31
∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡ 105 C-105 ∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡ 97 §≥–‡∑§‚π‚≈¬’ FACULTY OF TECHNOLOGY http://www.techno.msu.ac.th ‚∑√»—æ∑å 043-754333 μàÕ 1800 À≈—° Ÿμ√ª√—™≠“¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ (ª√.¥.)  “¢“«‘™“‡∑§‚π‚≈¬’™’«¿“æ  “¢“«‘™“‡∑§‚π‚≈¬’°“√Õ“À“√ (À≈—° Ÿμ√π“π“™“μ‘)  “¢“«‘™“‡∑§‚π‚≈¬’°“√‡°…μ√ 97

FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

105

C-105

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

97

§≥–‡∑§‚π‚≈¬’FACULTY OF TECHNOLOGY

http://www.techno.msu.ac.th

‚∑√»—æ∑å 043-754333 μàÕ 1800

À≈—° Ÿμ√ª√—™≠“¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ (ª√.¥.)� “¢“«‘™“‡∑§‚π‚≈¬’™’«¿“æ

� “¢“«‘™“‡∑§‚π‚≈¬’°“√Õ“À“√ (À≈—° Ÿμ√π“π“™“μ‘)

� “¢“«‘™“‡∑§‚π‚≈¬’°“√‡°…μ√

97

Page 2: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

106

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-106

Page 3: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

107

C-107

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556)

ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Biotechnology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ)

(ชื่อย่อ) : ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ)

ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : Doctor of Philosophy (Biotechnology)

(ชื่อย่อ) : Ph.D. (Biotechnology)

หลักสูตร - หลักสูตรแบบ1.1ส�าหรับผู้เข้าศึกษาท่ีส�าเร็จการศึกษาในระดับปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพหรือสาขาอื่นๆ

ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ที่มีความประสงค์ศึกษาในแผนการศึกษาท่ีเน้นวิจัย โดยมีการท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า

48หน่วยกิต

- หลักสูตร แบบ 2.1 ส�าหรับผู้เข้าศึกษาท่ีส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพหรือสาขาอื่นๆ

ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพที่ประสงค์ศึกษาในแผนการศึกษาที่เน้นวิจัย โดยมีการท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36หน่วยกิต และ

เรียนรายวิชาไม่น้อยกว่า12หน่วยกิต(รวมตลอดหลักสูตร48หน่วยกิต)

- หลกัสตูรแบบ2.2ส�าหรบัผูเ้ข้าศกึษาทีส่�าเรจ็การศกึษาระดบัปรญิญาบณัฑติสาขาวชิาเทคโนโลยชีวีภาพหรอืสาขาทีเ่กีย่วข้องโดย

มีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต�่ากว่า3.25หรือเกียรตินิยมหรือมีประสบการณ์ท�างานในสาขาที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย3ปีขึ้นไปเป็นแผนการศึกษาที่เน้น

วิจัยที่มีการท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า48หน่วยกิตและเรียนรายวิชาไม่น้อยกว่า24หน่วยกิต(รวมตลอดหลักสูตร72หน่วยกิต)นิสิตที่เรียน

ในหลักสูตรทั้งแบบ1.1,แบบ2.1และแบบ2.2ทุกคนจะส�าเร็จการศึกษาได้ต้องสอบผ่านการวัดผลประมวลความรู้และการสอบภาษาอังกฤษ

โดยมผีลการสอบผ่านจากสถาบนัภาษาหรอืหน่วยสอบมหาวทิยาลยัรบัรองหรอืลงทะเบยีนเรยีนรายวชิาภาษาตามทีม่หาวทิยาลยัก�าหนดโดยไม่

นับหน่วยกิตและได้รับการประเมินผลการเรียนระดับS

โครงสร้างหลักสูตร

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพมีจ�านวนหน่วยกิตรวมดังนี้

หมวดวิชาหลักสูตรที่เสนอ

แบบ 1.1 แบบ 2.1 แบบ 2.2

1. หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต ไม่นับหน่วยกิต ไม่นับหน่วยกิต

2. หมวดวิชาหลัก

- หมวดวิชาบังคับ

- หมวดวิชาเลือก

-

-

6

6

6

18

3. หมวดประสบการณ์วิจัย 48 36 48

รวมไม่น้อยกว่า 48 48 72

Page 4: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

108

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-108

รายวิชา

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน11หน่วยกิต

ทั้งแผนแบบ1.1,แบบ2.1และแบบ2.2ที่ผู้เรียนไม่มี

พืน้ฐานความรูท้างเทคโนโลยชีวีภาพต้องเรยีนเพือ่ปรบัความรูพ้ืน้ฐาน

ผูเ้รยีนทีเ่คยเรยีนในรายวชิาใดทีส่ามารถเทยีบเคยีงกบัรายวชิาพืน้ฐาน

แล้วไม่ต้องเรยีนซ�า้ยกเว้นมคีะแนนต�า่กว่าC(2.00)ต้องเรยีนใหม่ให้

ผ่านในระดับSทั้งนี้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตและได้ผลการประเมิน

ระดับขั้น S (Satisfactory) ท้ังนี้อยู่ดุลยพินิจของกรรมการบริหาร

หลักสูตรรายวิชาที่ปรับพื้นฐานมีดังนี้0804502 เครื่องมือวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพ 2(1-2-3)

ResearchInstrumentsinBiotechnology

0804506 วิธีทางสถิติและวิทยาระเบียบวิธีวิจัย 3(3-0-6)

ทางเทคโนโลยีชีวภาพ

StatisticalMethodsandResearchMethodology

inBiotechnology

0804511 การด�าเนินการหน่วยปฏิบัติการพื้นฐาน 3(3-0-6)

FundamentalofUnitOperations

0804532 ชีวเคมีและจุลชีววิทยาทางเทคโนโลยีชีวภาพ 3(3-0-6)

BiochemistryandMicrobiologyinBiotechnology

รายวิชาหมวดวิชาบังคับ สาขาวชิาเทคโนโลยชีวีภาพมรีายวชิาหมวดวชิาหลกับงัคบัไม่

น้อยกว่า6หน่วยกิต

0804611 กระบวนการวิชาการทางเทคโนโลยีชีวภาพ 3(3-0-6)

AspectsofBiotechnology

0804591 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ1 1(0-2-1)

BiotechnologySeminar1

0804592 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ2 1(0-2-1)

BiotechnologySeminar2

0804691 เทคนิควิจัยทันสมัยส�าหรับการวิจัย 3(0-3-6)

ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ

CurrentResearchTechniques

forBiotechnologyResearch

0804692 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ3 1(0-2-1)

BiotechnologySeminar3

0804693 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ4 1(0-2-1)

BiotechnologySeminar4

0804694 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ5 1(0-2-1)

BiotechnologySeminar5

หมายเหตุ

1.นิสิตทั้งแบบ1.1,2.1และ2.2ต้องเรียนรายวิชาสัมมนาโดยไม่

นับหน่วยกิตและให้ผลการเรียนระดับขั้นS(ผ่าน)U(ไม่ผ่าน)ซึ่งนิสิตต้อง

ลงทะเบยีนเรยีนจนกว่าจะผ่านทัง้5รายวชิาส�าหรบัผูเ้รยีนทีจ่บการศกึษาใน

ระดบัมหาบณัฑติมาแล้วรายวชิา0804591และรายวชิา0804592ไม่ต้อง

เรียน

2.รายวชิา0804591,0804592(เป็นรายวชิาสมัมนาทางเทคโนโลยี

ชีวภาพ1และ2)นิสิตแบบ2.2ต้องเรียนโดยไม่นับหน่วยกิตยกเว้นนิสิต

แบบ1.1และ2.1ไม่ต้องเรียนส�าหรับรายวิชา0804692,0804693และ

0804694(เป็นรายวชิาสมัมนาทางเทคโนโลยชีวีภาพ3,4และ5)นสิติแบบ

1.1,2.1และ2.2ต้องเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

รายวิชาหมวดวิชาเลือก

แบบ2.1เลือกเรียนได้ไม่น้อยกว่า 6หน่วยกิต

แบบ2.2เลือกเรียนได้ไม่น้อยกว่า 18หน่วยกิต

นิสิตสามารถเลือกเรียนในรายวิชาเลือกของสาขาวิชาเทคโนโลยี

ชีวภาพหรือรายวิชาในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์ได้อย่างน้อย6

หน่วยกติทัง้นี้ขึน้อยูก่บัดลุพนิจิของคณะกรรมการบรหิารหลกัสตูรรายวชิา

เลือกมีดังนี้

0804507 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจชีวภาพ 3(3-0-6)

EntrepreneurshipinBio-business

0804512 วิศวกรรมชีวเคมีและเทคโนโลยีการหมัก 3(2-2-5)

BiochemicalEngineering

andFermentationTechnology

0804521 เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร 3(2-2-5)

AgriculturalBiotechnology

0804527 เทคโนโลยีชีวภาพในอาหารสัตว์ 3(3-0-6)

BiotechnologyinAnimalFeed

0804531 เทคโนโลยีจุลินทรีย์ขั้นสูง 3(2-2-5)

AdvancedMicrobialTechnology

0804533 เทคโนโลยีชีวภาพสาหร่าย 3(2-2-5)

AlgalBiotechnology

0804534 การบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีบูรณาการ 3(2-2-5)

IntegratedPestManagement

0804542 พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล 3(2-2-5)

MolecularGenetics

0804547 เทคโนโลยีชีวสารสนเทศ 2(2-0-4)

BioinformaticTechnology

0804551 เทคโนโลยีชีวภาพผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 3(3-0-6)

BiotechnologyinNaturalProducts

0804552 ชีววิเคราะห์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ 2(2-0-4)

BioassayforBiotechnology

0804561 เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อมขั้นสูง 3(2-2-5)

AdvancedEnvironmentalBiotechnology

0804571 เทคโนโลยีอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

AdvancedFoodTechnology

andProductDevelopment

0804581 เทคโนโลยีเอนไซม์ขั้นสูง 3(2-2-5)

AdvancedEnzymeTechnology

Page 5: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

109

C-109

0804582 เทคโนโลยีสารกลิ่นรสและสารหอม 3(3-0-6)

FlavorandFragranceTechnology

0804621 การเพาะเลี้ยงเซลล์ 3(2-2-5)

CellCulture

0804681 วิศวกรรมโปรตีน 3(3-0-6)

ProteinEngineering

รายวิชาหมวดวิชาประสบการณ์วิจัย แผนการเรียนทั้ง3แผนมีรายวิชาในหมวดวิชาประสบการณ์วิจัย

ดังนี้

แบบ1.1และ2.2

0804695 วิทยานิพนธ์ 48หน่วยกิต

Thesis

แบบ2.1

0804696 วิทยานิพนธ์ 36หน่วยกิต

Thesis

Page 6: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

110

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-110

คำาอธิบายรายวิชาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556)

0804 502 เครื่องมือวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพ 2(1-2-3)

Research Instruments in Biotechnology

หลักการท�างานและวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

แก๊สลิควิดโครมาโตกราฟฟี ่ ไฮเปอฟอร์มแมนลิควิดโครมาโตกราฟ

ฟี่ สเปคโตโฟโตเมททรี อะตอมมิกแอปซอฟชันสเปคโตโฟโตเมททรี

แก๊สโครมาโตกราฟฟี่ แมสสเปคโตรเมททรีอิเล็คโตรโฟรลิซีส และเคร่ือง

มือที่มีความส�าคัญต่องานด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ปฏิบัติการและการใช้

เครื่องมือชนิดต่างๆ

Principlesofelectronmicroscope,GasLiquidChro-

matography (GC),HighPerformanceLiquidChromatography

(HPLC),Spectrophotometry,AtomicAbsorptionSpectrophotom-

etry(AAS),GC-MassSpectrometry,Electrophoresis,andinstru-

ments related toBiotechnology, laboratory anddemonstration

ofinstruments

0804 506 วิธีทางสถิติและวิทยาระเบียบวิธีวิจัย 3(3-0-6)

ทางเทคโนโลยีชีวภาพ

Statistical Methods and Research Methodology

in Biotechnology

หลักการทางสถิติ การออกแบบการทดลองทางเทคโนโลยี

ชีวภาพการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลองด้วยวิธีทางสถิติแบบต่างๆ การ

วเิคราะห์การถดถอยและสหสมัพนัธ์การวเิคราะห์ความแปรปรวนและความ

เบี่ยงเบนการใช้โปรแกรมทางสถิติส�าเร็จรูป

Principlesofstatisticalmethods,experimentaldesign

inbiotechnology,experimentaldataanalysisbyvariousstatistical

methods,regressionandcorrelationanalysis,varianceanalysis,

includinguseofstatisticalsoftware

0804 507 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจชีวภาพ 3(3-0-6)

Entrepreneurship in Bio-business

ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในอุตสาหกรรมชีวภาพมาตรฐานและกฎ

ระเบียบด้านอตุสาหกรรมชวีภาพความปลอดภยัทางชวีภาพสทิธบิตัรการ

วิเคราะห์การตลาดการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การบริหารจัดการการท�า

แผนธุรกิจการจัดการแรงงานศึกษาปัญหาของกระบวนการผลิตร่วมกับผู้

ประกอบการระดับท้องถิ่นการปรับปรุงกระบวนการผลิตและการควบคุม

คุณภาพของผลิตภัณฑ์

Bio-industrialproducts, standardand regulation in

bio-industrial,biosafety,patents,marketinganalysis,statistical

analysis,businessplanning,problemsstudyinproductionprocess

with local enterprises, productionprocess improvement, and

productqualitycontrol

0804 511 การด�าเนินการหน่วยปฏิบัติการพื้นฐาน 3(3-0-6)

Fundamental of Unit Operations

หน่วยและการวิเคราะห์เชิงสถติิหลกัการพืน้ฐานของของไหล

การถ่ายโอนความร้อน และการถ่ายเทมวลหลักการค�านวณของเครื่องมือ

ชนิดต่างๆได้แก่เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนการให้ความชื้นการอบแห้ง

การกลั่นการสกัดการดูดซึมการระเหยและการตกผลึกและอื่นๆ

Unitsanddimensionalanalysis,fundamentaloffluid

flows,heat transfer andmass transfer, principle of calculation

ofvariousinstrumentssuchasheatexchanger,humidification,

drying,distillation,extraction,absorption,evaporationandcrys-

tallizationand,etc.

0804 512 วิศวกรรมชีวเคมีและเทคโนโลยีการหมัก 3(2-2-5)

Biochemical Engineering and

Fermentation Technology

การออกแบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพจลนพลศาสตร์กระบวนการ

หมักการถ่ายเทมวลและพลังงานในกระบวนการเมตะบอลิซึม สูตรอาหาร

การควบคุมปัจจัยต่างๆในกระบวนการหมักการขยายขนาดการเก็บเกี่ยว

ผลผลิต

Bioreactordesign,kineticsinfermentationprocess,

metabolicflux,mediumformulation,factorscontrolinbiological

process,scaleup,productrecovery

0804 513 เทคโนโลยีชีวภาพชั้นสูง 3(3-0-6)

Advanced Biotechnology

เทคโนโลยีชีวภาพด้านต่างๆ ชนิดของสารเร่งปฏิกิริยา

ทางชีวภาพ วิถีของระบบทางชีวภาพ สมดุลทางชีวมวลและชีวพลังงาน

ในกระบวนการทางชีวภาพ จลศาสตร์ของการเจริญของจุลินทรีย์ และ

การเกิดผลิตภัณฑ์ชีวภาพตามปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหมัก

ในอุตสาหกรรม รวมไปถึงการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพในด้าน

ต่างๆเช่นด้านพลังงานการแพทย์การเกษตรและอุตสาหกรรม

Scopeofbiotechnologicalaspects,typeofbiocata-

lysts,pathwayofbiologicalsystems,biomassandbioenergetics

balance inbiologicalprocesses, kinetics of microbial growth,

biosynthetic factors in industrial fermentation processes and

incorporate the applicationmanipulate in energy,medicine,

agriculturalandindustryareas

Page 7: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

111

C-111

0804 521 เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร 3(2-2-5)

Agricultural Biotechnology

การประยุกต์เทคนิคและความรู้ในสาขาวิชาต่างๆทางด้าน

เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร เช่น การใช้จุลินทรีย์ เทคนิคทางพันธุ

วิศวกรรมการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และการใช้ ชีววิธีในการควบคุมศัตรูพืช

เพื่อประโยชน์ทางการเกษตรและอุตสาหกรรม

Applicationintechniqueandknowledgeofvarious

subjectsforagriculturalbiotechnologysuchasmicrobialusing,

geneticengineering,tissuecultureandbiologicalcontrolserved

foragricultureandindustry

0804 527 เทคโนโลยีชีวภาพในอาหารสัตว์ 3(3-0-6)

Biotechnology in Animal Feed

การใช้จุลินทรีย์ในการผลิตสารเสริมในอาหารสัตว์ได้แก่

เอนไซม์พรีและโพรไบโอติคฮอร์โมนกรดอะมิโนและวิตามินการปรับปรุง

คุณภาพอาหารสัตว์ ปัญหาและข้อจ�ากัดของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพทาง

อาหารสัตว์

Theuseofmicroorganismsinsupplementproduction

suchasenzymes,pre-andprobiotics,hormones,aminoacidand

vitamin,Improvementoffeedquality,problemsandlimitations

ofbiotechnologyinanimalfeed

0804 531 เทคโนโลยีจุลินทรีย์ขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Microbial Technology

แนวคิดทางการวิจัย และวิชาการที่ทันสมัยของจุลินทรีย์เพื่อ

อุตสาหกรรมอาหารเภสัชกรรมเครื่องส�าอางการเกษตรสิ่งแวดล้อมและ

อุตสาหกรรมอื่นๆ

Current research and academic concepts ofmi-

croorganisms for food industry, pharmaceuticals, cosmetics,

agriculture,environmentsandotherindustries

0804 532 ชีวเคมีและจุลชีววิทยาทางเทคโนโลยีชีวภาพ 3(3-0-6)

Biochemistry and Microbiology in Biotechnology

โครงสร้าง คุณสมบัติ และหน้าที่ของสารชีวโมเลกุลต่างๆ

เช่น คาร์โบไฮเดรต ลิปิด โปรตีน กรดนิวคลีอิก เอ็นไซม์ วิตามิน และ

ฮอร์โมนการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาการเจริญเติบโตการจัดกลุ่ม

การประยุกต์ใช้ของจุลินทรีย์ชนิดต่างๆ ได้แก่ แบคทีเรีย รา สาหร่าย

โปรโตซัวและไวรัส

Structures and functions of bio-molecules suchas

carbohydrate,lipid,protein,nucleicacid,enzyme,vitaminand

hormone.Studyonmorphology,growth,classificationandap-

plication ofmicroorganisms including bacteria, fungi, algae,

protozoa,andviruses

0804 533 เทคโนโลยีชีวภาพสาหร่าย 3(2-2-5)

Algal Biotechnology

ชีววิทยาและการจัดจ�าแนกสาหร่ายพันธุกรรมระดับโมเลกุล

ของสาหร่ายการเพาะเลี้ยง และการออกแบบระบบการเพาะเลี้ยงสาหร่าย

ประโยชน์และการประยุกต์ใช้สาหร่ายในอุตสาหกรรมชนิดต่างๆ

Biologyandclassificationofalgae,moleculargenetic

ofalgae,cultivationandalgaecultivationsystemdesign,utiliza-

tionandapplicationofalgaeinvariousindustry

0804 534 การบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีบูรณาการ 3(2-2-5)

Integrated Pest Management

ความส�าคัญของศัตรูพืชต่อการเกษตรประเภทและชนิดของ

ศตัรพูชืการแพร่ระบาดของศตัรพูชืการประเมนิความเสยีหายทีเ่กดิจากศตัรู

พชืในทางเศรษฐกจิหลกัการป้องกนัและก�าจดัศตัรพูชืแบบบรูณาการด้วยวธิี

การต่างๆและผลกระทบต่อระบบนเิวศเทคนคิการป้องกนัก�าจดัศตัรพูชืท่ี

เหมาะสมในสภาพปัจจุบัน

Essenceofagriculturalpest,classificationsandtypes

ofagriculturalpest,epidemiologyofagriculturalpest,economic

evaluationofdamagescausedbyagriculturalpest,principlesof

integratepestmanagementandeliminationbyvariousmethods

andtheireffectonecology,currenteffectivetechniquesforpro-

tectionandeliminationofagriculturalpest

0804 541 ชีวโมเลกุลและเทคโนโลยีทางพันธุกรรม 3(2-2-5)

Molecular Biology and Gene Technology

ชีววิทยาและสารพันธุกรรมของเซลล์ยูคาริโอตและโปร

คาริโอตการแสดงออกของยีนและการผลิตโปรตีนในเซลล์ การผลิตกรด

อะมิโนและโครงสร้างโปรตีนเทคนิคทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวิเคราะห์

DNA เทคนิคในการตัดต่อและดัดแปลงสารพันธุกรรม เทคนิคการน�าพา

สารพันธุกรรมเข้าสู่เซลล์ การตรวจติดตามสารพันธุกรรมและการจ�าลอง

พันธุกรรม

Biologyofgeneticmaterialsofeukaryoticandprokary-

oticcells,cellulargeneexpressionandproteinproduction,amino

acidproductionandproteinstructure,laboratorytechniquesfor

DNAanalysis,geneticengineering,techniquesforrecombination

andmodificationofgenes,introductionofgenesintocells,genetic

markers,andcloning

0804 542 พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล 3(2-2-5)

Molecular Genetics

โครโมโซมและยีนของแบคทีเรียยีสต์เซลล์พืชและสัตว์พลา

สมิด การถ่ายโอนยีนส์ การโคลนยีนส์ การตรวจหาโคลนท่ีต้องการ การ

ตรวจหาล�าดบัเบสของดเีอนเอการดดัแปลงพนัธุกรรมความปลอดภยัและ

จริยธรรมสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม

Page 8: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

112

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-112

Chromosome and gene of bacteria, yeast, plant and

animalcell,plasmid,genetransfer,genecloning,DNAbasepair

sequencing,geneticmodifications,safetyandethicalissuesof

transgenicorganisms

0804 547 เทคโนโลยีชีวสารสนเทศ 2(2-0-4)

Bioinformatic Technology

การสืบค้นข้อมูลทางชีววิทยาบนฐานข้อมูลออนไลน์ ในด้าน

ต่างๆได้แก่นวิคลโีอไทด์จโีนมโปรตนีสารเมตาบอไลท์การวเิคราะห์ล�าดบั

เบสการวเิคราะห์ความสัมพันธ์เชงิววิฒันาการระดบัชวีโมเลกลุการท�านาย

หน้าท่ีและโครงสร้างของโปรตีนการใช้ฐานออนไลน์เพื่อเก็บข้อมูลและน�า

ไปใช้การสืบค้นข้อมูลและเทคนิคใหม่ๆทางชีวโมเลกุลการประยุกต์ใช้ชีว

สารสนเทศในด้านเภสัชวิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพ

Searchingforbiological informationofnucleotides,

genomes,proteinsandmetabolitesfromonlinedatabase,DNA

sequencesanalysis,geneticphylogenyandevolutionanalysis,

proteinstructuresandfunctionsprediction,store,retrieveand

assistinunderstandingbiologicalinformation,updatedmolecular

informationandtechniques,applicationofbioinformaticstechnol-

ogyforpharmacologyandbiotechnology

0804 551 เทคโนโลยีชีวภาพผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 3(3-0-6)

Biotechnology in Natural Products

ชนิดของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากพืชสัตว์ และจุลินทรีย์

ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติของสารกลุ่มโพลีเปบไทด์ อัลคาลอยด์ ชิกิเมท เทอร์

ปีนอยด์สเตียรอยด์และยาปฏิชีวนะการสกัดแยกและพิสูจน์เอกลักษณ์

การผลิตสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติด้วยวิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพการใช้

ประโยชน์จากสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

Naturalproductsfromplants,animalsandmicroor-

ganisms,polypeptides,alkaloids,shikimates,terpenoids,steroids,

andantibiotics,extraction,isolationandidentificationofnatural

products,productionofnaturalproductsbybiotechnologytech-

niques,applicationfromnaturalproducts

0804 552 ชีววิเคราะห์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ 2(2-0-4)

Bioassay for Biotechnology

ความรู้พื้นฐานส�าหรับชีววิเคราะห์ การใช้เซลล์สัตว์และสัตว์

ทดลองเพื่อชีววิเคราะห์ เทคนิคการตรวจสอบระบบภูมิคุ้มกันแบบน�้าและ

แบบเซลล์การเลอืกใช้ชวีวเิคราะห์ทีเ่หมาะสมต่องานวจิยัการใช้ชวีวเิคราะห์

เพื่อการตรวจสอบฤทธิ์ทางชีวภาพและประเมินคุณภาพของสารที่ได้จาก

สัตว์/พืช/จุลชีพความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ

Basicbioassays,useofanimalcellsandliveanimals

forbioassays,techniquesforinvestigationofhumoralandcellular

immuneresponses,appropriatebioassaysforspecificresearch,

bioassays fordetectionandevaluationofbiological activityof

bioactivecompoundsderivedfromanimals/plants/microorgan-

isms,laboratorysafety

0804 561 เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อมขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Environmental Biotechnology

ระบบทางชีวภาพข้ันสงูเพือ่ปรับปรงุประสทิธิภาพและลดหรือ

ใช้ประโยชน์จากของเสียให้เกิดหลากหลายประโยชน์กับอุตสาหกรรมและ

สิ่งแวดล้อมการก�าจัดสารปนเปื้อนสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ ระบบบ�าบัดน�้า

เสียและการออกแบบการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์เพื่อปรับปรุงคุณภาพ

สิ่งแวดล้อม

Advancedbiological system to improve efficiency

andreduceorutilizewastestobenefitawiderangeofindustries

andtheenvironment,bioremediationofcontaminatedenviron-

ments,wastewatertreatmentsystemanddesign,utilizationof

microorganismstoimproveenvironmentalquality

0804 571 เทคโนโลยีอาหารขั้นสูงและการพัฒนา 3(3-0-6)

ผลิตภัณฑ์อาหาร

Advanced Food Technology

and Product Development

ความรู ้ขั้นสูงและเทคโนโลยีในเรื่องต่างๆ ที่ก�าลังเป็นที่

สนใจในด้านกระบวนการแปรรูปอาหาร เคมีอาหาร จุลชีววิทยาทางอาหาร

การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ในอุตสาหกรรมอาหาร การประกันคุณภาพ

อาหารหลักปฏิบัติที่ดีในการด�าเนินงานการวิเคราะห์อันตรายจุดควบคุม

วิกฤติ การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การตลาดทางอาหารและกล

ยุทธวิธีทางตลาดส�าหรับผลิตภัณฑ์อาหาร

Current advanced knowledge and technology in

foodprocessing, foodchemistry, foodmicrobiology,utilization

ofmicroorganisms in food industry, food quality assurance,

GoodManufacturingPractice (GMP),HazardAnalysisCritical

Controlpoint(HACCP),researchandnewproductdevelopment,

foodmarketingandstrategiesofmarketingonfoodproducts

0804 581 เทคโนโลยีเอนไซม์ขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Enzyme Technology

คุณสมบัติ โครงสร้าง และหน้าท่ี ของกรดอมิโนและโปรตีน

จลนศาสตร์เอนไซม์การสกัดและการท�าให้โปรตีนบริสุทธิ์ การท�านายและ

ดดัแปลงโครงสร้างของโปรตีนด้วยเทคนคิทางเคมแีละพนัธุวิศวกรรมการ

ประยุกต์ใช้เอนไซม์ในอุสาหกรรม

Characteristicstructureandfunctionofaminoacids

andprotein,enzymekinetics,extractionandpurificationofpro-

tein,predictionandmodificationofstructuralproteinbychemical

techniquesandgeneticengineering,applicationofenzymesin

industry

Page 9: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

113

C-113

0804 582 เทคโนโลยีสารกลิ่นรสและสารหอม 3(3-0-6)

Flavor and Fragrance Technology

การใช้สารกลิ่นรสและสารกลิ่นหอม แหล่งของสารกลิ่น

รสและสารหอมธรรมชาติจากพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ การสังเคราะห์สาร

กลิ่นรสธรรมชาติ การสกัดสารกลิ่นรส เคมีและการวิเคราะห์สารกลิ่นรส

การเปล่ียนแปลงสารกล่ินรสและการสูญเสียกลิ่นรสของอาหารและจาก

กระบวนการแปรรูปอาหาร การประยุกต์ใช้สารกลิ่นรสและกลิ่นหอมใน

อุตสาหกรรมต่างๆ

Flavors and fragranceusages, natural flavors and

fragrance sources fromplants, animals andmicroorganisms,

naturalflavorsynthesis,flavorextraction,chemistryandanalysis

offlavors,flavorchangeandoffflavorinfoodandfoodprocessing,

flavorsandfragranceapplicationsinvariousindustries

0804 591 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ1 1(0-2-1)

Biotechnology Seminar 1

การสืบค้นน�าเสนอและวิจารณ์ผลงานวิจัยใหม่ๆ ที่น่าสนใจ

ทางเทคโนโลยีชีวภาพพร้อมทั้งการเขียนรายงาน

Search,oralpresentationanddiscussiononbiotech-

nologicaltopicsofcurrentinterest,includingwritingreport

0804 592 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ2 1(0-2-1)

Biotechnology Seminar 2

สืบค้นและศึกษาหัวข้อที่น่าสนใจทางเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อ

การน�าเสนอผลงานและการเขียนรายงานพร้อมด้วยการวิจารณ์ผลงานและ

จัดท�าโปสเตอร์เพื่อน�าเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ

Searchandstudyonbiotechnologicaltopicsofcurrent

issuefororalpresentation,writtenreportwithdiscussionsand

posterpreparingforconferencepresentation

0804 611 กระบวนการวิชาการทางเทคโนโลยีชีวภาพ 3(3-0-6)

Aspects of Biotechnology

เทคโนโลยีชีวภาพด้านต่างๆ ชนิดของสารเร่งปฏิกิริยาทาง

ชีวภาพ อุณหพลศาสตร์ของระบบทางชีวภาพ สมดุลทางชีวมวล และ

ชีวพลังงานในกระบวนการทางชีวภาพ จลนศาสตร์ของการเจริญของ

จุลินทรีย์ และการเกิดผลิตภัณฑ์ชีวภาพขึ้นตามปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ

กระบวนการหมักในอุตสาหกรรมตลอดจนเทคโนโลยีในการแยกสกัดและ

ท�าให้ผลิตภัณฑ์บริสุทธิ์และการผสมสูตรทางการค้า

Scopesofbiotechnologicalaspects,typesofbiocata-

lysts,thermodynamicsofbiologicalsystems,biomassandbioe-

negeticsofmicrobialprocesses,kineticsofmicrobialgrowthand

biosymtheticprocessesfactorsinvolvedinindustrialfermentation

majortechniquesindownstreamprocessing,productpurification

andcommercialformulation

0804 621 การเพาะเลี้ยงเซลล์ 3(2-2-5)

Cell Culture

ชวีวทิยาและการเพาะเลีย้งเซลล์พชืสตัว์เลีย้งลกูด้วยนมและ

แมลงพันธุวิศวกรรมของพืชสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและแมลงการดัดแปลง

พันธุกรรมของเซลล์ การประยุกต์ใช้ชีววิทยาโมเลกุลเพื่อปรับปรุงการ

ผลิตสารทุติยภูมิจากพืช การประยุกต์เพื่อน�าเซลล์แมลงไปใช้ในงานด้าน

การเกษตรกรรมและการควบคุมโดยชีววิธี เทคนิคทางภูมิคุ้มกันวิทยาเพื่อ

ศึกษาเซลล์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมการน�าเซลล์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมไปใช้ใน

งานวิจัยและอุตสาหกรรม จริยธรรมและความปลอดภัยทางชีววิทยาของ

การใช้เซลล์สัตว์และสัตว์ทดลอง

Plant,mammalianandinsectcellbiologyandculture,

geneticengineeringofplantmammalianandinsect,application

ofmolecularbiologyforimprovingplantsecondarymetabolite,

immunologicaltechniquesforstudyingofmammaliancells,ap-

plicationofinsectcellsforagriculturalandbiologicalcontrolstud-

ies,useofmammaliancellsforresearchandindustrialpurposes,

ethicalandsafetyissuesconcerningtheuseofanimalcellsand

liveanimals

0804 681 วิศวกรรมโปรตีน 3(3-0-6)

Protein Engineering

โครงสร้างโปรตนีในระดบัต่างๆการวเิคราะห์โครงสร้างโปรตนี

การท�านายโครงสร้างและหน้าทีข่องโปรตนีการปรบัปรงุโครงสร้างและหน้าที่

ของโปรตีนด้วยวิธีทางเคมแีละเทคนคิทางพนัธุกรรมการดดัแปลงเอนไซม์

และการประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ

Structureofproteininvariouslevels,proteinstructure

analysis,predictionofproteinstructureandfunction,modified

structureandfunctionofproteinbychemicalmethodsandge-

netictechniques,modificationofenzymeandapplicationusage

invariousfields

0804 691 เทคนิควิจัยทันสมัยส�าหรับการวิจัย 3(0-3-6)

ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ

Current Research Techniques

for Biotechnology Research

ความรู ้ใหม่ๆ ด้านเทคโนโลยีชีวภาพและการประยุกต์ใช ้

ในการท�าวิจัย การใช้เครื่องมือและเทคนิคการวิจัยใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ

วิทยานิพนธ์ของนิสิต การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล และการน�า

เสนองาน

Currentknowledgeinbiotechnologyandapplication

forconductingresearch,instrumentsusageandcurrentresearch

techniquesinvolvingontheselectedtopicsofstudentthesis,data

collectionanddatainterpretationandreportmaking

Page 10: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

114

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-114

0804 692 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ 3 1(0-2-1)

Biotechnology Seminar 3

การเสนอผลงานและการอภิปรายถึงผลงานวิจัยทางเทคโนโลย ี

ชวีภาพทีม่าจากวารสารวจิยัเน้นหวัข้อการวจัิยทางด้านสาขาวชิาทีเ่ก่ียวข้อง

กับเทคโนโลยีชีวภาพ

Oralpresentationanddiscussiononcurrentresearch

journalwithanemphasisontheresearchtopicsrelatedtobio-

technology

0804 693 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ 4 1(0-2-1)

Biotechnology Seminar 4

การเสนอผลงาน และอภิปรายในหัวข้อวิจัยที่น่าสนใจทาง

เทคโนโลยีชวีภาพเป็นภาษาองักฤษและเขยีนรายงานพร้อมด้วยการวจิารณ์

ผลงานเป็นภาษาอังกฤษหรือภาษาไทย

Presentationanddiscussiononcurrent interesting

biotechnological research inEnglish andwritten reportwith

discussioninEnglishorThai

0804 694 สัมมนาทางเทคโนโลยีชีวภาพ 5 1(0-2-1)

Biotechnology Seminar 5

การเสนอผลงาน และอภิปรายในหัวข้อวิจัยที่น่าสนใจทาง

เทคโนโลยีชวีภาพเป็นภาษาองักฤษและเขยีนรายงานพร้อมด้วยการวจิารณ์

ผลงานเป็นภาษาอังกฤษ

Presentationanddiscussiononcurrent interesting

biotechnological research inEnglish andwritten reportwith

discussioninEnglish

0804 695 วิทยานิพนธ์ 48 หน่วยกิต

Thesis

การท�าวิจัยขั้นสูงในหัวข้อท่ีน่าสนใจทางเทคโนโลยีชีวภาพ

เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ภายใต้การแนะน�าของคณะกรรมการควบคุม

วิทยานิพนธ์ โดยส่วนหนึ่งของผลงานวิจัยมีคุณภาพสูงพอที่จะตีพิมพ์ใน

วารสารวิจัยระดับนานาชาติ

Conductinganadvancedbiotechnologicalresearch

projectinordertogenerateanewbodyofknowledgeunderthe

supervisionofathesisadvisorycommittee,partofresearchworks

shouldhavehighqualityforpublishinginaninternationaljournal

0804 696 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต

Thesis

การท�าวิจยัขัน้สงูในหัวข้อท่ีน่าสนใจทางเทคโนโลยชีวีภาพเพือ่

สร้างองค์ความรู้ใหม่ภายใต้ค�าแนะน�าควบคุมของคณะกรรมการควบคุม

วิทยานิพนธ์และผลงานสามารถตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

Conductinganadvancedresearchworkinthefield

ofbiotechnologyinordertogenerateanewbodyofknowledge

under a supervision of a thesis advisory committee, and the

researchpapercouldbepublishedinaninternationaljournal

Page 11: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

115

C-115

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร (หลักสูตรนานาชาติ ปรับปรุง พ.ศ. 2554)

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร

ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Food Technology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีการอาหาร)

ชื่อย่อ (ไทย) : ปร.ด. (เทคโนโลยีการอาหาร)

FullTitle : Doctor of Philosophy (Food Technology)

Abbreviation : Ph.D. (Food Technology)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

คณะเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

หลักสูตร

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหารแบ่งการศึกษาเป็น2แบบได้แก่

แบบ1เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการท�าวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ประกอบด้วย2แผนดังนี้

Ph.D.program,majoringinFoodTechnology,dividesinto2typesasfollows

Type1:Programemphasizesonresearchingbyaccomplishingthesiswhichinitiatestwonewknowledge

asfollows

1.1 ผู้เข้าศึกษาที่ส�าเร็จปริญญาโทจะต้องท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า48หน่วยกิต

1.1 Masterdegreeholdermustaccomplishthesisatleast48credits

1.2 ผู้เข้าศึกษาที่ส�าเร็จปริญญาตรีจะต้องท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า72หน่วยกิต

1.2 Bachelordegreeholdermustaccomplishthesisatleast72credits

แบบ2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการท�าวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ

วิชาชีพและศึกษารายวิชาเพิ่มเติมประกอบด้วย2แผนดังนี้

Type2:Programemphasizesonresearchingbyaccomplishinghighqualityofthesiswhichinitiatesprogress

ofacademics,professionandsupplementarysubjectsincluding2programsasfollows

2.1 ผูเ้ข้าศกึษาทีส่�าเรจ็ปรญิญาโทจะต้องท�าวทิยานพินธ์ไม่น้อยกว่า36หน่วยกติและศกึษารายวชิาไม่น้อยกว่า12

หน่วยกิต

2.1 Masterdegreeholdermustaccomplishthesisatleast36creditsandstudyatleast12credits

ofthesubjects

2.2 ผู้เข้าศึกษาที่ส�าเร็จปริญญาตรีจะต้องท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48หน่วยกิตและศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า

24หน่วยกิต

2.2 Bachelordegreeholdermustaccomplishthesisatleast48creditsandstudyatleast24credits

ofthesubjects

Page 12: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

116

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-116

นิสิตที่เรียนในหลักสูตรแบบ1และแบบ2ทุกคนต้องสอบผ่านความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษของบัณฑิตวิทยาลัยกรณีที่มี

ความรู้ต�่ากว่าเกณฑ์ที่ก�าหนดจะต้องลงทะเบียนเรียนภาษาอังกฤษระดับบัณฑิตศึกษาตามประกาศของมหาวิทยาลัย

Everystudentintheprogrambothtype1andtype2mustpasstheexambythethedepthofEnglishLanguage

ofGraduateCollege.IfoneobtainsscoretheEnglishscorelowerthanassignedstandard,he/shemustenrolltheGraduated

EnglishLevelaccordingtotheuniversity’sannouncement.

โครงสร้างหลักสูตร

TheCurriculum’sStructure

โครงสร้างหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(นานาชาติ)สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร(หลักสูตรนานาชาติ/หลักสูตรปรับปรุงพ.ศ.2555)

Ph.D.Program(International),FoodTechnologyMajor(InternationalProgram/AdjustedCurriculumProgram2012B.E.)

หมวดวิชา

Course Category

หลักสูตรที่เสนอ

Courses on offer

แบบที่ 1

Type 1

แบบที่ 2

Type 2

แบบ 1.1

Type 1.1

แบบ 1.2

Type 1.2

แบบ 2.1

Type 2.1

แบบ 2.2

Type 2.2 1. หมวดวิชาบังคับ

Requiredcorecourses

- - รวมกันแล้ว

ไม่น้อยกว่า12

Total No less than

12

รวมกันแล้ว

ไม่น้อยกว่า24

Total No less than

24

2. หมวดวิชาเลือก

Elective core courses

- -

3. หมวดวิทยานิพนธ์

Thesis

ไม่น้อยกว่า48

Nolessthan48

ไม่น้อยกว่า72

Nolessthan72

36 48

หน่วยกิตรวม

Total credit

ไม่น้อยกว่า48

Nolessthan48

ไม่น้อยกว่า72

Nolessthan72

48 72

* ให้นิสิตทุกคนเรียนรายวิชา ExperimentalDesign in FoodResearch (สถิติประยุกต์ส�าหรับการวิจัยเทคโนโลยีอาหาร)

โดยไม่นับหน่วยกิต

*EverystudentmusttakeExperimentalDesigninFoodResearch(ApplyStatisticforFoodTechnologyResearch-

ing),auditedcredit.

**สามารถเรียนหมวดวิชาเลือกเพิ่มเติมได้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษา

**Studentcantakeelectivesubjectdependingonconsiderationofadviser.

Page 13: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

117

C-117

รายวิชาในหลักสูตร

หมวดวิชาปรับพื้นฐานความรู้ทางเทคโนโลยีอาหาร

0803529 หลักการแปรรูปอาหารแบบบูรณาการ 3(2-2-5)

IntegratedFoodProcessing

0803531 จุลชีววิทยาอาหารแบบบูรณาการ 3(2-2-5)

IntegratedofFoodMicrobiology

0803541 เคมีอาหารประยุกต์ 3(2-2-5)

AppliedFoodChemistry

หมายเหตุ ระบบการให้คะแนนเป็นแบบSหรือU

ThescoringsystemisSorU.

หมวดวิชาบังคับ

ก�าหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

0803691 สัมมนา1 1(1-0-2)

Seminar1

0803692 สัมมนา2 1(1-0-2)

Seminar2

0803693 สัมมนา3 1(1-0-2)

Seminar3

0803694 สัมมนา4 1(1-0-2)

Seminar4

0803695 สัมมนา5 1(1-0-2)

Seminar5

0803696 สัมมนา 1(1-0-2)

Seminar6

หมายเหตุ ระบบการให้คะแนนเป็นแบบSหรือU

ThescoringsystemisSorU.

นิสิตที่เรียนตามแบบ2ก�าหนดให้นิสิตเรียนวิชา0803691

Seminar1และวิชา0803696seminar6และเลือกเรียนในวิชาต่อไปนี้

อีก6หน่วยกิตและ12หน่วยกิตส�าหรับนิสิตที่เรียนตามแบบ2.1และ2.2

ตามล�าดับ

StudentwhoenrollsasType2mustattendSeminar

1(0803691)andSeminar6(0803696)andanother6creditsfor

Type2.1and12creditsforType2.2fromthesefollowingsubjects;

0803504 สถานการณ์ปัจจุบันทางวิทยาศาสตร์ 3(3-0-6)

การอาหารและเทคโนโลยี

CurrentTopicsinFoodScienceandTechnology

0803521 กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

Advances in Food Processing

0803542 วิธีการวิเคราะห์อาหารโดยใช้เครื่องมือ 3(3-0-6)

InstrumentalMethodsofFoodAnalysis

0803543 ชีวเคมีทางอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

AdvancesinFoodBiochemistry

0803571 การวางแผนการทดลองในการวิจัยอาหาร 3(3-0-6

ExperimentalDesigninFoodResearch

หมวดวิชาเลือก

ให้นิสิตเลือกเรียนในรายวิชาต่างๆต่อไปนี้เป็นไปตามจ�านวน

หน่วยกิตในแผนการศึกษา โดยเลือกเรียนตามความเหมาะสมภายใต้การ

ดูแลของอาจารย์ท่ีปรึกษาโดยเลือกเรียนในจ�านวนหน่วยกิตตามแผนการ

ศึกษาจ�านวน6หน่วยกิตและ12หน่วยกิตส�าหรับนิสิตที่เรียนตามแบบ

2.1และ2.2ตามล�าดับรายวิชาเลือกมีดังต่อไปนี้

Studentcanchoosesubjectsas followtherequire-

mentswithconsiderationofappropriationundersupervisionof

advisor.Alistofselectivesubjects

การศึกษาผู้บริโภคด้านเทคโนโลยีอาหาร

0803514 วิธีการเชิงตัวเลขและแบบจ�าลอง 3(3-0-6)

ทางคณิตศาสตร์ในวิศวกรรมการแปรรูป

NumericalComputationandMathematical

ModelinginFoodProcessEngineering

0803532 จุลชีววิทยาอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

AdvancesinFoodMicrobiology

0803533 พิษวิทยาอาหาร 3(3-0-6)

FoodToxicology

0803544 เคมีกลิ่นรสและการประเมิน 3(2-2-5)

FlavorChemistryandEvaluation

0803545 เทคโนโลยีเอนไซม์ในอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

AdvancesinFoodEnzymeTechnology

0803546 โปรตีนในอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

Advances in Food Proteins

0803547 คาร์โบไฮเดรตในอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

AdvancesinFoodCarbohydrates

0803548 อาหารไขมันสูงขั้นสูง 3(3-0-6)

AdvancesinFoodLipids

0803551 ความก้าวหน้าทางด้านโภชนาการ 3(3-0-6)

Nutrition Advancement

0803552 อาหารฟังก์ชั่นและโภชนเภสัชภัณฑ์ 3(3-0-6)

Functional Foods and Nutraceutical

0803553 เวชโภชนบ�าบัด 3(3-0-6)

MedicalNutritionTherapy

0803572 การศึกษาผู้บริโภคด้านเทคโนโลยีอาหาร 3(3-0-6)

ConsumerStudyinFoodTechnology

Page 14: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

118

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-118

หมวดวิชาเลือก ระดับบัณฑิตศึกษาอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ

วิทยานิพนธ์โดยความเห็นชอบของภาควิชา

Otherselectivesubjectsundertakingmustbeapproved

by the Department

08035xx รายวิชาที่เปิดโดยภาควิชา x(x-x-x)

เทคโนโลยีการอาหารและโภชนศาสตร์

SubjectsofferedbytheDepartment

xxxxxxx รายวิชาที่เปิดโดยภาควิชาอื่นๆ x(x-x-x)

SubjectsofferedbytheDepartment

หมวดวิทยานิพนธ์

Thesis

แบบ 2.1

Type 2.1

0803697 วิทยานิพนธ์ 36หน่วยกิต

Thesis

แบบ 1.1 และ 2.2

Type 1.1 , 2.2

0803698 วิทยานิพนธ์ 48หน่วยกิต

Thesis

แบบ 1.2

Type 1.2

0803699 วิทยานิพนธ์ 72หน่วยกิต

Thesis

Page 15: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

119

C-119

คำาอธิบายรายวิชา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร (หลักสูตรนานาชาติ)

หมวดวิชาปรับพื้นฐานความรู้ทางเทคโนโลยีอาหาร

0803 529 หลักการแปรรูปอาหารแบบบูรณาการ 3(2-2-5)

Integrated Food Processing

หลักการแปรรูปอาหารที่ใช้เทคโนโลยีเบื้องต้นในระดับห้อง

ปฏิบัติการและระดับอุตสาหกรรมกระบวนการให้ความร้อนการแช่เยือก

แข็ง และกระบวนผลิตแบบปลอดเชื้อรวมไปถึงปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพ

ของผลิตภัณฑ์อาหาร ภาพรวมของเทคโนโลยีขั้นสูงและเทคโนโลยีใหม่ท่ี

ถูกพัฒนามาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

Principle of food processing in laboratory and in-

dustrialscales;thermalprocessing,freezing,asepticprocessing

andothers,includingthefactorsaffectingqualitiesofprocessed

foods,overviewofadvancedandnewtechnologyimprovedfood

manufacturing

0803 531 จุลชีววิทยาอาหารแบบบูรณาการ 3 (2-2-5)

Integrated Food Microbiology

สรีรวิทยาของจุลินทรีย์ในอาหารปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพล

ต่อการเจริญเติบโตและการอยู่รอดของเชื้อจุลินทรีย์ หลักการเสื่อมเสีย

ของอาหารด้วยจุลินทรีย์ จุลินทรีย์ที่ท�าให้อาหารเสื่อมเสียและรูปแบบการ

เสื่อมเสียของอาหารเนื่องจากจุลินทรีย์ โรคที่มากับอาหารปัจจัยของระบบ

การผลิตอาหารต่อจุลินทรีย์ที่ดีในอาหารและการถนอมอาหาร

Physiologyofmicroorganisminfoods,environment

factors that influencemicrobial growthand survival, Principle

ofspoilage,dominantmicroorganismsandspoilagepatternsof

foods,foodbornediseases,theeffectoffoodprocessingsystems

onthemicrofloraoffoodsandfoodpreservations

0803 541 เคมีอาหารประยุกต์ 3(2-2-5)

Applied Food Chemistry

ความก้าวหน้าในด้านเคมีอาหารในด้าน โปรตีนไขมันอิมัล

ซิไฟเออร์ สารต้านอนุมูลอิสระ ผลร่วมขององค์ประกอบอาหารในระดับ

โมเลกุลระดับเคมีและการวิเคราะห์องค์ประกอบของสารระเหยในอาหาร

การวเิคราะห์เชงิคณุภาพและเชงิปรมิาณล�าดบัส่วนของโปรตนีสตาร์ชและ

อนุพันธ์โพลีแซคคาไรด์ที่ไม่ใช่สตาร์ชส่วนประกอบของเส้นใยอาหารและ

ไขมันโดยใช้วิธีการขั้นสูง การวัดสารพิษจากเชื้อรา การวิเคราะห์วิตามิน

เทคนิคชั้นสูงในการแยกองค์ประกอบอาหาร

Advancesinfoodchemistry:proteins,lipids,emulsi-

fiers,antioxidants, interactionsof foodcomponentsatthemo-

lecularlevel,chemistryandanalysisofvolatilefoodcomponents;

qualitativeandquantitativeanalysis, fractionationofproteins,

starch and its derivatives, non-starch polysaccharides, dietary

fibreconstituentsandlipidsusingadvancedmethods;detection

andmeasurementofmycotoxins;analysisofselectedvitamins;

applicationofadvancedseparationtechniquestofoodcompo-

nents

หมวดวิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต)

0803 691 สัมมนา 1 1(1-0-2)

Seminar 1

การสัมมนาเกี่ยวกับวิธีการวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยีการอาหารที่เน้นการน�าเสนอและเทคนิควิธีการน�าเสนอ

Seminaronresearchmethodswithanemphasison

presentationandinstructionaltechniques

0803 692 สัมมนา 2 1(1-0-2)

Seminar 2

การน�าเสนอและอภปิรายงานวิจัยจากผลงานวิทยานพินธ์ของ

นิสิต

Proposedthesistopicresearchworkrelatedtostu-

dent’sthesis

0803 693 สัมมนา 3 1(1-0-2)

Seminar 3

การน�าเสนอและอภปิรายงานวิจัยจากผลงานวิทยานพินธ์ของ

นิสิต(อย่างน้อย20%)

Presentationanddiscussionofresearchworkrelated

tostudent’sthesis(atleast20%)

0803 694 สัมมนา 4 1(1-0-2)

Seminar 4

การน�าเสนอและอภปิรายงานวิจัยจากผลงานวิทยานพินธ์ของ

นิสิต(อย่างน้อย40%)

Presentationanddiscussionofresearchworkrelated

tostudent’sthesis(atleast40%)

0803 695 สัมมนา 5 1(1-0-2)

Seminar 5

การน�าเสนอและอภปิรายงานวิจัยจากผลงานวิทยานพินธ์ของ

นิสิต(อย่างน้อย60%)

Page 16: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

120

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-120

Presentationanddiscussionofresearchworkrelated

tostudent’sthesis(atleast60%)

0803 696 สัมมนา 6 1(1-0-2)

Seminar 6

การน�าเสนอและอภปิรายงานวจิยัจากผลงานวทิยานพินธ์ของ

นิสิต(อย่างน้อย80%)

Presentationanddiscussionofresearchworkrelated

tostudent’sthesis(atleast80%)

หมวดวิชาบังคับ

0803 504 สถานการณ์ปัจจุบันทาง 3(3-0-6)

วิทยาศาสตร์การอาหารและเทคโนโลยี

Current Topics in Food Science and Technology

การอภปิรายหวัข้อสถานการณ์ปัจจุบนัด้านสาขาวทิยา-ศาสตร์

การอาหาร

Discussion of current topics in food scienceand

technology

0803 521 กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

Advances in Food Processing

กระบวนการแปรรูปอาหารขั้นสูง การวิเคราะห์ความต้องการ

อุปกรณ์เครื่องมือและมูลค่าการลงทุน การผลิตสารอาหารและองค์

ประกอบของอาหารทีส่�าคญัโดยใช้เทคโนโลยขีัน้สงูในการออกแบบเพือ่เพิม่

ประสิทธิภาพ

Advanced foodprocessing, analysis of equipment

requirementsandcostcomparisons,productionoffoodproducts

usingadvancedtechnology,processmodelingandoptimization

0803 542 เครื่องมือในการวิเคราะห์อาหาร 3(3-0-6)

Instrumental Methods of Food Analysis

การวเิคราะห์อาหารโดยเทคนคิสเปกโตรโฟโตเมตรกิแคลอรี่

เมตริกโครมาโตกราฟิกนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์และอิเลกโทรโฟร์

ติกโดยเน้นการวิเคราะห์และแปรรูปผลข้อมูล

Analysis of food using spectrophotometric, calo-

rimetric, chromatographic, potentiometric, nuclear magnetic

resonance,andelectrophoreticmethodsofanalysisasappliedto

food.Emphasiswillbeplaceduponcorrelationandinterpretation

ofresults

0803 543 ชีวเคมีทางอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

Advances in Food Biochemistry

ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางเคมีของอาหารต่อ

คุณสมบัติเชิงชีวเคมีในร่างกายมนุษย์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม

และองค์ประกอบอาหารเชิงชีวภาพ ความปลอดภัยอาหารโภชนาการและ

การดัดแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อองค์ประกอบอาหารเช่นน�้าเอนไซม์

จากพืชและสัตว์ฮอร์โมนในอาหารฟังก์ชันสมุนไพรและอาหารเสริมต่างๆ

Relations between chemical composition of foods

andbiochemicalperspectiveincludingwateranditsrelationto

food, enzymesplant, animal, andhumanhormones functional

foods,herbs,anddietarysupplementsflavorcompoundsinfoods

organic acids interactionsbetween the environmentwithfood

componentsbiologicalandlipidoxidationinfoods,foodsafety,

nutritionandthegeneticmakeupofindividualfoodcomponents

0803 571 การวางแผนการทดลองในการวิจัยอาหาร 3(3-0-6)

Experimental Design in Food Research

ประเภทของการวจิยัวธิกีารวจิยัและขัน้ตอนการออกแบบการ

ทดลองที่ใช้เครื่องมือขั้นสูงในการเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์หาข้อมูล

จากการปฏิบัติการโดยการเขียนและการน�าเสนอ

Types of research, research methodology

andprocedure,experimentaldesign,researchtools,datacollec-

tionandadvancedstatisticsfordataanalysis,researchpracticum,

researchwritingandpresentation

หมวดวิชาเลือก

Selective subjects

0803 514 วิธีการเชิงตัวเลขและแบบจ�าลอง 3(3-0-6)

ทางคณิตศาสตร์ ในวิศวกรรมการแปรรูป

Numerical Method and Mathematical

Modeling in Food Process Engineering

การค�านวณและการสร้างแบบจ�าลองทางคณิตศาสตร ์

โดยวิ ธี เ ชิ งตั ง เลขในกระบวนการแปรรูปทางวิศวกรรมอาหาร

การเก็บข้อมูลทางวิศวกรรมการแปรรูป การค�านวณโดยใช้สูตรทาง

คณิตศาสตร์ การประเมินโดยใช้แบบจ�าลองสมการเชิงเส้นตรงและสมการ

อื่นและการประมาณค่า

Computationandmathematicalformulationforfood

process engineering data, model construction and model as-

sessment,linearregression,nonlinearregression,least-squares

regression and parameter estimation

0803 532 จุลชีววิทยาอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

Advances inFood Microbiology

ความสัมพันธ์ของจุลินทรีย ์และหน้าที่ของจุลินทรีย ์ใน

กระบวนการผลติและถนอมอาหารหลกัของสารต้านจลุนิทรย์ีจากธรรมชาติ

วิธีตั้งต้นและการใช้งานในวิธีการถนอมอาหารต่างๆ การตอบสนองของ

จุลินทรีย์เมื่อเกิดความเครียดและการเก็บตัวของเซลล์จุลินทรีย์ในอาหาร

เทคโนโลยกีารพฒันาเชือ้และกระบวนการทางพนัธุก์รรมการตรวจวเิคราะห์

ปริมาณจุลินทรีย์ในอย่างรวดเร็ว

Page 17: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

121

C-121

Relationshipofmicroorganismsandtheirfunction

infoodprocessingandfoodpreservation.Rolesofnaturalanti-

microbial,starterculturesandtheirapplicationsinvariousfood

preservationmethods.Microbialstressresponseandrecoverycell

infood.Currentdevelopmentsinstarterculturetechnologyand

itsgeneticprocessing.Quantitativeevaluationofmicroorganisms

infoodbymodernrapidtechniques

0803 533 พิษวิทยาอาหาร 3(3-0-6)

Food Toxicology

สาเหตุและการป้องกันการเกิดความเจ็บป่วยอันเนื่องจาก

จลุนิทรย์ีและพยาธิสารธรรมชาติและสารเคมใีนอาหารการประเมนิความ

เสี่ยงของสารพิษและจุลินทรีย์ก่อให้เกิดโรคที่พบบ่อยในอาหาร

Causesandpreventionofillnessesfrommicroorgan-

ismsandparasites,naturalsubstancesandchemicalsinfoods,

riskassessmentoftoxinsandpathogensoftenfoundinfoods

0803 544 เคมี กลิ่น รส และการประเมิน 3(2-3-6)

Flavor Chemistry and Evaluation

การวิเคราะห์กลิ่นและรสชาติของอาหารทางเคมีการออกแบบ

ของการประเมนิผลทางประสาทสมัผสัและวธิกีารศกึษาคณุภาพทางประสาท

สัมผัสของอาหาร

Analysisofflavorandtasteinfood,chemicalanalysis

andsensoryevaluation,designsofsensoryevaluationandmeth-

odsusedinstudyingsensoryqualityoffoods

0803 545 เทคโนโลยีเอนไซม์ในอาหาร 3(3-0-6)

Advances in Food Enzyme Technology

ความรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีของเอนไซม์ในอาหาร กิจกรรม

เอนไซม์ ศาสตร์ของเอนไซม์ การผลิตเอนไซม์จากเชื้อจุลินทรีย์ การแยก

และการท�าเอนไซม์ให้บรสิทุธิ์การตรงึเอนไซม์และการใช้เอนไซม์ในการผลติ

อาหารและสารอาหาร

Knowledge in food enzymology including enzyme

activities,enzymekinetics,microbialenzymeproduction,isola-

tionandpurificationofenzymes,immobilizationofenzymesand

utilizationofenzymeinfoodandnutrientproduction

0803 546 โปรตีนในอาหารขั้นสูง 3(3-0-6)

Advances in Food Proteins

โครงสร้างและหน้าทีข่องโปรตนีเทคนคิการแยกหน้าทีส่�าคญั

ของโปรตนีในอาหารการเปลีย่นแปลงของโปรตนีระหว่างการแปรรูปและการ

เก็บรักษา

Structuresandfunctionsofproteins,techniquesof

protein isolation, functionalpropertiesofproteins in food,and

their changes during processing and storage

0803 547 คาร์โบไฮเดรตในอาหาร 3(3-0-6)

Advances in Food Carbohydrates

การจัดกลุ่มโครงสร้าง ส่วนประกอบคุณสมบัติ ปฏิกิริยา

เคมีของคาร์โบไฮเดรตที่ใช้ในอาหารการดัดแปรคุณภาพโดยวิทยาการทาง

เทคโนโลยชีวีภาพและการวเิคราะห์สารในกลุม่คาร์โบไฮเดรตและหวัข้อทาง

เทคโนโลยีคาร์โบไฮเดรตที่ก�าลังเป็นที่สนใจในปัจจุบัน

Classification, structure, composition, properties,

reactions,usesinfood,biotechnologicalmodificationandanalysis

ofcarbohydratesandcurrenttopicsincarbohydratetechnology

0803 548 อาหารไขมันขั้นสูง 3(3-0-6)

Advances in Food Lipids

คุณสมบัติทางกายภาพชีวเคมี และคุณสมบัติเชิงหน้าที่ของ

ไขมันการเกิดออกซิเดชันอิมัลชันและการประยุกต์ใช้ไขมันเชิงสุขภาพ

Physical,chemicalandbiochemical,andfunctional

propertiesoflipids,emphasisisonlipidoxidation,emulsions,and

functionalfoodsassociatedwithlipids

0803 551 ความก้าวหน้าทางด้านโภชนาการ 3(3-0-6)

Nutrition Advancement

ความก้าวหน้าใหม่ ทางการประเมินคุณสมบัติทางโภชนาการ

ของอาหารและผลกระทบจากเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีต่อคุณภาพทาง

โภชนาการของอาหาร

Recentadvancesinnutritionalevaluationoffood,the

effectofmoderntechnologyonnutritionalqualityoffood

0803 552 อาหารฟังก์ชั่นและโภชนเภสัชภัณฑ์ 3(3-0-6)

Functional Foods and Nutraceutical

ผลทางชีวเคมีและสรีวิทยาของอาหารเฉพาะทางและโภชน

เภสัชภัณฑ์ รวมถึงบทบาทที่เป็นประโยชน์ต่อองค์ประกอบของสารอาหาร

แหล่งนวตกรรมอาหารและปัญหาการควบคุม

Biochemistryandphysiologicaleffectsoffunctional

foodcomponentsandnutraceuticalaswellastheirrolesasben-

eficial dietary components, sources for innovative foods and

regulatory problems

0803 553 เวชโภชนบ�าบัด 3(3-0-6)

Nutrition Therapy

การประยกุต์ใช้หลกัการทางโภชนาการในการพจิารณาก�าหนด

อาหารเพือ่การรกัษาโรคความผดิปกตทิางอนิทรย์ีหน้าทีแ่ละเมแทบอลซิมึ

Applicationofnutritionprinciplesinthedietarytreat-

mentofcertainorganic,functional,andmetabolicdiseases

0803 572 การศึกษาผู้บริโภคด้านเทคโนโลยีอาหาร 3(3-0-6)

Consumer Study in Food Technology

แนวคิดพื้นฐานและวีการในการตรวจสอบของผู้บริโภค ความต้องการ

Page 18: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

122

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-122

ของมนุษย์ ทัศนคติแรงจูงใจและการตัดใจ พฤติกรรมแนวคิดของเบื้อง

หลังของผู้บริโภคในหลายรูปแบบตัวแปรของพฤติกรรมผู้บริโภค เครื่อง

มือทางสถิติการวินิจและการคาดการณ์พื้นฐานความน่าเชื่อถือและความ

ถูกต้อง

Basic concepts and procedures for investigating

consumer’s,humanneeds,attitudes,motivation,decisionsand

behavior, the concept of theory behind consumers’ practice,

multivariatemodelsofconsumerbehavior, thestatistical tools

driving diagnostic and predictive modeling and the underlying

causalities,reliabilityandvalidityofthetheoreticalmodels

หมวดวิทยานิพนธ์

0803 697 Thesis 36 credits

การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการอาหารที่ทันสมัยตามค�า

แนะน�าของคณะกรรมการควบคมุวทิยานพินธ์และสามารถเผยแพร่ในระดบั

สากล

Advanced Food and Technology research project

undertheguidanceofadvisorycommittee,partoftheresearch

worksmustbeinternationallypresentable

0803 698 วิทยานิพนธ์ 48 credits

Thesis

โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงในสาขาวิชา

เทคโนโลยี การอาหาร ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยการเขียนผล

การวิจัยในรูปแบบวิทยานิพนธ์ได้รับ ค�าแนะน�าของคณะกรรมการควบคุม

วิทยานิพนธ์

Advisorycommittee,partoftheresearchworksmust

be internationally Advanced Food and Technology research

projectundertheguidanceofpresentable

0803 699 วิทยานิพนธ์ 72 credits

Thesis

โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงในสาขาวิชา

เทคโนโลยี การอาหาร ให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยการเขียนผล

การวิจัยในรูปแบบวิทยานิพนธ์ได้รับ ค�าแนะน�าของคณะกรรมการควบคุม

วิทยานิพนธ์

Advanced Food and Technology research project

undertheguidanceofadvisorycommittee,partoftheresearch

worksmustbeinternationallypresentable

Page 19: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

123

C-123

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร

ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Agricultural Technology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีการเกษตร)

(ชื่อย่อ) : ปร.ด. (เทคโนโลยีการเกษตร)

ภาษาอังกฤษ (ชื่อเต็ม) : Doctor of Philosophy (Agricultural Technology)

(ชื่อย่อ) : Ph.D. (Agricultural Technology)

หลักสูตร

แบบ 1

เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการท�าวิทยานิพนธ์เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ อาจก�าหนดให้มีการเรียนรายวิชาเพิ่มเติม

หรือท�ากิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ได้แต่จะต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามหลักสูตรที่ก�าหนดดังนี้

แบบ1.1ผู้เข้าศึกษาที่ส�าเร็จปริญญามหาบัณฑิตจะต้องท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า48หน่วยกิต

แบบ1.2ผู้เข้าศึกษาที่ส�าเร็จปริญญาบัณฑิตจะต้องท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า72

แบบ 2

เป็นแผนการศกึษาทีเ่น้นการวจิยัโดยมกีารท�าวทิยานพินธ์ทีม่คีณุภาพสงูทีก่่อให้เกดิความก้าวหน้าทางวชิาการและวชิาชพีและมี

การเรียนรายวิชาเพิ่มเติมดังนี้

แบบ2.1ผู้เข้าศึกษาที่ส�าเร็จปริญญามหาบัณฑิตจะต้องท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า36หน่วยกิตและศึกษารายวิชาอีกไม่น้อย

กว่า12หน่วยกิตโดยมีหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า54หน่วยกิต

แบบ2.2ผู้เข้าศึกษาที่ส�าเร็จปริญญาบัณฑิตจะต้องท�าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า48หน่วยกิตและศึกษารายวิชาอีกไม่น้อยกว่า

24หน่วยกิตโดยมีหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า78หน่วยกิต

ทั้งนี้วิทยานิพนธ์ตามแบบ2.1และแบบ2.2จะต้องมีคุณภาพและมาตรฐานระดับเดียวกัน

โครงสร้างหลักสูตร

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตรมีจ�านวนหน่วยกิตรวมดังนี้

หมวดวิชา หน่วยกิตแบบ 1.1* แบบ 1.2* แบบ 2.1 แบบ 2.2

1.หมวดวิชาพื้นฐาน - - 6 62.หมวดวิชาเฉพาะด้าน

-วิชาบังคับ

-วิชาเลือก

-

-

-

-

6

6

12

123.หมวดวิชาประสบการณ์วิจัย 48 72 36 48หน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 48 72 54 78

หมายเหตุ

แบบ1.1*และแบบ1.2*ก�าหนดให้เรียนวิชาสัมมนาเทคโนโลยีการเกษตร1,2,3แต่ไม่นับหน่วยกิต

Page 20: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

124

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-124

รายวิชาในหลักสูตร

หมวดวิชาพื้นฐาน 6หน่วยกิต

0801501 วิธีการทางสถิติส�าหรับการวิจัยทางการเกษตร 3(2-2-5)

Statistical Methods for Agricultural Research

0105506* ภาษาอังกฤษส�าหรับบัณฑิตศึกษา 2(1-2-3)

English for Graduate Studies

0105507 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการส�าหรับบัณฑิตศึกษา 2(1-2-3)

Academic English for Graduate Studies

1601508* ภาษาอังกฤษส�าหรับงานวิชาการ 2(1-2-3)

English for Academic Purposes

0801701 เทคนิคการวิจัยทางเทคโนโลยีการเกษตร 3(2-2-5)

Research Technique in Agricultural Technology

*แบบ 1 (แบบ 1.1, 1.2)และแบบ 2 ( แบบ 2.1, 2.2) เรียนใน

รายวิชา0105506รายวิชา0105507และรายวิชา1601508ทั้งนี้โดยไม่

นับหน่วยกิตและจะต้องได้ผลการเรียนระดับS(Satisfactory)

หมวดวิชาเฉพาะด้าน 24หน่วยกิต

วิชาบังคับ

แบบ2.1ก�าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า6หน่วยกิต

แบบ2.2ก�าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า12หน่วยกิต

เป็นวิชาบังคับที่นิสิตแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 จ�าเป็นต้องเรียน

ตามค�าแนะน�าของอาจารย์ที่ปรึกษา และสามารถเรียนในรายวิชาบังคับ

หรือวิชาเลือกอื่นๆตามดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษารวมแล้วไม่น้อยกว่า

6หน่วยกิตและ 12หน่วยกิตตามล�าดับส่วนวิชาสัมมนาทางเทคโนโลยี

การเกษตร1,2และ3ให้นิสิตทุกหลักสูตรลงเรียนยกเว้นหลักสูตรแบบ

1.1และแบบ1.2เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตจากรายวิชาดังต่อไปนี้

0801702 การประยุกต์ใช้สิ่งแวดล้อมของดินและน�้าส�าหรับพืช 3(3-0-6)

Environmental Application of Soil

and Water for Plants

0801703 ชีวเคมีพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Bio-Chemistry in Plants

0801704 การวิจัยทางการเกษตรขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Agricultural Research

0801791 สัมมนาทางเทคโนโลยีการเกษตร1 1(0-2-1)

AgriculturalTechnologySeminar1

0801792 สัมมนาทางเทคโนโลยีการเกษตร2 1(0-2-1)

AgriculturalTechnologySeminar2

0801793 สัมมนาทางเทคโนโลยีการเกษตร3 1(0-2-1)

AgriculturalTechnologySeminar3

วิชาเลือกก�าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 12หน่วยกิต

แบบ2.1ก�าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 6หน่วยกิต

แบบ2.2ก�าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 12หน่วยกิต

นิสิตสามารถเลือกเรียนในรายวิชาหลักเลือกของสาขาวิชา

เทคโนโลยีการเกษตร หรือให้เลือกเรียนรายวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา

ของภาควิชาอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ท่ีเปิดสอนในมหาวิทยาลัยมหาสารคามตาม

แนวทางท�าวิทยานิพนธ์และความสนใจของนิสิตภายใต้ดุลยพินิจอาจารย์ที่

ปรึกษาวิทยานิพนธ์ โดยเลือกเรียนหน่วยกิตตามแบบการศึกษาที่ก�าหนด

ไว้ในหลักสูตรทั้ง4แบบโดยมีวิชาต่าๆให้เลือกดังนี้

0801502 ชีวเคมีส�าหรับการผลิตพืช 2(2-0-4)

Biochemistry for Plant Production

0801503 วิเคราะห์ระบบทางการเกษตร 3(2-2-5)

Agricultural System Analysis

0801504 สรีรวิทยาพืชขั้นสูง 2(2-0-4)

Advanced Plant Physiology

0801511 เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช 3(2-2-5)

Biotechnology for Plant Breeding

0801512 การปรับปรุงพันธุ์พืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Plant Breeding

0801513 พันธุศาสตร์เชิงปริมาณ 3(2-2-5)

Quantitative Genetics

0801514 เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช 3(2-2-5)

Plant Breeding Techniques

0801515 พันธุศาสตร์ประชากรพืช 3(3-0-6)

Plant Population Genetics

0801516 การพัฒนาพันธุกรรมพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการผลิตพืช

Advanced Genetic Development

in Tissue Culture for Plant Production

0801521 การวิเคราะห์การเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช 3(2-2-5)

Plant Growth and Development Analysis

0801522 การปรับตัวของพืช 3(2-2-5)

Crop Adaptations

0801523 ธาตุอาหารพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Plant Nutrient

0801524 เทคโนโลยีการผลิตผักเศรษฐกิจขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Technology in Economic

Vegetable Productions

0801525 เทคโนโลยีการผลิตไม้ผลเศรษฐกิจขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Technology in Economic

Orchard Fruit Productions

0801526 เทคโนโลยีการผลิตไม้ดอก 3(2-2-5)

และไม้ประดับเศรษฐกิจขั้นสูง

Advanced Technology in Economic Floriculture

and Ornamental Plant Productions

Page 21: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

125

C-125

0801527 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 3(2-2-5)

และการใช้ประโยชน์

Plant Growth Regulators and Their Uses

0801531 สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Plant Post Harvest Physiology

0801532 การควบคุมคุณภาพผักและผลไม้ 3(2-2-5)

Vegetable and Fruit Quality Control

0801533 การควบคุมคุณภาพไม้ดอกและไม้ประดับ 3(2-2-5)

Floriculture and Ornamental Product Quality Control

0801534 เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ผลผลิตพืช 3(2-2-5)

Plant Product Packaging Technology

0801541 สรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์ 3(2-2-5)

Seed Physiology

0801542 การปรับปรุงสภาพและการควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ 3(2-2-5)

Seed Conditioning and Quality Control

0801551 การจัดการทรัพยากรดินน�้าและปุ๋ย 3(2-2-5)

Soil,WaterandFertilizerResourcesManagement

0801552 การวิเคราะห์ดินและพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Soil and Plant Analysis

0801553 ระบบเกษตรอินทรีย์ 3(3-0-6)

Organic Farming Systems

0801554 การจัดการดินเพื่อเกษตรอินทรีย์ 3(2-2-5)

Soil Management for Organic Farming

0801555 การผลิตพืชอินทรีย์ 3(2-2-5)

Organic Plant Production

0801556 การควบคุมคุณภาพผลผลิตพืชอินทรีย์ 3(2-2-5)

Quality Control on Organic Plant Products

0801557 จุลินทรีย์เพื่อการเกษตรธรรมชาติ 3(2-2-5)

Microbes for Natural Farming

0801558 เทคโนโลยีระดับนาโนและเทคโนโลยีชีวภาพ 3(3-0-6)

ของจุลินทรีย์ทางดิน

Nano Technology and Biotechnology

for Soil Microbes

0801561 เทคโนโลยีการผลิตปาล์มน�้ามัน 3(2-2-5)

Oil Palm Crop Production Technology

0801562 มวลชีวภาพทางการเกษตรเพื่อพลังงาน 3(2-2-5)

Agricultural Biomass for Energy

0801563 เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อการผลิตพืชพลังงาน 3(2-2-5)

Advanced Technology for Energy Crop Production

0801571 นิเวศวิทยาแมลง 3(2-2-5)

Insects Ecology

0801572 กีฏวิทยาอุตสาหกรรม 3(2-2-5)

Industrial Entomology

0801573 วิทยาโรคพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Plant Pathology

0801574 การวินิจฉัยโรคพืช 3(2-2-5)

Plant Disease Diagnosis

0801575 พืชต้านทานต่อโรคและแมลง 3(2-2-5)

Plant Resistance to Disease and Insect Pests

0801576 พิษวิทยาของสารฆ่าศัตรูพืช 3(2-2-5)

Toxicology of Pesticides

0801577 การจัดการศัตรูพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Pests Management

0801578 การประยุกต์ด้านอารักขาพืช 3(2-2-5)

Application of Plant Protection

0801581 การประยุกต์ใช้ระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ 3(2-2-5)

เพื่อการจัดการทรัพยากร

Application of Geographic Information

System for Resources Management

0801582 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการเกษตร 3(2-2-5)

Decision Support Systems in Agriculture

0801711 เทคโนโลยีขั้นสูงในการส่งถ่ายยีนในพืช 3(2-2-5)

Advanced Technology in Gene Transfer in Plants

0801721 สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช 3(2-2-5)

Physiology of Plant Growth and Development

0801722 กระบวนการสร้างและสลายพืช 3(3-0-6)

Plant Metabolism

0801731 วิทยาหลังการเก็บเกี่ยวขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Post Harvest

0801732 เทคโนโลยีการควบคุมคุณภาพผลผลิตพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advance Plant Product Quality Control

0801741 ชีวเคมีเมล็ดพันธุ์ 3(2-2-5)

Seed Biochemistry

0801742 เทคโนโลยีสรีรวิทยาของเมล็ดพันธุ์ 3(2-2-5)

และการควบคุมคุณภาพ

Physiological Seed Technology

and Quality Control

0801751 ความอุดมสมบูรณ์ของดินขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Soil Fertility

0801752 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีจุลินทรีย์ทางการเกษตร 3(3-0-6)

Application of Microorganism

Technology for Agriculture

0801781 เทคโนโลยีสะอาดทางการเกษตร 3(3-0-6)

Clean Technology for Agriculture

0801782 การวางแผนและการจัดการโครงการทางการเกษตรขั้นสูง3(3-0-6)

Advanced Planning and Management

in Agricultural Projects

0801783 หัวข้อเรื่องปัจจุบันด้านเทคโนโลยีการเกษตร 1(1-0-2)

Current Topics in Agricultural Technology

Page 22: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

126

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-126

สามารถเลอืกเรยีนรายวชิาในระดบับณัฑติศกึษาของภาควชิาอืน่ๆที่

เกีย่วข้องทีเ่ปิดสอนในมหาวทิยาลยัมหาสารคามตามแนวทางท�าวทิยานพินธ์

และความสนใจของนิสิตภายใต้ดุลยพินิจอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

หมวดวิชาประสบการณ์วิจัย

แผนการเรียนทั้ง4แผนมีรายวิชาในหมวดวิชาประสบการณ์วิจัย

เรียนร่วมกันดังนี้

แบบ1.1และ2.2

0801891 วิทยานิพนธ์

ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต

Thesis

แบบ1.2

0801892 วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า72หน่วยกิต

Thesis

แบบ2.1

0801893 วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า36หน่วยกิต

Thesis

Page 23: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

127

C-127

คำาอธิบายรายวิชา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555)

หมวดวิชาพื้นฐาน 6หน่วยกิต

0105 506 ภาษาอังกฤษส�าหรับบัณฑิตศึกษา 2(1-2-3)

English for Graduate Studies

ศพัท์โครงสร้างภาษาองักฤษทีจ่�าเป็นต่อการพดูเพือ่การสือ่สาร

ในบริบทที่เป็นทางการและวิชาการรูปแบบองค์ประกอบเทคนิคการอ่าน

เขียนเรื่องและย่อหน้าของงานเขียนทางวิชาการและการอ่านบทความและ

งานเขียนทางวิชาการเฉพาะด้าน

English vocabulary and basis structure necessary

forcommunicationinofficialandacademiccontexts,patterns,

components,readingtechniques,paragraphreadingandwriting,

readingandwritingforspecificpurposes

0105 507 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการส�าหรับบัณฑิตศึกษา 2(1-2-3)

Academic English for Graduate Studies

ศัพท์และโครงสร้างของการเขียนเชิงวิชาการถอดความสรุป

ความและอ้างอิง ลีลาประเภทและรูปแบบของการเขียนทางวิชาการพื้น

ฐานการเขียนรายงานทางวิชาการในบริบทของสหวิทยาการ

Academicvocabularyandwritingstructure:para-

phrasing,summarizing,andciting;styles,genres,andconven-

tions of academicwriting ; fundamentals of academic report

writing within an interdisciplinary context

0801 501 วิธีการทางสถิติส�าหรับการวิจัยทางการเกษตร 3(2-2-5)

Statistical Methods for Agricultural Research

หลักการและกระบวนการวางแผนการทดลอง แผนการ

ทดลองทีน่ยิมใช้ส�าหรบัการทดลองทีม่หีนึง่ปัจจยัสองปัจจยัสามปัจจยัหรอื

มากกว่าวธีิการเปรียบเทยีบค่าเฉลีย่สองค่าและกลุม่และการวเิคราะห์ความ

แปรปรวนเทคนคิทีน่ยิมใช้ในการวเิคราะห์ข้อมลูทางการเกษตรได้แก่การ

ท�ารีเกรซชัน่สหสมัพนัธ์โควาเรยีนซ์และไคสแควร์และการวเิคราะห์ข้อมลู

จากการทดลองหลายงานทดลอง

Principles and methods to be used in the laying out

oftheexperimentaldesign;popularexperimentaldesignsbeing

usedwithone,two,threefactorsormore;methodtobeusedin

comparingapairandgroupsandanalysisofvariance;techniques

foruseinvariousstatisticalcalculationssuchasregression,cor-

relation,co-varianceandChi-square;andanalysisofdatafroma

series of experiment

0801 701 เทคนิคการวิจัยทางเทคโนโลยีการเกษตร 3(2-2-5)

Research Techniques in Agricultural technology

ความส�าคญัของการวิจัยเทคนคิการทดลองเครือ่งมอืท่ีใช้ใน

การท�าวิจัยทางการเกษตรจรรยาบรรณการวิจัย

importanceoftheresearch,experimentaltechniques,

instrumentsinagriculturalresearch,researchethics

1601 508 ภาษาอังกฤษส�าหรับงานวิชาการ 2(1-2-3)

English for Academic Purposes

ลักษณะรูปแบบของการเขียนทางวิชาการหลักการอ่านและ

เขยีนเชงิวเิคราะห์และวจิารณ์และหลกัการเสนอผลงานทางวชิาการและการ

ตีพิมพ์

Academicwritingformats;advancedanalyticaland

criticalreadingandwritingtechniques;andacademicpresenta-

tion and publication

หมวดวิชาเฉพาะด้าน 24หน่วยกิต

วิชาบังคับ

แบบ2.1ก�าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 6หน่วยกิต

แบบ2.2ก�าหนดให้เรียน 12หน่วยกิต

0801 702 การประยุกต์ใช้สิ่งแวดล้อมของดิน และน�้าส�าหรับพืช 3(3-0-6)

Environmental Application of Soil

and Water for Plants

หลกัเกีย่วกบัดนิและน�า้ระบบดนิพชืและบรรยากาศบทบาท

และความส�าคญัของคณุสมบตัขิองดนิในการจดัการตามความเหมาะสมของ

ดนิและจดุประสงค์การใช้ทีด่นิภายใต้ระบบชลประทานและน�า้ฝนธรรมชาติ

ความสมัพนัธ์ระหว่างดนิหรอืวสัดปุลกูน�า้และพชืทีม่ต่ีอการเจรญิเตบิโตและ

ผลผลิตของพืชกระบวนการเคลื่อนย้ายธาตุอาหารและน�้าในดินและกลไก

การส่งผ่านภายในต้นพืชการปรับตัวของพืชในสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม

Principlesofsoilandwater,soil,plantandatmosphere

systems,rolesandsignificanceofsoilpropertiesinsoilmanage-

ment according to land suitability principles and objectives of land

useunderirrigationandrainfedsystems,relationshipsbetween

soil,waterandplantthataffectgrowthandyieldtoplant,transport

ofnutrientsandwaterinsoil,mechanismofwatertranslocation

in plant adaptation of plant responses to various environments

Page 24: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

128

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-128

0801 703 ชีวเคมีพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Bio-Chemistry in Plants

ส่วนประกอบของเซลล์พืช การใช้หลักการทางชีวเคมีในการ

ศึกษาวถิเีมทาบอลซึิมทีส่�าคญัในการสร้างและการใช้พลงังานและผลติภณัฑ์

ของพชืศกึษาเคมขีองคาร์โบไฮเดรตลปิิดกรดอะมโินโปรตนีเอนไซม์และ

กรดนิวคลีอิกในพืชศึกษาชีวเคมีของฮอร์โมนพืชและการประยุกต์ใช้

Plantcellscompositionanditsfunction,metabolism

inplantsandtheuseofenergyforgrowth,derivedproductsof

eachinternalprocesseinplants,chemicalpropertyofcarbohy-

drates, lipids, amino acids, proteins, enzymes, nucleic acids,

hormones and its applications

0801 704 การวิจัยทางการเกษตรขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Agricultural Research

แผนการทดลองส�าหรบัการทดลองหนึง่ปัจจยัสองปัจจยัและ

สามหรือมากกว่าสามปัจจัยกระบวนการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกรรมวิธี

โดยLSD,DMRT, และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มเทคนิคทางสถิติส�าหรับ

การวเิคราะห์ข้อมลูในงานวจิยัทางการเกษตรได้แก่การถดถอย,สหสมัพนัธ์,

การวเิคราะห์ความแปรปรวนร่วมและไคสแควร์เทคนคิการทดลองในไร่นา

ทีม่ปัีจจยัหลายอย่างทีต้่องน�ามาพจิารณาอาทิความไม่สม�า่เสมอของดินการ

แข่งขันแก่งแย่งระหว่างพืชความคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับเครื่องจักร

The experimental designs for single – factor, two–

factorandthree–or–more–factorexperiments,comparingspecific

treatmentmeans:LSDandDMRTformultiplecomparisons.The

three most commonly used statistical techniques for data analysis

in agricultural research besides the analysis of variance such

asregressionandcorrelation,covariance,andchi-square.The

most important problems commonly encountered in conducting

fieldexperimentsandthecorrespondingtechniquessuchassoil

heterogeneity,competitioneffectsandmechanicalerrors

0801 791 สัมมนาทางเทคโนโลยีการเกษตร 1 1(0-2-1)

Agricultural Technology Seminar 1

การน�าเสนอผลงานการตรวจเอกสารและอภิปรายผลงานวจัิย

ทีเ่กีย่วข้องกับการวจิยัทางเทคโนโลยกีารเกษตรทีส่�าคญัและรบัความสนใจ

ในระดับสากล

Presentations on literature reviews and discussion

research with an emphasis on the research topics related to

agricultural technology with gobal hot issues

0801 792 สัมมนาทางเทคโนโลยีการเกษตร 2 1(0-2-1)

Agricultural Technology Seminar 2

การน�าเสนอผลงานตรวจเอกสาร และอภิปรายผลในหัวข้อ

วิจัยที่เกี่ยวข้องกับวิทยานิพนธ์

Presentations,literaturereviewsandresultdiscussion

with an emphasis on thesis

0801 793 สัมมนาทางเทคโนโลยีการเกษตร 3 1(0-2-1)

Agricultural Technology Seminar 3

การน�าเสนอผลงานและอภิปรายผลในหัวข้อวิจัยที่เกี่ยวข้อง

กับวิทยานิพนธ์โดยผนวกรวมกับผลการวิจัยบางส่วนของวิทยานิพนธ์

Presentations and result discussion with an emphasis

on thesis and some parts of reseach of thesis

หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า12หน่วยกิต

แบบ2.1ก�าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 6หน่วยกิต

แบบ2.2ก�าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 12หน่วยกิต

0801 502 ชีวเคมีส�าหรับการผลิตพืช 2(2-0-4)

Biochemistry for Plant Production

คาร์โบไฮเดรตโปรตีนไขมันและเมแทโบลิซึมของพืชความ

สมดุลของไอออนในพืช และกระบวนการทางชีวเคมีเกี่ยวกับการเสื่อมแก่

ของพืช

Carbohydrates,proteins,fatsandplantmetabolism,

ionsbalanceinplants,andbiochemicalprocessesonplantaging

and senescence

0801 503 วิเคราะห์ระบบทางการเกษตร 3(2-2-5)

Agricultural System Analysis

ระบบการเกษตรองค์ประกอบของระบบและคุณสมบัติของ

ระบบระบบนเิวศน์เกษตรและการวเิคราะห์ระบบนเิวศน์เกษตรวธิกีารศกึษา

สภาวะชนบทและการวิเคราะห์ระบบการผลิตของเกษตรปัญหาและสภาพ

ระบบเกษตรแบบยั่งยืนในประเทศไทยการวิเคราะห์พื้นที่เพื่อการวางแผน

พัฒนาการเกษตรและการจัดท�าแผนยุทธศาสตร์การเกษตรแบบยั่งยืน

Agriculturalsystems,componentsandcharacteristics

of the system,Agro-ecological aspects andanalysis onAgro-

ecologicalsystem,approachesforuseinruralstudyandanalysis

onsystemagriculturalproduction,problemsandconditionson

sustainable agriculture inThailand, location analysis for agri-

cultural development plans and management of strategies for

sustainable agriculture

0801 504 สรีรวิทยาพืชขั้นสูง 2(2-0-4)

Advanced Plant Physiology

โครงสร้างและบทบาทของเมมเบรนจลนศ์าสตร์การเคลื่อนที่

ของน�้า ความสัมพันธ์ระหว่างธาตุอาหาร ชีวโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับการ

สังเคราะห์ด้วยแสงสรีรวิทยากับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชระบบ

การป้องกันตัวของพืชการตอบสนองต่อสภาวะเครียด

Page 25: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

129

C-129

Structureandroleofplantmembrane,kineticenergy

being established from themovement ofwater, relationships

amongplantnutrients,bio-moleculesbeingusedinphotosynthe-

sisprocesses,physiologicalaspectsonplantgrowthregulators,

defendingmechanismsinplants,responsesofplantsunderstress

conditions

0801 511 เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช 3(2-2-5)

Biotechnology for Plant Breeding

เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช การเพาะเลี้ยง

เกสรตัวผู้และรังไข่ในสภาพปลอดเชื้อ การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยใช้เทคนิค

การแยกและการผสมองค์ประกอบของเซลล์การกระตุ้นให้เกิดลักษณะผ่า

เหล่าเครื่องหมายโมเลกุลการค้นหาและระบุต�าแหน่งยีนด้วยเครื่องหมาย

โมเลกุลการใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการช่วยคัดเลือกพันธุ์ การประยุกต์

ใช้เทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรมเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช

Biotechnologyforplantbreedingprogram,anthercul-

tureandovaryunderfreediseasesconditions,breedingtechnique

withtheuseofseparatecellsandcellcomponents,techniquein

motivatingmutation,molecularmarkers,genetaggingandQTL

mapping,markerassistedselection,theapplieduseofgenetic

engineering for plant breeding program

0801 512 การปรับปรุงพันธุ์พืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Plant Breeding

พันธุศาสตร์กับการปรับปรุงพันธุ์พืช วิธีการทางสถิติกับการ

ปรับปรุงพันธุ์พืชทฤษฎี วิธีการปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเองพืชผสมข้าม

การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยวิธีชักน�าให้เกิดการกลายพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์

พืชเพื่อให้ต้านทานโรคแมลงและทนทานต่อสภาพแวดล้อมพันธุศาสตร์

ปริมาณกับการปรับปรุงพันธุ์พืช เซลล์พันธุศาสตร์กับการปรับปรุงพันธุ์พืช

การใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์พืช

Plantgeneticsforplantbreeding,statisticalmethod

forplantbreeding,theoryandtechniquesforsettingandcrossing

pollinatedcrops,mutationbreedingcytogenticforpestsresistant

and environmental tolerance, quantitative genetics for plant

breeding,geneticplantbreeding,biotechnologyinplantbreeding

0801 513 พันธุศาสตร์เชิงปริมาณ 3(2-2-5)

Quantitative Genetics

การวางแผนและการประยุกต์ใช้วิชาสถิติในการปรับปรุง

ลักษณะเชิงปริมาณของพืช

Planning and statistics application for facilitate im-

provement in quantitative traits of cultivated plants

0801 514 เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช 3(2-2-5)

Plant Breeding Techniques

แหล่งพันธุกรรมพืช เทคนิคการเก็บตัวอย่างพืช เทคนิค

การผสมพันธุ์พืช การประยุกต์ใช้เครื่องมือและวิธีการต่างๆ ในการผสม

พันธุ์พืช

Plant genetic resources, collection and crossing

techniques,toolsandequipmentforuseincrossing,appropriate

techniques for crossing practices

0801 515 พันธุศาสตร์ประชากรพืช 3(3-0-6)

Plant Population Genetics

โครงสร้างทางพันธุกรรมของประชากร การเปลี่ยนแปลง

ความถี่ของยีนและจีโนไทป์ลักษณะเชิงปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุง

พันธุ ์พืช อัตราพันธุกรรมและการประเมิน อัตราซ�้าและการประเมิน

การวิเคราะห์สัมประสิทธ์ิ การวัดความสัมพันธ์ทางเครือญาติ ระบบการ

ผสมพันธุ์

Population genetic structure of plant, changes of

geneandgenotypes,quantitativecharactersinrelationtoplant

breeding,heritabilityanditsestimation,breedingprogram,re-

peatabilityanditsestimation,coefficientanalysis,measurement

ofconsanguinity,matingsystems

0801 516 การพัฒนาพันธุกรรมพืชขั้นสูงในการเพาะเลี้ยง 3(2-2-5)

เนื้อเยื่อเพื่อการผลิตพืช

Advanced Genetic Development

in Tissue Culture for Plant Production

การเพาะเลี้ยงเซลล์สืบพันธุ์ของพืชเพื่อสร้างต้นพืชแฮพลอย

ด์ การกระตุ้นให้เกิดการกลายพันธุ์ในสภาพหลอดทดลองการช่วยชีวิต

เอ็มบริโอของพืชลูกผสมท่ีเกิดจากการผสมข้ามชนิดการผสมรวมกันของ

โปรโตพลาสต์ ความผันแปรทางพันธุกรรมจากการเพาะเลี้ยงเซลล์ร่างกาย

การถ่ายฝากสารพนัธุกรรมสูเ่ซลล์พชืในสภาพหลอดทดลองเทคโนโลยีการ

ตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรมพืช

Plant tissue culture for the establishment of haploid

(a set of unpaired chromosomes), in vitro induction onplant

mutation,aidsfortheembryorecueofoff-springsderivedfrom

interspecifichybridization,techniquesuseintheprocessofpro-

toplastfusion,somaclonalvariationingenesderivedfromtissue

culture, transplantingplantgene intoplant cell under in vitro

conditions, technologies in identifyinggenetic characteristics

in plants

Page 26: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

130

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-130

0801 521 การวิเคราะห์การเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช 3(2-2-5)

Plant Growth and Development Analysis

การเจริญเติบโตและระยะพัฒนาการของพืชวิธีการวิเคราะห์

การเจริญเติบโตพัฒนาการของพืชองค์ประกอบของผลผลิตและข้อมูลที่

เกี่ยวข้อง

Plantgrowthanddevelopmentstage,techniquesfor

plantgrowthanddevelopmentanalysis,cropyieldcomponents,

and other related information

0801 522 การปรับตัวของพืช 3(2-2-5)

Crop Adaptations

ถิ่นก�าเนิดของพืชเศรษฐกิจการปรับตัวของพืชตามสภาพภูมิ

อากาศต่างๆของโลกสภาวะความเครียดของพืชปัจจัยที่มีผลต่อการปรับ

ตัวของพืชการปรับตัวของพืชต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม

Originsofeconomiccrops,cropadaptationsunder

differentenvironmentalconditions,cropplantresponsesunder

stressconditions,factorsaffectingcropadaptation,adaptation

of crop plants under unfavorable conditions

0801 523 ธาตุอาหารพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Plant Nutrition

วฏัจกัรของธาตอุาหารการเคลือ่นย้ายและดดูซมึธาตอุาหารใน

พืชบทบาทของธาตอุาหารแต่ละชนดิการแข่งขนัและการส่งเสรมิซึง่กนัและ

กันของไอออนความสัมพันธ์ระหว่างพืชธาตุอาหารการเจริญเติบโตและ

การสะสมในพืช

Plantnutrition cycle, translocation andabsorption

of nutrients inplant, role of plant nutrition, competitions and

promotionof ion,relationshipamongplants,nutrition,growth,

and accumulation in plant

0801 524 เทคโนโลยีการผลิตผักเศรษฐกิจขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Technology in Economic

Vegetable Productions

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตผักเศรษฐกิจในรูปแบบ

ต่างๆเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพและระบบตลาดผัก

An application of various formula technologies in

producing economic vegetables in order to increase the product

quality and marketing systems

0801 525 เทคโนโลยีการผลิตไม้ผลเศรษฐกิจขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Technology in Economic

Orchard Fruit Productions

เทคโนโลยีการผลิตไม้ผลเศรษฐกิจระบบสวนไม้ผลการจัด

การทรงพุ่มการปฏิบัติดูแล เพื่อเพิ่มและพัฒนาการผลิตสถานการณ์การ

ผลิตและการตลาดไม้ผลเศรษฐกิจ

Technologiesinproducingeconomicfruits,system

beingoperatedfororchardfarms,bushymanagement,cultural

practicesinimprovinganddevelopingtheproduction,situation

trends and marketing system of the economic fruits

0801 526 เทคโนโลยีการผลิตไม้ดอก 3(2-2-5)

และไม้ประดับเศรษฐกิจขั้นสูง

Advanced Technology in Economic

Floriculture and Ornamental PlantProductions

ความรู้ขั้นสูงด้านสรีรวิทยาพืชกระบวนการของชีวเคมี และ

เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการ ผลิตไม้ดอกไม้ประดับที่ส�าคัญทางเศรษฐกิจ

นวัตกรรมการผลติไม้ดอกไม้ประดบัภายใต้สภาวะควบคมุระบบการตลาด

และการควบคุมคุณภาพผลผลิต

Advancedprinciplesofplantphysiology,biochem-

istry and biotechnology for the production of the important

economicfloriculturalandornamentalplants,innovativeconcepts

inproducingfloriculturalandornamentalplantsundercontrolled

condition,marketingsystemandqualitycontroloftheproducts

0801 527 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 3(2-2-5)

และการใช้ประโยชน์

Plant Growth Regulators and Their Uses

หลักการ กลไกการท�างาน การแสดงผล เทคนิคและการ

ประยุกต์ใช้ในการผลิตพืช

Principles,mechanism,effects,techniquesandap-

plication for crop production

0801 531 สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Plant Post Harvest Physiology

กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาผลกระทบของ

สรีรวิทยาที่มีต่อคุณภาพผลผลิตและการควบคุมการเปลี่ยนแปลงทาง

สรรีวทิยาหลงัการเกบ็เกีย่วและบทบาทของการเปลีย่นแปลงทางพนัธกุรรม

ที่มีต่อสรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยว

Physiologicalchanges,effectofphysiologyonqual-

ityofproductsandcontrolofpostharvestchanges,androleof

genetic changes on post harvest physiology

0801 532 การควบคุมคุณภาพผักและผลไม้ 3(2-2-5)

Vegetable and Fruit Quality Control

มาตรฐานและคณุภาพในการส่งออกผกัและผลไม้หลงัการเกบ็

เกี่ยวการควบคุมคุณภาพและการยืดอายุการเก็บรักษาด้วยวิทยาการสมัย

ใหม่

Standard and quality of post harvest vegetables and

fruits for export, quality control and extending storage life of

products by modern technologies

Page 27: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

131

C-131

0801 533 การควบคุมคุณภาพไม้ดอกและไม้ประดับ 3(2-2-5)

Floriculture and Ornamental Product Quality Control

คุณภาพและมาตรฐานในการส่งออกไม้ดอกและไม้ประดับ

หลังการเก็บเกี่ยว การควบคุมคุณภาพและการยืดอายุการเก็บรักษาด้วย

วิทยาการสมัยใหม่

Qualityandstandardoffloriculturalandpostharvest

ornamentalproducts for export, quality control andextending

storage life by modern technologies

0801 534 เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ผลผลิตพืช 3(2-2-5)

Plant Product Packaging Technology

ผลของบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพผลผลิตพืชการเลือก การ

ออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ส�าหรับผักผลไม้ไม้ดอกไม้ประดับและ

เมล็ดพันธุ์

Effect of packaging on quality of plant products,

selection,design,anddevelopmentofpackagingforvegetables,

fruits,flowers,ornamentalplantsandseeds

0801 541 สรีรวิทยาเมล็ดพันธุ์ 3(2-2-5)

Seed Physiology

การก�าเนิดเมล็ด กระบวนการที่ควบคุมและพัฒนาการ

ของเมล็ด กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการล�าเลียงและสะสมอาหาร

ในเมล็ดการสุกแก่ทางสรีระวิทยาของเมล็ดพันธุ์การเสื่อมสภาพทางสรีระ

วิทยาของเมล็ดพันธุ์ การปรับปรุงการเสื่อมสภาพทางสรีระวิทยาของเมล็ด

พันธุ์

The forming of seeds, processes in control seed

development,photosynthesisandtranslocationofassimilatesto

seeds,physiologicalmaturityofseeds,physiologicaldeterioration

inseeds,improvementofseeddeterioration

0801 542 การปรับปรุงสภาพและการควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ 3(2-2-5)

Seed Conditioning and Quality Control

หลกัการและวธิกีารควบคมุคณุภาพเมลด็พนัธุใ์นระหว่างการ

พัฒนาการเมล็ดการเก็บเกี่ยวการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ภายหลังการ

เก็บเกี่ยวโดยการชะลอการเสื่อมสภาพของเมล็ดพันธุ์ และการซ่อมแซม

เมล็ดที่เสื่อมสภาพแล้วให้มีคุณภาพสูงขึ้น

Principles and seed quality control methods during

seeddevelopment, harvesting, seedprocessing todelay seed

deterioration and repairing for high quality

0801 551 การจัดการทรัพยากรดิน น�้า และปุ๋ย 3(2-2-5)

Soil, Water and Fertilizer Resources Management

ความสัมพันธ์ของดิน น�้า และธาตุอาหารพืชทั้งในรูปของ

สารละลายของแร่ธาตุต่างๆและอินทรียวัตถุ การวิเคราะห์สารอนินทรีย์/

อินทรีย์ และวัตถุอื่นๆ ท่ีละลายในดินการสงวนน�้าและการเคลื่อนย้ายน�้า

ในดินการจัดการทรัพยากรดินน�้าและปุ๋ยต่อพืชและจุลินทรีย์ในดินการ

ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อการจัดการทรัพยากรดินและน�้าในด้านการท�าการ

เกษตรกรรมแบบแม่นย�า

Soil,waterandplantnutrientrelationships,different

formsofsoilnutrientsolutions,organicmatter,analysisoninor-

ganic and organic materials and others those dissolved in water

insoils,waterconservationandwatermovementinsoils;soil,

waterandfertilizerresourcesmanagements,theuseofsatellite

information(photographs)forsoilandwatermanagementunder

an intensive agricultural practices

0801 552 การวิเคราะห์ดินและพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Soil and Plant Analysis

ทฤษฎแีละการประยกุต์ใช้เครือ่งมอืชัน้สงูในการวเิคราะห์ทาง

เคมีเพื่อใช้ในการวิจัยและวิเคราะห์ในระบบของดินและพืชที่ซับซ้อน

Theory and the applied use of sophisticated equip-

mentforsoilandplantchemicalanalysis,particularlyforusein

research investigation where the complicated uses of equipment

must be orientated

0801 553 ระบบเกษตรอินทรีย์ 3(3-0-6)

Organic Farming Systems

องค์ประกอบและคณุสมบตัขิองระบบการเกษตรอนิทรย์ีการ

เปรยีบเทยีบระบบการผลติแบบอนิทรย์ีและแบบเคมีการวางแผนเพือ่พฒันา

ระบบการเกษตรอินทรีย์แบบยั่งยืน

Components and properties of organic farming sys-

tems,comparativeprofitsbetweenorganicfarmingandchemical

farming,plansfordevelopmentonsustainableorganicfarming

systems

0801 554 การจัดการดินเพื่อเกษตรอินทรีย์ 3(2-2-5)

Soil Management for Organic Farming

ความส�าคัญและบทบาทของอินทรียวัตถุ กระบวนการย่อย

สลายอนิทรยีวตัถุการวเิคราะห์อนิทรยีวตัถุการจดัการดนิด้วยอนิทรยีวตัถุ

การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพเพื่อการผลิตพืชบริโภค

Importanceandroleoforganicmaters,decomposition

processes of organic maters organic maters analysis soil man-

agementbyorganicmeters,theuseofbio-organicfertilizersfor

plant production

Page 28: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

132

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-132

0801 555 การผลิตพืชอินทรีย์ 3(2-2-5)

Organic Plant Production

เ ทค นิคก า รผลิ ตพื ช เ ศ รษฐกิ จอิ นทรี ย ์ คุณภาพสู ง

การคัดเลือกพันธุ์ การจัดการดินน�้า และปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มผลผลิตและ

คุณภาพในการบริโภค

Plant organic production techniques for high qual-

ity,methodsselectedcultivarssoil,waterandorganicfertilizer

management for high products and eating quality

0801 556 การควบคุมคุณภาพผลผลิตพืชอินทรีย์ 3(2-2-5)

Quality Control on Organic Plant Products

เทคนิคความรู้ในการตรวจสอบคุณภาพของผลผลิตพืชอินทรีย์

Techniques being used for production inspection of

organicplantproducts,knowledgetechniquesininspectionof

quality control on organic plant products

0801 557 จุลินทรีย์เพื่อการเกษตรธรรมชาติ 3(2-2-5)

Microbes for Natural Farming

แนวคิดและทฤษฎีเกษตรธรรมชาติการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์

ท้องถิ่น เทคนิคการผลิตพืชในระบบเกษตรธรรมชาติโดยอาศัยจุลินทรีย์

บทบาทของจุลินทรีย์ รวมทั้งการป้องกันก�าจัดศัตรูพืชโดยชีววิธีที่อาศัย

จุลินทรีย์

Conceptsandtheoryonnaturefarming,theuseof

localmicrobe species, technique inproducingnature farming

cropswiththeuseofmicrobes,rolesofmicroorganismsincluding

the use of microorganisms against diseases and insect pests

0801 558 เทคโนโลยีระดับนาโน 3(3-0-6)

และเทคโนโลยีชีวภาพของจุลินทรีย์ทางดิน

Nano Technology and Biotechnology

for Soil Microbes

สมบัติทางชีววิทยาของดิน จุลินทรีย์ดินกับการสลายอินทรีย์

วัตถุและธาตุอาหารพืช กิจกรรมของจุลินทรีย์ดินต่อความอุดมสมบูรณ์

ของดินกิจกรรมทางจุลินทรีย์ชนิดแอนนาโรบิกการคาดคะเนกิจกรรมของ

จลิุนทรย์ีการใช้จลุนิทรย์ีในการก�าจดัการปนเป้ือนสารเคมใีนดนิเทคโนโลยี

ชวีภาพกับการเพิม่ผลผลิตและคณุภาพของผลผลติธรณจุีลชวีวทิยาการใช้

เทคโนโลยีระดับนาโนในการศึกษาจุดด�าเนินของชีวิตชีวิตกับธรรมชาติแร่

ธาตุในดินกับจุลินทรีย์ที่มีผลต่อการเกิดดินและสิ่งแวดล้อมซึ่งเกิดขึ้นกับ

พ้ืนฐานด้านไรโบโซมและDNAการผุผังและการสลายตัวของมลพิษจาก

การกระท�าของจุลินทรีย์

Soilbiologicalproperties,soilmicrobesandorganic

material decomposition processes for the release of plant nutri-

ents,microbialactivitiesinsoils,activitiesinsoilsofanaerobic

bacteria,estimationonmicrobialactivities,theuseofmicrobesto

eradicatechemicalpollutantsinsoils,theuseofbiotechnologyto

increasecropproductionandqualityofcrops,geo-microbiology,

the use of nanotechnology to investigate the origin of living organ-

isms,lifeandnature,nutrientsinsoilsandresultsofmicrobial

activities on soil forming particles in the environments where

thecasederived fromribosomeandDNA,decompositionand

deterioration of pollutants due to microbial activities

0801 561 เทคโนโลยีการผลิตปาล์มน�้ามัน 3(2-2-5)

Oil Palm Crop Production Technology

ความส�าคญัทางเศรษฐกจิของพชืน�า้มนัชนดิของพชืน�า้มนัวธิี

ปลูกการขยายพันธุ์ การปฏิบัติดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยวตลอดจนการ

แปรรูปน�้ามัน

Importanceofeconomicoilcrops,typesofoilcrops,

crop cultivation technique, plant propagationmethods, crop

management,maturityofseedsandtheharvestforseedyields,

post harvest technology and extraction processes for oil contents

from seeds

0801 562 มวลชีวภาพทางการเกษตรเพื่อพลังงาน 3(2-2-5)

Agricultural Biomass for Energy

ความส�าคัญของมวลชีวภาพและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

การน�ามาใช้ประโยชน์กระบวนการแปรรูปเพื่อการผลิตมวลใช้พลังงาน

Importance of biomass and agricultural by-products

andtheutilizationoftheproducts,transformationprocesses,final

products for use as energy sources

0801 563 เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อการผลิตพืชพลังงาน 3(2-2-5)

Advanced Technology for Energy Crop Production

ความส�าคัญของพืชพลังงาน การปลูก การดูแลรักษา

การเก็บเกี่ยวและกระบวนการผลิตน�้ามันเชื้อเพลิงจากพืช

Importanceofenergycrops,cultivation,management,

harvesting,andprocessesinbiofuelproduction

0801 571 นิเวศวิทยาแมลง 3(2-2-5)

Insects Ecology

หลกัการและทฤษฎต่ีางๆทางนเิวศวิทยาความสมัพนัธ์ระหว่าง

ประชากรแมลงท่ีมีต่อสิ่งแวดล้อมการแพร่กระจายการแพร่ระบาดรวมท้ัง

การประยุกต์ใช้ในการควบคุมแมลงศัตรู

Ecologicalprinciplesandtheory,relationshipofin-

sectpopulationuponenvironmentalconditions,distributionand

infestationofinsect,applicationofcontrolmeasurementsagainst

the spread out of insect population

Page 29: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

133

C-133

0801 572 กีฏวิทยาอุตสาหกรรม 3(2-2-5)

Industrial Entomology

การเลี้ยงผึ้ง ไหมครั่งและแมลงอื่นๆที่ส�าคัญซึ่งน�ามาผลิต

เป็นอาชพีหลักหรืออตุสาหกรรมได้โดยศกึษาสายพนัธุ์ชวีวทิยาพฤตกิรรม

และการดูแลเพาะปลูกพืชอาหาร ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการ

เล้ียงการจัดการเลี้ยง การจัดการผลิตภัณฑ์ต่างๆการป้องกันก�าจัด โรค

และศัตรู

Thecultureofbee,silkwormrearing,lacquerinsect

and other laird of insects,which are produced for household

industry, understanding of species, biology, growthbehavior

andfeedingmaterialsofindustrialinsects,themanagementof

culturalenvelopments,culturaltechniques,lifecycle,disgraces

andpestcontrol,andproductsdevelopmentofindustrialinsects

0801 573 โรคพืชวิทยาขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Plant Pathology

หลักการขั้นสูงและพันธุศาสตร์โมเลกุลของปฏิกิริยาระหว่าง

พืชและเชือ้สาเหตโุรคพชืสรรีวทิยาชวีเคมีและชวีโมเลกลุของกระบวนการ

เกิดโรคพืช

Advanced principles and molecular genetics of plant-

pathogeninteractions,physiology,biochemistryandmolecular

biology of the plant pathogenesis

0801 574 การวินิจฉัยโรคพืช 3(2-2-5)

Plant Disease Diagnosis

เทคนคิทีใ่ช้ส�าหรบัวนิจิฉยัและประเมนิการเกดิโรคพชืในภาค

สนามและในห้องปฏิบัติการการพิสูจน์โรคในพืชไร่ พืชผัก ไม้ผล และไม้

ประดับ

Techniques used for diagnosis and evaluation of plant

diseasesinfieldandlaboratory,identifyingdiseaseinfieldcrops,

vegetablecrops,fruitcropsandornamentalcrops

0801 575 พืชต้านทานต่อโรคและแมลง 3(2-2-5)

Plant Resistance to Disease and Insect Pests

ความส�าคัญของพืชต้านทานต่อการท�าลายของโรคและแมลง

ศัตรพูชืกลไกความต้านทานลกัษณะการแสดงออกของความต้านทานสาย

พันธุ์พืชต้านทานและลูกผสมในสภาพไร่ การประเมินผลการใช้ประโยชน์

สายพันธุ์พืชต้านทานต่อโรคและแมลงในการจัดการศัตรูพืช

Importance of plant resistance to destruction from

disease and insectpests, resistancemechanisms, expression

characteristics of the resistance, plant resistant varieties and

hybrids in the field, evaluations, utilization of plant resistant

varieties to diseases and insects in pest management

0801 576 พิษวิทยาของสารป้องกันก�าจัดศัตรูพืช 3(2-2-5)

Toxicology of Pesticides

ความส�าคัญของพิษของสารป ้องกันก�าจัดศัตรูพืชใน

กระบวนการผลิตพืชและสิ่งแวดล้อมประเภทของสารก�าจัดศัตรูพืชสูตร

การผลิตคุณสมบัติทางเคมีกระบวนการเมตาโบลิซึมชีววิเคราะห์วิธีการ

ใช้วิธีการประเมนิประสทิธิภาพของสารป้องกนัก�าจัดศตัรพูชืในสภาพไร่และ

แปลงทดลองปัจจยัทีม่ผีลกระทบต่อประสทิธภิาพของสารป้องกนัก�าจดัศตัรู

พชืการต้านทานของศตัรพูชืพษิตกค้างกฎหมายและข้อก�าหนดเรือ่งความ

ปลอดภัยปัญหาและการแก้ปัญหา

Importance of pesticide toxicity in plant production

and environment, type of pesticides, formulamanufacturing,

chemicalproperties,metabolismprocess,bioassay,application

methods,evaluationmethodsofefficacyinfieldandexperiment

trialconditions,factorsaffectingtheeffectivenessofpesticides,

pestresistance,residuetoxicity,lawsandsafetyrequirements,

problems and solutions

0801 577 การบริหารจัดการศัตรูพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Pests Management

พัฒนาการของศัตรูพืชต่อพืชเศรษฐกิจท่ีส�าคัญ กลไกการ

เข้าท�าลายพืชความสัมพันธ์ระหว่างศัตรูพืชและสรีรวิทยาของพืช วิธีการ

ส�ารวจการสุม่ตวัอย่างการประเมนิผลและพยากรณ์การระบาดของศตัรพูชื

เศรษฐกิจที่ส�าคัญ รวมทั้งเทคโนโลยีการขั้นสูงที่ทันสมัยส�าหรับการจัดการ

ศัตรูพืช

Developmentofimportanteconomicpests,damage

mechanismstoplant,relationshipbetweenpestsandplantphysi-

ology,surveying,sampling,evaluationmethodsandforecasting

of economic pest outbreaks, includingmodern of advanced

technologies for pest management

0801 578 การประยุกต์ด้านอารักขาพืช 3(2-2-5)

Application of Plant Protection

การประยุกต์ใช้วิธีการป้องกันก�าจัดโรคพืชวัชพืชแมลงและ

สัตว์ศัตรูพืช โดยพิจารณาจากข้อดีข้อเสียของแต่ละวิธีก่อนและหลังการใช้

แนวทางการเลือกขั้นตอนการด�าเนินการและการจัดการการประเมินค่าใช้

จ่ายและผลของการใช้วิธีการป้องกนัก�าจดัและปรบัปรงุเทคนคิการอารกัขา

พืชในเหมาะแก่การผลิตพืช

Applied techniques on plant protection for the control

ofdiseases,weedsandinsectpestswithconsiderationonad-

vantages and disadvantages of each technique before and after

the application, choices of application, steps in applyingand

managementpractices,estimationonexpensesofeachmethod

anditseffects,techniquebeingusedmustbemostappropriate

toeachspecificcropproduction

Page 30: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

134

À≈—° Ÿμ√√–¥—∫∫—≥±‘μ»÷°…“ ªï°“√»÷°…“ 2556

C-134

0801 581 การประยุกต์ใช้ระบบข้อมูลภูมิสารสนเทศ 3(2-2-5)

เพื่อการจัดการทรัพยากร

Applied of Geographic Information

System for Resources Management

หลักการของGISศึกษาสถานการณ์จริงวิธีการใช้ระบบGIS

ท�าปฏิบัติการ

PrinciplesofGISstudyonactualpractice,theuseof

GIS systems and practical works to be carried out

0801 582 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการเกษตร 3(2-2-5)

Decision Support Systems in Agriculture

หลักการในการจัดการเกษตรเชิงระบบและการตัดสินใจ

การใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศตลอดจนวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณการ

วางแผนและจดัการทางการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติการวเิคราะห์และ

ประเมินคุณภาพที่ดินเพื่อการเพาะปลูกโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

(GIS) ในการประมาณการณ์ผลผลิตพืช การใช้ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาเพื่อ

การเกษตรตลอดจนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานด้านการเกษตร

และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

Concepts to be used for agricultural system operations

anddecisionmaking,theuseofinformationservicesandquan-

titativeanalysismethods, agriculturalplansandmanagement

onnaturalresources,analysisandestimationonlandassetsfor

agricultural production with the use of satellite GIS information

and the forecastofcropproduction, theuseofmeteorological

information for agricultural productivity including the use of

computer programs on both crop production and natural resources

management

0801 711 เทคโนโลยีขั้นสูงในการส่งถ่ายยีนในพืช 3(2-2-5)

Advanced Technology in Gene Transfer in Plants

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยทีางพนัธวุศิวกรรมเพือ่การปรบัปรงุ

พันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวสาร

สนเทศเทคนิคการแยกและการวิเคราะห์ดีเอ็นเอจากพืชการโคลนยีนการ

เพิ่มปริมาณยีนและการควบคุมการแสดงออกของยีน

The applied use of genetic engineering for plant

breeding program,Biotechnology information, techniques for

useinextractingandseparatingplantDNA,genecloning,how

to increase gene number and mechanisms in controlling gene

expression

0801 721 สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช 3(2-2-5)

Physiology of Plant Growth and Development

สรีรวิทยาการเจริญและการแบ่งเซลล์ของพืช ชนิดของสาร

พัฒนาพืชทั้งธรรมชาติและสังเคราะห์ และผลของสารพัฒนาพืชที่มีต่อการ

เปลี่ยนสภาพของอวัยวะพืช การเปลี่ยนวัยของพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยง

เดี่ยวกระบวนการสรีรวิทยาของการงอกต้นอ่อนและต้นแก่ธรรมชาติของ

การเปลีย่นวันการเปลีย่นสภาพของอวัยวะพชืการออกดอกการแสดงเพศ

การออกผลการตดิผลการเจรญิของผลการสกุของผลและการร่วงหล่นของ

ผลการเจรญิและการเปลีย่นสภาพของรากการพกัตัวของเมลด็และตาการ

สร้างรากและหัว

Physiologicalaspectsinplantgrowth,celldivision,plant

growth regulators both natural and synthetic, effect of plant

growth regulators on plantmorphogenesis, stages of growth

in dicot andmonocot plants, germination physiology, phasic

development,stagesofdevelopment,morphogenesis,flowering,

sexexpression,fruitingandfruitset,fruitgrowth,fruitripening

andabscission,rootdifferentiationanddevelopment,dormancy

periodsinseedsandbuds;tubergrowthandbulbformation

0801 722 กระบวนการสร้างและสลายพืช 3(3-0-6)

Plant Metabolism

ความรู้เกี่ยวกับชีวโมเลกุลสรีรวิทยาชีวเคมีและเมแทบอลิซึม

ต่างๆที่เกิดขึ้นในพืชเช่นการควบคุมเมแทบอลิซึมต่างๆเช่นเมแทบอลิซึม

ของคาร์บอนเมแทบอลซิมึการหายใจกระบวนการสงัเคราะห์แสงการสร้าง

และการสลายไขมันเมแทบอลิซมึไนโตรเจนการขนยา้ยและการสะสมการ

ปรับตัวของพืช

Expansion in the knowledgeofmolecularbiology,

andplantphysiologytobiochemistryandmetabolism;control

ofmetabolism, cytosolic carbonmetabolism,mitochondrial

metabolism,photosynthesis,formationandbreakdownoflipids,

nitrogenmetabolism,assimilatepartitioningandstorage,plant

improvement

0801 731 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Post Harvest

กระบวนการทางสรีรวิทยาขั้นสูงและเทคโนโลยีของพืช

สวนหลังการเก็บเก่ียว ปัญหาสรีรวิทยาหลังการเก็บเก่ียว การปฏิบัติและ

การจัดการทางสรีรวิทยา และเทคโนโลยีต่อพืชเพื่อลดความสูญเสีย

การเปลี่ยนแปลงร่วมของสรีรวิทยาพืชและการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี

ในกลไกต่างๆ ระหว่างพืชเสื่อมสภาพ เช่น เอนไซม์ที่สลายตัวในเซลล์พืช

สารหอมระเหย รงควัตถุ การผลิตเอทธิลีน ฮอร์โมน ลักษณะผิดปกติ

ทางสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงกิจกรรมของเอนไซม์ในผลิตผลภายหลัง

การเก็บเกี่ยว

Advanced plant physiology and technology of horti-

culturalcropsafterharvesting,physiologicalproblemsafterhar-

vesting,physiologicalpracticeandmanagement,andtechnology

onplantstoreduceloss,combinationofplantphysiologicaland

biochemical changes in various pathways during plant senes-

Page 31: FACULTY OF TECHNOLOGYgrad.msu.ac.th/th/images/download/document/phd/01-4.pdf107 c-107 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

∫—≥±‘μ«‘∑¬“≈—¬ ¡À“«‘∑¬“≈—¬¡À“ “√§“¡

135

C-135

cencesuchasplantcelldegradingenzymes,volatile,pigments,

ethyleneproduction,hormones,physiologicaldisorder,changing

ofenzymeactivitiesofproduceafterharvesting

0801 732 เทคโนโลยีการควบคุมคุณภาพผลผลิตพืชขั้นสูง 3(2-2-5)

Advance Plant Product Quality Control

ลกัษณะคณุภาพปัจจัยทีม่ผีลกระทบการน�าเทคโนโลยขีัน้สงู

มาประยุกต์ใช้ในการควบคุมคุณภาพผลผลิตพืช

Quality characteristics, factors and application of

advance technology to control plant product quality

0801 741 ชีวเคมีเมล็ดพันธุ์ 3(2-2-5)

Seed Biochemistry

กระบวนการทางชีวเคมีและการตรวจสอบทางชีวเคมีที่

เกีย่วข้องกับความมชีีวติของเมลด็ความแขง็แรงของเมลด็และกระบวนการ

เสื่อมสภาพของเมล็ดพันธุ์

Biochemistry processes in plant seeds development

andmethodsindeterminingseedviability,seedvigorandthe

deterioration processes in seeds

0801 742 เทคโนโลยีสรีรวิทยาของเมล็ดพันธุ์ 3(2-2-5)

และการควบคุมคุณภาพ

Physiological Seed Technology

and Quality Control

สรีรวิทยาของการงอกและการพักตัวของเมล็ดพันธุ์การเสื่อม

สภาพของเมล็ดลักษณะและมาตรฐานคุณภาพของเมล็ดพันธุ์อิทธิพลของ

สภาพแวดล้อมระหว่างการผลิตต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ การใช้เทคโนโลยี

ควบคมุคณุภาพหลังการเก็บเกีย่วและการเสือ่มสภาพระหว่างการเกบ็รกัษา

การจ�าแนกความบริสุทธิ์ของสายพันธุ์ การปรับปรุงคุณภาพและความแข็ง

แรงของเมล็ดพันธุ์

Physiological aspects in seed germination and dor-

mancy,seeddeterioration,characteristicsofhighseedquality

anditsstandard,influencesofenvironmentalconditionsonseed

productionandqualityofseeds,seedprocessing,postharvest

handlingandseeddeteriorationduringstorageperiod;identifica-

tionsonthepurificationofseedvariety,seedqualityimprovement

and seed vigor enhancement

0801 751 ความอุดมสมบูรณ์ของดินขั้นสูง 3(2-2-5)

Advanced Soil Fertility

ดินในฐานะเป็นแหล่งธาตุอาหารพืช วงจรของธาตุอาหารพืช

แหล่งธรรมชาติของธาตุอาหารรูปต่างๆในดินและรูปที่เป็นประโยชน์การ

เก็บกักและการสูญเสียอาหารในดิน การเปลี่ยนรูปธาตุอาหารในดิน การ

เคลือ่นทีข่องธาตอุาหารในดนิไปสูร่ากพชืการปรบัปรงุดนิโดยการใช้อนิทรยี

วัตถุและสารเคมีดินกรดและการปรับปรุงอิทธิพลของความอุดมสมบูรณ์

ของดินต่อคุณค่าทางโภชนาการของธาตุอาหารพืชและการประเมินความ

อดุมสมบรูณ์ของดนิบทบาทธาตอุาหารหลกัและธาตอุาหารรองในการเจรญิ

เติบโตของพืชประเมินความต้องการธาตุอาหารพืช

Soil as amajor source of nutrient supply toplant,

nutrientcycles,naturalsourcesofnutrients,formsofnutrientsin

soilincludingavailableforms,nutrientretentionsanditslosses

in soils, nutrients transformation in soils, nutrients transport

toplant roots,anevaluationonsoil fertility, roleofmacroand

micro-nutrientsongrowthinplants,estimationonplantnutrient

requirements

0801 752 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีจุลินทรีย์ทางการเกษตร 3(3-0-6)

Application of Microorganism Technology

for Agriculture

บทบาทของจุลินทรีย์ในระบบนิเวศน์เกษตรและการฟื้นฟู

สิ่งแวดล้อมการประยุกต์ใช้ จุลินทรีย์แบบต่างๆ เพื่อการผลิตพืช การใช้

เทคโนโลยีพันธุศาสตร์เพื่อการปรับปรุงพันธุ์และเทคโนโลยีการควบคุม

มลพิษด้วยจุลินทรีย์

Effective microorganisms in agricultural ecosystem

andbioremediation, types of application ofmicroorganism for

plant production using Genetechnology for Plant breeding and

technology for controlling pollution by Microbes

0801 781 เทคโนโลยีสะอาดทางการเกษตร 3(3-0-6)

Clean Technology for Agriculture

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใช้ในกระบวนการผลิต

สินค้าเกษตรภายใต้การอนุรักษ์สภาวะแวดล้อมในระดับมาตรฐานสากล

Resource management for agricultural production

under environmental conservation with global standard

0801 782 การวางแผนและจัดการโครงการทางเกษตรขั้นสูง 3(3-0-6)

Advance Planning and Management

in Agricultural Projects

แนวคิด หลักการและเทคนิค เครื่องมือ และปัจจัยที่

เกี่ยวข้องกับการวางแผนและจัดการ โครงการทางการเกษตร ต้ังแต่เริ่ม

ต้นจนสิ้นสุดโครงการ ได้แก่ เป้าหมายทางการพัฒนา การใช้ทรัพยากร

การออกแบบโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการทางการ

เกษตรในทุกด้านการศึกษาข้อจ�ากัดทางด้านการเงิน เศรษฐกิจและสังคม

การปฏิบัติการโครงการและควบคุมขั้นตอนของการประเมินผลโครงการ

Concepts, principles, techniques and tools, and

related factors in agricultural project planning and management

fromconceptiontocompletione.g.targetdeveloping,usingof

resource, project design, feasibility study, financial barrier of