10
NO. 11 September 2021 ฉบับที 11 กันยายน 2564 A Vocabulary List potential (adj.) มีศักยภาพ, โอกาสเป็นไปได้, ความเป็นไปได้ sluggish (adj.) เฉื่อยชา, ซบเซา, เงื่องหงอย infrastructure (n.) โครงสร้างพื้นฐาน (เช่น ถนน ไฟฟ้า น้าประปา) supplement (v.) น้าไปปฏิบัติ, ลงมือท้า, มีผลบังคับใชconsent (v.) อนุญาต, ยินยอม entity (n.) องค์กร, บุคคล, หน่วยงาน, หุ้นส่วน voluntary (n.) ความสมัครใจ thesis (n.) วิทยานิพนธ์ venture (n.) กิจการ, การลงทุน (ที่มีความเสี่ยง) agronomist (n.) นักปฐพีวิทยา neutrality (n.) ความเป็นกลาง territoriality (n.) เขตอ้านาจภายในอาณาเขต merger (n.) การรวมกัน, การควบรวมกิจการ resident (n.) ผู้อยู่อาศัย stimulation (n.) การกระตุ้น, การเร่งเร้า, การส่งเสริม International Cooperation Sub-Bureau กลุ่มความร่วมมือระหว่างประเทศ โทร 1195/1196

NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

NO. 11 September 2021 ฉบบัที ่11 กันยายน 2564

A Vocabulary List

potential (adj.) มีศักยภาพ, โอกาสเป็นไปได,้ ความเป็นไปได้

sluggish (adj.) เฉื่อยชา, ซบเซา, เงื่องหงอย

infrastructure (n.) โครงสร้างพื้นฐาน (เช่น ถนน ไฟฟ้า น้้าประปา) supplement (v.) น้าไปปฏิบัติ, ลงมือท้า, มีผลบังคับใช้

consent (v.) อนุญาต, ยินยอม

entity (n.) องค์กร, บุคคล, หน่วยงาน, หุน้ส่วน

voluntary (n.) ความสมัครใจ

thesis (n.) วิทยานิพนธ์

venture (n.) กิจการ, การลงทุน (ที่มีความเสี่ยง)

agronomist (n.) นักปฐพีวิทยา

neutrality (n.) ความเป็นกลาง

territoriality (n.) เขตอ้านาจภายในอาณาเขต

merger (n.) การรวมกัน, การควบรวมกิจการ

resident (n.) ผู้อยู่อาศัย

stimulation (n.) การกระตุ้น, การเร่งเร้า, การส่งเสริม

International Cooperation Sub-Bureau กลุ่มความร่วมมือระหว่างประเทศ

โทร 1195/1196

Page 2: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

Agricultural Cooperative - in Romania and Worldwide The Agricultural Cooperative in Romania and Worldwide

OTILIA MANTA, Ph.D. (c) The School of Advanced Studies of the Romanian Academy

Department of Economics, Sociology and Law Bucharest, Calea Victoriei, No. 125

ROMANIA [email protected]

Abstract: Presently, it is commonly accepted that agriculture represents a significant sector in the Romanian economy due to its size and potential, but its development is still sluggish compared with its true potential. Considering this undisputable reality, our research aims to highlight that public investment in rural infrastructure, public services, training and education may provide to the small farmers the help they need in order to become competitive in an increasingly globalized market. For small farms, the establishment of associative forms may provide the necessary inputs and outputs (in terms of technology and financial solutions) for achieving sustainable growth. Our article also aims to assess the potential of microfinance solutions for small entrepreneurs (SMEs and microenterprises) in the rural areas. The microfinance may provide an integrated package of support services (financial counselling, consulting and design services). Currently, Romania has over 2.5 million subsistence farms (rural households) and 5.5 million persons who are financial excluded. Our research aims to underline that a solution for the development of the subsistence farms could be provided through the cooperative associations in terms of flows of agricultural raw materials and technological support for the processing and capitalization of the products. Key words: agricultural cooperative, social, economic, microfinance, family farms

1. Introduction Recently, Law no.164/2016 was amending and supplementing the agricultural cooperatives Law no. 566/2004. This law establishes the legal framework of the organization and functioning of cooperatives in agriculture. The agricultural cooperative is an autonomous association of individuals and/or legal persons, as appropriate, private legal entity, established on the basis of the expressed consent of the parties and which is organized and operates under the provisions of the law. Thus, the agricultural cooperative is an autonomous association with an unlimited number of members with variable capital, which deals with economic, technical and social issues in the private interests of its members. In the EU, agricultural cooperatives vary in terms of form and type from country to country. They are essentially based on the same organizational and operating principles that are on set out in European Council Directive. 67/532/25 of 25 July 1967. According to this Directive, agricultural cooperative includes legal entities in different areas such as: agricultural service cooperatives - which provides services for small producers; purchases and sales agricultural cooperatives -organizes both purchases of materials and the technical resources required for agricultural production and the sales of agricultural products; agricultural product processing cooperatives - provides typical products; manufacturing and small agricultural cooperatives in the farming industry; agricultural cooperatives operating and managing the agricultural land, forestry, fisheries and livestock; agricultural cooperatives for financing, mutual assistance and insurance. An agricultural cooperative with commercial activities provides goods and services in agriculture in this order: a) providing the conditions for all cooperative members to obtain economic advantages; b) ensuring the supply of agricultural production means for the cooperative members; c) the purchase of agricultural goods

Page 3: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

– vegetables, animal and fish products,–according to market standards; d) creating conditions for agricultural products processing plant, animal and fish products to be obtained food quality and consumer market standards; e) recovery of production obtained; f) socio-economic development of the rural areas. The agricultural cooperatives are based on the following principles: a. The principle of voluntary and open association; b. The principle of democratic control by the cooperative members; c. The principle of economic participation of cooperative members; d. The principle of autonomy and independence of agricultural cooperatives; e. The principle of education, training and information of cooperative members; f. The principle of cooperation between agricultural cooperatives; g. The principle of concern for the sustainable development of the community.

2. The cooperative movement in Romania - brief history The cooperative movement has a long tradition in Romania, our country being, together with cooperative organizations in England, Belgium, Italy and France, a founding member of the "International Cooperative Alliance (ICA)". An innovator in this respect in Romania was Spiru Haret (1851-1912) who in 1899 initiated a draft on the establishment of popular banks, the involvement of teachers in the cooperative activity, the organization of consumer cooperatives and others. After the World War I, an outstanding representative of the cooperative idea was Gromoslav Mladenatz (1887-1958), who graduated from university in Germany, and obtained a doctorate in economics with the thesis "The concept of cooperative". Professor at the Academy of High Commercial

and Industrial Studies between 1929 - 1951, he is the author of "Cooperative Treaty" (1933) and of the book "History of cooperative thinking" (1935). In his book "History of cooperatives doctrines" (1931), the cooperative represents "a free association of a number of smaller producers or consumers, who establish a joint venture through which an exchange of services between partners". The first forms of association in rural Romania emerged with the introduction of the modern cooperative principles set out by Ion Ionescu de la Brad (1818-1891), an economist, statistician, agronomist and a prominent representative of the Romanian agricultural sciences. He expressed his viewpoint on the different types of associations in the popular publication "Romanian Peasant (Țăranul român)." Thus, the first association of this kind in Romania, a credit and mutual aid association was set up first in Bistrita, Transylvania, in 1851, then in Braila in 1855, Rasinari village in the county of Sibiu in 1867 and then in Bucharest in 1870. The cooperative was, in the spirit of time, a collective economic unit, which included various occupations with low economic potential: small farmers, craftsmen, employees. Its aim was to form of needs-based cooperative association of members and obtain benefits from the activity that they are performing. Thus, the cooperative system did not abolish property and freedom, but enhanced the economic potential of farms.. Agricultural cooperatives as a form of associative work undertaken jointly, were in Mladenatz's opinion the only form of social organization that the rural economy had available by combining individual ownership of land with modern agricultural collective ownership of the stock. As the price of Romanian agricultural products fell on the international market during the economic crisis of 1929 - 1933, he recommended the involvement of cooperatives in the cereals trade, in order to eliminate intermediaries and adopt an efficient production structure. The establishment of farmers in associative uvelopment by attracting local advantages and using local or regional power in order to increase the

Page 4: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

units opened new opportunities for economic development by attracting local advantages and using local or regional power in order to increase the prosperity of the collective members, of their families and of the community.

3. The beginning of cooperative movement in Europe The consumer cooperative from the small English town of Rochdale (founded in 1844) is considered to be the first modern cooperative, based solely on its own members without outside help. It began as a consumer cooperative and evolved into a multi-purpose cooperative with social and economic activity. The leaders of the cooperative of modern England were Robert Owen and William King (who supported the voluntary nature of cooperatives, but also political neutrality and religious identity). In France the movement was led by Charles Fourier, Philip Bsan (founder of the first production cooperatives) and Louis Blanc (who proposed the replacement of free competition with co-production) and in Germany by Victor Aimé Huber (precursor of consumer cooperatives) and Ferdinand Lassalle (who supported freedom and independence from state cooperatives). In Germany it was for the first time that a cooperative offered loans to farmers with Friedrich-Wilhelm Raiffeisen as a promotor (1864). (Filip ALEXANDRESCU, Flavius MIHALACHE, 2011) 4. Agricultural cooperatives in the European Union According to the Directive 67/532/25, cooperatives are entities that are named differently in each state, as per the local law but are based on cooperative principles. At primary level the farmers are associated in simple forms of associations which in the EU were called cooperative on different degree, they are formed based on join undertaking of the following objectives :

- agricultural works; - the joint work of land; - shared use of production capacities; - making investments in various fields. At a secondary level there are organized associations of primary agricultural cooperatives which are called “of second degree” and aimed to invest in upstream and downstream agriculture for the collection or processing of agricultural products. At a tertiary level, the cooperatives are organized by the III-rd grade. These includes networks of cooperative factories that provide processing and marketing services or banks, bringing together expertise and resources in a particular area or region. Agricultural holdings, especially the smaller ones, develops cooperation and integration relations with large agrifood companies, which purchase raw agricultural materials by the contract. The Western European agrifood market promotes cooperation in all forms of social organization of farmers: small farms, medium and large agricultural cooperatives and cooperative societies, national or transnational food companies. The principles that underlie the relations of cooperation in EU agriculture are: freedom of choice as regards the form of cooperation; obligation on members to bring equity and undertake the economic activity of the cooperative and participate in the delivery of products, compliant technologies for the production of agricultural raw materials delivered to the cooperative; the “one man - a vote” principle in the adoption of the decisions taken by the cooperative regardless of capital; the principle of cash dividends according to the status; principle of territoriality, or "limiting the scope of action of a given community cooperative”. In the European Union, the agricultural cooperatives are represented by national organizations and are directed and supported by Community bodies: the General Committee of Agricultural Co-opperative (COGECA) :

Page 5: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

the Committee of Agricultural Producers (COPA) and the International Cooperative Alliance (ICA).

Case studies presentation

FRANCE - there are 21,000 cooperatives, which include about 75% of French farms. This shows that 3.5% of the economically active population is part of agricultural associations. In addition to manufacturing, French cooperatives offers advice to their members. Due to their long experience they provide valuable advice in the terms of agronomy, economics and strategic planning. It should be that they also actively contribute to the development of environmentally friendly agriculture. Cooperatives invests in innovation, expanding the scope of their activity and finding new sources of revenue. An example is investment in biofuels. Also, farmers' associations are use different management tools to control developments in agricultural prices.

SPAIN - About 15% of the population is part of cooperative organizations, most of which were established under the regional legislation, not national legislation. Unlike in other European countries, the number of Spanish cooperatives is above average. At the same time they are quite small, only 39% of them having over a thousand members, which prevents them from obtaining higher profits. They ar as different as they are numerous: from modest local cooperatives to cooperatives that deliver to industrial level. There are also large cooperatives that process the products they sell to retail distributors. However, about 75% of the turnover reported by the Spanish cooperatives is in the hands of a quarter of the cooperative and this because of mergers and takeovers.

ISRAEL - About 70% of the agricultural land in Israel is used by cooperative members. The association is voluntary and the exit of the cooperative is not prohibited. People in the forefront of associations are are democratically elected, usually from among the members. Sometimes leading management bodies come from outside but must necessarily have experience in the management of cooperatives or in the management of cooperative members. Being tightly linked, the Israeli agricultural cooperatives are organized on two levels: locally and regionally. The local first level cooperatives are divided into three types: associations at the village level, kibbutzim and moshav, the last two being the most numerous. The difference between these three forms of organization resides in how they control production and consumption.

United State of America - There are less cooperative than in other countries, only 3.000. By contrast most American farms are part of them. We can distinguish cooperatives that deal witth sales, closing transactions, supply and credit. The sales cooperatives deal with the proces and marketing of agricultural products. Basically, everything taht grows and produce in the USA is managed by cooperatives. Also, they provide jobs for most residents of rural areas. In the support of farmers who do not know how to negotiate there are cooperatives specializing in concluding transactions, helping them obtain reasonable prices for the commodities they produce. Farm supply cooperatives engaged in the manufacture, sale and distribution of products that are essential for the proper administration of the household, such as fuel. The cooperative

businesses are managed by a board of directors elected by the members. Each member is entitled to a single vote and all votes are equal, unlike limited companies or other forms of business.

Page 6: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

5. Conclusions and considerations regarding the importance of microfinance In most of the cases, potential investors and farmers are connected to the market economy system only through small European and/or national grants. This trend is highlighted by the "main priorities and measures for the development of the regions selected from the politic strategies of the Regional Development Fund, integrated into the structure of the priority objectives and measures appropriately contained in the National Development Plan" (Dobrescu, 2014) and by the microfinance measures in the current financial framework at European level (the topic of the research conducted within the proposed ITS framework aims to develop a model to support microfinance in the rural areas). The Seoul Summit conclusions have also underlined the importance of corporate social responsibility for balanced growth while showing the importance of micro financing models that are targeting the reduction of the poverty in rural areas and the stimulation of social and financial inclusion. Also, discussed in this summit were topics related to the reform of international financial institutions, the strengthening of the global financial safety and mechanisms, in a separate session of the new G20 agenda on development. Taking all these into consideration, it is our opinion that the cooperative associative forms for small farms might be a new chance for their development as regards the inputs - seeds, technology, microfinance, consulting- and concerning technical agronomical solution and product marketing support.

Please wear face masks

and stay safe

Page 7: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

สหกรณ์การเกษตรในโรมาเนียและทั่วโลก OTILIA MANTA, Ph.D.

คณะการศึกษาขั้นสูงของสถาบันโรมาเนีย ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา และกฎหมาย

บูคาเรสต์, Calea Victoriei, No. 125 , โรมาเนีย.

[email protected]

บทคัดย่อ: ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าภาคเกษตรกรรมเป็นส่วนส้าคัญในเศรษฐกิจโรมาเนีย เนื่องจากขนาดและศักยภาพของโรมาเนีย แต่การพัฒนายังคงซบเซาเมื่อเทียบกับศักยภาพที่แท้จริง เมื่อพิจารณาถึงความเป็นจริงที่ไม่อาจปฏิเสธได้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือเน้นว่าการลงทุนทางโครงสร้างพ้ืนฐานในชนบท การบริการสาธารณะ การฝึกอบรม และการศึกษา อาจช่วยให้เกษตรกรรายย่อยได้รับความช่วยเหลือตามที่ต้องการ เพ่ือให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลกาภิวัตน์ที่เพ่ิมขึ้น ส้าหรับฟาร์มขนาดเล็ก อาจจัดตั้งรูปแบบความช่วยเหลือโดยการจัดหาปัจจัยการผลิตและผลผลิตที่จ้าเป็น (ด้านเทคโนโลยีและการแก้ปัญหาทางการเงิน) เพ่ือการบรรลุการเติบโตอย่างยั่งยืน บทความนี้ยังมีจุดมุ่งหมายเพ่ือประเมินศักยภาพของการแก้ไขปัญหาการเงินรายย่อยส้าหรับผู้ประกอบการขนาดเล็กในพ้ืนที่ชนบท แหล่งเงินรายย่อยอาจให้ชุดการบริการแบบบูรณาการ (บริการให้ค้าปรึกษาทางการเงิน ให้ค้าปรึกษา และออกแบบ) ปัจจุบัน โรมาเนียมีฟาร์มเพ่ือการยังชีพมากกว่า 2.5 ล้านฟาร์ม (ครัวเรือนในชนบท) และ 5.5 ล้านคนที่ถูกกันออกจากแหล่งทุน การวิจัยนี้จึงมุ่งที่จะเน้นย้้าว่า สามารถหาแนวทางส้าหรับการพัฒนาฟาร์มเพ่ือการยังชีพได ้ผ่านทางความร่วมมือแบบสหกรณ์ด้านการหมุนเวียนของวัตถุดิบทางการเกษตรและการสนับสนุนเทคโนโลยีเพ่ือการแปรรูปและการให้ทุนสร้างผลิตภัณฑ์

ค าส าคัญ: สหกรณ์การเกษตร สังคมเศรษฐกิจ แหล่งเงินรายย่อย ฟาร์มครอบครัว

1. บทน า

ไม่นานมานี้ กฎหมายฉบับที ่164/2016 ไดแ้ก้ไขและเพ่ิมเติมกฎหมายสหกรณ์การเกษตร ฉบับที่ 566/2004 กฎหมายฉบับนี้ก้าหนดกรอบกฎหมายขององค์กรและการท้างานของสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์การเกษตรเป็นสมาคมอิสระของบุคคลและ/หรือนิติบุคคล นิติบุคคลเอกชนตามความเหมาะสม ซึ่งจัดตั้งขึ้นบนพ้ืนฐานของความยินยอมอย่างชัดแจ้งของคู่สัญญา และจัดตั้งขึ้นโดยด้าเนินการภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย ดังนั้น สหกรณ์การเกษตรจึงเป็นสมาคมอิสระที่มีสมาชิกไม่จ้ากัดจ้านวนพร้อมทุนผันแปร ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นทางเศรษฐกิจ เทคนิค และสังคม เพ่ือผลประโยชน์ส่วนตัวของสมาชิก ในสหภาพยุโรป สหกรณ์การเกษตรมีรูปแบบและประเภทแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ โดยทั่วไปแล้ว จะอิงตามหลักการขององค์กรและการด้าเนินงานเดียวกันกับที่ก้าหนดไว้ใน European Council Directive 67/532/25 วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 ตามค้าสั่งนี้ สหกรณ์การเกษตร รวมถึงนิติบุคคลในพ้ืนที่ต่าง ๆ เช่น สหกรณ์บริการการเกษตร ซ่ึงให้บริการแก่ผู้ผลิตรายย่อยในการซื้อและขายสหกรณ์การเกษตร - จัดหาวัสดุและทรัพยากรด้านเทคนิคที่จ้าเป็นในการผลิตทางการเกษตรและการขายผลผลิตทางการเกษตร สหกรณ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร - จัดหาผลิตภัณฑ์ทั่วไป ; การผลิตและสหกรณ์การเกษตรขนาดเล็กในอุตสาหกรรมการเกษตร ; สหกรณ์การเกษตรที่ด้าเนินงานและจัดการที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมป่าไม้ประมงและปศุสัตว์ ; สหกรณ์การเกษตรเพ่ือการจัดหาเงินทุนการช่วยเหลือซึ่งกันและกันและการประกันภัย ทั้งนี้ สหกรณ์การเกษตรที่มีกิจกรรมการค้า มีการจัดหาสินค้าและบริการด้านการเกษตรตามล้าดับดังนี้ a) จัดให้มีเงื่อนไขส้าหรับสมาชิกสหกรณ์ทั้งหมดเพ่ือให้มีข้อได้เปรียบด้านเศรษฐกิจ b) ประกันการจัดหาผลผลิตทางการเกษตรส้าหรับสมาชิกสหกรณ์ c) การจัดซื้อสินค้าเกษตร - ผัก ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และปลา - ตามมาตรฐานของตลาด d) สร้างเงื่อนไขให้โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ผลิตภัณฑ์จากสัตว์และปลาได้รับคุณภาพอาหารและมาตรฐานตลาดผู้บริโภค e) การฟ้ืนคืนการผลิตให้เป็นปกติ f) การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพ้ืนที่ชนบท

สหกรณ์การเกษตรมีพ้ืนฐานอยู่บนหลักการ ต่อไปนี้ a. หลักการด้านการตั้งภาคีโดยสมัครใจและเปิดกว้าง b. หลักการในการควบคุมตามระบอบประชาธิปไตยของสมาชิกสหกรณ์

Page 8: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

c. หลักการมีส่วนร่วมด้านเศรษฐกิจของสมาชิกสหกรณ์ d. หลักการในการปกครองตนเองและความเป็นอิสระของสหกรณ์การเกษตร e. หลักการด้านการศึกษา การฝึกอบรม และข้อมูลของสมาชิกสหกรณ์ f. หลักการด้านความร่วมมือระหว่างสหกรณ์การเกษตร g. หลักการด้านความห่วงใยเพ่ือการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

2. การขับเคลื่อนสหกรณ์ในโรมาเนีย – ประวัติโดยย่อ การขับเคลื่อนสหกรณ์มีประเพณีอันยาวนานในโรมาเนีย ประเทศโรมาเนียร่วมกับองค์กรความร่วมมือในอังกฤษ เบลเยียม อิตาลี และฝรั่งเศส ซึ่งเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้ง "International Cooperative Alliance (ICA)" Spiru Haret (พ.ศ. 2394-2455) เป็นผู้บุกเบิก ที่ได้ริเริ่มร่างเกี่ยวกับการจัดตั้งธนาคารภาคประชาชน ในปี พ.ศ. 2442 โดยการมีส่วนร่วมของครูในกิจกรรมความร่วมมือองค์กรของสหกรณ์ผู้บริโภคและอ่ืน ๆ หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ตัวแทนที่โดดเด่นของแนวคิดสหกรณ์คือ Gromoslav Mladenatz (พ.ศ. 2430-2501) ซึ่งจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยในเยอรมนีและได้รับปริญญาเอกด้านเศรษฐศาสตร์จากวิทยานิพนธ์เรื่อง แนวคิดสหกรณ์ (The concept of Cooperative) และเป็นศาสตราจารย์ที่ สถาบันการศึกษาด้านการค้าและอุตสาหกรรมขั้นสูง (Academy of High Commercial and Industrial Studies) ระหว่าง พ.ศ. 2472-2494 เป็นผู้เขียน "สนธิสัญญาสหกรณ์" (พ.ศ. 2476) และหนังสือ "ประวัติศาสตร์ทฤษฎีสหกรณ์ (History of Cooperatives doctrines) (พ.ศ. 2478) ในหนังสือ "History of Cooperatives doctrines" (พ.ศ. 2474) สหกรณ์เป็นตัวแทนของ "สมาคมเสรีของผู้ผลิตหรือผู้บริโภครายย่อยจ้านวนหนึ่งซึ่งก่อตั้งกิจการร่วมค้าที่แลกเปลี่ยนบริการระหว่างสมาชิก" Ion Ionescu de la Brad (พ.ศ. 2361-2434) นักเศรษฐศาสตร์ นักสถิติ นักปฐพีวิทยา และตัวแทนที่โดดเด่นของวิทยาศาสตร์การเกษตรของโรมาเนีย ได้อ้างถึงรูปแบบแรกของสมาคมในชนบทของโรมาเนีย เกิดข้ึนพร้อมกับการแนะน้าหลักการสหกรณ์สมัยใหม่ โดยได้แสดงมุมมองต่อความสัมพันธ์ประเภทต่าง ๆ ในสิ่งตีพิมพ์ที่ได้รับความนิยม "ชาวนาโรมาเนีย (Țăranul român)" ดังนั้น สมาคมประเภทดังกล่าวแห่งแรกในโรมาเนีย เป็นสมาคมที่ให้ความช่วยเหลือด้านสินเชื่อและระบบช่วยเหลือกันและกัน ได้ถูกจัดตั้งข้ึนครั้งแรกใน Bistrita, Transylvania เมื่อปี พ.ศ.2394 ต่อมาได้ตั้งใน Braila เมื่อ พ.ศ. 2398

และหมู่บ้าน Rasinari ในเขต Sibiu พ.ศ. 2410 และบูคาเรสต์ใน พ.ศ. 2413 ในความนิยมของสมัยนั้น สหกรณ์เป็นหน่วยเศรษฐกิจการรวมกลุ่ม ซึ่งรวมบุคคลจากอาชีพที่หลากหลายที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจต่้า เช่น เกษตรกรรายย่อย ช่างฝีมือ ลูกจ้าง โดยมีวัตถุประสงค์เ พ่ือสร้างสมาคมสหกรณ์ตามความต้องการของสมาชิกและรับผลประโยชน์จากกิจกรรมที่ด้าเนินการ ดังนั้น ระบบสหกรณ์จึงไม่ล้มล้างทรัพย์สินและเสรีภาพ แต่เพ่ิมศักยภาพทางเศรษฐกิจของฟาร์ม Mladenatz มีมุมมองว่าสหกรณ์การเกษตรในรูปแบบของการเชื่อมโยงงานที่ด้าเนินการร่วมกัน เป็นรูปแบบเดียวขององค์กรทางสังคมท่ีพบเห็นในชนบท ซึ่งเชื่อมโยงความเป็นเจ้าของที่ดินส่วนบุคคลเข้ากับการรวมกรรมสิทธิ์สินค้าการเกษตรแบบสมัยใหม่ จากราคาสินค้าเกษตรของโรมาเนียตกต่้าในตลาดต่างประเทศ ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2472 – 2476 Mladenatz ได้แนะน้าให้สหกรณ์ที่มีส่วนร่วมในการค้าธัญพืช เพ่ือขจัดพ่อค้าคนกลาง และปรับโครงสร้างการผลิตให้มีประสิทธิภาพ จัดตั้งสมาคมการช่วยเหลือกันของเกษตรกร เปิดโอกาสใหม่ในการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยดึงดูดความได้เปรียบในท้องถิ่น และใช้อ้านาจในระดับท้องถิ่นหรือระดับภูมิภาค เพ่ือเพ่ิมความเจริญรุ่งเรืองของสมาชิกส่วนรวมตลอดจนครอบครัวและชุมชน

3. การเร่ิมต้นของกระบวนการสหกรณ์ในยุโรป สหกรณ์ผู้บริโภคจาก Rochdale เมืองเล็ก ๆ ของอังกฤษ (ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2387 ถือเป็นสหกรณ์สมัยใหม่แห่งแรกโดยอาศัยเพียงสมาชิกของตนเองโดยไม่ได้รับความช่วยเหลือจากภายนอก เริ่มจากการเป็นสหกรณ์ผู้บริโภคและพัฒนาเป็นสหกรณ์อเนกประสงค์ที่มีกิจกรรมทางสังคมและเศรษฐกิจ ผู้น้าสหกรณ์อังกฤษยุคใหม่ คือ โรเบิร์ต โอเวน และวิลเลียม คิง (ผู้สนับสนุนสหกรณ์ตามความสมัครใจ และรวมถึงความเป็นกลางทางการเมืองและอัตลักษณ์ทางศาสนาด้วย) ขบวนการในฝรั่งเศสน้าโดย Charles Fourier, Philip Bsan (ผู้ก่อตั้งสหกรณ์การผลิตแห่งแรก) และ Louis Blanc (ผู้เสนอให้มีการแข่งขันเสรีโดยการร่วมผลิต) และในเยอรมนีโดย Victor Aimé Huber (ผู้เริ่มต้นสหกรณ์ผู้บริโภค) และ Ferdinand Lassalle (ผู้สนับสนุนเสรีภาพและความเป็นอิสระจากสหกรณ์ของรัฐ) ในเยอรมนี เป็นครั้งแรกที่สหกรณ์เสนอเงินกู้ให้กับเกษตรกรโดยมี ฟรีดริช-วิลเฮล์ม ไรเฟเซนเป็นผู้สนับสนุน (ค.ศ.1864) (ฟิลิป ALEXANDRESCU, Flavius MIHALACHE, 2011.)

Page 9: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

4. สหกรณ์การเกษตรในสหภาพยุโรป ตามค้าสั่ง 67/532/25 สหกรณ์เป็นหน่วยงานที่มีชื่อแตกต่างกันในแต่ละรัฐ ตามกฎหมายท้องถิ่น แต่อยู่บนพื้นฐานของหลักการสหกรณ์ ในระดับปฐมภูมิ เกษตรกรมีส่วนร่วมในรูปแบบสมาคมที่เรียบง่าย ซึ่งในสหภาพยุโรปจะมีการเรียกสหกรณ์ในระดับที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ การตั้งสมาคมมีพ้ืนฐานอยู่บนการเข้าร่วมในวัตถุประสงค์ ดังนี้

- การท้างานด้านการเกษตร - การท้างานร่วมกันด้านที่ดิน - การใช้ก้าลังการผลิตร่วมกัน - การลงทุนในด้านต่าง ๆ

ในระดับทุติยภูมิ มีการจัดตั้งสมาคมสหกรณ์การเกษตรขั้นต้นที่เรียกว่า "ระดับที่สอง" โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือลงทุนในการเกษตรต้นน้้าและปลายน้้า เพ่ือรวบรวมหรือแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ในระดับที่สาม สหกรณ์ด้าเนินการในสามระดับ ซึ่งรวมถึงเครือข่ายสหกรณ์โรงงาน ซึ่งให้บริการด้านการแปรรูปและการตลาดหรือธนาคาร โดยการรวบรวมความเชี่ยวชาญและทรัพยากรในพ้ืนที่หรือภูมิภาคนั้น ๆ การถือครองทางการเกษตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเล็ก ๆ ได้พัฒนาความร่วมมือและบูรณาการความสัมพันธ์ร่วมกับบริษัทเกษตรขนาดใหญ่ซึ่งสั่งซื้อวัตถุดิบทางการเกษตรตามสัญญาซื้อขาย ตลาดอาหารเกษตรยุโรปตะวันตก ได้ส่งเสริมความร่วมมือในทุกรูปแบบขององค์กรทางสังคมของเกษตรกร ได้แก่ ฟาร์มขนาดเล็ก สหกรณ์การเกษตรขนาดกลางและขนาดใหญ่ และสมาคมสหกรณ์ บริษัทอาหารระดับชาติและบรรษัทข้ามชาติ

หลักการที่สนับสนุนความสัมพันธ์ของความร่วมมือในการเกษตรของสหภาพยุโรป ประกอบด้วย เสรีภาพในการเลือกรูปแบบความร่วมมือ พันธสัญญาที่มีต่อมวลสมาชิกอันจะน้ามาซึ่งความเท่าเทียมและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของสหกรณ์และการมีส่วนร่วมในการส่งมอบผลิตภัณฑ์/เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการผลิตวัตถุดิบทางการเกษตรตามหลักการสหกรณ์ “หนึ่งคนหนึ่งเสียง (one man - a vote)" ซึ่งเป็นการยอมรับการตัดสินใจของสหกรณ์โดยไม่ค้านึงถึงทุน หลักการจ่ายเงินสดปันผลตามสถานะ หลักการของอาณาเขต หรือ "การจ้ากัดขอบเขตของการด้าเนินการของสหกรณ์ชุมชนที่ได้รับ" ในสหภาพยุโรป สหกรณ์การเกษตรเป็นตัวแทนขององค์กรระดับชาติและมีหน่วยงานชุมชน: คณะกรรมการทั่วไปของสหกรณ์การเกษตร (COGECA)) คณะกรรมการผู้ผลิต

สินค้าเกษตร (COPA) และ สัมพันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศ (ICA) การก้ากับดูแลและสนับสนุนโดยตรง

การน าเสนอกรณีศึกษา

ฝรั่งเศส - มีสหกรณ์ 21,000 แห่ง ซึ่งรวมฟาร์มในฝรั่งเศสประมาณร้อยละ 75 ที่แสดงให้เห็นว่าร้อยละ 3.5 ของประชากรที่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นส่วนหนึ่งของสมาคมเกษตรกรรม นอกเหนือจากการผลิตแล้ว สหกรณ์ฝรั่งเศสยังให้ค้าแนะน้าแก่สมาชิกอีกด้วย ด้วยประสบการณ์อันยาวนาน สหกรณ์ให้ค้าแนะน้าที่มีประโยชน์ด้านพืชไร่ เศรษฐศาสตร์ และการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และยังมีส่วนร่วมอย่า งแข็งขันในการพัฒนาการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สหกรณ์ลงทุนด้านนวัตกรรม ขยายขอบเขตของกิจกรรมและค้นหาแหล่งรายได้ใหม่ ตัวอย่างเช่น การลงทุนในเชื้อเพลิงชีวภาพ ซึ่งสมาคมเกษตรกรสามารถเลือกใช้เครื่องมือการจัดการต่าง ๆ เพ่ือควบคุมการพัฒนาราคาสินค้าเกษตร สเปน - ประมาณร้อยละ 15 ของประชากรเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรสหกรณ์ ซึ่งส่วนใหญ่จัดตั้งขึ้นภายใต้กฎหมายระดับภูมิภาค ไม่ใช่กฎหมายระดับชาติ แตกต่างจากประเทศอ่ืน ๆ ในยุโรป โดยสเปนมีจ้านวนสหกรณ์สูงกว่าค่าเฉลี่ย ในขณะเดียวกัน ก็มีขนาดเล็กมาก สหกรณ์เพียงร้อยละ 39 เท่านั้นที่มีสมาชิกมากกว่าหนึ่งพันคน ซึ่งท้าให้สหกรณ์ไม่ได้รับผลก้าไรที่สูงขึ้น และยังมีความแตกต่างกันอย่างมาก นับตั้งแต่สหกรณ์ท้องถิ่นขนาดเล็กไปจนถึงสหกรณ์ระดับอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังมีสหกรณ์ขนาดใหญ่ที่ผลิตสินค้าท่ีจ้าหน่ายให้กับผู้ค้าปลีก อย่างไรก็ตาม สหกรณ์สเปนรายงานว่าประมาณร้อยละ 75 หรือหนึ่งในสี่ของสหกรณ์มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการควบรวมกิจการและการครอบครองกิจการ อิสราเอล - สมาชิกสหกรณ์ใช้พื้นท่ีเกษตรกรรมประมาณร้อยละ 70 ในอิสราเอล การด้าเนินงานตามความความสมัครใจและห้ามออกจากสหกรณ์ บุคคลระดับแนวหน้าของสมาคมได้รับการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย โดยปกติจะมาจากสมาชิก บางครั้งผู้บริหารระดับสูงมาจากภายนอก แต่จ้าเป็นต้องมีประสบการณ์ในการจัดการสหกรณ์หรือการบริหารสมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรของอิสราเอลมีการเชื่อมโยงกันอย่างแน่นหนาในสองระดับ ได้แก่ ระดับหมู่บ้านคิบบุทซ์ (kibbutzim) และ โมซาฟ (moshav)

Page 10: NO. 11 September 2021 A Vocabulary List ฉบับที่11 กันยายน …

สหกรณ์ระดับต้นในท้องถิ่นแบ่งออกเป็นสามประเภท ประกอบด้วย 1) สมาคมในระดับหมู่บ้าน 2) kibbutzim และ 3) moshav ซึ่งสองประเภทสุดท้ายมีจ้านวนมากที่สุด โดยความแตกต่างระหว่างรูปแบบองค์กรทั้งสามประเภท คือ วิธีการควบคุมการผลิตและการบริโภค

สหรัฐอเมริกา – สหกรณ์ในสหรัฐอเมริกามีจ้านวนน้อยกว่าประเทศอ่ืน มีเพียง 3,000 แห่ง ในทางตรงกันข้าม ฟาร์มอเมริกันส่วนใหญ่เป็นส่วนหนึ่งของสหกรณ์ ซึ่งสามารถแยกสหกรณ์เกี่ยวกับการขาย การปิดธุรกรรม อุปทาน และสินเชื่อ สหกรณ์การขายจะเกี่ยวข้องกับการผลิตและ การตลาดผลผลิตทางการเกษตร โดยปกติแล้ว ผลผลิตที่ปลูกและผลิตในสหรัฐอเมริกาจะจัดการโดยสหกรณ์ นอกจากนี้ สหกรณ์ยังจัดหางานให้กับคนที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ในชนบท และเพ่ือสนับสนุนเกษตรกรที่ไม่ทราบวิธีการเจรจาต่อรอง สหกรณ์ที่เชี่ยวชาญในการด้านการปิดธุรกรรม จะช่วยให้เกษตรกรได้รับราคาที่เหมาะสมกับผลผลิต ส่วนสหกรณ์อุปทานด้านการเกษตรเกี่ยวข้องกับการผลิตและจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีความจ้าเป็นในครัวเรือนอย่างเหมาะสม เช่น เชื้อ เพลิง ธุรกิจสหกรณ์บริหารงานโดยคณะกรรมการที่สมาชิกคัดเลือกโดยตรงสมาชิกแต่ละคนมีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเดียวและคะแนนเสียงทั้งหมดมีสิทธิ์เท่าเทียมกัน ที่ซึ่งแตกต่างกับบริษัทจ้ากัดหรือธุรกิจรูปแบบอื่น

5. ข้อสรุปและข้อควรพิจารณาเกี่ยวกับความส าคัญของแหล่งเงินรายย่อย ในกรณีส่วนใหญ่ นักลงทุนที่มีศักยภาพและเกษตรกรจะเชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจตลาดผ่านทุนสนับสนุนขนาดเล็กของยุโรปและ/หรือระดับชาติเท่านั้น แนวโน้มดังกล่าวถูกเน้นโดย "การล้าดับความส้าคัญและมาตรการหลักเพ่ือการพัฒนาภูมิภาคซึ่งคัดเลือกจากยุทธศาสตร์ทางการเมืองของกองทุนเพ่ือการพัฒนาระดับภูมิภาค ( the Regional Development Fund) ร่วมกับโครงสร้างของวัตถุประสงค์หลัก รวมทั้งมาตรการที่เหมาะสมในแผนพัฒนาแห่งชาติ" (Dobrescu, 2014) และโดยมาตรการการเงินรายย่อยในกรอบการเงินปัจจุบันในระดับภูมิภาคยุโรป (หัวข้อของการวิจัยที่ด้าเนินการภายในกรอบ ITS ที่เสนอ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนารูปแบบเพื่อรองรับแหล่งเง ินรายย่อยในพื้นที ่ชนบท)ข้อสรุปจากการประชุมสุดยอดที ่กร ุงโซลยังเน้นย้้าถึงความส้าคัญของความรับผ ิดชอบต่อสังคมขององค์กรเพื ่อการเติบโตที ่สมดุล ในขณะเดียวกัน ก็แสดงให้เห็นถึงความส้าคัญของรูปแบบการจัดหาเงินทุนขนาดเล็กที่มุ่งเป้า

ไปที่การลดความยากจนในพ้ืนที่ชนบท และการกระตุ้นให้เกิดการรวมตัวทางสังคม และการเงิน นอกจากนี้ การอภิปรายในการประชุมสุดยอดครั้งนี้ ยังมีหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปสถาบันการเงินระหว่างประเทศ การเสริมสร้างความปลอดภัยและกลไกทางการเงินทั่วโลก ในวาระที่แยกต่างหากของวาระการพัฒนา G20 ฉบับใหม่ เมื่อพิจารณาทั้งหมดดังกล่าวแล้ว รูปแบบสหกรณ์ส้าหรับฟาร์มขนาดเล็กจึงอาจเป็นโอกาสใหม่ส้าหรับการพัฒนาในส่วนที่เกี่ยวกับปัจจัยการผลิต เมล็ดพันธุ์ เทคโนโลยี การเงินรายย่อย การให้ค้าปรึกษา และเกี่ยวกับการแก้ปัญหาทางเทคนิคทางพืชไร่และการส่งเสริมการตลาด