาอาชีพโดยการใชทรัพยากรที่มีอยูในทองถิ่นนํามาใชในการพัฒนาผลิตภัณฑแที่เป็นเอกลักษณแของชุมชน ซึ่งสงผลตอการสรางรายได และสามารถเพิ่มตลาดของผูบริโภคโดยมีผลิตภัณฑแชุมชนเป็นจุดขาย และทําใหชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได วัตถุประสงคแของการวิจัย

1. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑแชุมชนประเภทของที่ระลึกโดยใชวัตถุดิบในทองถิ่น หรือความชํานาญที่มีอยูมาพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลาย และสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑแของกลุมผลิตภัณฑแ จักสาน ตําบลไมงาม อําเภอเมือง จังหวัดตาก 2. เพื่อทราบถึงพฤติกรรมและปใจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของที่ระลึกจากการ จักสานของกลุมผลิตภัณฑแจักสาน ตําบลไมงาม อําเภอเมือง จังหวัดตาก ประโยชนแท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ทําใหสามารถพัฒนาผลิตภัณฑแของที่ระลึกเพื่อการจัดจําหนาย โดยใชวัตถุดิบในทองถิ่น หรือความชํานาญที่มีอยูมาพัฒนาเพื่อเพิ่มความหลากหลาย และสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑแของกลุมผลิตภัณฑแจักสาน ตําบลไมงาม อําเภอเมือง จังหวัดตาก

Page 4: Proceedings of the National Research Conference Northern ... · Proceedings of the National Research Conference Northern College 988 บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Proceedings of the National Research Conference Northern College 989

2. ทําใหสามารถเพิ่มรายไดใหกับกลุมผลิตภัณฑแจักสาน ตําบลไมงาม อําเภอเมือง จังหวัดตาก ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยในครั้งน้ี ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตการศึกษาไว 2 สวนดังน้ี 1. ดานเนื้อหา การศึกษาวิจัยครั้งน้ีผูวิจัยไดกําหนดชนิดของที่ระลึกจากการจักสาน เพื่อนํามาใชเป็นทางเลือกในการศึกษาควา มตองการของกลุมเปูาหมาย โดยในขั้นตอนการออกแบบของที่ระลึกไดทําการศึกษารูปแบบของผลิตภัณฑแของที่ระลึกที่ใชการจักสาน ซึ่งเป็นการศึกษารวบรวมขอมูลจากเอกสาร ตํารา และการลงพื้นที่ที่มีการจําหนายผลิตภัณฑแจักสาน และเพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมและปใจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑแของที่ระลึกของผูบริโภคกลุมเปูาหมาย 2. ขอบเขตดานประชากร และกลุมตัวอยาง ในการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของผลิตภัณฑแชุมชน ผูใหขอมูลหลักคือ ผูมีสวนเกี่ยวของกับผลิตภัณฑแ ไดแก กลุมประชาชนที่อยูในพื้นที่ จํานวน 50 คน และนักทองเที่ยว จํานวน 50 คน

3. ตัวแปรท่ีใชในการวิจัย 3.1 ตัวแปรตน (Independent Variable)

ขอบเขตดานตัวแปรตนที่ใชในการศึกษาครั้งน้ีเป็นขอมูลทั่วไป ไดแก เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา และรายได 3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable)

ขอบเขตดานตัวแปรตามที่ใชในการศึกษาครั้งน้ีเป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและปใจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของที่ระลึกของกลุมผลิตภัณฑแจักสาน ตําบล ไมงาม อําเภอเมืองตาก จังหวัดตาก

วรรณกรรมท่ีเก่ียวของ 1. แนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑแ ผลิตภัณฑแใหม (New Product) Mccathy & Pereault, Jr. (1991) กลาววาการพัฒนาผลิตภัณฑแ หมายถึงผลิตภัณฑแ ที่ใชสําหรับกิจการ อาจจะเป็นผลิตภัณฑแสินคาและบริการที่มีแนวคิดใหมๆหรือมีการเปลี่ยนแปลงบางอยางในผลิตภัณฑแสินคาหรือที่มีอยูแลวเกิดการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑแสินคา จะตองมีผลใหผูบริโภคหรือลูกคาเพื่อใหเกิดความพึงพอใจในตัวผลิตภัณฑแสินคาใหมากที่สุดกลาวคือควรมีความพึงพอใจมากกวาการบริโภคผลิตภัณฑแสินคา ชนิดเดิม หรืออาจจะเป็นผลิตภัณฑแเดิมที่นําเสนอในตลาดใหมๆ ซึ่งปใจจุบันสภาพทางการตลาดมีการแขงขันกันอยางรุนแรงมากขึ้นตลอดจนมีความกาวหนาของเทคโนโลยีเป็นไปอยางรวดเร็วทําใหมีผลิตภัณฑแสินคาใหมๆในตลาดจํานวนมากที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและไปเร็ว ดังน้ันจึงสงผลใหวงจรชีวิตของผลิตภัณฑแสินคาสั้นลง ผลิตภัณฑแสินคาที่ออกสูตลาดใหม จะอยูรอดไดในตลาด จึงตองเป็นผลิตภัณฑแสินคาที่มี “ความใหม” ที่แตกตางและเป็นสาระสําคัญของผลิตภัณฑแที่สอดคลองกับความตองการของผูบริโภค หรือลูกคาเทาน้ัน อีกทั้งประสงคแ ประณีตพลกรัง (2547) กลาววา การพัฒนาผลิตภัณฑแ เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑแใหมหรือปรับปรุงผลิตภัณฑแเดิม เพื่อเพิ่มมูลคาการแขงขัน เพื่อใหผลิตภัณฑแมีความแตกตางจากคูแขงขัน อาจจําแนกผลิตภัณฑแใหม (New Product) ได 3 ลักษณะคือ (Mccathy & Pereault, Jr. 1991) 1. ผลิตภัณฑแนวัตกรรมใหม (Innovative Product) หมายถึง ผลิตภัณฑแใหมที่ยังไมมีผูใดนําเสนอในตลาดมากอนหรือเป็นแนวคิดใหมที่ผูบริโภคอาจยังคาดไมถึง 2. ผลิตภัณฑแปรับปรุงใหมโดยการปรับเปลี่ยน ดัดแปลง (Replacement Product of Modify Product) หมายถึง เป็นผลิตภัณฑแใหมที่พัฒนาเปลี่ยนแปลงปรับปรุงมาจากผลิตภัณฑแเดิมที่ขายอยูแลวในตลาดทําใหสามารถตอบสนองความตองการ และสรางความพึงพอใจแกผูบริโภคไดมากขึ้น 3. ผลิตภัณฑแลอกเลียนแบบหรือการลอกเลียนแบบผลิตภัณฑแ (Imitative or Me-too-Product) หมายถึงผลิตภัณฑแใหมสําหรับกิจการแตไมใหมในทองตลาดเกิดจากการที่กิจการเห็นวาเป็นผลิตภณัฑแสินคาหรือบริการ ที่ไดรับการยอมรับและเป็นที่นิยมของผูบริโภคหรือลูกคาเป็นหลักทําใหกิจการมีโอกาสทางกาํไรสูง จึงเสนอผลิตภัณฑแสินคา และบริการ เพ่ือเขาสูทองตลาดโดยมีสวนแบงทางการตลาดขององคแกรหรือบริษัท

Page 5: Proceedings of the National Research Conference Northern ... · Proceedings of the National Research Conference Northern College 988 บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Proceedings of the National Research Conference Northern College 990

2. ความเป็นมาของผลิตภัณฑแของท่ีระลึก ความเป็นมาของผลิตภัณฑแของที่ระลึก ไมไดมีหลักฐานแนชัดวาเกิดขึ้นเมื่อใด แตนาจะเกิดจากลักษณะนิสัยและพฤติกรรมของผูคน

ที่มีการเดินทางทองเที่ยวพบปะสังสรรคแ รวมทั้งความตองการที่จะยํ้าเตือนความทรงจําและการระลึกนึกถึงสิ่งที่ไดพบเห็น และไดไปเย่ียมเยือนมา สวนความหมายของที่ระลึกมีคาํจัดความตาง ๆ ดังน้ี

ของที่ระลึก (Souvenir) หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่เก็บรักษาไวหรือใชเป็นเครื่องเตือนความจําเกี่ยวกับเรื่องราวหรือเหตุการณแหรือเหตุการณแตาง ๆ

ของที่ระลึก หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่นํามาใชเป็นตัวจูงใจใหเกิดการคิดถึงหรือนึกถึงเรื่องราวที่ ไดเกี่ยวของของที่ระลึก หมายถึง สิ่งที่ใชเป็นสื่อเพื่อหวังผลทางดานความทรงจําใหสิ่งที่ผานมาในอดีตกลับกระจางขึ้นในปใจจุบัน

ของที่ระลึก หมายถึง สัญลักษณแแทนบุคคล เรื่องราว ฯลฯ ที่ไดรับการออกแบบสรางสรรคแขึ้น เพื่อกระตุนหรือเนนยํ้าความทรงจําใหคิดถึงหรือนึกถึงอยูเสนอในบุคคลเหตุการณแหรือเรื่องราว ฯลฯน้ัน

ของที่ระลึกน้ีมีชื่อเรียกแตกตางออกไปอีกตามโอกาสอีก เชน"ของชํารวย" หมายถึง ของตอบ แทนผูมาชวยงาน เชน งานแตงงาน งานศพ"ของกํานัล" หมายถึง สิ่งของที่นําไปใหแกผูที่รักและนับถือและ "ของขวัญ" หมายถึง สิ่งของที่ใหกันเพื่ออัธยาศัยไมตรี

3.วรรณกรรมท่ีเก่ียวของ สมศักด์ิ ทองแกว พิชัย สดภิบาล อุดมศักด์ิ สาริบุตร (2558) ศึกษาเรื่องการศึกษาภูมิปใญญาทองถิ่นเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑแชุมชน

สงเสริมการทองเที่ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยการวิจัยในครั้งน้ี มีวัตถุประสงคแเพื่อศึกษาขอมูลดานภูมปิใญญาทองถิ่น และรูปแบบผลิตภัณฑแชุมชน พรอมกับการศึกษาขอมูลการสงเสริมการทองเที่ยว และการพัฒนาผลิตภัณฑแชุมชนโดยใชภูมิปใญญาทองถิ่นจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีวิธีการดําเนินการศึกษาขอมูลจากเอกสาร การสาํรวจ สังเกต ลงพื้นถิ่นในแตละชุมชน การศึกษาภูมิปใญญาทองถิ่นของผลิตภัณฑแด้ังเดิม และผลิตภัณฑแที่มีในปใจจุบันรวมถึงความเป็นเอกลักษณแของผลิตภัณฑแชุมชน ทําการศึกษาใน 8 อําเภอ ผลการศึกษาไดผลิตภัณฑแ 5 กลุมไดแก ผลิตภัณฑแผาไหม ผลิตภัณฑแจักสาน ผลิตภัณฑแหมวกกุยเลย ผลิตภัณฑแเสื่อกก และผลิตภัณฑแเขาสัตวแแกะสลัก ซึ่งเป็นผลิตภัณฑแที่มีเอกลักษณแประจําถิ่น เป็นภูมิปใญญาทองถิ่นด้ังเดิม และปใจจุบันยังคงมีการผลิตและจาํหนายอยูผลการศึกษาจากกลุมผลิตภัณฑแทั้ง 5 กลุม และความคิดเห็นของนักทองเที่ยวจํานวน 98 ตัวอยาง พบวากลุม ผลิตภัณฑแจักสานมีผลการประเมินอยูในระดับมาก (Mean = 3.71) ผลิตภัณฑแที่ไดจากกลุมผลิตภัณฑแจักสานเป็นผลิตภัณฑแที่ตองประยุกตแและพัฒนานําเอาวิธีการผลิตของชุมชน โดยยึดแนวทางด้ังเดิมของชุมชน ผลิตภัณฑแตองมีวัสดุภายในชุมชนและมคีวามตองการของนักทองเที่ยวหรือกลุมผูบริโภค ในขั้นตอนผลการประยุกตแและพัฒนาผลิตภัณฑแจักสาน จากการสัมภาษณแ และสอบถามผูเชี่ยวชาญ ปราชญแพื้นถิ่น นักวิชาการผลิตภัณฑแชุมชน ไดรูปแบบผลิตภัณฑแจักสานเป็นของตกแตงบาน ประเภทโคมไฟฟูา มีผลิตภัณฑแตนแบบจํานวน 5 ผลิตภัณฑแ กระบวนการ วิธีการผลิตยังคงใชแนวทางของภูมิปใญญาทองถิ่น ยังคงมีเอกลักษณแ และผลิตภัณฑแด้ังเดิม วัตถุดิบในชุมชน มีผลการประเมินผลิตภัณฑแตนแบบอยูในระดับความเหมาะสมมาก (Mean = 4.21)

วิธีการด าเนินการวิจัย

ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุมตัวอยางจาํนวน 100 คน โดยเป็นประชาชนในพื้นที่ตําบลไมงาม จํานวน 50 คน กลุมนักทองเที่ยวจํานวน 50 คน

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 1. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย แบงออกเป็น 3 สวน คือ สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ ลักษณะอาชีพ และ รายไดตอเดือน สวนที่ 2 ใชแบบสอบถามเพื่อสํารวจพฤติกรรมในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของที่ระลึก

ขอมูลดานพฤติกรรมของผูซื้อสินคา - วัตถุประสงคแหลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑแ - ประเภทผลิตภัณฑแทีเ่ลือกซื้อ - ราคาของผลิตภัณฑแ - สถานที่ทีเ่ลือกซื้อผลิตภัณฑแ

Page 6: Proceedings of the National Research Conference Northern ... · Proceedings of the National Research Conference Northern College 988 บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Proceedings of the National Research Conference Northern College 991

- แหลงขอมูลของผลิตภัณฑแ - ความถีใ่นการซื้อผลิตภัณฑแของที่ระลึก - ผลิตภัณฑแทีเ่ลือกซื้อบอยที่สุด

- ผลิตภัณฑแของที่ระลึกชุมชน ปใจจัยที่ใชในการเลือกซื้อสินคาที่ระลึก เป็นคําถามเกี่ยวกับปใจจัยที่มีอิทธิพลตอ การตัดสินใจเลือกซื้อสินคาที่ระลึกของผูซื้อ

2. การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการวิจัยเชิงสํารวจโดยใชแบบสอบถาม เพื่อนํามาวิเคราะหแและสรุปผลตอไป

3. การวิเคราะหแขอมูล ในการวิจัยครั้งน้ีผูวิจัยไดวิเคราะหแขอมูล และหาคาสถิติตาง ๆ โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรแ SPSS for Window โดยศึกษา

ความคิดเห็นของผูบริโภคกลุมเปาูหมายเพื่อวิเคราะหแขอมูลทัว่ไป วิเคราะหแขอมูลดานพฤติกรรมของผูซื้อสินคาที่ระลึก และวิเคราะหแขอมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของที่ระลึกดานตาง ๆ ที่ระดับความสําคญัของปใจจัยที่ใชในการตัดสินใจเลือกซื้อสินคา และนําผลของขอมูลที่ไดจากการสอบถามความตองการของกลุมเปาูหมายทั้งประชาชนในพื้นที่ นักทองเที่ยว มาวิเคราะหแหาคารอยละ และคาเฉลี่ย แลวนํามาแปลผลโดยการบรรยาย ผลการวิจัย

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม ผูตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง คิดเป็นรอยละ 75 เป็นเพศชาย รอยละ 25 มีอายุ 31-40 ปี คิดเป็นรอยละ 30 อายุ 21-

30 ปี คิดเป็นรอยละ 29 และ 41-50 ปี คิดเป็นรอยละ 24 ตามลําดับ โดยสวนใหญประกอบอาชีพพนักงานเอกชน คิดเป็นรอยละ 31 ขาราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ คิดเป็นรอยละ 29 และประกอบธุรกิจสวนตัว คิดเป็นรอยละ 23 ตามลําดับ โดยมีรายได 15,000-20,000 บาท รอยละ 35 10,001-15,000 บาท คิดเป็นรอยละ 17 และ 5,000-10,000 บาท คิดเป็นรอยละ 16 ตามลําดับ

สวนท่ี 2 การวิเคราะหแขอมูลดานพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของท่ีระลึก ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญรอยละ 56 มีวัตถุประสงคแหลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑแที่ระลึก คือ ซื้อเป็นของฝากใหผูอื่น คิดเป็นรอยละ 40 ซือ้เพือ่ตกแตงบานของตนเองคิดเป็นรอยละ35 และซื้อเพื่อเก็บสะสม คิดเป็นรอยละ 23 ตามลําดับ ราคาในการซื้อแตละครั้งอยูที ่1,000ถึง 5,000 บาท คิดเป็นรอยละ 43 ตํ่ากวา 1,000 บาท คิดเป็นรอยละ 39 และ5,000-10,000 บาท คิดเป็น รอยละ 15 ตามลําดับ สถานที่เลือกซื้อมักซื้อจากสถานที่ผลิตโดยตรง คิดเป็นรอยละ 45 ศูนยแจัดจําหนายสินคา คิดเป็นรอยละ 30 และงานแสดงสินคาคิดเป็นร อยละ 18 ตามลําดับ รูจักสินคาทีร่ะลึกจากคําบอกเลา คิดเป็นรอยละ 32 โฆษณาทางโทรทัศนแ คิดเป็นรอยละ 22 และทางอินเทอรแเน็ต คิดเป็นรอยละ 19 ความถี่ในการซื้อ ซือ้สินคาของที่ระลึกประจําทุกปีมากที่สุด คิดเป็นรอยละ 38 ทุก 3 เดือนคิดเป็น รอยละ 26 และทุกเดือน คิดเป็นรอยละ 19 สวนของที่ระลึกที่ซื้อบอย อันดับ 1 ผลิตภัณฑแเพ่ือการบริโภค อันดับ 2 คือ ประดับตกแตง อันดับ 3 เครื่องจักสาน และอันดับสี่คือ เครื่องปใ้นดินเผาและเซรามิค และผลิตภัณฑแจักสานขนาดเล็กที่นิยมซื้อเป็นของที่ระลึกคือ พัด คิดเป็นรอยละ 45 พวงกุญแจ รอยละ 35 และกระบุงใสของ รอยละ 13 ตามลําดับ

สวนท่ี 3 ปใจจัยท่ีสงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของท่ีระลึก ในดานการใชงานผูตอบแบบสอบถามใหความสําคัญกับคุณภาพของผลิตภัณฑแ และความคงทน และสะดวกตอการใชงาน

เทากับ 3.50 สามารถมองเห็นผลิตภัณฑแภายในไดชัดเจน เทากับ 3.22 เป็นของฝากโดยไมตองหอซ้ํา เทากับ 3.20 และบรรจุภัณฑแเหมาะสมกับผลิตภัณฑแ เทากับ 3.17 ในดานการตลาด ผูตอบแบบสอบถามใหความสําคัญกับความแปลกใหมของผลิตภัณฑแ เทากับ 3.96 มีเอกลักษณแเฉพาะทองถิ่น เทากับ 3.89 ผลิตภัณฑแมีความหลากหลาย เทากับ 3.87 และสวยงาม สะดุดตา เทากับ 3.78 ตามลําดับ อภิปรายผลการวิจัย

การศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑแของที่ระลึกของกลุมผลิตภัณฑแของที่ระลึก ตําบลไมงาม อําเภอเมืองตาก จังหวัดตาก ผูตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง มีอายุ 31-40 ปี โดยสวนใหญประกอบอาชีพพนักงานเอกชน คิดเป็นรอยละ 31 มีรายได 15,000-20,000 บาท พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของที่ระลึก ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีวัตถุประสงคแหลักในการเลือกซื้อผลิตภัณฑแที่ระลึก คือ ซื้อเป็นของฝากใหผูอื่น ราคาในการซื้อแตละครั้งอยูที่ 1,000ถึง 5,000 บาท สถานที่เลือกซื้อมักซื้อจากสถานที่ผลิตโดยตรง รูจักสินคาที่ระลึก

Page 7: Proceedings of the National Research Conference Northern ... · Proceedings of the National Research Conference Northern College 988 บทน า จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Proceedings of the National Research Conference Northern College 992

จากคําบอกเลา ซื้อสินคาของที่ระลึกประจําทุกปี สวนของที่ระลึกที่ซื้อบอย อันดับ 1 ผลิตภัณฑแเพื่อการบริโภค อันดับ 2 คือ ประดับตกแตง อันดับ 3 เครื่องจักสาน และอันดับสี่คือ เครื่องปใ้นดินเผาและเซรามิค และผลิตภัณฑแจักสานขนาดเล็กที่นิยมซื้อเป็นของที่ระลึกคือ พัด ปใจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑแของที่ระลึก ในดานการใชงานผูตอบแบบสอบถามใหความสําคญักับคุณภาพของผลิตภัณฑแ และความคงทน และสะดวกตอการใชงาน สามารถมองเห็นผลิตภัณฑแภายในไดชัดเจน เป็นของฝากโดยไมตองหอซ้ํา และบรรจุภัณฑแเหมาะสมกับผลิตภัณฑแ ในดานการตลาดผูตอบแบบสอบถามใหความสาํคัญกับความแปลกใหมของผลิตภัณฑแ มีเอกลักษณแเฉพาะทองถิ่น ผลิตภัณฑแมีความหลากหลาย และสวยงาม สะดุดตา ขอเสนอแนะจากการศึกษาพบวา ผูผลิตผลิตภัณฑแชุมชนควรทําการผลิตสินคาที่มีรูปแบบสวยงาม แปลกใหม มีความคงทน สะดวกตอการใชสอย และควรมีเอกลักษณแเฉพาะทองถิ่นหรือชุมชนของตนเอง อีกทั้งหากผลิตเป็นของที่ระลึกจะตองเป็นผลิตภัณฑแที่มีความสวยงาม ราคาไมแพงมากนัก มีความดึงดูดจากการออกแบบ ลวดลายประณีต มีประโยชนแใชสอย มีวางขายตามจุดตาง ๆ อยางเหมาะสม

เอกสารอางอิง กมลรัตนแ คํานวณและคณะฯ. (2550). ปใญหาและอุปสรรคทางการตลาดของกลุมผูผลิตสินคาหน่ึงตําบลหน่ึงผลิตภัณฑแในเขตจตุจักร.

กรุงเทพมหานคร กรรณิการแ สายเทพ และพิชญา เพิ่มไทย. (2560). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑแเพ่ือการสงออกของกลุมวิสาหกิจชุมชนดอกไมประดิษฐแ ตําบลแม

ทะ อําเภอแมทะ จังหวัดลําปาง จง บุญประชา . (2553). แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลติภัณฑแชุมชนประเภทของที่ระลึก. ทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ณรงคแ โพธิ์พฤกษานันทแ และชญานนทแ กุลฑลบุตร. (2559). เรื่องเลาจากงานวิจัยชุมชน รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑแชุมชนกลุมภาคกลางตาม

แนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง แผนพัฒนาจังหวัดตาก ปี 2561-2564. ตาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบสอง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี.

(2559) สมศักด์ิ ทองแกว พิชัย สดภิบาล และอุดมศักด์ิ สาริบุตร. (2558). การศึกษาภูมิปใญญาทองถิ่นเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑแชุมชนสงเสริมการ

ทองเที่ยวจังหวัดฉะเชิงเทรา สถาพร ดีบุญมี ณ ชุมแพ. (2550). ผลของเทคโนโลยีที่มีตอการออกแบบ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตรแ