206
8/3/2019 Constitution 50 http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 1/206

Constitution 50

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 1/206

Page 2: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 2/206

คาํนาํ ตามท ี่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับช ั่วคราว) พุทธศักราช  

๒๕๔๙ กําหนดใหสภารางรัฐธรรมนูญจัดทํารางรัฐธรรมนูญ  และพิจารณาให แลวเสร็จภายในหนึ ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันเปดประชุมสภารางรัฐธรรมนูญ  

ครั ้งแรก  เมื ่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญเสร็จแลว  ใหเผยแพรใหประชาชนทราบและจัดใหมีการออกเสียงประชามติวาจะใหความเห็นชอบหรือไมเห็นชอบรางรัฐธรรมนูญ

ทั ้งฉบับ นั ้น 

บัดนี ้  สภารางรัฐธรรมนูญไดจัดทํารางรัฐธรรมนูญฉบับใหมเสร็จ  

เรียบรอยตามกรอบระยะเวลาท ี่กําหนดไวแลว โดยกระบวนการจัดทํารางรัฐธรรมนูญฉบับนี ้ สภารางรัฐธรรมนูญไดจัดทําขึ ้นจากการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชน  

ในภาคสวนและองคกรตาง ๆ เพ ื่อรับความคิดเห็นและขอเสนอแนะมาประกอบ  

การพจิารณาจัดทํารางรัฐธรรมนูญ ซึ ่งเปนสิ ่งที ่ยืนยันใหเห็นวารางรัฐธรรมนูญฉบับนี ้ ไดเห็นความสําคัญอยางย ิ่งของการมีสวนรวมของประชาชน  และเพ ื่อให รางรัฐธรรมนูญฉบับนี ้ เป นรัฐธรรมนูญของประชาชน  จึงไดมีการจัดทํา  

“รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับลงประชามติ)” จํานวน ๒๐ ลานเลม 

เพ ื่อเผยแพรใหประชาชนทราบและใชเปนขอมูลในการประกอบการพิจารณา  

ตัดสินใจในการออกเสียงประชามติวาจะใหความเห็นชอบหรือไมเห็นชอบ  

รางรัฐธรรมนูญท ั้งฉบับ  รวมท ั้งเพ ื่อใหประชาชนมีความรู   ความเขาใจใน 

รางรัฐธรรมนูญฉบับใหมมากยิ ่งขึ ้นดวย 

สภารางรัฐธรรมนูญ 

กรกฎาคม ๒๕๕๐ 

Page 3: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 3/206

สารบัญ 

หนา 

คํานาํ 

สารบัญ 

สารประธานสภารางรัฐธรรมนูญ 

รางรัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย  ๑ 

คําปรารภ  ๑ 

หมวด ๑  บทท ่ัวไป (มาตรา ๑ - ๗)  ๒ 

หมวด ๒  พระมหากษัตรยิ (มาตรา ๘ - ๒๕)  ๓ 

หมวด ๓  สิทธแิละเสรภีาพของชนชาวไทย (มาตรา ๒๖  –   ๖๙)  ๙ 

สวนท ่ี ๑  บทท ่ัวไป (มาตรา ๒๖ - ๒๙)  ๙ 

สวนท ่ี ๒  ความเสมอภาค (มาตรา ๓๐ - ๓๑)  ๑๐ 

สวนท ่ี ๓  สิทธแิละเสรภีาพสวนบคุคล (มาตรา ๓๒ - ๓๘)  ๑๑ 

สวนท ่ี ๔  สิทธิ ในกระบวนการยุติธรรม (มาตรา ๓๙ - ๔๐)  ๑๔ 

สวนท ่ี ๕  สิทธิ ในทรัพยสิน (มาตรา ๔๑ - ๔๒) ๑๕ 

สวนท ่ี  ๖  สิทธแิละเสรภีาพในการประกอบอาชพี (มาตรา ๔๓ - ๔๔) ๑๖ 

สวนท ่ี ๗  เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื ่อมวลชน 

(

มาตรา 

๔๕-

๔๘) 

๑๗ 

Page 4: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 4/206

หนา 

สวนท ่ี ๘  สิทธแิละเสรภีาพในการศึกษา (มาตรา ๔๙  –  ๕๐)  ๑๙ 

สวนที ่ 

๙  สิทธิ ในการไดรับบรกิารสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ 

(มาตรา ๕๑  –  ๕๕)  ๒๐ 

สวนท ่ี ๑๐  สิทธิ ในขอมลูขาวสารและการรองเรยีน (มาตรา ๕๖  –   ๖๒)  ๒๒ 

สวนท ่ี ๑๑  เสรีภาพในการชุมนมุและการสมาคม (มาตรา  ๖๓  –   ๖๕)  ๒๔ 

สวนท ่ี 

๑๒ 

สิทธชิุมชน (มาตรา  ๖๖ 

 –  

 ๖๗) 

๒๕ 

สวนท ่ี ๑๓ สิทธพิิทักษรัฐธรรมนญู (มาตรา  ๖๘  –   ๖๙)  ๒๖ 

หมวด ๔  หนาที ่ของชนชาวไทย (มาตรา ๗๐ - ๗๔)  ๒๗ 

หมวด ๕  แนวนโยบายพื  ้นฐานแหงรัฐ (มาตรา ๗๕ - ๘๗)  ๒๙ 

สวนท ่ี 

๑ 

บทท ่ัวไป (มาตรา ๗๕  –  ๗๖)

 

๒๙ 

สวนที ่ ๒  แนวนโยบายดานความม ่ันคงของรัฐ (มาตรา ๗๗)  ๓๐ 

สวนท ่ี ๓  แนวนโยบายดานการบรหิารราชการแผนดิน (มาตรา ๗๘)  ๓๐ 

สวนท ่ี ๔  แนวนโยบายดานศาสนา สังคม การสาธารณสุข 

การศึกษา และวัฒนธรรม (มาตรา ๗๙  –  ๘๐)  ๓๒

 

สวนท ่ี ๕  แนวนโยบายดานกฎหมายและการยุติธรรม (มาตรา ๘๑)  ๓๓ 

สวนท ่ี  ๖  แนวนโยบายดานการตางประเทศ (มาตรา ๘๒)  ๓๔ 

สวนท ่ี ๗  แนวนโยบายดานเศรษฐกจิ (มาตรา ๘๓  –  ๘๔)  ๓๕ 

Page 5: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 5/206

หนา 

สวนท ่ี ๘  แนวนโยบายดานท ่ีดิน ทรัพยากรธรรมชาติ 

และสิ ่งแวดลอม (มาตรา ๘๕)  ๓๗ 

สวนท ่ี ๙  แนวนโยบายดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา 

และพลังงาน (มาตรา ๘๖)  ๓๘ 

สวนท ่ี ๑๐  แนวนโยบายดานการมสีวนรวมของประชาชน (มาตรา ๘๗)  ๓๙ 

หมวด 

 ๖ 

รัฐสภา (มาตรา ๘๘ - ๑๖๒)  ๔๐ 

สวนท ่ี ๑  บทท ่ัวไป (มาตรา ๘๘  –  ๙๒)  ๔๐ 

สวนท ่ี ๒  สภาผู  แทนราษฎร (มาตรา ๙๓  –  ๑๑๐)  ๔๒ 

สวนที ่ ๓  วุฒิสภา (มาตรา ๑๑๑ - ๑๒๑)  ๕๔ 

สวนท ่ี 

๔ 

บทท ่ี ใชแกสภาทั  ้งสอง (มาตรา ๑๒๒  –  ๑๓๕)   ๖๐

 

สวนท ่ี ๕  การประชมุรวมกันของรัฐสภา (มาตรา ๑๓๖ - ๑๓๗)   ๖๘ 

สวนท ่ี  ๖  การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู 

(มาตรา ๑๓๘ - ๑๔๑)   ๖๙ 

สวนท ่ี ๗  การตราพระราชบัญญัติ (มาตรา ๑๔๒  –  ๑๕๓)  ๗๒ 

สวนท ่ี ๘  การควบคุมการตรากฎหมายที ่ขัดหรอืแยงตอรัฐธรรมนูญ 

(มาตรา ๑๕๔ - ๑๕๕)  ๗๙ 

สวนท ่ี ๙  การควบคุมการบรหิารราชการแผนดิน (มาตรา ๑๕๖ - ๑๖๒)  ๘๐ 

Page 6: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 6/206

หนา 

หมวด ๗  การมสีวนรวมทางการเมอืงโดยตรงของประชาชน (มาตรา ๑๖๓ - ๑๖๕)  ๘๓ 

หมวด ๘  การเงนิ การคลัง และงบประมาณ (มาตรา ๑๖๖ - ๑๗๐)  ๘๕ 

หมวด ๙  คณะรัฐมนตรี (มาตรา ๑๗๑ - ๑๙๖)  ๘๙ 

หมวด ๑๐  ศาล (มาตรา ๑๙๗  –  ๒๒๘)  ๙๙ 

สวนท ่ี 

๑ 

บทท ่ัวไป (มาตรา ๑๙๗ 

 –  

๒๐๓) 

๙๙ 

สวนท ่ี ๒  ศาลรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๐๔  –  ๒๑๗)  ๑๐๒ 

สวนท ่ี ๓  ศาลยติุธรรม (มาตรา ๒๑๘  –  ๒๒๒)  ๑๑๐ 

สวนท ่ี ๔  ศาลปกครอง (มาตรา ๒๒๓  –  ๒๒๗)  ๑๑๒ 

สวนท ่ี ๕  ศาลทหาร (มาตรา ๒๒๘)  ๑๑๕ 

หมวด ๑๑  องคกรตามรัฐธรรมนญู (มาตรา ๒๒๙ - ๒๕๘)  ๑๑๕ 

สวนท ่ี ๑  องคกรอสิระตามรัฐธรรมนญู (มาตรา ๒๒๙ - ๒๕๔)  ๑๑๕ 

๑. คณะกรรมการการเลอืกตั  ้ง (มาตรา ๒๒๙ - ๒๔๑)  ๑๑๕ 

๒.

ผู  ตรวจการแผนดิน(

มาตรา 

๒๔๒-

๒๔๕) 

๑๒๔ 

๓. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ 

(มาตรา ๒๔๖ - ๒๕๑)  ๑๒๗ 

๔. คณะกรรมการตรวจเงนิแผนดิน (มาตรา ๒๕๒ - ๒๕๔)  ๑๓๑ 

Page 7: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 7/206

หนา 

สวนท ่ี ๒  องคกรอื ่นตามรัฐธรรมนญู (มาตรา ๒๕๕ - ๒๕๘)  ๑๓๓ 

๑.

องคกรอัยการ (มาตรา ๒๕๕)  ๑๓๓ 

๒. คณะกรรมการสิทธมินษุยชนแหงชาติ 

(มาตรา ๒๕๖ - ๒๕๗)  ๑๓๔ 

๓. สภาที ่ปรกึษาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ (มาตรา ๒๕๘)  ๑๓๖ 

หมวด 

๑๒ 

การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ (มาตรา ๒๕๙-

๒๗๘)  ๑๓๗ 

สวนท ่ี ๑  การตรวจสอบทรัพยสิน (มาตรา ๒๕๙ - ๒๖๔)  ๑๓๗ 

สวนท ่ี ๒  การกระทาํที ่เปนการขัดกันแหงผลประโยชน 

(มาตรา ๒๖๕ - ๒๖๙)  ๑๔๐ 

สวนท ่ี 

๓ 

การถอดถอนจากตําแหนง (มาตรา ๒๗๐-

๒๗๔)  ๑๔๓ 

สวนท ่ี ๔  การดําเนนิคดีอาญาผู  ดํารงตําแหนงทางการเมอืง 

(มาตรา ๒๗๕ - ๒๗๘)  ๑๔๖ 

หมวด ๑๓ จริยธรรมของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมอืงและเจาหนาที ่ของรัฐ 

(มาตรา ๒๗๙ - ๒๘๐)  ๑๔๙ 

หมวด ๑๔ การปกครองสวนทองถิ ่น (มาตรา ๒๘๑ - ๒๙๐)  ๑๕๐ 

หมวด ๑๕ การแก ไขเพิ ่มเติมรัฐธรรมนญู (มาตรา ๒๙๑)  ๑๕๖ 

บทเฉพาะกาล (มาตรา ๒๙๒ - ๓๐๙)  ๑๕๘ 

Page 8: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 8/206

หนา 

สาระสําคัญของรางรัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย  ๑๗๐ 

รายชื ่อสมาชิกสภารางรัฐธรรมนญู  ๑๘๗ 

รายชื ่อคณะกรรมาธกิารยกรางรัฐธรรมนูญ  ๑๙๒ 

Page 9: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 9/206

 

สาร ประธานสภารางรัฐธรรมนญู 

********************************* ตามท ี่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับช ั่วคราว) พุทธศักราช  

๒๕๔๙ กําหนดใหสภารางรัฐธรรมนูญจัดทํารางรัฐธรรมนูญ  และพิจารณา ใหแลวเสร็จภายในหนึ ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันเปดประชุมสภารางรัฐธรรมนูญ  

ครั ้งแรก  เมื ่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญเสร็จแลว  ใหเผยแพรใหประชาชนทราบและ 

จัดใหมีการออกเสียงประชามติวาจะใหความเห็นชอบหรือไมเห็นชอบรางรัฐธรรมนูญ

ทั ้งฉบับ น ั้น บัดนี ้  สภารางรัฐธรรมนูญไดจัดทําภารกิจที  ่สําคัญท ี่สุด  คือ  การราง 

รัฐธรรมนูญฉบับใหมเสร็จเรียบรอยตามกรอบระยะเวลาที  ่กําหนดไวแลว  

โดยกระบวนการจัดทํารางรัฐธรรมนูญฉบับนี ้ สภารางรัฐธรรมนูญไดจัดทําขึ ้นจากการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนในภาคสวนและองคกรตาง  ๆ  เพ ื่อรับ  

ความคิดเห็นและขอเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาจัดทํารางรัฐธรรมนูญ  

เพ ื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด  ผมจึงขอเชิญชวนใหประชาชนพิจารณารัฐธรรมนูญฉบับนี ้ดวยความเขาใจ  และดวยใจเปนธรรม  อนึ ่ง  เปนเรื ่องปกติธรรมดาท ี่ รัฐธรรมนูญฉบับนี ้อาจจะมีท ั้งสิ ่งท ี่ถูกใจบางและสิ ่งท ี่ไมถูกใจบาง จึงขอใหทานโปรดพิจารณารางรัฐธรรมนูญในภาพรวมท ั้งฉบับ  อยาดูเพียงสวนยอย  ขอใหดู 

ภาพรวมเสมือนดูบานท ั้งหลังหากเห็นวารัฐธรรมนูญทั ้งฉบับมีความเหมาะสม  

ก็กรุณาใหความสนับสนุนดวย รัฐธรรมนูญฉบับใหมนี ้ คือ กติกาของบานเมืองท ี่จะ

Page 10: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 10/206

ทําใหการเมืองเริ ่มตนสู ภาวะปกติ ทําใหประชาชนทราบวาจะมีสิทธิเสรีภาพมากขึ ้นอยางไร สถาบันการเมืองและการเลือกตั ้ง และรัฐบาลจะเปนอยางไร  จากน ั้นก็คง

เปนหนาที ่ของฝายการเมืองท ี่อาสาประชาชนเขามาดําเนินการบริหารประเทศ ดังน ั้น  ผมขอเชิญชวนใหประชาชนทุกทานออกไปใชสิทธิออกเสียง

ประชามติวาจะใหความเห็นชอบหรือไมเห็นชอบรางรัฐธรรมนูญใหม ในวันอาทิตยที ่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๐ โดยพรอมเพรียงกัน เพราะการออกเสียงประชามติในครั ้งนี ้เปนขั ้นตอนสําคัญของการจัดทาํรัฐธรรมนูญฉบับใหมนี ้ท ี่มีเจตจํานงจะใหประชาชน

เปนผู  ตัดสินใจกําหนดการประกาศใชรัฐธรรมนูญดวยตนเอง 

(นายนรนิติ  เศรษฐบุตร) ประธานสภารางรัฐธรรมนูญ 

Page 11: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 11/206

ราง 

รัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย 

................................................. 

................................................. 

................................................. 

ศุภมัสดุ  พระพทุธศาสนากาลเปนอดีตภาค...................................พรรษา 

ปจจบุันสมัย 

จันทรคตินิยม.........................

สุรยิคติกาล......................

โดยกาบรเิฉท 

…………………………………………………………………………

…………………………………………………………………โดยที ่การปกครองของประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขไดดําเนินวัฒนามากวาเจด็สิบหาป ไดมีการประกาศใชและแกไขเพิ ่มเติมรัฐธรรมนูญหลายครั ้ง เพ ่ือใหเหมาะสมแกสภาวการณของบานเมืองและกาลสมัยท ่ีเปลี ่ยนแปลง

ไป  และโดยที ่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั ่วคราว) พุทธศักราช 

๒๕๔๙ ไดบัญญัติใหมีสภารางรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญขึ ้น มีหนาที ่จัดทาํรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมท ้ังฉบับสําหรับเปนแนวทางการปกครองของประเทศในวันขางหนา โดยไดจัดใหประชาชนมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นอยางกวางขวางทกุขั ้นตอน และไดนําความคิดเห็นเหลานั ้นมาเปนขอคํานึงพเิศษ 

ในการยกรางและพจิารณาแปรญตัติโดยตอเนื ่อง กับท ้ังไดดําเนินการตามที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย (ฉบับช ่ัวคราว) พทุธศักราช ๒๕๔๙ แลว 

ทกุประการ 

รางรัฐธรรมนูญฉบับท ่ีจัดทําใหมนี ้มีหลักสําคัญเพ ่ือสงเสรมิและ 

คุ  มครองสิทธิและเสรภีาพของประชาชนใหเปนท ่ีประจักษชัดเจนยิ ่งขึ ้น สนับสนุนใหประชาชนมีบทบาทและมีสวนรวมในการปกครองและตรวจสอบการใชอํานาจ

รัฐอยางเปนรูปธรรมและมีสัมฤทธิผล กาํหนดกลไกสถาบันทางการเมืองทุกสวนโดยเฉพาะฝายนิติบัญญัติและฝายบรหิาร ใหมีดุลยภาพและประสิทธิภาพตามวถิกีาร

Page 12: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 12/206

๒ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขแบบรัฐสภา สรางเสรมิสถาบันศาลและองคกรอิสระอื ่นใหสามารถปฏิบัติหนาที ่ไดโดยสุจรติ

เท ่ียงธรรม และเหนือสิ ่งอื ่นใด คือ การเนนย้ ําคุณคาและความสําคัญของคุณธรรม 

จรยิธรรม และแนวทางการบรหิารกจิการบานเมืองที ่ดีอันเปนหลักจรรโลงชาติ 

เมื ่อจัดทาํรางรัฐธรรมนูญแลวเสร็จ สภารางรัฐธรรมนูญไดเผยแพรใหประชาชนทราบและจดัใหมีการออกเสียงประชามติเพ ่ือใหความเห็นชอบแก รางรัฐธรรมนูญทั ้งฉบับ อันเปนการออกเสียงประชามติทํานองนี ้เปนคร ้ังแรกของประเทศ.......................................................................................................................

................................…................................................................................................

หมวด ๑ 

บทท ่ัวไป 

มาตรา ๑  ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหนึ ่งอันเดียว จะแบงแยกมิได 

มาตรา ๒  ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 

มาตรา ๓  อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย ผู  ทรงเปนประมุขทรงใชอํานาจนั ้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตร ีและศาล ตามบทบัญญัติ 

แหงรัฐธรรมนูญนี ้ การปฏิบัติหนาที ่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั ้งองคกรตาม

รัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐ ตองเปนไปตามหลักนิติธรรม 

Page 13: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 13/206

๓ มาตรา ๔  ศักดิ ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค

ของบคุคล ยอมไดรับความคุ  มครอง 

มาตรา ๕  ประชาชนชาวไทยไมวาเหลากาํเนิด เพศ หรือศาสนาใด 

ยอมอย ูในความคุ  มครองแหงรัฐธรรมนูญนี ้เสมอกัน 

มาตรา ๖  รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี ้ บทบัญญัตินั ้นเปนอันใชบังคับมิได 

มาตรา ๗  ในเมื ่อไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้บังคับแกกรณีใด 

ใหวนิิจฉัยกรณนัี ้นไปตามประเพณกีารปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี 

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 

หมวด ๒ 

พระมหากษัตรยิ 

มาตรา ๘  องคพระมหากษัตริยทรงดํารงอยู ในฐานะอันเปนท ่ีเคารพสักการะ ผู  ใดจะละเมิดมิได 

ผู  ใดจะกลาวหาหรอืฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ มิได 

มาตรา ๙  พระมหากษัตรยิทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปน 

อัครศาสนูปถัมภก 

มาตรา ๑๐  พระมหากษัตรยิทรงดํารงตําแหนงจอมทัพไทย 

Page 14: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 14/206

๔ มาตรา ๑๑  พระมหากษัตริยทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจที ่จะสถาปนา 

ฐานันดรศักดิ ์และพระราชทานเครื ่องราชอิสริยาภรณ 

มาตรา ๑๒  พระมหากษัตริยทรงเลอืกและทรงแตงตั ้งผู  ทรงคุณวฒุิเปนประธานองคมนตรคีนหนึ ่งและองคมนตรอืี ่นอีกไมเกนิสิบแปดคนประกอบเปนคณะองคมนตร ี

คณะองคมนตรมีีหนาท ่ีถวายความเห็นตอพระมหากษัตริยใน 

พระราชกรณยีกจิทั ้งปวงท ่ีพระมหากษัตรยิทรงปรกึษา และมีหนาที ่อื ่นตามท ่ีบัญญัติในรัฐธรรมนูญนี ้ 

มาตรา ๑๓  การเลอืกและแตงตั ้งองคมนตรหีรือการใหองคมนตรีพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามพระราชอัธยาศัย 

ใหประธานรัฐสภาเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั ้ง 

ประธานองคมนตรหีรือใหประธานองคมนตรพีนจากตําแหนง 

ใหประธานองคมนตรเีปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั ้งองคมนตรอืี ่นหรือใหองคมนตรีอื ่นพนจากตําแหนง 

มาตรา ๑๔  องคมนตรีตองไมเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุสิภา กรรมการการเลอืกตั ้ง ผู  ตรวจการแผนดิน  กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 

ตุลาการศาลรฐัธรรมนูญ  ตุลาการศาลปกครอง  กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ  กรรมการตรวจเงนิแผนดิน  ขาราชการซึ ่งมีตําแหนงหรอื 

เงนิเดือนประจาํ พนักงานรัฐวสิาหกิจ เจาหนาที ่อื ่นของรัฐ หรือสมาชิกหรอื 

เจาหนาที ่ของพรรคการเมือง และตองไมแสดงการฝกใฝในพรรคการเมืองใด ๆ 

มาตรา ๑๕  กอนเขารับหนาที ่ องคมนตรีตองถวายสัตยปฏิญาณตอพระมหากษัตริยดวยถอยคํา ดังตอไปนี ้ 

Page 15: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 15/206

๕ “ขาพระพทุธเจา (ชื ่อผู  ปฏิญาณ)ขอถวายสัตยปฏิญาณวา ขาพระพทุธเจา

จะจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และจะปฏิบัติหนาท ่ีดวยความซื ่อสัตยสุจรติ 

เพื ่อประโยชนของประเทศและประชาชน ท ้ังจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทยทกุประการ”

มาตรา ๑๖  องคมนตรีพนจากตําแหนงเมื ่อตาย ลาออก หรือมี 

พระบรมราชโองการใหพนจากตําแหนง 

มาตรา ๑๗  การแตงตั ้งและการใหขาราชการในพระองคและ 

สมุหราชองครักษพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามพระราชอัธยาศัย 

มาตรา ๑๘  ในเมื ่อพระมหากษัตริยจะไมประทับอย ูในราชอาณาจักร 

หรือจะทรงบรหิารพระราชภาระไมไดดวยเหตุใดกต็าม จะไดทรงแตงตั ้งผู  ใดผู  หนึ ่ง

เปนผู  สําเร็จราชการแทนพระองค และใหประธานรัฐสภาเปนผู  ลงนามรับสนอง 

พระบรมราชโองการ 

มาตรา ๑๙  ในกรณที ่ีพระมหากษัตริยมิไดทรงแตงตั ้งผู  สําเรจ็ราชการ 

แทนพระองคตามมาตรา ๑๘ หรือในกรณที ่ีพระมหากษัตรยิไมสามารถทรงแตงตั ้ง 

ผู  สําเร็จราชการแทนพระองคเพราะยังไมทรงบรรลนิุติภาวะหรอืเพราะเหตุอื ่น 

ใหคณะองคมนตรเีสนอชื ่อผู  ใดผู  หนึ ่งซึ ่งสมควรดํารงตําแหนงผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคตอรัฐสภาเพื ่อขอความเห็นชอบ  เมื ่อรัฐสภาใหความเห็นชอบแลว ใหประธานรัฐสภาประกาศในพระปรมาภไิธยพระมหากษัตรยิ แตงตั ้งผู  นั ้นเปนผู  สําเร็จราชการแทนพระองค 

ในระหวางท ่ีสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นอายุหรือสภาผู  แทนราษฎรถกูยบุ 

ใหวฒุสิภาทาํหนาที ่รัฐสภาในการใหความเห็นชอบตามวรรคหนึ ่ง 

Page 16: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 16/206

๖ มาตรา ๒๐  ในระหวางท ่ีไมมีผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคตามท ่ี

บัญญัติไวในมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ ใหประธานองคมนตรเีปนผู  สําเร็จราชการ

แทนพระองคเปนการชั ่วคราวไปพลางกอน 

ในกรณที ่ีผู  สําเร็จราชการแทนพระองคซึ ่งไดรับการแตงตั ้งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ ไมสามารถปฏิบัติหนาท ่ีได ใหประธานองคมนตร ี

ทําหนาที ่ผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคเปนการชั ่วคราวไปพลางกอน 

ในระหวางท ่ีประธานองคมนตรเีปนผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคตามวรรคหนึ ่ง หรือในระหวางที ่ประธานองคมนตรทีําหนาที ่ผู  สําเรจ็ราชการ 

แทนพระองคตามวรรคสอง ประธานองคมนตรจีะปฏิบัติหนาท ่ีในฐานะเปนประธานองคมนตรมิีได ในกรณเีชนวานี ้ ใหคณะองคมนตรเีลือกองคมนตรคีนหนึ ่งขึ ้นทําหนาท ่ีประธานองคมนตรเีปนการชั ่วคราวไปพลางกอน 

มาตรา ๒๑  กอนเขารับหนาที ่ ผู  สําเร็จราชการแทนพระองคซึ ่งไดรับ

การแตงตั ้งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ ตองปฏิญาณตนในที ่ประชุมรัฐสภา ดวยถอยคํา ดังตอไปนี ้ “ขาพเจา (ชื ่อผู  ปฏิญาณ) ขอปฏิญาณวา ขาพเจาจะจงรักภักดีตอ 

พระมหากษัตริย (พระปรมาภไิธย) และจะปฏิบัติหนาที ่ดวยความซื ่อสัตยสุจรติ 

เพื ่อประโยชนของประเทศและประชาชน ท ้ังจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทยทกุประการ”

ในระหวางท ่ีสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นอายุหรือสภาผู  แทนราษฎรถกูยบุ 

ใหวฒุสิภาทาํหนาที ่รัฐสภาตามมาตรานี ้ 

มาตรา ๒๒  ภายใตบังคับมาตรา ๒๓ การสืบราชสมบัติใหเปนไปโดยนัยแหงกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พระพทุธศักราช ๒๔๖๗ 

การแกไขเพ ่ิมเติมกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบราชสันตติวงศ พระพทุธศักราช ๒๔๖๗ เปนพระราชอํานาจของพระมหากษตัริยโดยเฉพาะ เมื ่อมี

Page 17: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 17/206

๗ พระราชดํารปิระการใด ใหคณะองคมนตรจีัดทํารางกฎมณเฑียรบาลแกไขเพ ่ิมเติมกฎมณเฑียรบาลเดิมขึ ้นทูลเกลาทลูกระหมอมถวายเพื ่อมีพระราชวนิิจฉัย  เมื ่อทรง

เห็นชอบและทรงลงพระปรมาภไิธยแลว ใหประธานองคมนตรดํีาเนินการแจงประธานรัฐสภาเพื ่อใหประธานรัฐสภาแจงใหรัฐสภาทราบ และใหประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และเมื ่อไดประกาศในราชกจิจานุเบกษาแลว 

ใหใชบังคับเปนกฎหมายได ในระหวางท ่ีสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นอายุหรือสภาผู  แทนราษฎรถกูยบุ 

ใหวฒุสิภาทาํหนาที ่รัฐสภาในการรับทราบตามวรรคสอง 

มาตรา ๒๓  ในกรณที ่ีราชบัลลังกหากวางลงและเปนกรณที ่ี พระมหากษัตริยไดทรงแตงตั ้งพระรัชทายาทไวตามกฎมณเฑียรบาลวาดวยการ 

สืบราชสันตติวงศ พระพทุธศักราช ๒๔๖๗ แลว ใหคณะรัฐมนตรีแจงใหประธานรัฐสภาทราบ และใหประธานรัฐสภาเรยีกประชุมรัฐสภาเพื ่อรับทราบ และให

ประธานรัฐสภาอัญเชิญองคพระรัชทายาทขึ ้นทรงราชยเปนพระมหากษัตริยสืบไป 

แลวใหประธานรัฐสภาประกาศใหประชาชนทราบ 

ในกรณที ่ีราชบัลลังกหากวางลงและเปนกรณที ่ีพระมหากษัตริยมิไดทรงแตงตั ้งพระรัชทายาทไวตามวรรคหนึ ่ง ใหคณะองคมนตรเีสนอพระนาม 

ผู  สืบราชสันตติวงศตามมาตรา ๒๒ ตอคณะรัฐมนตรีเพ ่ือเสนอตอรัฐสภาเพื ่อรัฐสภาใหความเห็นชอบ  ในการนี ้จะเสนอพระนามพระราชธิดากไ็ด  เมื ่อรัฐสภาใหความ

เห็นชอบแลว ใหประธานรัฐสภาอัญเชิญองคผู  สืบราชสันตติวงศขึ ้นทรงราชยเปนพระมหากษัตรยิสืบไป แลวใหประธานรัฐสภาประกาศใหประชาชนทราบ 

ในระหวางท ่ีสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นอายุหรือสภาผู  แทนราษฎรถกูยบุ 

ใหวฒุสิภาทาํหนาที ่รัฐสภาในการรับทราบตามวรรคหนึ ่งหรอืใหความเห็นชอบ 

ตามวรรคสอง 

Page 18: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 18/206

๘ มาตรา ๒๔  ในระหวางท ่ียังไมมีประกาศอัญเชิญองคพระรัชทายาท

หรือองคผู  สืบราชสันตติวงศขึ ้นทรงราชยเปนพระมหากษัตรยิตามมาตรา ๒๓ ให

ประธานองคมนตรเีปนผู  สําเร็จราชการแทนพระองคเปนการชั ่วคราวไปพลางกอน 

แตในกรณที ่ีราชบัลลังกวางลงในระหวางท ่ีไดแตงตั ้งผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคไวตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ หรือระหวางเวลาที ่ประธานองคมนตรเีปนผู  สําเร็จราชการแทนพระองค ตามมาตรา ๒๐ วรรคหนึ ่ง ใหผู  สําเร็จราชการแทน 

พระองคนั ้น ๆ แลวแตกรณี เปนผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคตอไป  ท ้ังนี ้ จนกวา จะไดประกาศอัญเชิญองคพระรัชทายาท หรือองคผู  สืบราชสันตติวงศขึ ้นทรงราชยเปนพระมหากษัตริย 

ในกรณที ่ีผู  สําเร็จราชการแทนพระองคซึ ่งไดรับการแตงตั ้งไวและเปนผู  สําเร็จราชการแทนพระองคตอไปตามวรรคหนึ ่งไมสามารถปฏิบัติหนาที ่ได ใหประธานองคมนตรทีําหนาที ่ผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคเปนการชั ่วคราวไปพลางกอนในกรณที ่ีประธานองคมนตรเีปนผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคตามวรรค

หนึ ่ง หรือทําหนาท ่ีผู  สําเร็จราชการแทนพระองคเปนการชั ่วคราวตามวรรคสอง ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐ วรรคสาม มาใชบังคับ 

มาตรา ๒๕  ในกรณที ่ีคณะองคมนตรจีะตองปฏิบัติหนาท ่ีตามมาตรา ๑๙ หรือมาตรา ๒๓ วรรคสอง หรือประธานองคมนตรีจะตองปฏิบัติหนาที ่ตามมาตรา ๒๐ วรรคหนึ ่งหรอืวรรคสอง หรือมาตรา ๒๔ วรรคสอง และอยู ในระหวาง

ท ่ีไมมีประธานองคมนตรหีรือมีแตไมสามารถปฏิบัติหนาที ่ได ใหคณะองคมนตร ี

ท ่ีเหลืออย ูเลือกองคมนตรคีนหนึ ่งเพื ่อทําหนาท ่ีประธานองคมนตร ีหรือปฏิบัติ 

หนาท ่ีตามมาตรา ๒๐ วรรคหนึ ่งหรอืวรรคสองหรอืตามมาตรา ๒๔ วรรคสาม 

แลวแตกรณี 

Page 19: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 19/206

๙ หมวด ๓ 

สิทธแิละเสรภีาพของชนชาวไทย 

สวนท ่ี ๑ 

บทท ่ัวไป 

มาตรา ๒๖  การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถงึศักดิ ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรภีาพ ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ 

มาตรา ๒๗  สิทธิและเสรภีาพที ่รัฐธรรมนูญนี ้รับรองไวโดย  ชัดแจง 

โดยปรยิายหรอืโดยคําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ยอมไดรับความคุ  มครองและ 

ผูกพนัรฐัสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั ้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรฐัโดยตรงในการตรากฎหมาย การใชบังคับกฎหมาย และการตีความกฎหมายทั ้งปวง 

มาตรา ๒๘  บุคคลยอมอางศักดิ ์ศรคีวามเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทาท ่ีไมละเมิดสิทธิและเสรภีาพของบคุคลอื ่น ไมเปนฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชนบคุคลซึ ่งถกูละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที ่รัฐธรรมนูญนี ้รับรองไว สามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้เพ ่ือใชสิทธิทางศาลหรอืยกขึ ้นเปนขอตอสู  คดีในศาลได 

บุคคลยอมสามารถใชสิทธิทางศาลเพื ่อบังคับใหรัฐตองปฏิบัติตามบทบัญญัติในหมวดนี ้ไดโดยตรง  หากการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื ่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแหงการใชสิทธิและเสรีภาพตามที ่รัฐธรรมนูญนี ้รับรองไวแลว 

ใหการใชสิทธิและเสรภีาพในเรื ่องนั ้นเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

Page 20: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 20/206

๑๐ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการสงเสริม สนับสนุน และชวยเหลอืจากรัฐ 

ในการใชสิทธิตามความในหมวดนี ้ 

มาตรา ๒๙  การจาํกัดสิทธิและเสรภีาพของบคุคลที ่รัฐธรรมนูญ 

รับรองไว จะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย 

เฉพาะเพื ่อการที ่รัฐธรรมนูญนี ้กาํหนดไวและเทาที ่จําเปน และจะกระทบกระเทอืนสาระสําคญัแหงสิทธิและเสรภีาพนั ้นมิได 

กฎหมายตามวรรคหนึ ่งตองมีผลใชบังคับเปนการทั ่วไป และ 

ไมมุ งหมายใหใชบังคับแกกรณีใดกรณหีนึ ่งหรอืแกบุคคลใดบคุคลหนึ ่งเปนการเจาะจง  ท ้ังตองระบบุทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญที ่ใหอํานาจในการตรากฎหมาย 

นั ้นดวย 

บทบัญญัติในวรรคหนึ ่งและวรรคสองใหนํามาใชบังคับกับกฎ 

ท ่ีออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายดวยโดยอนุโลม 

สวนท ่ี ๒ 

ความเสมอภาค 

มาตรา ๓๐  บคุคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุ  มครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน 

ชายและหญงิมีสิทธิเทาเทียมกัน 

การเลอืกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความ 

แตกตางในเรื ่องถิ ่นกาํเนิด เชื ้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิาร สภาพทางกายหรอืสุขภาพ สถานะของบคุคล ฐานะทางเศรษฐกจิหรอืสังคม ความเชื ่อทางศาสนา 

การศกึษาอบรม หรอืความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอบทบญัญติัแหงรฐัธรรมนูญ 

จะกระทาํมิได 

Page 21: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 21/206

๑๑ มาตรการที ่รัฐกาํหนดขึ ้นเพ ่ือขจัดอุปสรรคหรือสงเสรมิใหบุคคล

สามารถใชสิทธิและเสรีภาพไดเชนเดียวกับบุคคลอื ่น ยอมไมถอืเปนการเลอืกปฏิบัติ

โดยไมเปนธรรมตามวรรคสาม 

มาตรา ๓๑  บุคคลผู  เปนทหาร ตํารวจ ขาราชการ เจาหนาท ่ีอื ่นของรัฐ 

และพนักงานหรอืลูกจางขององคกรของรัฐ ยอมมีสิทธิและเสรภีาพตามรัฐธรรมนูญเชนเดียวกับบุคคลทั ่วไป  เวนแตท ่ีจาํกัดไวในกฎหมายหรือกฎท ่ีออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะในสวนที ่เก ่ียวกับการเมือง สมรรถภาพ 

วนัิย หรือจริยธรรม 

สวนท ่ี ๓ 

สิทธแิละเสรภีาพสวนบคุคล 

มาตรา ๓๒  บุคคลยอมมีสิทธิและเสรภีาพในชีวติและรางกาย 

การทรมาน ทารณุกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรอื 

ไรมนุษยธรรม จะกระทาํมิได  แตการลงโทษตามคําพพิากษาของศาลหรอืตามท ่ีกฎหมายบัญญัติไมถอืวาเปนการลงโทษดวยวธีิการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม 

ตามความในวรรคนี ้ การจับและการคุมขังบคุคล จะกระทาํมิได  เวนแตมีคําสั ่งหรือ 

หมายของศาลหรอืมีเหตุอยางอื ่นตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

การคนตัวบคุคลหรอืการกระทาํใดอันกระทบตอสิทธิและเสรภีาพ 

ตามวรรคหนึ ่ง จะกระทาํมิได  เวนแตมีเหตุตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

ในกรณที ่ีมีการกระทาํซึ ่งกระทบตอสิทธิและเสรีภาพตามวรรคหนึ ่ง 

ผู  เสียหาย พนักงานอัยการ หรือบุคคลอื ่นใดเพ ่ือประโยชนของผู  เสียหาย มีสิทธิ 

Page 22: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 22/206

๑๒ รองตอศาลเพื ่อใหสั ่งระงับหรือเพิกถอนการกระทาํเชนวานั ้น รวมทั ้งจะกาํหนด 

วธีิการตามสมควรหรอื การเยยีวยาความเสียหายที ่เกิดขึ ้นดวยก็ได 

มาตรา ๓๓  บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน 

บุคคลยอมไดรับความคุ  มครองในการที ่จะอยู อาศัยและครอบครองเคหสถานโดยปกติสุข 

การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยนิยอมของผู  ครอบครอง 

หรือการตรวจคนเคหสถานหรือในท ่ีรโหฐาน จะกระทาํมิได  เวนแตมีคําสั ่งหรอืหมายของศาลหรอืมีเหตุอยางอื ่นตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๓๔  บุคคลยอมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกถิ ่นท ่ีอย ูภายในราชอาณาจกัร 

การจาํกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ ่ง จะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัย

อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื ่อความมั ่นคงของรัฐ ความสงบ 

เรียบรอยหรือสวัสดิภาพของประชาชน การผังเมือง หรือเพ ่ือสวัสดิภาพของผู  เยาว การเนรเทศบคุคลผู  มีสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจกัร หรือหาม 

มิใหบุคคลผู  มีสัญชาติไทยเขามาในราชอาณาจักร จะกระทาํมิได 

มาตรา ๓๕  สิทธิของบคุคลในครอบครัว เกยีรติยศ ชื ่อเสียง ตลอดจน

ความเปนอย ูสวนตัว ยอมไดรับความคุ  มครอง 

การกลาวหรอืไขขาวแพรหลายซึ ่งขอความหรือภาพไมวาดวยวธีิใด 

ไปยังสาธารณชน อันเปนการละเมิดหรือกระทบถงึสิทธิของบุคคลในครอบครัว 

เกียรติยศ ชื ่อเสียง หรือความเปนอย ูสวนตัว จะกระทาํมิได  เวนแตกรณีท ่ีเปนประโยชนตอสาธารณะ 

บุคคลยอมมีสิทธิไดรับความคุ  มครองจากการแสวงประโยชนโดย 

มิชอบจากขอมูลสวนบุคคลท ่ีเกี ่ยวกับตน  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

Page 23: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 23/206

๑๓ มาตรา ๓๖  บุคคลยอมมีเสรีภาพในการสื ่อสารถงึกันโดยทางที ่ 

ชอบดวยกฎหมาย 

การตรวจ การกัก หรือการเปดเผยสิ ่งสื ่อสารท ่ีบุคคลมีติดตอถึงกัน 

รวมทั ้งการกระทาํดวยประการอื ่นใดเพ ่ือใหลวงรู  ถงึขอความในสิ ่งสื ่อสารท ้ังหลาย 

ท ่ีบุคคลมีติดตอถึงกัน จะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื ่อรักษาความมั ่นคงของรัฐ หรือเพ ่ือรักษาความสงบเรยีบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 

มาตรา ๓๗  บคุคลยอมมีเสรีภาพบรบิูรณในการถอืศาสนา นิกายของศาสนา หรอืลัทธินิยมในทางศาสนา และยอมมีเสรภีาพในการปฏิบัติตามศาสนธรรม 

ศาสนบัญญัติ หรือปฏิบัติพธีิกรรมตามความเชื ่อถือของตน เมื ่อไมเปนปฏิปกษตอหนาท ่ีของพลเมืองและไมเปนการขัดตอความสงบเรยีบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 

ในการใชเสรีภาพตามวรรคหนึ ่ง บคุคลยอมไดรับความคุ  มครองมิใหรัฐกระทาํการใด ๆ อันเปนการรอนสิทธิหรือเสียประโยชนอันควรมีควรได เพราะ 

เหตุท ่ีถอืศาสนา นิกายของศาสนา ลัทธินิยมในทางศาสนา หรอืปฏิบัติตามศาสนธรรม 

ศาสนบัญญัติ หรือปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื ่อถือ แตกตางจากบคุคลอื ่น 

มาตรา ๓๘  การเกณฑแรงงานจะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจ 

ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื ่อประโยชนในการปองปดภัยพบิัติสาธารณะอันมีมาเปนการฉกุเฉนิ หรือโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ ่งใหกระทาํไดในระหวางเวลาที ่ประเทศอยู ในภาวะสงครามหรอืการรบ หรือในระหวางเวลาที ่มีประกาศสถานการณฉุกเฉนิหรือประกาศใชกฎอัยการศกึ 

Page 24: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 24/206

๑๔ สวนท ่ี ๔ 

สิทธิ ในกระบวนการยติุธรรม 

มาตรา ๓๙  บุคคลไมตองรับโทษอาญา  เวนแตไดกระทาํการ 

อันกฎหมายท ่ีใชอย ูในเวลาที ่กระทาํนั ้นบัญญัติเปนความผิดและกาํหนดโทษไว และโทษที ่จะลงแกบุคคลนั ้นจะหนักกวาโทษที ่กําหนดไวในกฎหมายที ่ใชอย ู ในเวลาที ่กระทาํความผิดมิได 

ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวาผู  ตองหาหรือจาํเลยไมมีความผิด 

กอนมีคําพิพากษาอันถึงที ่สุดแสดงวาบคุคลใดไดกระทาํความผิด 

จะปฏิบัติตอบุคคลนั ้นเสมือนเปนผู  กระทาํความผิดมิได 

มาตรา ๔๐  บคุคลยอมมีสิทธิในกระบวนการยติุธรรม ดังตอไปนี ้ 

(๑) สิทธิเขาถงึกระบวนการยติุธรรมไดโดยงาย สะดวก รวดเรว็ และท ่ัวถงึ 

(๒) สิทธิพ ้ืนฐานในกระบวนพจิารณา ซึ ่งอยางนอยตองมีหลักประกัน 

ข ้ันพ ้ืนฐานเรื ่องการไดรับการพจิารณาโดยเปดเผย การไดรับทราบขอเท็จจรงิและตรวจเอกสารอยางเพยีงพอ การเสนอขอเทจ็จรงิ ขอโตแยง และพยานหลกัฐานของตน 

การคัดคานผู  พพิากษาหรอืตุลาการ การไดรับการพจิารณาโดยผูพพิากษาหรอื 

ตุลาการที ่นั ่งพจิารณาคดีครบองคคณะ และการไดรับทราบเหตุผลประกอบคําวนิิจฉัย คําพพิากษา หรือคําสั ่ง 

(๓)บุคคลยอมมีสิทธิท ่ีจะใหคดีของตนไดรับการพจิารณาอยางถกูตอง 

รวดเรว็ และเปนธรรม 

(๔) ผู  เสียหาย ผู  ตองหา โจทก จาํเลย คู กรณี ผู  มีสวนไดเสีย หรือ

พยานในคดี มีสิทธิไดรับการปฏิบัติท ่ีเหมาะสมในการดําเนินการตามกระบวนการ

Page 25: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 25/206

๑๕ ยติุธรรม รวมทั ้งสิทธิในการไดรับการสอบสวนอยางถูกตอง รวดเรว็ เปนธรรม และการไมใหถอยคําเปนปฏิปกษตอตนเอง 

(๕) ผู  เสียหาย ผู  ตองหา จําเลย และพยานในคดีอาญา มีสิทธิไดรับความคุ  มครอง และความชวยเหลอืท ่ีจําเปนและเหมาะสมจากรัฐ  สวนคาตอบแทน 

คาทดแทนและคาใชจายที ่จําเปน ใหเปนไปตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

(๖) เด็ก เยาวชน สตรี ผู  สูงอาย ุหรือผู  พิการหรอืทุพพลภาพ ยอมมีสิทธิไดรับความคุ  มครองในการดําเนินกระบวนพจิารณาคดีอยางเหมาะสม และยอมมีสิทธิไดรับการปฏิบัติท ่ีเหมาะสมในคดีท ่ีเกี ่ยวกับความรนุแรงทางเพศ 

(๗) ในคดีอาญา ผู  ตองหาหรือจําเลยมีสิทธิไดรับการสอบสวนหรอื 

การพจิารณาคดีท ่ีถูกตอง รวดเรว็ และเปนธรรม  โอกาสในการตอสู  คดีอยางเพยีงพอ 

การตรวจสอบหรอืไดรับทราบพยานหลักฐานตามสมควร การไดรับความชวยเหลอืในทางคดีจากทนายความ และการไดรับการปลอยตัวชั ่วคราว 

(๘) ในคดีแพง บุคคลมีสิทธิไดรับความชวยเหลอืทางกฎหมายอยาง

เหมาะสมจากรัฐ 

สวนที ่ ๕ 

สิทธิ ในทรัพยสิน 

มาตรา ๔๑  สิทธิของบุคคลในทรัพยสินยอมไดรับความคุ  มครอง 

ขอบเขตแหงสิทธิและการจาํกัดสิทธิเชนวานี ้ยอมเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

การสืบมรดกยอมไดรับความคุ  มครอง สิทธิของบคุคลในการสืบมรดก 

ยอมเปนไปตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๔๒  การเวนคืนอสังหารมิทรัพยจะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะกจิการของรัฐเพ ่ือการอันเปน

Page 26: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 26/206

๑๖ สาธารณปูโภค การอันจาํเปนในการปองกันประเทศ การไดมาซึ ่งทรัพยากรธรรมชาติ 

การผังเมือง การสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ ่งแวดลอม การพัฒนาการเกษตรหรอื

การอุตสาหกรรม การปฏิรูปที ่ดิน การอนุรักษโบราณสถานและแหลงทาง 

ประวัติศาสตร หรือเพ ่ือประโยชนสาธารณะอยางอื ่น และตองชดใชคาทดแทน 

ท ่ีเปนธรรมภายในเวลาอันควรแกเจาของตลอดจนผู  ทรงสิทธิบรรดาที ่ไดรับความเสียหายในการเวนคืนนั ้น  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

การกาํหนดคาทดแทนตามวรรคหนึ ่งตองกาํหนดใหอยางเปนธรรมโดยคํานึงถงึราคาที ่ซื ้อขายกันตามปกติในทองตลาด การไดมา สภาพและที ่ตั ้งของอสังหารมิทรัพย  ความเสียหายของผู  ถกูเวนคืน และประโยชนท ่ีรัฐและผู  ถูกเวนคืนไดรับจากการใชสอยอสังหารมิทรัพยท ่ีถกูเวนคืน 

กฎหมายเวนคืนอสังหารมิทรัพยตองระบวุัตถปุระสงคแหงการเวนคืน 

และกาํหนดระยะเวลาการเขาใชอสังหารมิทรัพยไวใหชัดแจง  ถามิไดใชเพ ่ือการนั ้น 

ภายในระยะเวลาที ่กําหนดดังกลาว ตองคืนใหเจาของเดิมหรือทายาท 

การคืนอสังหารมิทรัพยใหเจาของเดิมหรือทายาทตามวรรคสาม และ 

การเรยีกคืนคาทดแทนที ่ชดใชไป ใหเปนไปตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

สวนท ่ี  ๖ 

สิทธแิละเสรภีาพในการประกอบอาชพี 

มาตรา ๔๓  บุคคลยอมมีเสรีภาพในการประกอบกจิการหรอืประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม 

การจาํกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ ่งจะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื ่อประโยชนในการรักษาความมั ่นคง

ของรัฐหรอืเศรษฐกจิของประเทศ การคุ  มครองประชาชนในดานสาธารณปูโภค 

การรักษาความสงบเรยีบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การจัดระเบยีบการ

Page 27: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 27/206

๑๗ ประกอบอาชีพ การคุ  มครองผู  บรโิภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ ่งแวดลอม สวัสดิภาพของประชาชน หรือเพ ่ือปองกันการผูกขาดหรอืขจัด

ความไมเปนธรรมในการแขงขัน 

มาตรา ๔๔  บุคคลยอมมีสิทธิไดรับหลักประกันความปลอดภัยและ 

สวัสดิภาพในการทาํงาน รวมทั ้งหลักประกันในการดํารงชีพทั ้งในระหวางการทาํงานและ เมื ่อพนภาวะการทาํงาน  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

สวนที ่ ๗ 

เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบคุคลและสื ่อมวลชน 

มาตรา ๔๕  บุคคลยอมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพดู 

การเขียน การพมิพ การโฆษณา และการสื ่อความหมายโดยวธีิอื ่น 

การจาํกัดเสรภีาพตามวรรคหนึ ่งจะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจ 

ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื ่อรักษาความมั ่นคงของรัฐ เพ ่ือคุ  มครองสิทธิ 

เสรีภาพ เกียรติยศ ชื ่อเสียง สิทธิในครอบครัวหรอืความเปนอย ูสวนตัวของบคุคลอื ่น 

เพ ่ือรักษาความสงบเรยีบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพ ่ือปองกันหรือระงับความเสื ่อมทรามทางจติใจหรอืสุขภาพของประชาชน 

การสั ่งปดกิจการหนังสือพิมพหรือสื ่อมวลชนอื ่นเพ ่ือลดิรอนเสรีภาพ 

ตามมาตรานี ้ จะกระทาํมิได การหามหนังสือพิมพหรือสื ่อมวลชนอื ่นเสนอขาวสารหรอืแสดง

ความคิดเห็นท ้ังหมดหรือบางสวน หรือการแทรกแซงดวยวธีิการใด ๆ เพ ่ือลิดรอนเสรีภาพตามมาตรานี ้ จะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง

กฎหมายซึ ่งไดตราขึ ้นตามวรรคสอง 

Page 28: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 28/206

๑๘ การใหนําขาวหรอืบทความไปใหเจาหนาท ่ีตรวจกอนนําไปโฆษณา

ในหนังสือพิมพหรือสื ่อมวลชนอื ่น จะกระทาํมิได  เวนแตจะกระทาํในระหวางเวลา

ท ่ีประเทศอยู ในภาวะสงคราม แตทั ้งนี ้จะตองกระทาํโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายซึ ่งไดตราขึ ้นตามวรรคสอง 

เจาของกจิการหนังสือพิมพหรือสื ่อมวลชนอื ่นตองเปนบุคคล 

สัญชาติไทย 

การใหเงนิหรือทรัพยสินอื ่นเพ ่ืออุดหนุนกิจการหนังสือพิมพหรือ 

สื ่อมวลชนอื ่นของเอกชน รัฐจะกระทาํมิได 

มาตรา ๔๖  พนักงานหรอืลูกจางของเอกชนที ่ประกอบกจิการหนังสือพิมพ วทิยุกระจายเสียง วทิยโุทรทัศน หรือสื ่อมวลชนอื ่น ยอมมีเสรีภาพ 

ในการเสนอขาวและแสดงความคิดเห็นภายใตขอจํากัดตามรัฐธรรมนูญ โดยไม ตกอยู ภายใตอาณัติของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ หรือเจาของ 

กิจการนั ้น  แตตองไมขัดตอจริยธรรมแหงการประกอบวชิาชีพ และมีสิทธิจัดตั ้ง 

องคกรเพื ่อปกปองสิทธิ เสรีภาพและความเปนธรรม  รวมทั ้งมีกลไกควบคุมกันเองขององคกรวิชาชีพ 

ขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ 

หรือรัฐวสิาหกิจ ในกจิการวทิยกุระจายเสียง วทิยโุทรทัศน หรือสื ่อมวลชนอื ่น ยอมมีเสรีภาพเชนเดียวกับพนักงานหรอืลกูจางของเอกชนตามวรรคหนึ ่ง 

การกระทาํใด ๆ ไมวาโดยทางตรงหรอืทางออมของผู  ดํารงตําแหนง 

ทางการเมือง เจาหนาที ่ของรัฐ หรอืเจาของกจิการ อันเปนการขัดขวางหรอืแทรกแซงการเสนอขาวหรอืแสดงความคิดเห็นในประเด็นสาธารณะของบคุคลตามวรรคหนึ ่งหรือวรรคสอง ใหถือวาเปนการจงใจใชอํานาจหนาที ่โดยมิชอบและไมมีผลใชบังคับ  เวนแตเปนการกระทาํเพื ่อใหเปนไปตามกฎหมายหรอืจริยธรรมแหงการ

ประกอบวชิาชีพ 

Page 29: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 29/206

๑๙ มาตรา ๔๗  คลื ่นความถี ่ท ่ีใชในการสงวทิยกุระจายเสียง วทิยโุทรทัศน 

และโทรคมนาคม เปนทรัพยากรสื ่อสารของชาติเพ ่ือประโยชนสาธารณะ 

ใหมีองคกรของรัฐที ่เปนอิสระองคกรหนึ ่งทาํหนาที ่จัดสรรคลื ่นความถี ่ตามวรรคหนึ ่ง และกาํกับการประกอบกจิการวทิยกุระจายเสียง วทิยโุทรทัศน และกจิการโทรคมนาคม  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

การดําเนินการตามวรรคสองตองคํานึงถงึประโยชนสูงสุดของประชาชนในระดับชาติและระดับทองถิ ่น ท ้ังในดานการศกึษา วัฒนธรรม ความ 

มั ่นคงของรัฐ ประโยชนสาธารณะอื ่น และการแขงขันโดยเสรีอยางเปนธรรม 

รวมทั ้งตองจัดใหภาคประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินการสื ่อมวลชนสาธารณะ 

การกาํกับการประกอบกจิการตามวรรคสองตองมีมาตรการเพื ่อปองกัน 

มิใหมีการควบรวม การครองสิทธิขามสื ่อ หรือการครอบงาํ ระหวางสื ่อมวลชนดวยกันเองหรือโดยบุคคลอื ่นใด ซึ ่งจะมีผลเปนการขัดขวางเสรภีาพในการรับรู  ขอมูลขาวสารหรอืปดกั ้นการไดรับขอมูลขาวสารที ่หลากหลายของประชาชน 

มาตรา ๔๘  ผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองจะเปนเจาของกจิการหรอืถอืหุ  นในกิจการหนังสือพิมพ วทิยกุระจายเสียง วทิยโุทรทัศน หรือโทรคมนาคม 

มิได ไมวาในนามของตนเองหรอืใหผู  อื ่นเปนเจาของกจิการหรอืถือหุ  นแทน หรือจะดําเนินการโดยวธีิการอื ่นไมวาโดยทางตรงหรอืทางออมท ่ีสามารถบรหิารกจิการ 

ดังกลาวไดในทํานองเดียวกับการเปนเจาของกจิการหรอืถือหุ  นในกิจการดังกลาว 

สวนท ่ี ๘ 

สิทธแิละเสรภีาพในการศึกษา 

มาตรา ๔๙ บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศกึษาไมนอยกวาสิบสองปท ่ีรัฐจะตองจัดใหอยางทั ่วถงึและมีคุณภาพ โดยไมเกบ็คาใชจายผู  ยากไร 

Page 30: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 30/206

๒๐ ผู  พกิารหรอืทุพพลภาพ หรือผู  อย ูในสภาวะยากลาํบาก ตองไดรับสิทธิตามวรรคหนึ ่งและการสนับสนุนจากรัฐเพ ่ือใหไดรับการศกึษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื ่น 

การจัดการศกึษาอบรมขององคกรวิชาชีพหรือเอกชน การศกึษา ทางเลอืกของประชาชน การเรยีนรู  ดวยตนเอง และการเรยีนรู  ตลอดชีวติ ยอมไดรับความคุ  มครองและสงเสรมิท ่ีเหมาะสมจากรัฐ 

มาตรา ๕๐  บุคคลยอมมีเสรีภาพในทางวชิาการ 

การศกึษาอบรม การเรยีนการสอน การวจิัย และการเผยแพรงานวจิัยตามหลักวชิาการ ยอมไดรับความคุ  มครอง  ท ้ังนี ้ เทาท ่ีไมขัดตอหนาที ่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 

สวนที ่ ๙ 

สิทธิ ในการไดรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ 

มาตรา ๕๑  บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับบรกิารทางสาธารณสุข 

ท ่ีเหมาะสมและไดมาตรฐาน และผู  ยากไรมีสิทธิไดรับการรักษาพยาบาลจากสถานบรกิารสาธารณสุขของรัฐโดยไมเสียคาใชจาย 

บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการบรกิารสาธารณสุขจากรัฐซึ ่งตองเปนไปอยางท ่ัวถงึและมีประสิทธิภาพ 

บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการปองกันและขจัดโรคติดตออันตรายจากรัฐ 

อยางเหมาะสม โดยไมเสียคาใชจายและทันตอเหตุการณ 

มาตรา ๕๒  เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู รอดและไดรับการ

พัฒนาดานรางกาย จิตใจ และสติปญญา ตามศักยภาพในสภาพแวดลอมท ่ีเหมาะสม 

โดยคํานึงถงึการมีสวนรวมของเด็กและเยาวชนเปนสําคัญ 

Page 31: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 31/206

๒๑ เด็ก เยาวชน สตรี และบคุคลในครอบครัว มีสิทธิไดรับความคุ  มครอง

จากรัฐ ใหปราศจากการใชความรนุแรงและการปฏิบัติอันไมเปนธรรม  ท ้ังมีสิทธิได

รับการบาํบัดฟ นฟูในกรณที ่ีมีเหตุดังกลาว 

การแทรกแซงและการจาํกัดสิทธิของเด็ก เยาวชน และบคุคลในครอบครัว จะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะเพื ่อสงวนและรักษาไวซึ ่งสถานะของครอบครัวหรอืประโยชนสูงสุดของบุคคลนั ้น 

เด็กและเยาวชนซึ ่งไมมีผู  ดูแลมีสิทธิไดรับการเลี ้ยงดูและการศกึษา อบรมท ่ีเหมาะสมจากรัฐ 

มาตรา ๕๓  บุคคลซึ ่งมีอายเุกินหกสิบปบริบรูณและไมมีรายได เพยีงพอแกการยังชีพ มีสิทธิไดรับสวัสดิการ สิ ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะอยางสมศักดิ ์ศร ีและความชวยเหลอืท ่ีเหมาะสมจากรัฐ 

มาตรา ๕๔  บุคคลซึ ่งพกิารหรอืทุพพลภาพ มีสิทธิเขาถงึและใชประโยชนจากสวัสดิการ สิ ่งอํานวยความสะดวกอันเปนสาธารณะ และความชวยเหลือท ่ีเหมาะสมจากรัฐ 

บุคคลวกิลจรติยอมไดรับความชวยเหลอืท ่ีเหมาะสมจากรัฐ 

มาตรา ๕๕ บุคคลซึ ่งไรท ่ีอยู อาศัยและไมมีรายไดเพยีงพอแกการยังชีพ 

ยอมมีสิทธิไดรับความชวยเหลอืท ่ีเหมาะสมจากรัฐ 

Page 32: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 32/206

๒๒ สวนท ่ี ๑๐ 

สิทธิ ในขอมลูขาวสารและการรองเรยีน 

มาตรา ๕๖  บุคคลยอมมีสิทธิไดรับทราบและเขาถงึขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ ่น  เวนแตการเปดเผยขอมูลหรอืขาวสารนั ้นจะกระทบตอความมั ่นคงของรัฐความปลอดภัยของประชาชน หรอืสวนไดเสียอันพงึไดรับความคุ  มครองของบุคคลอื ่น หรือเปนขอมูลสวนบคุคล  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๕๗  บุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี ้แจง และเหตุผลจาก 

หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ ่น กอนการอนุญาตหรือการดําเนินโครงการหรอืกิจกรรมใดที ่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพ 

สิ ่งแวดลอม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวติ หรือสวนไดเสียสําคัญอื ่นใดท ่ีเกี ่ยวกับตนหรือชุมชนทองถิ ่น  และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนตอหนวยงานที ่เก ่ียวของเพ ่ือนําไปประกอบการพจิารณาในเรื ่องดังกลาว 

การวางแผนพฒันาสังคม เศรษฐกจิ การเมือง และวัฒนธรรม การ 

เวนคืนอสังหารมิทรัพย การวางผังเมือง การกาํหนดเขตการใชประโยชนในท ่ีดิน 

และการออกกฎที ่อาจมีผลกระทบตอสวนไดเสียสําคัญของประชาชน ใหรัฐจัดใหมีกระบวนการรบัฟงความคิดเห็นของประชาชนอยางทั ่วถงึกอนดําเนินการ 

มาตรา ๕๘  บุคคลยอมมีสิทธิมีสวนรวมในกระบวนการพจิารณาของเจาหนาท ่ีของรัฐในการปฏิบัติราชการทางปกครองอันมีผลหรอือาจมีผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพของตน 

Page 33: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 33/206

๒๓ มาตรา ๕๙  บุคคลยอมมีสิทธิเสนอเร ่ืองราวรองทุกขและไดรับแจง

ผลการพจิารณาภายในเวลาอันรวดเรว็ 

มาตรา ๖๐ บุคคลยอมมีสิทธิท ่ีจะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ 

รัฐวสิาหกิจ ราชการสวนทองถิ ่น หรือองคกรอื ่นของรัฐท ่ีเปนนิติบุคคล ใหรับผิดเนื ่องจากการกระทาํหรือการละเวนการกระทาํของขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยงานนั ้น 

มาตรา ๖๑  สิทธิของบุคคลซึ ่งเปนผู  บรโิภคยอมไดรับความคุ  มครองในการไดรับขอมูลที ่เปนความจรงิ และมีสิทธิรองเรียนเพื ่อใหไดรับการแกไขเยียวยาความเสียหาย รวมทั ้งมีสิทธิรวมตัวกันเพ ่ือพิทักษสิทธิของผู  บรโิภค 

ใหมีองคการเพื ่อการคุ  มครองผู  บรโิภคที ่เปนอิสระจากหนวยงานของรฐั 

ซึ ่งประกอบดวยตัวแทนผู  บรโิภค ทําหนาที ่ใหความเห็นเพื ่อประกอบการพจิารณาของ

หนวยงานของรัฐในการตราและการบงัคับใชกฎหมายและกฎ และใหความเห็นในการกาํหนดมาตรการตาง ๆ เพ ่ือคุ  มครองผู  บริโภค รวมทั ้งตรวจสอบและรายงาน 

การกระทาํหรือละเลยการกระทาํอันเปนการคุ  มครองผู  บริโภค  ทั ้งนี ้ ใหรัฐนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการขององคการอิสระดังกลาวดวย 

มาตรา ๖๒  บุคคลยอมมีสิทธิติดตามและรองขอใหมีการตรวจสอบ 

การปฏิบัติหนาที ่ของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง หนวยงานของรัฐและเจาหนาที ่ของรัฐ 

บุคคลซึ ่งใหขอมูลโดยสุจรติแกองคกรตรวจสอบการใชอํานาจรัฐหรือหนวยงานของรัฐเกี ่ยวกับการปฏิบัติหนาที ่ของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง 

หนวยงานของรฐั หรือเจาหนาท ่ีของรัฐ ยอมไดรับความคุ  มครอง 

Page 34: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 34/206

๒๔ สวนท ่ี ๑๑ 

เสรีภาพในการชมุนมุและการสมาคม 

มาตรา ๖๓  บุคคลยอมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ 

การจาํกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ ่งจะกระทาํมิได  เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะในกรณกีารชุมนุมสาธารณะ และเพื ่อ 

คุ  มครองความสะดวกของประชาชนที ่จะใชท ่ีสาธารณะ หรือเพ ่ือรักษาความสงบเรียบรอยในระหวางเวลาที ่ประเทศอยู ในภาวะสงคราม หรือในระหวางเวลาท ่ีมีประกาศสถานการณฉกุเฉินหรือประกาศใชกฎอัยการศกึ 

มาตรา ๖๔  บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกนัเปนสมาคม สหภาพ 

สหพันธ สหกรณ กลุ มเกษตรกร องคการเอกชน องคการพัฒนาเอกชน หรือหมู คณะอื ่น 

ขาราชการและเจาหนาท ่ีของรัฐยอมมีเสรีภาพในการรวมกลุ ม 

เชนเดียวกับบุคคลทั ่วไป แตท ้ังนี ้ตองไมกระทบประสิทธิภาพในการบรหิารราชการแผนดินและความตอเนื ่องในการจัดทาํบรกิารสาธารณะ ท ้ังนี ้ ตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

การจาํกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ ่งและวรรคสอง จะกระทาํมิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะเพื ่อคุ  มครองประโยชน สวนรวมของประชาชน เพ ่ือรักษาความสงบเรยีบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ 

ประชาชน หรือเพ ่ือปองกันมิใหมีการผูกขาดตัดตอนในทางเศรษฐกจิ 

มาตรา ๖๕  บุคคลยอมมีเสรีภาพในการรวมกนัจัดตั ้งพรรคการเมือง

เพ ่ือสรางเจตนารมณทางการเมืองของประชาชนและเพื ่อดําเนินกิจกรรมในทาง 

Page 35: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 35/206

๒๕ การเมืองใหเปนไปตามเจตนารมณนั ้นตามวถิีทางการปกครองระบอบระชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ 

การจัดองคกรภายใน การดําเนินกจิการ และขอบังคับของพรรค 

การเมือง ตองสอดคลองกับหลักการพื ้นฐานแหงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 

สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรซึ ่งเปนสมาชิกของพรรคการเมือง 

กรรมการบรหิารของพรรคการเมือง หรือสมาชิกพรรคการเมืองตามจาํนวนที ่กาํหนดในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง ซึ ่งเห็นวามติหรือขอบังคับในเรื ่องใดของพรรคการเมืองท ่ีตนเปนสมาชิกอย ูนั ้นจะขัดตอสถานะและการปฏิบัติหนาท ่ีของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญนี ้ หรือขัด 

หรือแยงกับหลักการพ ้ืนฐานแหงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี 

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีสิทธิรองขอใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย 

ในกรณที ่ีศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยวามติหรือขอบังคับดังกลาวขัด 

หรือแยงกับหลักการพื ้นฐานแหงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี 

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ใหมติหรือขอบังคับนั ้นเปนอันยกเลกิไป 

สวนท ่ี ๑๒ 

สิทธชิุมชน 

มาตรา ๖๖  บุคคลซึ ่งรวมกันเปนชุมชน ชุมชนทองถิ ่น หรือชุมชนทองถิ ่นดั ้งเดิม ยอมมีสิทธิอนุรักษหรือฟ นฟจูารตีประเพณ ีภมิูปญญาทองถิ ่น ศลิปวัฒนธรรมอันดีของทองถิ ่นและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การบาํรงุรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ สิ ่งแวดลอม รวมทั ้งความ 

หลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุลและยั ่งยนื 

Page 36: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 36/206

๒๖ มาตรา ๖๗  สิทธิของบุคคลที ่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการ

อนุรักษ บาํรุงรักษา และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความ 

หลากหลายทางชีวภาพ  และในการคุ  มครอง สงเสรมิ และรักษาคุณภาพสิ ่งแวดลอม 

เพ ่ือใหดํารงชีพอยู ไดอยางปกติและตอเนื ่องในสิ ่งแวดลอมท ่ีจะไมกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวติของตน ยอมไดรับความ 

คุ  มครองตามความเหมาะสม 

การดําเนินโครงการหรอืกิจกรรมที ่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชน 

อยางรนุแรงทั ้งทางดานคุณภาพสิ ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทาํมิได  เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน  และจัดใหมีกระบวนการรบัฟงความคิดเห็นของประชาชนและผู  มีสวนไดเสียกอน  รวมทั ้งไดใหองคการอิสระซึ ่งประกอบดวยผู  แทนองคการเอกชนดานสิ ่งแวดลอมและสุขภาพ และผู  แทนสถาบันอุดมศึกษาที ่จัดการการศกึษาดานสิ ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือดานสุขภาพ ใหความเห็น

ประกอบกอนมีการดําเนินการดังกลาว 

สิทธิของชุมชนท ่ีจะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรฐั รัฐวสิาหกิจ 

ราชการสวนทองถิ ่น หรือองคกรอื ่นของรัฐที ่เปนนิติบุคคล เพ ่ือใหปฏิบัติหนาที ่ตามบทบัญญัตินี ้ยอมไดรับความคุ  มครอง 

สวนที ่ ๑๓ 

สิทธพิทิักษรัฐธรรมนูญ 

มาตรา ๖๘  บุคคลจะใชสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื ่อลมลาง 

การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิทรงเปนประมุขตาม 

รัฐธรรมนูญนี ้ หรือเพ ่ือใหไดมาซึ ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวธีิการซึ ่งมิไดเปนไปตามวถิทีางที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ มิได 

Page 37: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 37/206

๒๗ ในกรณที ่ีบุคคลหรอืพรรคการเมืองใดกระทาํการตามวรรคหนึ ่ง 

ผู  ทราบการกระทาํดังกลาวยอมมีสิทธิเสนอเรื ่องใหอัยการสูงสุดตรวจสอบขอเทจ็จรงิ

และยื ่นคํารองขอใหศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยสั ่งการใหเลกิการกระทาํดังกลาว  แต ท ้ังนี ้ ไมกระทบกระเทอืนการดําเนินคดีอาญาตอผู  กระทาํการดังกลาว 

ในกรณที ่ีศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยสั ่งการใหพรรคการเมืองใดเลกิกระทาํการตามวรรคสอง ศาลรัฐธรรมนูญอาจสั ่งยบุพรรคการเมืองดังกลาวได 

ในกรณที ่ีศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั ่งยบุพรรคการเมืองตามวรรคสาม ใหเพิกถอนสิทธิเลอืกตั ้งของหัวหนาพรรคการเมืองและกรรมการบรหิารของพรรค 

การเมืองที ่ถูกยบุในขณะที ่กระทาํความผิดตามวรรคหนึ ่งเปนระยะเวลาหาปนับแตวันท ่ีศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั ่งดังกลาว 

มาตรา ๖๙  บุคคลยอมมีสิทธิตอตานโดยสันติวธีิซึ ่งการกระทาํใด ๆ 

ท ่ีเปนไปเพื ่อใหไดมาซึ ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวธีิการซึ ่งมิไดเปนไป

ตามวถิทีางที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ 

หมวด ๔ 

หนาที ่ของชนชาวไทย 

มาตรา ๗๐  บุคคลมีหนาท ่ีพิทักษรักษาไวซึ ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญนี ้ 

มาตรา ๗๑  บุคคลมีหนาท ่ีปองกันประเทศ รักษาผลประโยชนของ

ชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย 

Page 38: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 38/206

๒๘ มาตรา ๗๒  บุคคลมีหนาที ่ไปใชสิทธิเลือกตั ้ง 

บุคคลซึ ่งไปใชสิทธิหรือไมไปใชสิทธิโดยไมแจงเหตุอันสมควรท ่ีทาํ

ใหไมอาจไปใชสิทธิได ยอมไดรับสิทธิหรือเสียสิทธิตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

การแจงเหตุท ่ีทําใหไมอาจไปเลอืกตั ้งและการอํานวยความสะดวก 

ในการไปเลอืกตั ้งใหเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๗๓  บุคคลมีหนาท ่ีรับราชการทหาร ชวยเหลอืในการปองกันและบรรเทาภยัพิบัติสาธารณะ เสียภาษอีากร ชวยเหลอืราชการ รับการศกึษาอบรม 

พทิักษ ปกปอง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปญญาทองถ ่ิน และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ ่งแวดลอม  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๗๔  บุคคลผู  เปนขาราชการ พนักงาน ลูกจางของหนวย 

ราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ หรือเจาหนาท ่ีอื ่นของรัฐ มีหนาที ่ดําเนินการ

ใหเปนไปตามกฎหมายเพื ่อรักษาประโยชนสวนรวม อํานวยความสะดวก และใหบรกิารแกประชาชนตามหลักธรรมาภบิาลของการบรหิารกจิการบานเมืองที ่ดี 

ในการปฏิบัติหนาที ่และในการปฏิบัติการอื ่นที ่เกี ่ยวของกับประชาชน 

บุคคลตามวรรคหนึ ่งตองวางตนเปนกลางทางการเมือง 

ในกรณที ่ีบุคคลตามวรรคหนึ ่งละเลยหรอืไมปฏิบัติใหเปนไปตามหนาท ่ีตามวรรคหนึ ่งหรอืวรรคสอง บุคคลผู  มีสวนไดเสียยอมมีสิทธิขอใหบุคคล

ตามวรรคหนึ ่งหรอืผู  บังคับบัญชาของบคุคลดังกลาว ชี ้แจง แสดงเหตุผล และขอใหดําเนินการใหเปนไปตามบทบัญญัติในวรรคหนึ ่งหรอืวรรคสองได 

Page 39: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 39/206

๒๙ หมวด ๕ 

แนวนโยบายพื  ้นฐานแหงรัฐ 

สวนท ่ี ๑ 

บทท ่ัวไป 

มาตรา ๗๕  บทบัญญัติในหมวดนี ้เปนเจตจํานงใหรัฐดําเนินการตรากฎหมายและกาํหนดนโยบายในการบรหิารราชการแผนดินในการแถลงนโยบายตอรัฐสภา คณะรัฐมนตรีท ่ีจะเขาบรหิารราชการแผนดิน ตองชี ้แจงตอรัฐสภาใหชัดแจงวาจะดําเนินการใด ในระยะเวลาใด เพ ่ือบริหารราชการแผนดินใหเปนไปตามแนวนโยบายพื ้นฐานแหงรัฐ  และตองจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการ รวมทั ้ง

ปญหาและอุปสรรค เสนอตอรัฐสภาปละหนึ ่งครั ้ง 

มาตรา ๗๖  คณะรัฐมนตรีตองจัดทําแผนการบรหิารราชการแผนดิน 

เพ ่ือแสดงมาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติราชการในแตละปของการบรหิารราชการแผนดิน ซึ ่งจะตองสอดคลองกับแนวนโยบายพื ้นฐานแหงรัฐ 

ในการบรหิารราชการแผนดิน คณะรัฐมนตรีตองจัดใหมีแผนการตรากฎหมายที ่จําเปนตอการดําเนินการตามนโยบายและแผนการบรหิารราชการแผนดิน 

Page 40: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 40/206

๓๐ สวนท ่ี ๒ 

แนวนโยบายดานความม ่ันคงของรัฐ 

มาตรา ๗๗  รัฐตองพทิักษรักษาไวซึ ่งสถาบันพระมหากษัตริย เอกราช อธิปไตย และบรูณภาพแหงเขตอํานาจรัฐ  และตองจัดใหมีกําลังทหาร 

อาวธุยุทโธปกรณ และเทคโนโลยที ่ีทันสมัย จาํเปน และเพยีงพอ เพ ่ือพิทักษรักษาเอกราช อธิปไตย ความมั ่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย ผลประโยชนแหงชาติ 

และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และเพ ่ือการพัฒนาประเทศ 

สวนท ่ี ๓ 

แนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน 

มาตรา ๗๘  รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการบรหิารราชการแผนดิน ดังตอไปนี ้ 

(๑) บริหารราชการแผนดินใหเปนไปเพ ่ือการพัฒนาสังคม เศรษฐกจิ 

และความมั ่นคงของประเทศอยางย ่ังยนื โดยตองสงเสริมการดําเนินการตามปรัชญา เศรษฐกจิพอเพียงและคํานึงถงึผลประโยชนของประเทศชาติในภาพรวมเปนสําคัญ 

(๒) จัดระบบการบรหิารราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ ่น ใหมีขอบเขต อํานาจหนาที ่ และความรับผิดชอบท ่ีชัดเจนเหมาะสมแกการพัฒนาประเทศ และสนับสนุนใหจังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื ่อพัฒนาจังหวัด เพ ่ือประโยชนของประชาชนในพื ้นท ่ี 

(๓) กระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ ่นพ ่ึงตนเองและ 

ตัดสินใจในกจิการของทองถิ ่นไดเอง สงเสรมิใหองคกรปกครองสวนทองถิ ่นมี 

Page 41: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 41/206

๓๑ สวนรวมในการดําเนินการตามแนวนโยบายพื ้นฐานแหงรัฐ พัฒนาเศรษฐกจิของ ทองถิ ่นและระบบสาธารณปูโภคและสาธารณปูการ ตลอดท ้ังโครงสรางพ ้ืนฐาน 

สารสนเทศในทองถิ ่น ใหท ่ัวถงึและเทาเทยีมกันท ่ัวประเทศ  รวมทั ้งพัฒนาจังหวัด 

ท ่ีมีความพรอมใหเปนองคกรปกครองสวนทองถิ ่นขนาดใหญ โดยคํานึงถงึ 

เจตนารมณของประชาชนในจังหวัดนั ้น 

(๔) พัฒนาระบบงานภาครฐั โดยมุ งเนนการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม 

และจรยิธรรมของเจาหนาท ่ีของรัฐ ควบคู ไปกับการปรับปรุงรปูแบบและวธีิการทํางาน เพ ่ือใหการบรหิารราชการแผนดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และสงเสรมิใหหนวยงานของรฐัใชหลักการบรหิารกจิการบานเมืองที ่ดีเปนแนวทางในการปฏิบัติราชการ 

(๕) จัดระบบงานราชการและงานของรฐัอยางอื ่น เพ ่ือใหการจัดทําและการใหบรกิารสาธารณะเปนไปอยางรวดเรว็ มีประสิทธิภาพ โปรงใส และ 

ตรวจสอบไดโดยคํานึงถงึการมีสวนรวมของประชาชน 

(๖) ดําเนินการใหหนวยงานทางกฎหมายที ่มีหนาท ่ีใหความเห็น 

เกี ่ยวกับการดําเนินงานของรัฐตามกฎหมายและตรวจสอบการตรากฎหมายของรฐั 

ดําเนินการอยางเปนอิสระ เพื ่อใหการบรหิารราชการแผนดินเปนไปตามหลักนิติธรรม 

(๗) จัดใหมีแผนพัฒนาการเมือง รวมทั ้งจัดใหมีสภาพัฒนาการเมือง 

ท ่ีมีความเปนอิสระ เพื ่อติดตามสอดสองใหมีการปฏิบัติตามแผนดังกลาวอยางเครงครัด 

(๘) ดําเนินการใหขาราชการและเจาหนาที ่ของรัฐไดรับสิทธิประโยชน 

อยางเหมาะสม 

Page 42: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 42/206

๓๒ สวนท ่ี ๔ 

แนวนโยบายดานศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม 

มาตรา ๗๙  รัฐตองใหความอุปถัมภและคุ  มครองพระพทุธศาสนาซึ ่งเปนศาสนาที ่ประชาชนชาวไทยสวนใหญนับถอืมาชานานและศาสนาอื ่น  ทั ้งตองสงเสริมความเขาใจอันดีและความสมานฉันทระหวางศาสนิกชนของทกุศาสนา รวมทั ้งสนับสนุนการนําหลักธรรมของศาสนามาใชเพ ่ือเสริมสรางคุณธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวติ 

มาตรา ๘๐  รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานสังคม 

การ สาธารณสุข การศกึษา และวัฒนธรรม ดังตอไปนี ้ (๑) คุ  มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี ้ยงดู

และใหการศกึษาปฐมวัย สงเสริมความเสมอภาคของหญงิและชาย เสริมสรางและพัฒนาความเปนปกแผนของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทั ้งตองสงเคราะหและจัดสวัสดิการใหแกผู  สูงอาย ุผู  ยากไร ผู  พิการหรอืทุพพลภาพ และผู  อย ูในสภาวะยากลาํบาก ใหมีคุณภาพชีวติท ่ีดีขึ ้นและพึ ่งพาตนเองได 

(๒) สงเสรมิ สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที ่เนนการสรางเสรมิสุขภาพอันนําไปสู สุขภาวะที ่ย ่ังยืนของประชาชน  รวมท ้ังจัดและสงเสริมใหประชาชนไดรับบริการสาธารณสุขท ่ีมีมาตรฐานอยางท ่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ 

และสงเสรมิใหเอกชนและชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาสุขภาพและการจดับริการสาธารณสุข  โดยผู  มีหนาที ่ใหบรกิารดังกลาวซึ ่งไดปฏิบัติหนาที ่ตามมาตรฐานวชิาชีพและจรยิธรรม ยอมไดรับความคุ  มครองตามกฎหมาย 

(๓) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจดัการศกึษาในทกุระดับและ

ทุกรปูแบบใหสอดคลองกับความเปลี ่ยนแปลงทางเศรษฐกจิและสังคม จัดใหมีแผนการศกึษาแหงชาติ กฎหมายเพ ่ือพัฒนาการศกึษาของชาติ จัดใหมีการพัฒนาคุณภาพ

Page 43: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 43/206

๓๓ ครแูละบคุลากรทางการศกึษาใหกาวหนาทันการเปลี ่ยนแปลงของสังคมโลก รวมทั ้งปลกูฝงใหผู  เรียนมีจิตสํานึกของความเปนไทย มีระเบยีบวนัิย คํานึงถงึประโยชน

สวนรวม และยดึมั ่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิทรงเปนประมุข 

(๔) สงเสรมิและสนับสนุนการกระจายอํานาจเพื ่อใหองคกรปกครอง สวนทองถิ ่น ชุมชน องคการทางศาสนา และเอกชน จัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษาเพื ่อพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษาใหเทาเทียมและสอดคลองกับแนวนโยบายพื ้นฐานแหงรัฐ 

(๕) สงเสรมิและสนับสนุนการศกึษาวจิัยในศลิปวทิยาการแขนงตาง ๆ 

และเผยแพรขอมูลผลการศกึษาวจิัยท ่ีไดรับทุนสนับสนุนการศกึษาวิจัยจากรัฐ 

(๖) สงเสรมิและสนับสนุนความรู  รักสามัคคีและการเรยีนรู    ปลกูจติสํานึกและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณขีองชาติ ตลอดจน 

คานิยมอันดีงามและภมิูปญญาทองถิ ่น 

สวนที ่ ๕ 

แนวนโยบายดานกฎหมายและการยติุธรรม 

มาตรา ๘๑  รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานกฎหมายและการยุติธรรม ดังตอไปนี ้ 

(๑) ดูแลใหมีการปฏิบัติและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมายอยางถกูตอง รวดเรว็ เปนธรรมและทั ่วถงึ สงเสริมการใหความชวยเหลอืและใหความรู  ทางกฎหมายแกประชาชน และจัดระบบงานราชการและงานของรฐัอยางอื ่น 

ในกระบวนการ  ยุติธรรมใหมีประสิทธิภาพโดยใหประชาชนและองคกรวิชาชีพ 

มีสวนรวมในกระบวนการยติุธรรมและการชวยเหลอืประชาชนทางกฎหมาย 

Page 44: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 44/206

๓๔ (๒) คุ  มครองสิทธิและเสรีภาพของบคุคลใหพนจากการลวงละเมิด 

ท ้ังโดยเจาหนาที ่ของรัฐและโดยบคุคลอื ่น และตองอํานวยความยติุธรรมแกประชาชน 

อยางเทาเทยีมกัน 

(๓) จัดใหมีกฎหมายเพื ่อจัดตั ้งองคกรเพื ่อการปฏิรูปกฎหมายที ่ ดําเนินการเปนอิสระ เพ ่ือปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของประเทศ รวมทั ้งการ 

ปรับปรงุกฎหมายใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญโดยตองรับฟงความคิดเห็นของผู  ท ่ี ไดรับผลกระทบจากกฎหมายนั ้นประกอบดวย 

(๔) จัดใหมีกฎหมายเพื ่อจัดตั ้งองคกรเพื ่อการปฏิรูปกระบวนการ 

ยุติธรรมท ่ีดําเนินการเปนอิสระ เพ ่ือปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานของ หนวยงานที ่เก ่ียวของกับกระบวนการยติุธรรม 

(๕) สนับสนุนการดําเนินการขององคกรภาคเอกชนที ่ใหความ 

ชวยเหลอืทางกฎหมาย โดยเฉพาะผู  ไดรับผลกระทบจากความรนุแรงในครอบครัว 

สวนท ่ี  ๖ แนวนโยบายดานการตางประเทศ 

มาตรา ๘๒  รัฐตองสงเสริมสัมพันธไมตรีและความรวมมือกับ 

นานาประเทศ และพงึถอืหลักในการปฏิบัติตอกันอยางเสมอภาค ตลอดจนตองปฏิบัติตามสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชนที ่ประเทศไทยเปนภาคี  รวมทั ้งตาม 

พันธกรณทีี ่ไดกระทาํไวกับนานาประเทศและองคการระหวางประเทศ 

รัฐตองสงเสรมิการคา การลงทนุ และการทองเท ่ียวกับนานาประเทศ 

ตลอดจนตองใหความคุ  มครองและดูแลผลประโยชนของคนไทยในตางประเทศ 

Page 45: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 45/206

๓๕ สวนที ่ ๗ 

แนวนโยบายดานเศรษฐกจิ 

มาตรา ๘๓  รัฐตองสงเสรมิและสนับสนุนใหมีการดําเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิพอเพยีง 

มาตรา ๘๔  รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานเศรษฐกจิ 

ดังตอไปนี ้ (๑) สนับสนุนระบบเศรษฐกจิแบบเสรแีละเปนธรรมโดยอาศัยกลไก

ตลาด และสนับสนุนใหมีการพัฒนาเศรษฐกจิอยางยั ่งยนื  โดยตองยกเลกิและละเวนการตรากฎหมายและกฎเกณฑที ่ควบคุมธุรกจิซึ ่งมีบทบัญญัติที ่ไมสอดคลองกับความจาํเปนทางเศรษฐกจิ และตองไมประกอบกจิการที ่มีลักษณะเปนการแขงขัน

กับเอกชน  เวนแตมีความจาํเปนเพ ่ือประโยชนในการรักษาความมั ่นคงของรัฐ รักษาผลประโยชนสวนรวม หรือการจัดใหมีสาธารณปูโภค 

(๒) สนับสนุนใหมีการใชหลักคุณธรรม จรยิธรรม และ 

หลักธรรมาภบิาล ควบคู กับการประกอบกจิการ 

(๓)ควบคุมใหมีการรักษาวนัิยการเงนิการคลังเพื ่อสนับสนุนเสถยีรภาพ 

และความมั ่นคงทางเศรษฐกจิและสังคมของประเทศ ปรับปรงุระบบการจัดเกบ็ 

ภาษีอากรใหมีความเปนธรรมและสอดคลองกับการเปลี ่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกจิและสังคม 

(๔) จัดใหมีการออมเพ ่ือการดํารงชีพในยามชราแกประชาชนและ 

เจาหนาที ่ของรัฐอยางทั ่วถงึ 

(๕) กาํกับใหการประกอบกจิการมีการแขงขันอยางเสรแีละเปนธรรม 

ปองกันการผูกขาดตัดตอนไมวาโดยทางตรงหรอืทางออม และคุ  มครองผู  บริโภค 

Page 46: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 46/206

๓๖ (๖) ดําเนินการใหมีการกระจายรายไดอยางเปนธรรม คุ  มครอง สงเสรมิ 

และขยายโอกาสในการประกอบอาชีพของประชาชนเพื ่อการพัฒนาเศรษฐกจิ 

รวมทั ้งสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาภมิูปญญาทองถิ ่นและภมิูปญญาไทย 

เพ ่ือใชในการผลติสินคา บริการ และการประกอบอาชีพ 

(๗) สงเสรมิใหประชากรวยัทํางานมีงานทาํ คุ  มครองแรงงานเด็ก 

และสตร ีจัดระบบแรงงานสัมพันธและระบบไตรภาคีท ่ีผู  ทํางานมีสิทธิเลือกผู  แทนของตน จัดระบบประกันสังคม รวมทั ้งคุ  มครองใหผู  ทํางานที ่มีคุณคาอยางเดียวกันไดรับคาตอบแทน สิทธิประโยชน และสวัสดิการที ่เปนธรรมโดยไมเลือกปฏิบัติ 

(๘) คุ  มครองและรักษาผลประโยชนของเกษตรกรในการผลติและการตลาด สงเสรมิใหสินคาเกษตรไดรับผลตอบแทนสูงสุด  รวมทั ้งสงเสรมิ 

การรวมกลุ มของเกษตรกรในรปูของสภาเกษตรกรเพื ่อวางแผนการเกษตรและรกัษาผลประโยชนรวมกันของเกษตรกร 

(๙) สงเสริม สนับสนุน และคุ  มครองระบบสหกรณใหเปนอิสระ และ

การรวมกลุ มการประกอบอาชีพหรอืวชิาชีพตลอดท ้ังการรวมกลุ มของประชาชนเพื ่อ 

ดําเนินกจิการดานเศรษฐกจิ 

(๑๐) จัดใหมีสาธารณปูโภคขั ้นพ ้ืนฐานอันจาํเปนตอการดํารงชีวติของประชาชนเพื ่อประโยชนในการรักษาความมั ่นคงของรัฐในทางเศรษฐกจิ และตองมิใหสาธารณูปโภคข ้ันพ ้ืนฐานอันจํ าเปนตอการดํารงชีวิตของประชาชน  

อย ูในความผูกขาดของเอกชนอันอาจกอความเสียหายแกรัฐ 

(๑๑) การดําเนินการใดที ่เปนเหตุใหโครงสรางหรอืโครงขาย 

ข ้ันพ ้ืนฐานของกจิการสาธารณปูโภคขั ้นพื ้นฐานของรัฐอันจาํเปนตอการดํารงชีวติของประชาชน หรือเพ ่ือความมั ่นคงของรัฐตกไปเปนกรรมสิทธิ ์ของเอกชน หรือ 

ทําใหรัฐเปนเจาของนอยกวารอยละหาสิบเอ็ด จะกระทาํมิได (๑๒) สงเสรมิและสนับสนุน กิจการพาณชิยนาว ีการขนสงทางราง 

รวมทั ้งการดําเนินการตามระบบบรหิารจัดการขนสงทั ้งภายในและระหวางประเทศ 

Page 47: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 47/206

๓๗ (๑๓) สงเสรมิและสนับสนุนองคกรภาคเอกชนทางเศรษฐกจิทั ้งใน

ระดับชาติและระดับทองถิ ่นใหมีความเขมแข็ง 

(๑๔) สงเสรมิอุตสาหกรรมแปรรปูผลผลติทางการเกษตรเพื ่อใหเกิดมูลคาเพิ ่มในทางเศรษฐกจิ 

สวนท ่ี ๘ 

แนวนโยบายดานท ่ีดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ ่งแวดลอม 

มาตรา ๘๕  รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานท ่ีดิน 

ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ ่งแวดลอม ดังตอไปนี ้ (๑) กําหนดหลักเกณฑการใชท ่ีดินใหครอบคลมุท ่ัวประเทศ โดยให

คํานึงถงึความสอดคลองกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ท ้ังผืนดิน ผืนน้ ํา วถิชีีวติ

ของชุมชนทองถิ ่นและการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ และกาํหนดมาตรฐานการใชท ่ีดินอยางย ่ังยนื โดยตองใหประชาชนในพื ้นท ่ีท ่ีไดรับผลกระทบจากหลักเกณฑการใชท ่ีดินนั ้นมีสวนรวมในการตัดสินใจดวย 

(๒) กระจายการถอืครองที ่ดินอยางเปนธรรมและดําเนินการใหเกษตรกรมีกรรมสิทธิ ์หรือสิทธิในที ่ดินเพ ่ือประกอบเกษตรกรรมอยางทั ่วถงึโดยการปฏิรูปที ่ดินหรือวิธีอื ่น  รวมทั ้งจัดหาแหลงน้ ําเพ ่ือใหเกษตรกรมีน้ ําใชอยางพอเพยีงและเหมาะสมแกการเกษตร 

(๓) จัดใหมีการวางผังเมือง พัฒนา และดําเนินการตามผังเมือง 

อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพ ่ือประโยชนในการดูแลรักษารัพยากร 

ธรรมชาติอยางยั ่งยนื 

(๔) จัดใหมีแผนการบรหิารจดัการทรพัยากรน้ ําและทรพัยากรธรรมชาติ

อื ่นอยางเปนระบบและเกดิประโยชนตอสวนรวม ท ้ังตองใหประชาชนมีสวนรวม 

Page 48: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 48/206

๓๘ ในการสงวน บํารงุรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความ 

หลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล 

(๕) สงเสริม บํารงุรักษา และคุ  มครองคุณภาพสิ ่งแวดลอมตามหลักการพัฒนาที ่ยั ่งยนื ตลอดจนควบคุมและกาํจัดภาวะมลพษิที ่มีผลตอสุขภาพอนามัย 

สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวติของประชาชน โดยประชาชน ชุมชนทองถิ ่น และ 

องคกรปกครองสวนทองถิ ่น ตองมีสวนรวมในการกาํหนดแนวทางการดําเนินงาน 

สวนที ่ ๙ 

แนวนโยบายดานวิทยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และพลังงาน 

มาตรา ๘๖ รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานวทิยาศาสตร ทรัพยสินทางปญญา และพลังงาน ดังตอไปนี ้ 

(๑) สงเสริมใหมีการพัฒนาดานวิทยาศาสตร  เทคโนโลยี และนวัตกรรมดานตาง ๆ โดยจัดใหมีกฎหมายเฉพาะเพื ่อการนี ้ จัดงบประมาณสนับสนุนการศกึษา คนควา วจิัย และใหมีสถาบันการศกึษาและพัฒนา จัดใหมีการใชประโยชนจากผลการศกึษาและพัฒนา การถายทอดเทคโนโลยทีี ่มีประสิทธิภาพ 

และการพัฒนาบคุลากรที ่เหมาะสม รวมทั ้งเผยแพรความรู  ดานวทิยาศาสตรและเทคโนโลยสีมัยใหม และสนับสนุนใหประชาชนใชหลักดานวทิยาศาสตรในการดํารงชีวติ 

(๒) สงเสริมการประดิษฐหรือการคนคิดเพ ่ือใหเกิดความรู  ใหม รักษาและพัฒนาภมิูปญญาทองถิ ่นและภมิูปญญาไทย  รวมทั ้งใหความคุ  มครองทรัพยสินทางปญญา 

(๓) สงเสริมและสนับสนุนการวิจัย  พัฒนา และใชประโยชนจาก 

พลังงานทดแทนซึ ่งไดจากธรรมชาติและเปนคุณตอสิ ่งแวดลอมอยางตอเนื ่อง 

และเปนระบบ 

Page 49: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 49/206

๓๙ สวนท ่ี ๑๐ 

แนวนโยบายดานการมสีวนรวมของประชาชน 

มาตรา ๘๗  รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน ดังตอไปนี ้ 

(๑) สงเสรมิใหประชาชนมีสวนรวมในการกาํหนดนโยบายและ 

วางแผนพัฒนาเศรษฐกจิและสังคมทั ้งในระดับชาติและระดับทองถิ ่น 

(๒) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการ 

ตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพฒันาทางเศรษฐกจิ และสังคม รวมทั ้งการจัดทาํบริการสาธารณะ 

(๓) สงเสรมิและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการ 

ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองคกรทางวิชาชีพหรือตามสาขา

อาชีพที ่หลากหลายหรอืรูปแบบอื ่น 

(๔) สงเสรมิใหประชาชนมีความเขมแข็งในทางการเมือง และจัดใหมีกฎหมายจัดตั ้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองเพ ่ือชวยเหลอืการดําเนิน 

กจิกรรมสาธารณะของชุมชน  รวมทั ้งสนับสนุนการดําเนินการของกลุ มประชาชนท ่ีรวมตัวกันในลักษณะเครอืขายทกุรปูแบบใหสามารถแสดงความคิดเห็นและเสนอความตองการของชุมชนในพ ้ืนท ่ี 

(๕) สงเสรมิและใหการศกึษาแกประชาชนเกี ่ยวกับการพัฒนาการเมืองและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิทรงเปนประมุข  รวมทั ้งสงเสริมใหประชาชนไดใชสิทธิเลอืกตั ้งโดยสุจรติและเที ่ยงธรรม 

การมีสวนรวมของประชาชนตามมาตรานี ้ตองคํานึงถงึสัดสวนของ 

หญิงและชายที ่ใกลเคียงกัน 

Page 50: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 50/206

๔๐ หมวด  ๖ 

รัฐสภา 

สวนท ่ี ๑ 

บทท ่ัวไป 

มาตรา ๘๘  รัฐสภาประกอบดวยสภาผู  แทนราษฎรและวฒุสิภา รัฐสภาจะประชุมรวมกันหรือแยกกัน ยอมเปนไปตามบทบัญญัติ 

แหงรัฐธรรมนูญนี ้ บุคคลจะเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวฒุสิภา 

ในขณะเดียวกันมิได 

มาตรา ๘๙  ประธานสภาผู  แทนราษฎรเปนประธานรัฐสภา ประธานวฒุสิภาเปนรองประธานรัฐสภา 

ในกรณที ่ีไมมีประธานสภาผู  แทนราษฎร หรือประธานสภาผู  แทนราษฎรไมอย ูหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที ่ประธานรัฐสภาได ใหประธานวฒุสิภา ทําหนาท ่ีประธานรัฐสภาแทน 

ประธานรัฐสภามีอํานาจหนาท ่ีตามท ่ีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ และ 

ดําเนินกจิการของรัฐสภาในกรณปีระชุมรวมกันใหเปนไปตามขอบังคับ 

ประธานรัฐสภาและผู  ทาํหนาท ่ีแทนประธานรัฐสภาตองวางตน 

เปนกลางในการปฏิบัติหนาท ่ี รองประธานรัฐสภามีอํานาจหนาท ่ีตามท ่ีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ 

และตามที ่ประธานรัฐสภามอบหมาย 

Page 51: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 51/206

๔๑ มาตรา ๙๐  รางพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญและรางพระราช

บัญญัติจะตราขึ ้นเปนกฎหมายไดก็แตโดยคําแนะนําและยนิยอมของรัฐสภา  และ

เมื ่อพระมหากษัตริยไดทรงลงพระปรมาภไิธยหรือถือเสมือนวาไดทรงลง พระปรมาภไิธยตามรัฐธรรมนูญนี ้แลว ใหประกาศในราชกจิจานุเบกษาเพื ่อใชบังคับเปนกฎหมายตอไป 

มาตรา ๙๑  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภาจาํนวน 

ไมนอยกวาหนึ ่งในสิบของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของแตละสภา มีสิทธิเขาชื ่อรองตอประธานแหงสภาที ่ตนเปนสมาชิกวา สมาชิกภาพของสมาชิกคนใด 

คนหนึ ่งแหงสภานั ้นสิ ้นสุดลงตามมาตรา ๑๐๖ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๑๐) หรือ 

(๑๑) หรือมาตรา ๑๑๙ (๓) (๔) (๕) (๗) หรือ (๘) แลวแตกรณี  และใหประธาน 

แหงสภาที ่ไดรับคํารองสงคํารองนั ้นไปยัง ศาลรัฐธรรมนูญเพื ่อวินิจฉัยวา สมาชิกภาพของสมาชิกผู  นั ้นสิ ้นสุดลงหรอืไม 

เมื ่อศาลรัฐธรรมนูญมีคําวนิิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจงคําวนิิจฉัยนั ้นไปยังประธานแหงสภาที ่ไดรับคํารองตามวรรคหนึ ่ง 

ในกรณที ่ีคณะกรรมการการเลอืกตั ้งเห็นวาสมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภาคนใดคนหนึ ่งมีเหตุสิ ้นสุดลงตามวรรคหนึ ่ง 

ใหสงเรื ่องไปยังประธานแหงสภาที ่ผู  นั ้นเปนสมาชิก และใหประธานแหงสภานั ้นสงเรื ่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพ ่ือวนิิจฉัยตามวรรคหนึ ่งและวรรคสอง 

มาตรา ๙๒  การออกจากตําแหนงของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอื 

สมาชิกวฒุสิภาภายหลังวันท ่ีสมาชิกภาพสิ ้นสุดลง หรือวันท ่ีศาลรัฐธรรมนูญ  มีคําวนิิจฉัยวาสมาชิกภาพของสมาชิกคนใดคนหนึ ่งสิ ้นสุดลง ยอมไมกระทบกระเทอืนกิจการที ่สมาชิกผู  นั ้นไดกระทาํไปในหนาที ่สมาชิก  รวมทั ้งการไดรับเงนิ

ประจาํตําแหนงหรอืประโยชนตอบแทนอยางอื ่นกอนท ่ีสมาชิกผู  นั ้นออกจากตําแหนง หรือกอนท ่ีประธานแหงสภาที ่ผู  นั ้นเปนสมาชิกไดรับแจงคําวนิิจฉัย  ของ

Page 52: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 52/206

๔๒ ศาลรัฐธรรมนูญ แลวแตกรณ ี เวนแตในกรณที ่ีออกจากตําแหนงเพราะเหตุท ่ีผู  นั ้น 

ไดรับเลือกตั ้งหรือสรรหามาโดยไมชอบดวยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

วาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา ใหคืนเงนิประจาํตําแหนงและประโยชนตอบแทนอยางอื ่นท ่ีผู  นั ้นไดรับมาเนื ่องจาก 

การดํารงตําแหนงดังกลาว 

สวนท ่ี ๒ 

สภาผู  แทนราษฎร 

มาตรา ๙๓  สภาผู  แทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกจาํนวนสี ่รอย 

แปดสิบคน โดยเปนสมาชิกซึ ่งมาจากการเลอืกตั ้งแบบแบงเขตเลอืกตั ้งจาํนวน 

สี ่รอยคน และสมาชิกซึ ่งมาจากการเลอืกตั ้งแบบสัดสวนจาํนวนแปดสิบคน 

การเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรใหใชวธีิออกเสียงลงคะแนน

โดยตรงและลบั  โดยใหใชบัตรเลือกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบละหนึ ่งใบ 

หลักเกณฑและวธีิการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา 

ในกรณที ่ีตําแหนงสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรวางลงไมวาดวยเหตุใด 

และยังมิไดมีการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรขึ ้นแทนตําแหนงที ่วาง ใหสภา ผู  แทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเทาที ่มีอย ู 

ภายใตบังคับมาตรา ๑๐๙ (๒) ในกรณที ่ีมีเหตุใด ๆ ทําใหในระหวางอายขุองสภาผู  แทนราษฎรมีสมาชิกซึ ่งไดรับเลือกตั ้งจากการเลอืกตั ้งแบบสัดสวน 

มีจาํนวนไมถึงแปดสิบคน ใหสมาชิกซึ ่งมาจากการเลอืกตั ้งแบบสัดสวนประกอบดวยสมาชิกเทาที ่มีอย ู 

ในกรณที ่ีมีเหตุการณใด ๆ ทาํใหการเลอืกตั ้งทั ่วไปครั ้งใดมีจํานวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรไมถงึสี ่รอยแปดสิบคน แตมีจาํนวนไมนอยกวารอยละ 

Page 53: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 53/206

๔๓ เกาสิบหาของจาํนวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรทั ้งหมด  ใหถือวาสมาชิกจาํนวนนั ้นประกอบเปนสภาผู  แทนราษฎร แตตองดําเนินการใหมีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร 

ใหครบจาํนวนตามที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ภายในหนึ ่งรอยแปดสิบวัน และใหอย ูในตําแหนงไดเพียงเทาอายุของสภาผู  แทนราษฎรที ่เหลืออย ู 

มาตรา ๙๔  การเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบแบงเขตเลอืกตั ้ง 

ใหผู  มีสิทธิเลอืกตั ้งในเขตเลอืกตั ้งใดมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลอืกตั ้งผู  สมัครรับเลอืกตั ้งไดเทาจาํนวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรที ่มีไดในเขตเลือกตั ้งนั ้น 

การคํานวณจํานวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรที ่จะพงึมีไดในแตละเขตเลอืกตั ้งและการกาํหนดเขตเลือกตั ้ง ใหดําเนินการดังตอไปนี ้ 

(๑) ใหคํานวณเกณฑจาํนวนราษฎรตอสมาชิกหนึ ่งคน โดยคํานวณจากจาํนวนราษฎรทั ้งประเทศตามหลักฐานการทะเบยีนราษฎรที ่ประกาศในป สุดทายกอนปท ่ีมีการเลอืกตั ้ง เฉลี ่ยดวยจํานวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรสี ่รอยคน 

(๒) จังหวัดใดมีราษฎรไมถงึเกณฑจํานวนราษฎรตอสมาชิกหนึ ่งคนตาม (๑) ใหจังหวัดนั ้นมีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรไดหนึ ่งคน  จังหวัดใดมีราษฎรเกินเกณฑจํานวนราษฎรตอสมาชิกหนึ ่งคน ใหจังหวัดนั ้นมีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเพิ ่มขึ ้นอีกหนึ ่งคนทกุจาํนวนราษฎรที ่ถงึเกณฑจาํนวนราษฎรตอสมาชิก 

หนึ ่งคน 

(๓) เมื ่อไดจาํนวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรของแตละจังหวัดตาม 

(๒) แลว ถาจาํนวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรที ่คํานวณไดยังไมครบสี ่รอยคน ใหจังหวัดท ่ีมีเศษเหลอืจากการคํานวณตาม (๒) มากท ่ีสุด มีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเพ ่ิมขึ ้นอีกหนึ ่งคน  และใหเพ ่ิมจํานวนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตามวธีิการดังกลาวแกจังหวัดท ่ีมีเศษเหลอืจากการคํานวณตาม (๒) ในลําดับรองลงมาตามลาํดับ จนไดจาํนวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรครบสี ่รอยคน 

(๔) การกาํหนดเขตเลือกตั ้งใหดําเนินการโดยจังหวัดใดมีสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรไดไมเกินสามคน ใหถือเขตจังหวัดเปนเขตเลือกตั ้ง  แตถาจังหวัด

Page 54: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 54/206

๔๔ ใดมีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรไดเกนิสามคน ใหแบงเขตจังหวัดออกเปนเขตเลือกตั ้ง 

โดยจัดใหแตละเขตเลอืกตั ้งมีจํานวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรสามคน 

(๕) ในกรณที ่ีแบงเขตเลอืกตั ้งในจังหวัดหนึ ่งใหมีจาํนวนสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรครบสามคนทกุเขตไมได ใหแบงเขตเลอืกตั ้งออกเปนเขตเลือกตั ้งที ่มีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเขตละสามคนเสียกอน แตเขตท ่ีเหลือตองไมนอยกวา เขตละสองคน  ถาจังหวัดใดมีการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรไดสี ่คน ใหแบงเขตเลือกตั ้งออกเปนสองเขตเขตหนึ ่งใหมีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรสองคน 

(๖) จังหวัดใดมีการแบงเขตเลอืกตั ้งมากกวาหนึ ่งเขต ตองแบงพื ้นท ่ีของเขตเลอืกตั ้งแตละเขตใหติดตอกัน และตองใหมีจาํนวนราษฎรในแตละเขต 

ใกลเคียงกัน 

ใหดําเนินการนับคะแนนที ่หนวยเลอืกตั ้ง และใหสงผลการนับคะแนนของหนวยเลอืกตั ้งนั ้นไปรวมที ่เขตเลือกตั ้ง เพ ่ือนับคะแนนรวม แลวใหประกาศผลการนับคะแนนโดยเปดเผย ณ สถานท ่ีแหงใดแหงหนึ ่งแตเพียงแหงเดียว

ในเขตเลือกตั ้งนั ้นตามท ่ีคณะกรรมการการเลอืกตั ้งกาํหนด  เวนแตเปนกรณที ่ีมีความจาํเปนเฉพาะทองที ่ คณะกรรมการการเลอืกตั ้งจะกาํหนดใหนับคะแนน 

รวมผลการนับคะแนน และประกาศผลการนับคะแนนเปนอยางอื ่นก็ได  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา 

มาตรา ๙๕  การเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบสัดสวน ใหมีการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรตามบัญชีรายชื ่อท ่ีพรรคการเมืองจัดทําขึ ้น 

โดยใหผู  มีสิทธิเลือกตั ้งในเขตเลอืกตั ้งใดมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลอืกพรรค 

การเมืองที ่จัดทําบัญชีรายชื ่อผู  สมัครรับเลอืกตั ้งในเขตเลอืกตั ้งนั ้นไดหนึ ่งเสียง 

พรรคการเมืองหนึ ่งจะสงผู  สมัครรับเลือกตั ้งแบบสัดสวนทกุเขต 

เลอืกตั ้งหรือจะสงเพยีงบางเขตเลอืกตั ้งกไ็ด 

Page 55: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 55/206

๔๕ บัญชีรายชื ่อผู  สมัครรับเลือกตั ้งแบบสัดสวนของพรรคการเมืองใด 

ที ่ไดย ่ืนไวแลว  ถาปรากฏวากอนหรือในวันเลือกตั ้งมีเหตุไมวาดวยประการใดที ่มี

ผลทาํใหบัญชีรายชื ่อของพรรคการเมืองนั ้นมีจํานวนผู  สมัครรับเลอืกตั ้งแบบสัดสวนไมครบตามจาํนวนที ่พรรคการเมืองนั ้นไดย ่ืนไว  ใหถอืวาบัญชีรายชื ่อของ 

พรรคการเมืองนั ้นมีจํานวนผู  สมัครรับเลือกตั ้งแบบสัดสวนเทาท ่ีมีอย ู  และในกรณนีี ้ใหถอืวาสภาผู  แทนราษฎรประกอบดวยสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเทาที ่มีอย ู 

มาตรา ๙๖  การกาํหนดเขตเลือกตั ้งสําหรับการเลอืกตั ้งสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรแบบสัดสวน ใหดําเนินการดังตอไปนี ้ (๑) ใหจัดแบงพื ้นที ่ประเทศออกเปนแปดกลุ มจังหวัด และให 

แตละกลุ มจังหวัดเปนเขตเลือกตั ้ง โดยแตละเขตเลอืกตั ้งใหมีจํานวนสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรไดสิบคน 

(๒) การจัดกลุ มจังหวัด ใหจัดจังหวัดท ่ีมีพ ้ืนท ่ีติดตอกันอย ูในกลุ ม

จังหวัดเดียวกัน และในกลุ มจังหวัดทุกกล ุมตองมีจาํนวนราษฎรตามหลักฐานการทะเบยีนราษฎรที ่ประกาศในปสุดทายกอนปท ่ีมีการเลอืกตั ้งรวมกันแลวใกลเคียงกัน 

ท ้ังนี ้ โดยใหจังหวัดทั ้งจังหวัดอย ูในเขตเลือกตั ้งเดียว 

มาตรา ๙๗  การจัดทาํบญัชีรายชื ่อผู  สมัครรับเลอืกตั ้งของพรรคการเมืองสําหรับการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบสัดสวน ใหดําเนินการดังตอไปนี ้ 

(๑) บัญชีรายชื ่อผู  สมัครรับเลือกตั ้งในแตละเขตเลอืกตั ้งตองมีรายชื ่อผู  สมัครรับเลือกตั ้งครบตามจาํนวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบสัดสวนที่จะมีไดในแตละเขตเลอืกตั ้ง และตองเรียงตามลาํดับหมายเลข แลวใหยื ่นตอคณะกรรมการการเลอืกตั ้งกอนวันเปดสมัครรับเลือกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบแบงเขตเลือกตั ้ง 

(๒) รายชื ่อของบุคคลตาม (๑) ตองไมซ้ ํากับรายชื ่อของผู  สมัคร 

รับเลือกตั ้ง 

Page 56: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 56/206

๔๖ ท ้ังแบบแบงเขตเลอืกตั ้งและแบบสัดสวนไมวาของพรรคการเมืองใด และตอง 

คํานึงถงึโอกาส สัดสวนที ่เหมาะสม และความเทาเทยีมกันระหวางหญงิและชาย 

มาตรา ๙๘  การคํานวณสัดสวนท ่ีผู  สมัครรับเลือกตั ้งตามบัญชีรายชื ่อของแตละพรรคการเมืองจะไดรับเลอืกในแตละเขตเลอืกตั ้ง ใหนําคะแนนที ่แตละพรรคการเมืองไดรับในเขตเลือกตั ้งนั ้นมารวมกัน แลวคํานวณเพื ่อแบงจาํนวนผู  ท ่ีจะไดรับเลือกของแตละพรรคการเมือง เปนสัดสวนท ่ีสัมพันธกันโดยตรงกับจาํนวนคะแนนรวมขางตน คะแนนที ่แตละพรรคการเมืองไดรับ และจาํนวนสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรแบบสัดสวนที ่จะพงึมีไดในเขตเลือกตั ้งนั ้น โดยใหผู  สมัครรับเลอืกตั ้งซึ ่งมีรายชื ่อในบัญชีรายชื ่อของแตละพรรคการเมืองไดรับเลอืกตามเกณฑคะแนนที ่คํานวณได เรียงตามลาํดับหมายเลขในบัญชีรายชื ่อของพรรคการเมืองนั ้น 

ทั ้งนี ้ ตามหลักเกณฑและวธีิการที ่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๔ วรรคสาม มาใชบังคับกับการนับคะแนน 

การเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบสัดสวนดวยโดยอนุโลม  ท ้ังนี ้ คณะกรรมการการเลอืกตั ้งอาจกาํหนดใหมีการรวมผลการนับคะแนนเบื ้องตนท ่ีจังหวัดกอนก็ได 

มาตรา ๙๙  บุคคลผู  มีคุณสมบัติดังตอไปนี ้ เปนผู  มีสิทธิเลอืกตั ้ง 

(๑) มีสัญชาติไทย แตบคุคลผู  มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ 

ตองไดสัญชาติไทยมาแลวไมนอยกวาหาป (๒) มีอายุไมต่ ํากวาสิบแปดปบริบูรณในวันท ่ี ๑ มกราคมของปท ่ีมี

การเลอืกตั ้ง และ 

(๓) มีชื ่ออยู ในทะเบียนบานในเขตเลือกตั ้งมาแลวเปนเวลาไมนอยกวา 

เกาสิบวันนับถงึวันเลือกตั ้ง 

Page 57: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 57/206

๔๗ ผู  มีสิทธิเลือกตั ้งซึ ่งอยู นอกเขตเลือกตั ้งที ่ตนมีชื ่ออย ูในทะเบยีนบาน 

หรือมีชื ่ออย ูในทะเบยีนบานในเขตเลอืกตั ้งเปนเวลานอยกวาเกาสิบวันนับถึงวัน

เลอืกตั ้ง หรือมีถิ ่นท ่ีอย ูนอกราชอาณาจักร ยอมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลอืกตั ้ง 

ท ้ังนี ้ ตามหลักเกณฑ วธีิการและเงื ่อนไขท ่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิก 

วฒุสิภา 

มาตรา ๑๐๐  บุคคลผู  มีลักษณะดังตอไปนี ้ในวันเลือกตั ้ง เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิเลอืกตั ้ง 

(๑) เปนภกิษ ุสามเณร นักพรต หรือนักบวช 

(๒) อย ูในระหวางถูกเพกิถอนสิทธิเลือกตั ้ง 

(๓) ตองคุมขังอย ูโดยหมายของศาลหรอืโดยคําสั ่งที ่ชอบดวยกฎหมาย 

(๔) วกิลจรติ หรือจิตฟ  นเฟอนไมสมประกอบ 

มาตรา ๑๐๑  บุคคลผู  มีคุณสมบัติดังตอไปนี ้ เปนผู  มีสิทธิสมัคร 

รับเลือกตั ้งเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร 

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ 

(๒) มีอายุไมต่ ํากวายี ่สิบหาปบริบูรณในวันเลือกตั ้ง 

(๓) เปนสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ ่งแตเพียง 

พรรคเดียวเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาเกาสิบวันนับถงึวันเลือกตั ้ง  เวนแตในกรณีท ่ีมีการเลอืกตั ้งทั ่วไปเพราะเหตุยุบสภา ตองเปนสมาชิกพรรคการเมืองใด 

พรรคการเมืองหนึ ่งแตเพียงพรรคเดียวเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาสามสิบวัน 

นับถงึวันเลือกตั ้ง 

(๔) ผู  สมัครรับเลือกตั ้งแบบแบงเขตเลอืกตั ้ง ตองมีลักษณะอยางใดอยางหนึ ่งดังตอไปนี ้ดวย 

Page 58: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 58/206

๔๘ (ก) มีชื ่ออย ูในทะเบียนบานในจังหวัดท ่ีสมัครรับเลอืกตั ้งมาแลว 

เปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาหาปนับถึงวันสมัครรับเลือกตั ้ง 

(ข) เปนบุคคลซึ ่งเกดิในจังหวัดท ่ีสมัครรับเลอืกตั ้ง 

(ค) เคยศกึษาในสถานศกึษาที ่ตั ้งอยู ในจังหวัดที ่สมัครรับเลอืกตั ้ง 

เปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาหาปการศกึษา (ง) เคยรับราชการหรอืเคยมีชื ่ออย ูในทะเบยีนบานในจังหวัดท ่ี

สมัครรับเลอืกตั ้ง เปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาหาป (๕) ผู  สมัครรับเลอืกตั ้งแบบสัดสวนตองมีลักษณะอยางใดอยางหนึ ่ง

ตาม (๔) ดวย  แตลักษณะดังกลาวในกรณใีดท ่ีกาํหนดถึงจังหวัด ใหหมายถงึกล ุมจังหวัด 

(๖) คุณสมบัติอื ่นตามท ่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิก 

วฒุสิภา 

มาตรา ๑๐๒  บคุคลผู  มีลักษณะดังตอไปนี ้ เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกตั ้งเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร 

(๑) ติดยาเสพติดใหโทษ 

(๒) เปนบุคคลลมละลายหรอืเคยเปนบุคคลลมละลายทจุรติ 

(๓) เปนบุคคลผู  มีลักษณะตองหามมิใหใชสิทธิเลอืกตั ้งสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรตามมาตรา ๑๐๐ (๑) (๒) หรือ (๔)

(๔) ตองคําพพิากษาใหจาํคุกและถกูคุมขังอยู โดยหมายของศาล 

(๕) เคยตองคําพพิากษาใหจําคุกโดยไดพนโทษมายังไมถึงหาปใน 

วันเลอืกตั ้ง  เวนแตในความผิดอันไดกระทาํโดยประมาทหรอืความผิดลหุโทษ 

(๖) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ หนวยงาน 

ของรัฐ หรือรัฐวสิาหกิจ เพราะทจุรติตอหนาท ่ี หรือถือวากระทาํการทจุรติและประพฤติมิชอบในวงราชการ 

Page 59: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 59/206

๔๙ (๗) เคยตองคําพพิากษาหรอืคําสั ่งของศาลใหทรัพยสินตกเปน 

ของแผนดิน เพราะร่ ํารวยผิดปกติหรือมีทรัพยสินเพ ่ิมขึ ้นผิดปกติ 

(๘) เปนขาราชการซึ ่งมีตําแหนงหรือเงนิเดือนประจาํนอกจาก 

ขาราชการการเมือง 

(๙) เปนสมาชิกสภาทองถิ ่นหรือผู  บรหิารทองถิ ่น 

(๑๐) เปนสมาชิกวฒุสิภาหรอืเคยเปนสมาชิกวฒุสิภาและสมาชิกภาพสิ ้นสุดลงแลวยังไมเกนิสองป 

(๑๑) เปนพนักงานหรอืลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ 

หรือรัฐวสิาหกิจ หรือเปนเจาหนาที ่อื ่นของรัฐ 

(๑๒) เปนตุลาการศาลรฐัธรรมนูญ กรรมการการเลอืกตั ้ง ผู  ตรวจการแผนดิน กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติ กรรมการตรวจเงนิแผนดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 

(๑๓) อย ูในระหวางตองหามมิใหดํารงตําแหนงทางการเมือง 

ตามมาตรา ๒๖๓ 

(๑๔) เคยถกูวฒุสิภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง 

มาตรา ๑๐๓  พรรคการเมืองที ่สงสมาชิกเขาเปนผู  สมัครรับเลือกตั ้ง 

ในการเลอืกตั ้งในเขตเลอืกตั ้งใด ตองสงสมาชิกเขาสมัครรับเลอืกตั ้งใหครบจาํนวน

สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรที ่จะพงึมีไดในเขตเลือกตั ้งนั ้น และจะสงเกนิจาํนวน 

ดังกลาวมิได เมื ่อพรรคการเมืองใดสงสมาชิกเขาสมัครรับเลือกตั ้งครบจาํนวนตาม 

วรรคหนึ ่งแลว  แมภายหลังจะมีจํานวนลดลงจนไมครบจาํนวน ไมวาดวยเหตุใด 

ใหถอืวาพรรคการเมืองนั ้นสงสมาชิกเขาสมัครรับเลอืกตั ้งครบจาํนวนแลว 

Page 60: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 60/206

๕๐ เมื ่อพรรคการเมืองใดสงสมาชิกเขาสมัครรับเลอืกตั ้งแลว พรรคการเมือง

นั ้นหรือผู  สมัครรับเลอืกตั ้งของพรรคการเมืองนั ้น จะถอนการสมัครรับเลือกตั ้ง 

หรือเปล ่ียนแปลงผู  สมัครรับเลอืกตั ้งมิได 

มาตรา ๑๐๔  อายุของสภาผู  แทนราษฎรมีกําหนดคราวละสี ่ปนับแตวันเลอืกตั ้ง 

ในระหวางอายขุองสภาผู  แทนราษฎร จะมีการควบรวมพรรคการเมือง 

ท ่ีมีสมาชิกเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรมิได 

มาตรา ๑๐๕  สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเริ ่มตั ้งแต วันเลอืกตั ้ง 

มาตรา ๑๐๖  สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นสุดลง เมื ่อ 

(๑) ถึงคราวออกตามอายขุองสภาผู  แทนราษฎร หรือมีการยบุ 

สภาผู  แทนราษฎร 

(๒) ตาย 

(๓) ลาออก 

(๔) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๐๑ 

(๕) มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๒ 

(๖) กระทาํการอันตองหามตามมาตรา ๒๖๕ หรือมาตรา ๒๖๖ 

(๗) ลาออกจากพรรคการเมืองที ่ตนเปนสมาชิก หรือพรรคการเมืองท ่ีตนเปนสมาชิกมีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี ่ของท ่ีประชุมรวมของคณะกรรมการบรหิารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรที ่สังกัดพรรคการเมืองนั ้น ใหพนจากการเปนสมาชิกของพรรคการเมืองที ่ตนเปนสมาชิก 

ในกรณเีชนนี ้ ใหถอืวาสิ ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันท ่ีลาออกหรอืพรรคการเมือง 

มีมติ เวนแตสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรผู  นั ้นไดอุทธรณตอศาลรัฐธรรมนูญภายใน

Page 61: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 61/206

๕๑ สามสิบวันนับแตวันท ่ีพรรคการเมืองมีมติ คัดคานวามติดังกลาวมีลักษณะ 

ตามมาตรา ๖๕ วรรคสาม ถาศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยวามติดังกลาวมิไดมีลักษณะ

ตามมาตรา ๖๕ วรรคสาม ใหถอืวาสมาชิกภาพสิ ้นสุดลงนับแตวันท ่ีศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัย แตถาศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยวามติดังกลาวมีลักษณะตามมาตรา ๖๕ 

วรรคสาม สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรผู  นั ้นอาจเขาเปนสมาชิกของพรรคการเมืองอื ่นไดภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัย 

(๘) ขาดจากการเปนสมาชิกของพรรคการเมืองในกรณที ่ี ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั ่งยบุพรรคการเมืองท ่ีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรผู  นั ้นเปนสมาชิก และไมอาจเขาเปนสมาชิกของพรรคการเมืองอื ่นไดภายในหกสิบวันนับแตวันท ่ีศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั ่ง ในกรณเีชนนี ้ใหถือวาสิ ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันถัดจากวันท ่ีครบกาํหนดหกสิบวันนั ้น 

(๙) วฒุสิภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง 

หรือศาลรัฐธรรมนูญมีคําวนิิจฉัยใหพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๙๑ หรือศาลฎีกา

มีคําสั ่งตามมาตรา ๒๓๙ วรรคสอง ในกรณเีชนนี ้ ใหถอืวาสิ ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันท ่ีวฒุสิภามีมติหรือศาลมีคําวนิิจฉัยหรือมีคําสั ่ง แลวแตกรณี (๑๐) ขาดประชุมเกินจํานวนหนึ ่งในสี ่ของจาํนวนวันประชุมในสมัย

ประชุมท ่ีมีกําหนดเวลาไมนอยกวาหนึ ่งรอยย ่ีสิบวันโดยไมไดรับอนุญาตจากประธานสภาผู  แทนราษฎร 

(๑๑) ตองคําพิพากษาถงึที ่สุดใหจําคุก แมจะมีการรอการลงโทษ 

เวนแตเปนการรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทาํโดยประมาท ความผิด 

ลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ ่นประมาท 

มาตรา ๑๐๗  เมื ่ออายุของสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นสุดลง พระมหากษัตริยจะไดทรงตราพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลอืกตั ้งสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรใหมเปนการเลอืกตั ้งทั ่วไป ซึ ่งตองกาํหนดวันเลอืกตั ้งภายใน 

Page 62: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 62/206

๕๒ สี ่สิบหาวัน  นับแตวันท ่ีอายขุองสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นสุดลง และวันเลือกตั ้งนั ้นตองกาํหนดเปนวันเดียวกันทั ่วราชอาณาจักร 

มาตรา ๑๐๘  พระมหากษัตริยทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจที ่จะ 

ยุบสภาผู  แทนราษฎรเพื ่อใหมีการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรใหม การยบุสภาผู  แทนราษฎรใหกระทาํโดยพระราชกฤษฎีกา ซึ ่งตอง

กาํหนดวันเลือกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรใหมเปนการเลอืกตั ้งทั ่วไปภายในระยะเวลาไมนอยกวาสี ่สิบหาวันแตไมเกินหกสิบวันนับแตวันยุบสภาผู  แทนราษฎร 

และวันเลือกตั ้งนั ้นตองกาํหนดเปนวันเดียวกันท ่ัวราชอาณาจักร 

การยบุสภาผู  แทนราษฎรจะกระทาํไดเพียงครั ้งเดียวในเหตุการณ เดียวกัน 

มาตรา ๑๐๙  เมื ่อตําแหนงสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรวางลงเพราะเหตุ

อื ่นใดนอกจากถงึคราวออกตามอายขุองสภาผู  แทนราษฎรหรอืเมื ่อมีการยบุ 

สภาผู  แทนราษฎร ใหดําเนินการดังตอไปนี ้ (๑) ในกรณที ่ีเปนตําแหนงสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรที ่มาจากการ

เลอืกตั ้งแบบแบงเขตเลอืกตั ้ง ใหมีการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรขึ ้นแทนตําแหนงที ่วางภายในสี ่สิบหาวันนับแตวันท ่ีตําแหนงนั ้นวาง  เวนแตอายุของ 

สภาผู  แทนราษฎรจะเหลอืไมถงึหนึ ่งรอยแปดสิบวัน 

(๒) ในกรณที ่ีเปนตําแหนงสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรที ่มาจากการเลอืกตั ้งแบบสัดสวน  ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรประกาศใหผู  มีชื ่ออย ูในลาํดับถัดไปในบัญชีรายชื ่อของพรรคการเมืองนั ้นในเขตเลือกตั ้งนั ้น เล ่ือนขึ ้นมาเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแทนตําแหนงที ่วาง  โดยตองประกาศในราชกจิจานุเบกษาภายในเจด็วันนับแตวันที ่ตําแหนงนั ้นวางลง  เวนแตไมมีรายชื ่อเหลืออย ูในบัญชีท ่ี

จะเลื ่อนขึ ้นมาแทนตําแหนงที ่วาง ใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบสัดสวนประกอบดวยสมาชิกเทาที ่มีอย ู 

Page 63: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 63/206

๕๓ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรผู  เขามาแทนตาม (๑)

ใหเร ่ิมนับแตวันเลือกตั ้งแทนตําแหนงที ่วาง  สวนสมาชิกภาพของสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรผู  เขามาแทนตาม (๒) ใหเร ่ิมนับแตวันถัดจากวันประกาศชื ่อ 

ในราชกจิจานุเบกษา  และใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรผู  เขามาแทนตําแหนงที ่วางนั ้น 

อย ูในตําแหนงไดเพียงเทาอายขุองสภาผู  แทนราษฎรที ่เหลืออย ู 

มาตรา ๑๑๐  ภายหลังที ่คณะรัฐมนตรเีขาบรหิารราชการแผนดินแลว 

พระมหากษัตริยจะทรงแตงตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรผู  เปนหัวหนาพรรคการเมืองในสภาผู  แทนราษฎรที ่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี และมีจํานวนมากที ่สุดในบรรดาพรรคการเมืองท ่ีสมาชิกในสังกัดมิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี แตไมนอยกวาหนึ ่งในหาของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของ 

สภาผู  แทนราษฎรในขณะแตงตั ้ง เปนผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎร 

ในกรณที ่ีไมมีพรรคการเมืองใดในสภาผู  แทนราษฎรมีลักษณะท ่ี

กาํหนดไวตามวรรคหนึ ่ง ใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรผู  เปนหัวหนาพรรคการเมืองซึ ่งไดรับเสียงสนับสนุนขางมากจากสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรในพรรคการเมืองท ่ีสมาชิกในสังกัดของพรรคนั ้นมิไดดํารงตําแหนงรัฐมนตรี เปนผู  นําฝายคานในสภา ผู  แทนราษฎร ในกรณที ่ีมีเสียงสนับสนุนเทากัน ใหใชวธีิจับสลาก 

ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรม 

ราชโองการแตงตั ้งผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎร 

ผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎรยอมพนจากตําแหนงเมื ่อขาด 

คุณสมบัติดังกลาวในวรรคหนึ ่งหรอืวรรคสอง และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๒๔ 

วรรคสี ่ มาใชบังคับโดยอนุโลม ในกรณเีชนนี ้พระมหากษัตริยจะไดทรงแตงตั ้ง 

ผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎรแทนตําแหนงที ่วาง 

Page 64: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 64/206

๕๔ สวนท ่ี ๓ 

วุฒิสภา 

มาตรา ๑๑๑  วฒุสิภาประกอบดวยสมาชิกจาํนวนรวมหนึ ่งรอย 

หาสิบคนซึ ่งมาจากการเลอืกตั ้งในแตละจังหวัด จังหวัดละหนึ ่งคน และมาจากการสรรหาเทากับจาํนวนรวมขางตน หักดวยจาํนวนสมาชิกวฒุสิภาที ่มาจากการเลอืกตั ้ง 

ในกรณที ่ีมีการเพิ ่มหรอืลดจังหวัดในระหวางวาระของสมาชิกวฒุสิภาท ่ีมาจากการเลอืกตั ้ง ใหวฒุสิภาประกอบดวยสมาชิกเทาท ่ีมีอย ู 

ในกรณที ่ีตําแหนงสมาชิกวฒุสิภาวางลงไมวาดวยเหตุใด ๆ และ 

ยังมิไดมีการเลอืกตั ้งหรอืสรรหาขึ ้นแทนตําแหนงที ่วาง แลวแตกรณี ใหวฒุสิภาประกอบดวยสมาชิกวฒุสิภาเทาท ่ีมีอย ู 

ในกรณที ่ีมีเหตุการณใด ๆ ทาํใหสมาชิกวฒุสิภาไมครบจาํนวน 

ตามวรรคหนึ ่ง แตมีจํานวนไมนอยกวารอยละเกาสิบหาของจาํนวนสมาชิกวฒุสิภาท ้ังหมด ใหถอืวาวฒุสิภาประกอบดวยสมาชิกจาํนวนดังกลาว แตตองมีการเลอืกตั ้งหรือการสรรหาใหไดสมาชิกวฒุสิภาครบจาํนวนตามวรรคหนึ ่งภายใน 

หนึ ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันท ่ีมีเหตุการณดังกลาว และใหสมาชิกวฒุสิภาที ่เขามานั ้นอย ูในตําแหนงเพียงเทาอายุของวฒุสิภาที ่เหลืออย ู 

มาตรา ๑๑๒  การเลอืกตั ้งสมาชิกวฒุสิภาในแตละจังหวัด ใหใช เขตจังหวัดเปนเขตเลือกตั ้งและใหมีสมาชิกวฒุสิภาจังหวัดละหนึ ่งคน โดยใหผู  มีสิทธิเลือกตั ้งออกเสียงลงคะแนนเลอืกตั ้งผู  สมัครรับเลือกตั ้งไดหนึ ่งเสียงและใหใชวธีิออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลบั 

เพ ่ือประโยชนในการเลอืกตั ้งสมาชิกวฒุสิภา ใหผู  สมัครรับเลือกตั ้ง

สามารถหาเสียงเลอืกตั ้งไดกแ็ตเฉพาะที ่เกี ่ยวกับการปฏิบัติงานในหนาที ่ของวฒุสิภา 

Page 65: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 65/206

๕๕ หลักเกณฑ วธีิการ และเงื ่อนไขในการเลอืกตั ้งและการหาเสียง 

เลอืกตั ้งของสมาชิกวฒุสิภาใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 

วาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา 

มาตรา ๑๑๓  ใหมีคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวฒุสิภาคณะหนึ ่ง 

ประกอบดวยประธานศาลรฐัธรรมนูญ ประธานกรรมการการเลอืกตั ้ง ประธาน 

ผู  ตรวจการแผนดิน ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ 

ประธานกรรมการตรวจเงนิแผนดิน ผู  พิพากษาในศาลฎีกาซึ ่งดํารงตําแหนง 

ไมต่ ํากวาผู  พิพากษาศาลฎีกาที ่ท ่ีประชุมใหญศาลฎีกามอบหมายจาํนวนหนึ ่งคน 

และตุลาการในศาลปกครองสูงสุดท ่ีท ่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมอบหมายจํานวนหนึ ่งคน เปนกรรมการ ทําหนาท ่ีสรรหาบคุคลตามมาตรา ๑๑๔ 

ใหแลวเสรจ็ภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีไดรับบัญชีรายชื ่อจากคณะกรรมการ 

การเลอืกตั ้ง  แลวแจงผลการสรรหาใหคณะกรรมการการเลอืกตั ้งประกาศผล 

ผู  ไดรับการสรรหาเปนสมาชิกวฒุสิภา ใหกรรมการตามวรรคหนึ ่งเลือกกันเองใหกรรมการผู  หนึ ่งเปนประธานกรรมการ 

ในกรณที ่ีไมมีกรรมการในตําแหนงใด หรือมีแตไมสามารถปฏิบัติหนาท ่ีไดถากรรมการที ่เหลืออย ูนั ้นมีจาํนวนไมนอยกวากึ ่งหนึ ่ง  ใหคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวฒุสิภาประกอบดวยกรรมการที ่เหลืออย ู 

มาตรา ๑๑๔  ใหคณะกรรมการสรรหาสมาชิกวฒุสิภาดําเนินการ 

สรรหาบคุคลท ่ีมีความเหมาะสมจากผู  ไดรับการเสนอชื ่อจากองคกรตาง ๆ 

ในภาควชิาการ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาชีพ และภาคอื ่นท ่ีเปนประโยชน ในการปฏิบัติการตามอํานาจหนาที ่ของวฒุสิภาเปนสมาชิกวฒุสิภา เทาจาํนวนที ่จะ

พึงมีตามท ่ีกาํหนดในมาตรา ๑๑๑ วรรคหนึ ่ง 

Page 66: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 66/206

๕๖ ในการสรรหาบคุคลตามวรรคหนึ ่ง ใหคํานึงถงึความรู   ความเชี ่ยวชาญ 

หรือประสบการณท ่ีจะเปนประโยชนในการปฏิบัติงานของวฒุสิภาเปนสําคัญ 

และใหคํานึงถงึองคประกอบจากบคุคลท ่ีมีความรู  ความสามารถในดานตาง ๆ 

ท ่ีแตกตางกัน โอกาสและความเทาเทียมกันทางเพศ สัดสวนของบคุคลในแตละภาคตามวรรคหนึ ่งที ่ใกลเคียงกัน รวมทั ้งการใหโอกาสกับผู  ดอยโอกาสทางสังคมดวย 

หลักเกณฑ วธีิการ และเงื ่อนไขในการสรรหาสมาชิกวฒุสิภา ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา 

มาตรา ๑๑๕ บุคคลผู  มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามดังตอไปนี ้ เปนผู  มีสิทธิสมัครรับเลอืกตั ้งหรอืไดรับการเสนอชื ่อเพ ่ือเขารับการสรรหาเปนสมาชิกวฒุสิภา 

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ 

(๒) มีอายุไมต่ ํากวาสี ่สิบปบรบิูรณในวันสมัครรับเลือกตั ้งหรอืวันท ่ีไดรับการเสนอชื ่อ 

(๓) สําเรจ็การศกึษาไมต่ ํากวาปรญิญาตรหีรือเทียบเทา (๔) ผู  สมัครรับเลือกตั ้งเปนสมาชิกวฒุิสภาที ่มาจากการเลอืกตั ้งตองมี

ลักษณะอยางใดอยางหนึ ่ง ดังตอไปนี ้ดวย 

(ก) มีชื ่ออย ูในทะเบียนบานในจังหวัดท ่ีสมัครรับเลอืกตั ้งมาแลว

เปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาหาปนับถงึวันสมัครรับเลอืกตั ้ง 

(ข) เปนบุคคลซึ ่งเกดิในจังหวัดท ่ีสมัครรับเลอืกตั ้ง 

(ค) เคยศึกษาในสถานศกึษาที ่ตั ้งอย ูในจังหวัดที ่สมัครรับ 

เลือกตั ้งเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาหาปการศกึษา (ง) เคยรับราชการหรอืเคยมีชื ่ออย ูในทะเบยีนบานในจังหวัดท ่ี

สมัครรับเลอืกตั ้งเปนเวลาติดตอกันไมนอยกวาหาป 

Page 67: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 67/206

๕๗ (๕) ไมเปนบุพการ ีคู สมรส หรือบุตรของผู  ดํารงตําแหนงสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรหรอืผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง 

(๖) ไมเปนสมาชิกหรอืผู  ดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมืองหรือ 

เคยเปนสมาชิกหรอืเคยดํารงตําแหนงและพนจากการเปนสมาชิกหรอืการ 

ดํารงตําแหนงใด ๆ ในพรรคการเมืองมาแลวยังไมเกินหาปนับถงึวันสมัคร 

รับเลือกตั ้งหรอืวันท ่ีไดรับการเสนอชื ่อ 

(๗) ไมเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร หรือเคยเปนสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรและพนจากการเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรมาแลวไมเกนิหาปนับถงึวันสมัครรับเลอืกตั ้งหรอืวันท ่ีไดรับการเสนอชื ่อ 

(๘) เปนบุคคลตองหามมิใหใชสิทธิสมัครรับเลือกตั ้งตามมาตรา ๑๐๒ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) (๙) (๑๑) (๑๒) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๙) ไมเปนรัฐมนตรีหรือผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองอื ่นซึ ่งมิใชสมาชิกสภาทองถิ ่นหรือผู  บรหิารทองถิ ่น  หรือเคยเปนแตพนจากตําแหนงดังกลาว

มาแลวยังไมเกินหาป 

มาตรา ๑๑๖  สมาชิกวฒุสิภาจะเปนรัฐมนตรี ผู  ดํารงตําแหนง 

ทางการเมืองอื ่น หรือผู  ดํารงตําแหนงในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มิได บุคคลผู  เคยดํารงตําแหนงสมาชิกวฒุสิภาและสมาชิกภาพสิ ้นสุด 

ลงมาแลวยังไมเกินสองป จะเปนรัฐมนตรี หรือผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง มิได 

มาตรา ๑๑๗  สมาชิกภาพของสมาชิกวฒุสิภาที ่มาจากการเลอืกตั ้ง 

เร ่ิมตั ้งแตวันท ่ีมีการเลอืกตั ้งสมาชิกวฒุสิภา และสมาชิกภาพของสมาชิกวฒุสิภา ท ่ีมาจากการสรรหาเริ ่มตั ้งแตวันท ่ีคณะกรรมการการเลอืกตั ้งประกาศผลการสรรหา 

สมาชิกภาพของสมาชิกวฒุสิภามีกาํหนดคราวละหกปนับแต 

วันเลอืกตั ้งหรอืวันท ่ีคณะกรรมการการเลอืกตั ้งประกาศผลการสรรหา แลวแตกรณี โดยสมาชิกวฒุิสภาจะดํารงตําแหนงติดตอกันเกนิหนึ ่งวาระไมได 

Page 68: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 68/206

๕๘ ใหสมาชิกวฒุสิภาซึ ่งสิ ้นสุดสมาชิกภาพตามวาระ อย ูในตําแหนงเพื ่อ 

ปฏิบัติหนาท ่ีตอไปจนกวาจะมีสมาชิกวฒุสิภาขึ ้นใหม 

มาตรา ๑๑๘  เมื ่อวาระของสมาชิกวฒุสิภาซึ ่งมาจากการเลอืกตั ้ง 

สิ ้นสุดลง พระมหากษัตริยจะไดทรงตราพระราชกฤษฎีกาใหมีการเลอืกตั ้งสมาชิกวฒุสิภาซึ ่งมาจากการเลอืกตั ้งใหมเปนการเลอืกตั ้งทั ่วไป ซึ ่งตองกาํหนดวันเลือกตั ้งภายในสามสิบวนันับแตวันที ่วาระของสมาชิกวฒุสิภาซึ ่งมาจากการเลอืกตั ้งสิ ้นสุดลง และวันเลอืกตั ้งนั ้นตองกาํหนดเปนวันเดียวกันท ่ัวราชอาณาจักร 

เมื ่อวาระของสมาชิกวฒุสิภาซึ ่งมาจากการสรรหาสิ ้นสุดลง 

ใหคณะกรรมการการเลอืกตั ้งประกาศกาํหนดวันเร ่ิมการสรรหาและระยะเวลา การสรรหาสมาชิกวฒุสิภา ซึ ่งตองทําการสรรหาใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันท ่ีวาระของสมาชิกวฒุิสภาที ่มาจากการสรรหาสิ ้นสุดลง 

มาตรา ๑๑๙  สมาชิกภาพของสมาชิกวฒุสิภาสิ ้นสุดลง เมื ่อ 

(๑) ถึงคราวออกตามวาระ 

(๒) ตาย 

(๓) ลาออก 

(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๑๕ 

(๕) กระทาํการอันตองหามตามมาตรา ๑๑๖ มาตรา ๒๖๕ หรือ

มาตรา ๒๖๖ 

(๖) วฒุิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง 

หรือศาลรัฐธรรมนูญมีคําวนิิจฉัยใหพนจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๙๑ หรือศาลฎีกามีคําสั ่งตามมาตรา ๒๓๙ วรรคสอง หรือมาตรา ๒๔๐ วรรคสาม ในกรณเีชนนี ้ ใหถือวาสิ ้นสุดสมาชิกภาพนับแตวันท ่ีวฒุสิภามีมติหรือศาลมีคําวนิิจฉัยหรือมีคําสั ่ง 

แลวแตกรณี 

Page 69: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 69/206

๕๙ (๗) ขาดประชุมเกินจาํนวนหนึ ่งในสี ่ของจํานวนวันประชุม 

ในสมัยประชุมท ่ีมีกาํหนดเวลาไมนอยกวาหนึ ่งรอยย ่ีสิบวัน โดยไมไดรับอนุญาต

จากประธานวฒุสิภา (๘) ตองคําพพิากษาถงึที ่สุดใหจําคุก แมจะมีการรอการลงโทษ 

เวนแตเปนการรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทาํโดยประมาท ความผิด 

ลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ ่นประมาท 

มาตรา ๑๒๐  เมื ่อตําแหนงสมาชิกวฒุสิภาวางลงเพราะเหตุ 

ตามมาตรา ๑๑๙ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๑๒ มาตรา ๑๑๓ มาตรา ๑๑๔ 

และมาตรา ๑๑๘ มาใชบังคับกับการเลอืกตั ้งหรอืการสรรหาสมาชิกวฒุิสภาในกรณีดังกลาว และใหสมาชิกวฒุิสภาผู  เขามาแทนตําแหนงที ่วางนั ้น อย ูในตําแหนง 

ไดเพยีงเทาวาระที ่เหลืออย ูของผู  ซึ ่งตนแทน เวนแตวาระของสมาชิกวฒุสิภาที ่วางลงจะเหลอืไมถึงหนึ ่งรอยแปดสิบวัน จะไมดําเนินการเลอืกตั ้งหรือการสรรหากไ็ด 

มาตรา ๑๒๑  ในการที ่วฒุสิภาจะพจิารณาใหบุคคลดํารงตําแหนงใด 

ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้  ใหวฒุสิภาแตงตั ้งคณะกรรมาธิการขึ ้นคณะหนึ ่ง 

ทาํหนาที ่ตรวจสอบประวัติ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจรยิธรรมของบุคคล 

ผู  ไดรับการเสนอชื ่อใหดํารงตําแหนงนั ้น รวมทั ้งรวบรวมขอเท็จจรงิและพยาน 

หลักฐานอันจาํเปน แลวรายงานตอวฒุสิภาเพื ่อประกอบการพจิารณาตอไป 

การดําเนินการของคณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ ่ง ใหเปนไปตาม 

วธีิการที ่กําหนดในขอบังคับการประชุมวฒุสิภา 

Page 70: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 70/206

๖๐ สวนท ่ี ๔ 

บทท ่ี ใชแกสภาทั  ้งสอง 

มาตรา ๑๒๒  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวฒุสิภายอมเปนผู  แทนปวงชนชาวไทย  โดยไมอย ูในความผูกมัดแหงอาณัติ มอบหมาย หรือความครอบงาํใด ๆ และตองปฏิบัติหนาท ่ีดวยความซื ่อสัตยสุจรติ เพ ่ือประโยชนสวนรวมของปวงชนชาวไทย โดยปราศจากการขดักันแหงผลประโยชน 

มาตรา ๑๒๓  กอนเขารับหนาที ่ สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวฒุิสภาตองปฏิญาณตนในที ่ประชุมแหงสภาที ่ตนเปนสมาชิกดวยถอยคํา ดังตอไปนี ้ 

“ขาพเจา (ชื ่อผู  ปฏิญาณ) ขอปฏิญาณวา ขาพเจาจะปฏิบัติหนาที ่ 

ดวยความซื ่อสัตยสุจรติ เพ ่ือประโยชนของประเทศและประชาชน ท ้ังจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ ่งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยทกุประการ”

มาตรา ๑๒๔  สภาผู  แทนราษฎรและวฒุิสภาแตละสภา มีประธานสภาคนหนึ ่งและรองประธานคนหนึ ่งหรอืสองคน ซึ ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั ้งจากสมาชิกแหงสภานั ้น ๆ ตามมติของสภา 

ประธานและรองประธานสภาผู  แทนราษฎรดํารงตําแหนงจนสิ ้นอายุของสภาหรอืมีการยบุสภา 

ประธานและรองประธานวฒุสิภาดํารงตําแหนงจนถงึวันกอนวันเลอืกประธานและรองประธานวฒุสิภาใหม 

ประธานและรองประธานสภาผู  แทนราษฎร และประธานและ 

รองประธานวฒุสิภา ยอมพนจากตําแหนงกอนวาระตามวรรคสองหรอืวรรคสาม 

แลวแตกรณี เมื ่อ 

Page 71: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 71/206

๖๑ (๑) ขาดจากสมาชิกภาพแหงสภาที ่ตนเปนสมาชิก 

(๒) ลาออกจากตําแหนง 

(๓) ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี หรอืขาราชการการเมืองอื ่น 

(๔) ตองคําพพิากษาใหจําคุก แมคดีนั ้นจะยังไมถึงที ่สุดหรือมีการรอการลงโทษ  เวนแตเปนกรณทีี ่คดียังไมถึงที ่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทาํโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ ่นประมาท 

ในระหวางการดํารงตําแหนง ประธานและรองประธาน 

สภาผู  แทนราษฎรจะเปนกรรมการบรหิารหรือดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมืองขณะเดียวกันมิได 

มาตรา ๑๒๕  ประธานสภาผู  แทนราษฎรและประธานวฒุสิภา มีอํานาจหนาที ่ดําเนินกิจการของสภานั ้น ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับ รองประธาน 

มีอํานาจหนาที ่ตามท ่ีประธานมอบหมายและปฏิบัติหนาที ่แทนประธานเมื ่อประธาน

ไมอย ูหรือไมสามารถปฏิบัติหนาท ่ีได ประธานสภาผู  แทนราษฎร ประธานวฒุสิภา และผู  ทําหนาที ่แทน 

ตองวางตนเปนกลางในการปฏิบัติหนาที ่ เมื ่อประธานและรองประธานสภาผู  แทนราษฎรหรอืประธานและ

รองประธานวฒุสิภาไมอย ูในที ่ประชุม ใหสมาชิกแหงสภานั ้น ๆ เลือกกันเอง 

ใหสมาชิกคนหนึ ่งเปนประธานในคราวประชุมนั ้น 

มาตรา ๑๒๖  การประชุมสภาผู  แทนราษฎรและการประชุมวฒุิสภาตองมีสมาชิกมาประชุมไมนอยกวาก ่ึงหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกท ้ังหมดเทาที ่มีอย ู ของแตละสภาจงึจะเปนองคประชุม เวนแตในกรณกีารพจิารณาระเบยีบวาระกระทู  ถามตามมาตรา ๑๕๖ และมาตรา ๑๕๗ สภาผู  แทนราษฎรและวฒุสิภาจะกาํหนด

เรื ่ององคประชุมไวในขอบังคับเปนอยางอื ่นกไ็ด 

Page 72: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 72/206

๖๒ การลงมติวนิิจฉัยขอปรกึษาใหถือเอาเสียงขางมากเปนประมาณ  เวนแต 

ท ่ีมีบัญญัติไวเปนอยางอื ่นในรัฐธรรมนูญนี ้ 

สมาชิกคนหนึ ่งยอมมีเสียงหนึ ่งในการออกเสียงลงคะแนน ถามีคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที ่ประชุมออกเสียงเพิ ่มขึ ้นอีกเสียงหนึ ่งเปนเสียงชี ้ขาด 

ประธานรัฐสภา ประธานสภาผู  แทนราษฎร และประธานวฒุสิภา ตองจัดใหมีการบันทึกการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกแตละคน และเปดเผยบันทึกดังกลาวไวในท ่ีท ่ีประชาชนอาจเขาไปตรวจสอบได เวนแตกรณกีารออกเสียงลงคะแนนเปนการลับ 

การออกเสียงลงคะแนนเลอืกหรือใหความเห็นชอบใหบุคคลดํารงตําแหนงใด ใหกระทาํเปนการลับ  เวนแตท ่ีมีบัญญัติไวเปนอยางอื ่นในรัฐธรรมนูญนี ้ และสมาชิกยอมมีอิสระและไมถกูผูกพันโดยมติของพรรคการเมืองหรอือาณัติอื ่นใด 

มาตรา ๑๒๗  ภายในสามสิบวันนับแตวันเลือกตั ้งสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎร ใหมีการเรยีกประชุมรัฐสภาเพื ่อใหสมาชิกไดมาประชุม 

เปนครั ้งแรก 

ในปหนึ ่งใหมีสมัยประชุมสามัญท ่ัวไป และสมัยประชุมสามัญ 

นิติบัญญัติ 

วันประชุมคร ้ังแรกตามวรรคหนึ ่ง ใหถอืเปนวันเริ ่มสมัยประชุม

สามัญท ่ัวไป สวนวันเร ่ิมสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติใหสภาผู  แทนราษฎรเปนผู  กําหนด ในกรณทีี ่การเริ ่มประชุมคร ้ังแรกตามวรรคหนึ ่งมีเวลาจนถงึสิ ้นปปฏิทิน 

ไมถึงหนึ ่งรอยหาสิบวัน จะไมมีการประชุมสมัยสามัญนิติบัญญัติสําหรับปนั ้นกไ็ด ในสมัยประชุมสามัญนิติบัญญัติ ใหรัฐสภาดําเนินการประชุม 

ไดเฉพาะกรณที ่ีบัญญัติไวในหมวด ๒ หรือการพจิารณารางพระราชบัญญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญหรือรางพระราชบญัญัติ การอนุมัติพระราชกาํหนด การใหความเห็นชอบในการประกาศสงคราม การรับฟงคําชี ้แจงและการใหความเห็นชอบ

Page 73: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 73/206

๖๓ หนังสือสัญญา การเลอืกหรือการใหความเห็นชอบใหบุคคลดํารงตําแหนง 

การถอดถอนบคุคลออกจากตําแหนง การตั ้งกระทู  ถาม และการแกไขเพิ ่มเติม 

รัฐธรรมนูญ  เวนแตรัฐสภาจะมีมติใหพจิารณาเรื ่องอื ่นใดดวยคะแนนเสียงมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกท ้ังหมดเทาที ่มีอย ูของท ้ังสองสภา 

สมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสมัยหนึ ่ง ๆ ใหมีกาํหนดเวลา หนึ ่งรอยย ่ีสิบวัน แตพระมหากษัตริยจะโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหขยายเวลาออกไปกไ็ด 

การปดสมัยประชุมสมัยสามัญกอนครบกําหนดเวลาหนึ ่งรอยย ่ีสิบวัน 

จะกระทาํไดแตโดยความเห็นชอบของรัฐสภา 

มาตรา ๑๒๘  พระมหากษัตริยทรงเรยีกประชุมรัฐสภา ทรงเปดและ 

ทรงปดประชุม 

พระมหากษัตริยจะเสด็จพระราชดําเนินมาทรงทาํรัฐพิธีเปดประชุม 

สมัยประชุมสามัญท ่ัวไปครั ้งแรกตามมาตรา ๑๒๗ วรรคหนึ ่ง ดวยพระองคเอง 

หรือจะโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหพระรัชทายาทซึ ่งบรรลนิุติภาวะแลว หรือผู  ใดผู  หนึ ่งเปนผู  แทนพระองค มาทํารัฐพิธีก็ได 

เมื ่อมีความจาํเปนเพ ่ือประโยชนแหงรัฐ พระมหากษัตริยจะทรงเรยีกประชุมรัฐสภาเปนการประชุมสมัยวสิามัญก็ได 

ภายใตบังคับมาตรา ๑๒๙ การเรยีกประชุม การขยายเวลาประชุม 

และการปดประชุมรัฐสภา ใหกระทาํโดยพระราชกฤษฎีกา 

มาตรา ๑๒๙  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวฒุสิภาทั ้งสองสภารวมกัน หรือสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร มีจํานวนไมนอยกวาหนึ ่งในสาม 

ของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของทั ้งสองสภา มีสิทธิเขาชื ่อรองขอให 

นําความกราบบังคมทลูเพ ่ือมีพระบรมราชโองการประกาศเรยีกประชุมรัฐสภา เปนการประชุมสมัยวสิามัญได 

Page 74: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 74/206

๖๔ คํารองขอดังกลาวในวรรคหนึ ่ง ใหยื ่นตอประธานรัฐสภา ใหประธานรัฐสภานําความกราบบังคมทลูและลงนามรับสนอง 

พระบรมราชโองการ 

มาตรา ๑๓๐  ในท ่ีประชุมสภาผู  แทนราษฎร ท ่ีประชุมวฒุสิภา หรือ 

ท ่ีประชุมรวมกันของรัฐสภา สมาชิกผู  ใดจะกลาวถอยคําใดในทางแถลงขอเท็จจรงิ 

แสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน ยอมเปนเอกสิทธิ ์โดยเด็ดขาด ผู  ใด 

จะนําไปเปนเหตุฟองรองวากลาวสมาชิกผู  นั ้นในทางใดมิได เอกสิทธิ ์ตามวรรคหนึ ่งไมคุ  มครองสมาชิกผู  กลาวถอยคําในการ

ประชุมท ่ีมีการถายทอดทางวทิยุกระจายเสียงหรอืวทิยุโทรทัศน หากถอยคําท ่ีกลาวในท ่ีประชุมไปปรากฏนอกบรเิวณรัฐสภา และการกลาวถอยคํานั ้นมีลักษณะเปนความผิดทางอาญาหรอืละเมิดสิทธิในทางแพงตอบุคคลอื ่นซึ ่งมิใชรัฐมนตรีหรือสมาชิกแหงสภานั ้น 

ในกรณตีามวรรคสอง ถาสมาชิกกลาวถอยคําใดที ่อาจเปนเหตุใหบุคคลอื ่นซึ ่งมิใชรัฐมนตรีหรือสมาชิกแหงสภานั ้นไดรับความเสียหาย ใหประธานแหงสภานั ้นจัดใหมีการโฆษณาคําชี ้แจงตามที ่บุคคลนั ้นรองขอตามวธีิการและ 

ภายในระยะเวลาที ่กาํหนดในขอบังคับการประชุมของสภานั ้น ท ้ังนี ้ โดยไม กระทบกระเทอืนถึงสิทธิของบคุคลในการฟองคดีตอศาล 

เอกสิทธิ ์ท ่ีบัญญัติไวในมาตรานี ้ ยอมคุ  มครองไปถงึผู  พิมพและ 

ผู  โฆษณารายงานการประชุมตามขอบังคับของสภาผู  แทนราษฎร วฒุสิภา หรือ 

รัฐสภา แลวแตกรณี และคุ  มครองไปถงึบคุคลซึ ่งประธานในที ่ประชุมอนุญาตใหแถลงขอเท็จจรงิ หรือแสดงความคิดเห็นในท ่ีประชุม ตลอดจนผู  ดําเนินการถายทอดการประชุมสภาทางวทิยุกระจายเสียงหรอืวทิยุโทรทัศนที ่ไดรับอนุญาตจาก 

ประธานแหงสภานั ้นดวยโดยอนุโลม 

Page 75: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 75/206

๖๕ มาตรา ๑๓๑  ในระหวางสมัยประชุม หามมิใหจับ คุมขัง หรือ 

หมายเรียกตัวสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภา  ไปทาํการสอบสวน 

ในฐานะที ่สมาชิกผู  นั ้นเปนผู  ตองหาในคดีอาญา เวนแตในกรณที ่ีไดรับอนุญาตจากสภาที ่ผู  นั ้นเปนสมาชิก หรือในกรณที ่ีจับในขณะกระทาํความผิด 

ในกรณที ่ีมีการจับสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภา ในขณะกระทาํความผิด ใหรายงานไปยังประธานแหงสภาที ่ผู  นั ้นเปนสมาชิก 

โดยพลัน และประธานแหงสภาที ่ผู  นั ้นเปนสมาชิกอาจสั ่งใหปลอยผู  ถูกจับได ในกรณที ่ีมีการฟองสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภา 

ในคดีอาญา ไมวาจะไดฟองนอกหรือในสมัยประชุม ศาลจะพจิารณาคดีนั ้นในระหวางสมัยประชุมมิได เวนแตจะไดรับอนุญาตจากสภาที ่ผู  นั ้นเปนสมาชิก หรือเปนคดีอันเก ่ียวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุิสภา พระราชบัญญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลอืกตั ้ง หรือพระราชบัญญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง แตการพจิารณาคดีตองไมเปนการขัดขวางตอการท ่ีสมาชิกผู  นั ้นจะมาประชุมสภา การพจิารณาพพิากษาคดีท ่ีศาลไดกระทาํกอนมีคําอางวาจาํเลยเปน

สมาชิกของสภาใดสภาหนึ ่ง ยอมเปนอันใชได ถาสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภาถกูคุมขังในระหวาง

สอบสวนหรือพิจารณาอยู กอนสมัยประชุม เมื ่อถึงสมัยประชุม พนักงานสอบสวน

หรือศาล แลวแตกรณี ตองสั ่งปลอยทันทีถาประธานแหงสภาที ่ผู  นั ้นเปนสมาชิกไดรองขอ 

คําสั ่งปลอยใหมีผลบังคับตั ้งแตวันสั ่งปลอยจนถงึวันสุดทายแหง 

สมัยประชุม 

มาตรา ๑๓๒  ในระหวางที ่อายุของสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นสุดลงหรอื 

สภาผู  แทนราษฎรถกูยบุ จะมีการประชุมวฒุิสภามิได  เวนแตเปนกรณดัีงตอไปนี ้ 

Page 76: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 76/206

๖๖ (๑) การประชุมที ่ใหวฒุสิภาทาํหนาที ่รัฐสภาตามมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑ 

มาตรา ๒๒  มาตรา ๒๓  และมาตรา ๑๘๙ โดยถอืคะแนนเสียงจากจาํนวนสมาชิก

ของวฒุสิภา (๒) การประชุมท ่ีใหวฒุิสภาทาํหนาที ่พิจารณาใหบคุคลดํารง

ตําแหนงใดตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ (๓) การประชุมท ่ีใหวฒุสิภาทาํหนาท ่ีพจิารณาและมีมติใหถอดถอน

บคุคลออกจากตําแหนง 

มาตรา ๑๓๓  การประชุมสภาผู  แทนราษฎร การประชุมวุฒสิภา และการประชุมรวมกันของรัฐสภา ยอมเปนการเปดเผยตามลักษณะท ่ีกําหนดไวใน 

ขอบังคับการประชุมแตละสภา แตถาคณะรัฐมนตรี หรือสมาชิกของแตละสภา หรือสมาชิกของทั ้งสองสภารวมกัน มีจํานวนไมนอยกวาหนึ ่งในสี ่ของจาํนวนสมาชิก 

ท ้ังหมดเทาที ่มีอยู ของแตละสภา หรอืจาํนวนสมาชิกของทั ้งสองสภาเทาที ่มีอยู รวมกัน 

แลวแตกรณี รองขอใหประชุมลับ กใ็หประชุมลับ 

มาตรา ๑๓๔  สภาผู  แทนราษฎรและวฒุสิภามีอํานาจตราขอบังคับการประชุมเกี ่ยวกับการเลอืกและการปฏิบัติหนาที ่ของประธานสภา รองประธานสภา เรื ่องหรือกิจการอันเปนอํานาจหนาที ่ของคณะกรรมาธิการสามัญแตละชุด 

การปฏิบัติหนาท ่ีและองคประชุมของคณะกรรมาธิการ วธีิการประชุม การเสนอ

และพจิารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและรางพระราชบัญญัติ 

การเสนอญัตติ การปรกึษา การอภปิราย การลงมติ การบันทึกการลงมติ การเปดเผยการลงมติ การตั ้งกระทู  ถาม การเปดอภปิรายทั ่วไป การรักษาระเบยีบและความเรยีบรอย 

และการอื ่นท ่ีเกี ่ยวของ  รวมทั ้งมีอํานาจตราขอบังคับเก ่ียวกับประมวลจรยิธรรมของสมาชิกและกรรมาธิการ และกจิการอื ่นเพ ่ือดําเนินการตามบทบัญญัติแหง 

รัฐธรรมนูญนี ้ 

Page 77: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 77/206

๖๗ มาตรา ๑๓๕  สภาผู  แทนราษฎรและวฒุสิภามีอํานาจเลอืกสมาชิก

ของแตละสภาตั ้งเปนคณะกรรมาธิการสามัญ และมีอํานาจเลอืกบุคคลผู  เปนสมาชิก

หรือมิไดเปนสมาชิก ตั ้งเปนคณะกรรมาธิการวิสามัญ เพ ่ือกระทาํกจิการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื ่องใด ๆ อันอย ูในอํานาจหนาท ่ีของสภา แลวรายงานตอสภา มติตั ้งคณะกรรมาธิการวสิามัญดังกลาวตองระบกุิจการหรอืเร ่ืองใหชัดเจนและไมซ้ ําหรือซอนกัน 

คณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ ่งมีอํานาจออกคําสั ่งเรยีกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบคุคลใดมาแถลงขอเท็จจริงหรือแสดงความเห็นในกิจการที ่กระทาํหรอืในเรื ่องที ่พิจารณาสอบสวนหรอืศกึษาอยู นั ้นได  และใหคําสั ่งเรยีกดังกลาวมีผลบังคับตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ  แตคําสั ่งเรยีกเชนวานั ้นมิใหใชบังคับกับ 

ผู  พิพากษาหรอืตุลาการที ่ปฏิบัติตามอํานาจหนาท ่ีในกระบวนวธีิพิจารณาพพิากษาอรรถคดีหรือการบรหิารงานบคุคลของแตละศาล  และมิใหใชบังคับกับผู  ตรวจการแผนดินหรือกรรมการในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญท ่ีปฏิบัติตามอํานาจหนาท ่ี

โดยตรงในแตละองคกรตามรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญหรือตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ แลวแตกรณ ี

ในกรณที ่ีบุคคลตามวรรคสองเปนขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ ่น ใหประธานคณะกรรมาธิการแจงใหรัฐมนตรีซึ ่งบังคับบัญชาหรอืกํากับดูแลหนวยงานท ่ีบุคคลนั ้นสังกัดทราบและมีคําสั ่งใหบคุคลนั ้นดําเนินการตามวรรคสอง เวนแต

เปนกรณทีี ่เก ่ียวกับความปลอดภัยหรือประโยชนสําคัญของแผนดิน ใหถอืวา เปนเหตุยกเวนการปฏิบัติตามวรรคสอง 

เอกสิทธิ ์ท ่ีบัญญัติไวในมาตรา ๑๓๐ นั ้น ใหคุ  มครองถงึบคุคล 

ผู  กระทาํหนาที ่ตามมาตรานี ้ดวย 

กรรมาธิการสามัญซึ ่งตั ้งจากผู  ซึ ่งเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร  ท ้ังหมด 

ตองมีจาํนวนตามหรอืใกลเคียงกับอัตราสวนของจาํนวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรของแตละพรรคการเมืองหรือกลุ มพรรคการเมืองท ่ีมีอย ูในสภาผู  แทนราษฎร 

Page 78: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 78/206

๖๘ ในระหวางท ่ียังไมมีขอบังคับการประชุมสภาผู  แทนราษฎรตาม

มาตรา ๑๓๔ ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรเปนผู  กําหนดอัตราสวนตามวรรคหา 

สวนที ่ ๕ 

การประชมุรวมกันของรัฐสภา 

มาตรา ๑๓๖  ในกรณตีอไปนี ้ ใหรัฐสภาประชุมรวมกัน 

(๑) การใหความเห็นชอบในการแตงตั ้งผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคตามมาตรา ๑๙ 

(๒) การปฏิญาณตนของผู  สําเรจ็ราชการแทนพระองคตอรัฐสภา ตามมาตรา ๒๑ 

(๓) การรับทราบการแกไขเพ ่ิมเติมกฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบ 

ราชสันตติวงศ พระพทุธศักราช ๒๔๖๗ ตามมาตรา ๒๒ 

(๔) การรับทราบหรอืใหความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติตามมาตรา ๒๓ 

(๕) การมีมติใหรัฐสภาพจิารณาเรื ่องอื ่นในสมัยประชุมสามัญ 

นิติบัญญัติไดตามมาตรา ๑๒๗ 

(๖) การใหความเห็นชอบในการปดสมัยประชุมตามมาตรา ๑๒๗ 

(๗) การเปดประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๒๘ 

(๘) การตราขอบังคับการประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๓๗ 

(๙) การใหความเห็นชอบใหพจิารณารางพระราชบญัญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญหรือรางพระราชบัญญัติตามมาตรา ๑๔๕ 

(๑๐) การปรกึษารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือ 

รางพระราชบัญญัติใหมตามมาตรา ๑๕๑ 

Page 79: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 79/206

๖๙ (๑๑) การใหความเห็นชอบใหพจิารณารางรัฐธรรมนูญแกไขเพ ่ิมเติม 

รางพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือรางพระราชบัญญัติตอไป 

ตามมาตรา ๑๕๓ วรรคสอง (๑๒) การแถลงนโยบายตามมาตรา ๑๗๖ 

(๑๓) การเปดอภปิรายทั ่วไปตามมาตรา ๑๗๙ 

(๑๔) การใหความเห็นชอบในการประกาศสงครามตามมาตรา ๑๘๙ 

(๑๕) การรับฟงคําชี ้แจงและการใหความเห็นชอบหนังสือสัญญา ตามมาตรา ๑๙๐ 

(๑๖) การแกไขเพ ่ิมเติมรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๙๑ 

มาตรา ๑๓๗  ในการประชุมรวมกันของรัฐสภาใหใชขอบังคับ 

การประชุมรัฐสภา ในระหวางที ่ยังไมมีขอบังคับการประชุมรัฐสภา ใหใชขอบังคับการประชุมสภาผู  แทนราษฎรโดยอนุโลมไปพลางกอน 

ในการประชุมรวมกันของรัฐสภา ใหนําบทที ่ใชแกสภาทั ้งสองมาใชบังคับโดยอนุโลม  เวนแตในเร ่ืองการตั ้งคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการซึ ่งตั ้งจาก 

ผู  ซึ ่งเปนสมาชิกของแตละสภาจะตองมีจํานวนตามหรอืใกลเคียงกับอัตราสวนของจํานวนสมาชิกของแตละสภา 

สวนท ่ี  ๖ 

การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 

มาตรา ๑๓๘  ใหมีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ  ดังตอไปนี ้ (๑) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิก

สภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุิสภา 

Page 80: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 80/206

๗๐ (๒) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการ 

การเลอืกตั ้ง 

(๓) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง 

(๔)พระราชบญัญติัประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ 

(๕) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของ ศาลรัฐธรรมนูญ 

(๖) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวธีิพจิารณาคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง 

(๗) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผู  ตรวจการแผนดิน 

(๘) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุริต 

(๙) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงนิแผนดิน 

มาตรา ๑๓๙  รางพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะเสนอได กแ็ตโดย 

(๑) คณะรัฐมนตรี (๒) สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในสิบของ

จาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอยู ของสภาผู  แทนราษฎร หรอืสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวฒุสิภา มีจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในสิบของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มี

อย ูของทั ้งสองสภา หรือ 

(๓) ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ซึ ่งประธารศาลและประธานองคกรนั ้นเปนผู  รักษาการตามพระราชบญัญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญนั ้น 

มาตรา ๑๔๐  การพจิารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญของสภาผู  แทนราษฎรและวฒุสิภาใหกระทาํเปนสามวาระ ดังตอไปนี ้ 

Page 81: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 81/206

๗๑ (๑) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที ่หนึ ่งขั ้นรับหลักการ และใน

วาระที ่สองข ้ันพจิารณาเรยีงลําดับมาตรา ใหถอืเสียงขางมากของแตละสภา 

(๒) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที ่สาม ตองมีคะแนนเสียง เห็นชอบดวยในการที ่จะใหออกใชเปนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกท ้ังหมดเทาท ่ีมีอย ูของแตละสภา 

ใหนําบทบัญญัติในหมวด ๖ สวนที ่ ๗ การตราพระราชบญัญัติ มาใชบังคับกับการพจิารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๑๔๑  เมื ่อรัฐสภาใหความเห็นชอบกับรางพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญแลว กอนนําขึ ้นทูลเกลาทลูกระหมอมถวายเพื ่อทรงลง พระปรมาภไิธย ใหสงศาลรัฐธรรมนูญพจิารณาความชอบดวยรัฐธรรมนูญซึ ่งตองกระทาํใหแลวเสรจ็ภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีไดรับเร ่ือง 

คําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที ่วนิิจฉัยวารางพระราชบญัญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญใดมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ ใหขอความที ่ขัด 

หรือแยงนั ้นเปนอันตกไป  ในกรณที ่ีวนิิจฉัยวาขอความดังกลาวเปนสาระสําคัญหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตราขึ ้นโดยไมถกูตองตามบทบัญญัติ 

แหงรัฐธรรมนูญ ใหรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั ้นเปนอันตกไป 

ในกรณที ่ีคําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมีผลทาํใหขอความที ่ขัด 

หรือแยงตอรัฐธรรมนูญเปนอันตกไปตามวรรคสอง ใหสงรางพระราชบญัญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญนั ้นกลับคืนสภาผู  แทนราษฎรและวฒุสิภาเพื ่อพิจารณา ตามลาํดับ  ในกรณเีชนวานี ้ใหสภาผู  แทนราษฎรหรอืวฒุสิภาพจิารณาแกไขเพ ่ิมเติมเพื ่อมิใหขัดหรอืแยงตอรัฐธรรมนูญได โดยมติในการแกไขเพิ ่มเติมใหใชคะแนนเสียงมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของแตละสภา แลวให นายกรัฐมนตรีดําเนินการตามมาตรา ๙๐ และมาตรา ๑๕๐ หรือมาตรา ๑๕๑ 

แลวแตกรณี ตอไป 

Page 82: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 82/206

๗๒ สวนที ่ ๗ 

การตราพระราชบัญญัติ 

มาตรา ๑๔๒ ภายใตบังคบัมาตรา ๑๓๙ รางพระราชบญัญัติจะเสนอได กแ็ตโดย 

(๑) คณะรัฐมนตร ี

(๒) สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจาํนวนไมนอยกวายี ่สิบคน 

(๓) ศาลหรอืองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เฉพาะกฎหมายที ่เกี ่ยวกับการจัดองคกรและกฎหมายที ่ประธานศาลและประธานองคกรนั ้นเปนผู  รักษาการ หรือ 

(๔) ผู  มีสิทธิเลือกตั ้งจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งหมื ่นคนเขาชื ่อเสนอกฎหมายตามมาตรา ๑๖๓ 

ในกรณที ่ีรางพระราชบญัญัติซึ ่งมีผู  เสนอตาม (๒) (๓) หรือ (๔) เปน

รางพระราชบญัญัติเกี ่ยวดวยการเงนิจะเสนอไดก็ตอเมื ่อมีคํารบัรองของนายกรฐัมนตรี ในกรณที ่ีประชาชนไดเสนอรางพระราชบญัญัติใดตาม (๔) แลว 

หากบคุคลตาม (๑) หรือ (๒) ไดเสนอรางพระราชบญัญัติท ่ีมีหลักการเดียวกับ 

รางพระราชบัญญัตินั ้นอีก ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๖๓ วรรคสี ่ มาใชบังคับกับ 

การพจิารณารางพระราชบัญญัตินั ้นดวย 

รางพระราชบญัญัติใหเสนอตอสภาผู  แทนราษฎรกอน 

ในการเสนอรางพระราชบญัญัติตามวรรคหนึ ่งตองมีบันทึกวเิคราะหสรุปสาระสําคัญของรางพระราชบัญญัติเสนอมาพรอมกับรางพระราชบญัญัติดวย 

รางพระราชบญัญัติท ่ีเสนอตอรัฐสภาตองเปดเผยใหประชาชนทราบและใหประชาชนสามารถเขาถงึขอมูลรายละเอียดของรางพระราชบัญญัตินั ้นไดโดยสะดวก 

Page 83: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 83/206

๗๓ มาตรา ๑๔๓  รางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวยการเงนิ หมายความถงึ 

รางพระราชบัญญัติวาดวยเรื ่องใดเรื ่องหนึ ่ง ดังตอไปนี ้ 

(๑) การตั ้งขึ ้น ยกเลกิ ลด เปล ่ียนแปลง แกไข ผอน หรือวางระเบยีบการบังคับอันเก ่ียวกับภาษหีรืออากร 

(๒) การจัดสรร รับ รักษา หรือจายเงนิแผนดิน หรือการโอน 

งบประมาณรายจายของแผนดิน 

(๓) การกู  เงิน การค้ ําประกัน การใชเงินกู   หรือการดําเนินการที ่ผูกพันทรัพยสินของรัฐ 

(๔) เงินตรา ในกรณที ่ีเปนที ่สงสัยวารางพระราชบญัญัติใดเปนรางพระราชบญัญัติ

เก ่ียวดวยการเงนิท ่ีจะตองมีคํารับรองของนายกรัฐมนตรีหรือไม ใหเปนอํานาจของ 

ท ่ีประชุมรวมกันของประธานสภาผู  แทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผู  แทนราษฎรทกุคณะ เปนผู  วนิิจฉัย 

ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรจัดใหมีการประชุมรวมกันเพ ่ือพิจารณากรณีตามวรรคสองภายในสิบหาวันนับแตวันที ่มีกรณีดังกลาว 

มติของที ่ประชุมรวมกันตามวรรคสองใหใชเสียงขางมากเปนประมาณ 

ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรออกเสียงเพิ ่มขึ ้นอีกเสียงหนึ ่งเปนเสียงชี ้ขาด 

มาตรา ๑๔๔  รางพระราชบัญญัติใดท ่ีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเปน 

ผู  เสนอและในข ้ันรับหลักการไมเปนรางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวยการเงิน แต สภาผู  แทนราษฎรไดแกไขเพิ ่มเติม และประธานสภาผู  แทนราษฎรเห็นวาการแกไข 

เพ ่ิมเติมนั ้นทําใหมีลักษณะเปนรางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวยการเงนิ ใหประธาน 

สภาผู  แทนราษฎรสั ่งระงับการพจิารณาไวกอน และภายในสิบหาวนันับแตวันที ่มีกรณี

ดังกลาว ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรสงรางพระราชบญัญติันั ้นไปใหท ่ีประชุมรวมกัน

Page 84: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 84/206

๗๔ ของประธานสภาผู  แทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของ 

สภาผู  แทนราษฎรทกุคณะเปนผู  วนิิจฉัย 

ในกรณที ่ีท ่ีประชุมรวมกันตามวรรคหนึ ่งวนิิจฉัยวาการแกไขเพิ ่มเติมนั ้น ทําใหรางพระราชบัญญัตินั ้นมีลักษณะเปนรางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวยการเงนิ 

ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรสงรางพระราชบัญญัตินั ้นไปใหนายกรัฐมนตรีรับรอง 

ในกรณที ่ีนายกรัฐมนตรีไมใหคํารับรอง ใหสภาผู  แทนราษฎรดําเนินการแกไขเพ ่ือ 

มิใหรางพระราชบัญญัตินั ้นเปนรางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวยการเงิน 

มาตรา ๑๔๕  รางพระราชบญัญัติท ่ีคณะรัฐมนตรีระบไุวในนโยบายท ่ีแถลงตอรัฐสภาตามมาตรา ๑๗๖  วาจาํเปนตอการบรหิารราชการแผนดิน  หาก 

สภาผู  แทนราษฎรมีมติไมใหความเห็นชอบ และคะแนนเสียงที ่ไมใหความเห็นชอบไมถึงกึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรทั ้งหมดเทาที ่มีอย ู คณะรัฐมนตรีอาจขอใหรัฐสภาประชุมรวมกันเพื ่อมีมติอีกครั ้งหนึ ่ง หากรัฐสภามีมติใหความเห็นชอบ 

ใหตั ้งบคุคลซึ ่งเปนหรือมิไดเปนสมาชิกของแตละสภามีจํานวนเทากันตามท ่ีคณะ 

รัฐมนตรีเสนอ ประกอบกันเปนคณะกรรมาธิการรวมกันของรัฐสภาเพื ่อพิจารณารางพระราชบัญญัตินั ้น และใหคณะกรรมาธิการรวมกันของรัฐสภารายงานและเสนอรางพระราชบญัญัติท ่ีไดพิจารณาแลวตอรัฐสภา ถารัฐสภามีมติเห็นชอบดวยรางพระราชบัญญัตินั ้น ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐ ถารัฐสภามีมติไมใหความเห็นชอบ ใหรางพระราชบัญญัตินั ้นเปนอันตกไป 

มาตรา ๑๔๖  ภายใตบังคับมาตรา ๑๖๘ เมื ่อสภาผู  แทนราษฎรไดพจิารณารางพระราชบญัญัติท ่ีเสนอตามมาตรา ๑๔๒ และลงมติเห็นชอบแลว ใหสภาผู  แทนราษฎรเสนอรางพระราชบัญญัตินั ้นตอวฒุสิภา วฒุสิภาตองพิจารณา รางพระราชบญัญัติท ่ีเสนอมานั ้นใหเสร็จภายในหกสิบวัน แตถารางพระราชบญัญัติ

นั ้นเปนรางพระราชบญัญัติเกี ่ยวดวยการเงนิ ตองพิจารณาใหเสร็จภายในสามสิบวัน 

ท ้ังนี ้ เวนแตวฒุสิภาจะไดลงมติใหขยายเวลาออกไปเปนกรณพีิเศษซึ ่งตองไมเกิน

Page 85: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 85/206

๗๕ สามสิบวัน กําหนดวันดังกลาวใหหมายถงึวันในสมัยประชุม และใหเร ่ิมนับแตวันท ่ีรางพระราชบัญญัตินั ้นมาถงึวฒุสิภา 

ระยะเวลาดังกลาวในวรรคหนึ ่ง ไมใหนับรวมระยะเวลาที ่อย ูในระหวางการพจิารณาของศาลรฐัธรรมนูญตามมาตรา ๑๔๙ 

ถาวฒุสิภาพจิารณารางพระราชบัญญัติไมเสร็จภายในกาํหนดเวลา ท ่ีกลาวในวรรคหนึ ่ง ใหถือวาวฒุสิภาไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัตินั ้น 

ในกรณที ่ีสภาผู  แทนราษฎรเสนอรางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวยการเงนิไปยังวฒุิสภา ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรแจงไปดวยวารางพระราชบญัญัติท ่ีเสนอไปนั ้นเปนรางพระราชบญัญัติเกี ่ยวดวยการเงนิ คําแจงของประธานสภาผู  แทนราษฎรใหถอืเปนเด็ดขาด 

ในกรณที ่ีประธานสภาผู  แทนราษฎรมิไดแจงไปวารางพระราชบญัญัติใดเปนรางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวยการเงิน ใหถอืวารางพระราชบัญญัตินั ้นไมเปนรางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวยการเงนิ 

มาตรา ๑๔๗  ภายใตบังคับมาตรา ๑๖๘ เมื ่อวุฒสิภาไดพจิารณา รางพระราชบญัญัติเสร็จแลว 

(๑) ถาเห็นชอบดวยกับสภาผู  แทนราษฎร ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐ 

(๒) ถาไมเห็นชอบดวยกับสภาผู  แทนราษฎร ใหยับยั ้งรางพระราช

บัญญติันั ้นไวกอน และสงรางพระราชบญัญัตินั ้นคืนไปยังสภาผู  แทนราษฎร 

(๓) ถาแกไขเพิ ่มเติม ใหสงรางพระราชบัญญัติตามท ่ีแกไขเพ ่ิมเติมนั ้นไปยังสภาผู  แทนราษฎร ถาสภาผู  แทนราษฎรเห็นชอบดวยกับการแกไขเพ ่ิมเติม 

ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐ ถาเปนกรณอืี ่น ใหแตละสภาตั ้งบคุคลซึ ่งเปนหรือมิไดเปนสมาชิกแหงสภานั ้น ๆ มีจาํนวนเทากันตามท ่ีสภาผู  แทนราษฎรกาํหนด 

ประกอบเปนคณะกรรมาธิการรวมกันเพ ่ือพิจารณารางนั ้น และใหคณะกรรมาธิการรวมกันรายงานและเสนอรางพระราชบญัญัติท ่ีคณะกรรมาธิการรวมกันไดพิจารณา

Page 86: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 86/206

๗๖ แลวตอสภาท ้ังสอง ถาสภาทั ้งสองตางเห็นชอบดวยรางพระราชบัญญัติที ่ คณะกรรมาธิการรวมกันไดพจิารณาแลว ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐ 

ถาสภาใดสภาหนึ ่งไมเห็นชอบดวย กใ็หยับยั ้งรางพระราชบัญญัตินั ้นไวกอน 

คณะกรรมาธิการรวมกันอาจเรยีกเอกสารจากบคุคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงขอเท็จจรงิหรอืแสดงความคิดเห็นในการพจิารณาราง 

พระราชบัญญัติได และเอกสิทธิ ์ท ่ีบัญญัติไวในมาตรา ๑๓๐ นั ้น ใหคุ  มครองถงึบุคคลผู  กระทาํหนาท ่ีตามมาตรานี ้ดวย 

การประชุมคณะกรรมาธิการรวมกันตองมีกรรมาธิการของสภา ท ้ังสองมาประชุมไมนอยกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนกรรมาธิการทั ้งหมดจงึจะเปน 

องคประชุม และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๓๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม 

ถาวฒุสิภาไมสงรางพระราชบญัญัติคืนไปยังสภาผู  แทนราษฎรภายในกาํหนดเวลาตามมาตรา ๑๔๖ ใหถือวาวฒุสิภาไดใหความเห็นชอบในราง 

พระราชบัญญัตินั ้น  และใหดําเนินการตามมาตรา ๑๕๐ ตอไป 

มาตรา ๑๔๘  รางพระราชบญัญัติท ่ีตองยับย ้ังไวตามมาตรา ๑๔๗ นั ้น 

สภาผู  แทนราษฎรจะยกขึ ้นพิจารณาใหมไดตอเมื ่อเวลาหนึ ่งรอยแปดสิบวันได ลวงพนไปนับแตวันท ่ีวฒุสิภาสงรางพระราชบัญญัตินั ้นคืนไปยังสภาผู  แทนราษฎร 

สําหรับกรณกีารยับยั ้งตามมาตรา ๑๔๗ (๒) และนับแตวันที ่สภาใดสภาหนึ ่งไมเห็นชอบดวย สําหรับกรณกีารยับย ้ังตามมาตรา ๑๔๗ (๓) ในกรณเีชนวานี ้ ถาสภาผู  แทน

ราษฎรลงมติยืนยันรางเดิมหรือรางท ่ีคณะกรรมาธิการรวมกันพิจารณาดวยคะแนนเสียงมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของสภาผู  แทนราษฎรแลว 

ใหถอืวารางพระราชบญัญัตินั ้นเปนอันไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา และใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐ 

ถารางพระราชบญัญัติท ่ีตองยับยั ้งไวเปนรางพระราชบัญญัติเก ่ียวดวย

การเงนิ สภาผู  แทนราษฎรอาจยกรางพระราชบญัญัตินั ้นขึ ้นพิจารณาใหมไดทันที ในกรณเีชนวานี ้ ถาสภาผู  แทนราษฎรลงมติยืนยันรางเดิมหรือรางท ่ีคณะกรรมาธิการ

Page 87: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 87/206

๗๗ รวมกันพจิารณาดวยคะแนนเสียงมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของสภาผู  แทนราษฎรแลว ใหถอืวารางพระราชบญัญติันั ้นเปนอันไดรับความเห็นชอบ

ของรัฐสภา และใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐ 

มาตรา ๑๔๙  ในระหวางที ่มีการยับยั ้งรางพระราชบัญญัติใดตามมาตรา ๑๔๗ คณะรัฐมนตรีหรือสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจะเสนอราง 

พระราชบัญญัติท ่ีมีหลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของราง พระราชบัญญัติท ่ีตองยับย ้ังไวมิได 

ในกรณที ่ีสภาผู  แทนราษฎรหรอืวุฒสิภาเห็นวาราง พระราชบัญญัติ 

ท ่ีเสนอหรือสงใหพิจารณานั ้น เปนรางพระราชบัญญัติท ่ีมีหลักการอยางเดียวกันหรือคลายกันกับหลักการของรางพระราชบญัญัติท ่ีตองยับย ้ังไว  ใหประธานสภา ผู  แทนราษฎรหรอืประธานวฒุสิภาสงรางพระราชบญัญัติดังกลาวใหศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉยั ถาศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉยัวาเปนรางพระราชบญัญัติท ่ีมีหลกัการอยางเดียวกัน

หรอืคลายกันกับหลักการของรางพระราชบญัญัติท ่ีตองยับยั ้งไว  ใหราง 

พระราชบัญญัตินั ้นเปนอันตกไป 

มาตรา ๑๕๐  รางพระราชบญัญัติท ่ีไดรับความเห็นชอบของรัฐสภาแลว 

ใหนายกรัฐมนตรนํีาขึ ้นทูลเกลาทลูกระหมอมถวายภายในยี ่สิบวันนับแตวันท ่ีไดรับรางพระราชบญัญัตินั ้นจากรัฐสภา เพ ่ือพระมหากษัตรยิทรงลงพระปรมาภไิธย และ

เมื ่อประกาศในราชกจิจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับเปนกฎหมายได 

มาตรา ๑๕๑  รางพระราชบัญญัติใด พระมหากษัตริยไมทรงเห็นชอบดวยและพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรือเมื ่อพนเกาสิบวันแลวมิไดพระราชทานคืนมา รัฐสภาจะตองปรกึษารางพระราชบญัญัตินั ้นใหม ถารฐัสภามีมติยนืยันตามเดิม

ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของ 

ท ้ังสองสภาแลว ใหนายกรัฐมนตรนํีารางพระราชบญัญัตินั ้นขึ ้นทลูเกลาทลูกระหมอม

Page 88: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 88/206

๗๘ ถวายอีกครั ้งหนึ ่ง เมื ่อพระมหากษัตรยิมิไดทรงลงพระปรมาภไิธยพระราชทานคืนมาภายในสามสิบวนั ใหนายกรัฐมนตรนํีาพระราชบญัญัตินั ้นประกาศในราชกจิจานุเบกษา

ใชบังคบัเปนกฎหมายไดเสมือนหนึ ่งวาพระมหากษตัรยิไดทรงลงพระปรมาภไิธยแลว 

มาตรา ๑๕๒  การพจิารณารางพระราชบัญญัติท ่ีประธานสภา ผู  แทนราษฎรวนิิจฉัยวามีสาระสําคัญเกี ่ยวกับเด็ก เยาวชน สตร ีผู  สูงอาย ุหรอืผู  พิการหรอืทพุพลภาพ หากสภาผู  แทนราษฎรมิไดพิจารณาโดยกรรมาธิการเต็มสภา ใหสภาผู  แทนราษฎรตั ้งคณะกรรมาธิการวสิามัญขึ ้นประกอบดวยผู  แทนองคการเอกชนเกี ่ยวกับบุคคลประเภทนั ้นมีจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในสามของจาํนวนกรรมาธิการท ้ังหมด  ท ้ังนี ้ โดยมีสัดสวนหญงิและชายที ่ใกลเคียงกัน 

มาตรา ๑๕๓  ในกรณที ่ีอายุของสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นสุดลงหรอืมีการยบุสภาผู  แทนราษฎร รางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ ่มเติมหรอืบรรดารางพระราชบญัญัติท ่ี

พระมหากษัตริยไมทรงเห็นชอบดวย หรือเมื ่อพนเกาสิบวันแลวมิไดพระราชทานคืนมา ใหเปนอันตกไป 

ในกรณที ่ีอายุของสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นสุดลงหรอืมีการยบุสภา ผู  แทนราษฎร ภายหลังการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรอันเปนการเลอืกตั ้งทั ่วไป 

รัฐสภา สภาผู  แทนราษฎร หรือวุฒสิภา แลวแตกรณี จะพจิารณารางรัฐธรรมนูญ 

แกไขเพ ่ิมเติม หรือรางพระราชบัญญัติท ่ีรัฐสภายังมิไดใหความเห็นชอบตอไปได 

ถาคณะรัฐมนตรที ่ีตั ้งขึ ้นใหมภายหลังการเลอืกตั ้งทั ่วไปรองขอภายในหกสิบวนั  นับแตวันเรยีกประชุมรฐัสภาครั ้งแรกหลังการเลอืกตั ้งทั ่วไป และรัฐสภามีมติเห็นชอบดวย แตถาคณะรัฐมนตรีมิไดรองขอภายในกาํหนดเวลาดังกลาว ใหรางรัฐธรรมนูญ 

แกไขเพิ ่มเติมหรือรางพระราชบัญญัตินั ้นเปนอันตกไป 

การพจิารณารางรัฐธรรมนูญแกไขเพ ่ิมเติมหรือรางพระราชบัญญัติ 

ตอไปตามวรรคสอง ใหเปนไปตามขอบังคับการประชุมสภาผู  แทนราษฎร วฒุสิภาหรือรัฐสภา แลวแตกรณี 

Page 89: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 89/206

๗๙ สวนท ่ี ๘ 

การควบคุมการตรากฎหมายที ่ขัดหรอืแยงตอรัฐธรรมนูญ 

มาตรา ๑๕๔  รางพระราชบญัญัติใดท ่ีรัฐสภาใหความเห็นชอบแลว 

กอนท ่ีนายกรัฐมนตรีจะนําขึ ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื ่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภไิธยตามมาตรา ๑๕๐ หรือรางพระราชบัญญัติใดท ่ีรัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา ๑๕๑ กอนท ่ีนายกรัฐมนตรีจะนํารางพระราชบัญญัตินั ้นขึ ้นทลูเกลา ทูลกระหมอมถวายอีกคร ้ังหนึ ่ง 

(๑) หากสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุิสภา หรือสมาชิกของทั ้งสองสภารวมกัน มีจํานวนไมนอยกวาหนึ ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของท ้ังสองสภา เห็นวารางพระราชบัญญัติดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอ 

รัฐธรรมนูญนี ้ หรือตราขึ ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ ใหเสนอ

ความเห็นตอประธานสภาผู  แทนราษฎร ประธานวฒุสิภา หรือประธานรัฐสภา แลวแตกรณ ีแลวใหประธานแหงสภาที ่ไดรับความเห็นดังกลาวสงความเห็นนั ้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพ ่ือวนิิจฉัย และแจงใหนายกรัฐมนตรีทราบโดยไมชักชา 

(๒) หากนายกรัฐมนตรีเห็นวารางพระราชบญัญัติดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี ้ หรือตราขึ ้นโดยไมถกูตองตามบทบัญญัติแหง 

รัฐธรรมนูญนี ้ ใหสงความเห็นเชนวานั ้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพ ่ือวนิิจฉัย และแจงใหประธานสภาผู  แทนราษฎรและประธานวฒุสิภาทราบโดยไมชักชา 

ในระหวางท ่ีศาลรัฐธรรมนูญพจิารณาวนิิจฉัย ใหนายกรัฐมนตรีระงับการดําเนินการเพื ่อประกาศใชรางพระราชบญัญัติดังกลาวไวจนกวา ศาลรัฐธรรมนูญจะมีคําวนิิจฉัย 

ถาศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยวารางพระราชบญัญัตินั ้นมีขอความขัด

หรอืแยงตอรัฐธรรมนูญนี ้ หรอืตราขึ ้นโดยไมถกูตองตามบทบัญญติัแหงรฐัธรรมนูญนี ้ และขอความดังกลาวเปนสาระสําคัญ ใหรางพระราชบัญญัตินั ้นเปนอันตกไป 

Page 90: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 90/206

๘๐ ถาศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยวารางพระราชบัญญัตินั ้นมีขอความขัด

หรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี ้แตมิใชกรณตีามวรรคสาม ใหขอความที ่ขัดหรือแยงนั ้น

เปนอันตกไป และใหนายกรัฐมนตรีดําเนินการตามมาตรา ๑๕๐ หรือมาตรา ๑๕๑ 

แลวแตกรณี ตอไป 

มาตรา ๑๕๕  บทบัญญัติมาตรา ๑๕๔ ใหนํามาใชบังคับกับราง 

ขอบังคับการประชุมสภาผู  แทนราษฎร รางขอบังคับการประชุมวฒุสิภา และราง 

ขอบังคับการประชุมรัฐสภา ท ่ีสภาผู  แทนราษฎร วฒุสิภา หรือรัฐสภา แลวแตกรณี ใหความเห็นชอบแลว แตยังมิไดประกาศในราชกจิจานุเบกษาดวยโดยอนุโลม 

สวนที ่ ๙ 

การควบคุมการบริหารราชการแผนดิน 

มาตรา ๑๕๖  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภาทกุคน 

มีสิทธิตั ้งกระทู  ถามรัฐมนตรีในเร ่ืองใดเกี ่ยวกับงานในหนาท ่ีได แตรัฐมนตรียอม 

มีสิทธิท ่ีจะไมตอบเมื ่อคณะรัฐมนตรีเห็นวาเรื ่องนั ้นยังไมควรเปดเผยเพราะเกี ่ยวกับความปลอดภัยหรือประโยชนสําคัญของแผนดิน 

มาตรา ๑๕๗  การบรหิารราชการแผนดินเร ่ืองใดที ่เปนปญหาสําคัญท ่ีอย ูในความสนใจของประชาชน เปนเร ่ืองที ่กระทบถงึประโยชนของประเทศชาติหรือประชาชน หรือท ่ีเปนเร ่ืองเรงดวน สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรอาจแจงเปน 

ลายลักษณอักษรตอประธานสภาผู  แทนราษฎรกอนเร ่ิมประชุมในวันนั ้นวาจะถามนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผู  รับผิดชอบในการบรหิารราชการแผนดินเร ่ืองนั ้นโดย

ไมตองระบคํุาถาม และใหประธานสภาผู  แทนราษฎรบรรจเุร ่ืองดังกลาวไวในวาระการประชุมวันนั ้น 

Page 91: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 91/206

๘๑ การถามและการตอบกระทู  ตามวรรคหนึ ่งใหกระทาํไดสัปดาหละ

หนึ ่งครั ้ง และใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรผู  นั ้นตั ้งกระทู  ถามดวยวาจาเรื ่อง 

การบรหิารราชการแผนดินนั ้นไดเร ่ืองละไมเกนิสามคร ้ัง  ท ้ังนี ้  ตามขอบังคับ 

การประชุมสภาผู  แทนราษฎร 

มาตรา ๑๕๘  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในหาของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของสภาผู  แทนราษฎร มีสิทธิเขาชื ่อเสนอญัตติขอเปดอภปิรายทั ่วไปเพื ่อลงมติไมไววางใจนายกรฐัมนตรี ญัตติดังกลาวตองเสนอชื ่อผู  สมควรดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีคนตอไปซึ ่งเปนบุคคลตามมาตรา ๑๗๑ 

วรรคสอง ดวย  และเมื ่อไดมีการเสนอญัตติแลว จะมีการยบุสภาผู  แทนราษฎรมิได เวนแตจะมีการถอนญัตติหรือการลงมตินั ้นไมไดคะแนนเสียงตามวรรคสาม 

การเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั ่วไปตามวรรคหนึ ่ง ถาเปนเร ่ืองท ่ีเกี ่ยวกับพฤติกรรมของนายกรัฐมนตรีที ่มีพฤติการณร่ ํารวยผิดปกติ สอไปในทาง

ทุจรติตอหนาที ่ราชการ หรือจงใจฝาฝนบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรอืกฎหมาย 

จะเสนอโดยไมมีการยื ่นคํารองขอตามมาตรา ๒๗๑ กอนมิได และเมื ่อไดมีการยื ่น 

คํารองขอตามมาตรา ๒๗๑ แลว ใหดําเนินการตอไปไดโดยไมตองรอผลการดําเนินการตามมาตรา ๒๗๒ 

เมื ่อการอภปิรายทั ่วไปสิ ้นสุดลงโดยมิใชดวยมติใหผานระเบยีบวาระเปดอภปิรายนั ้นไป ใหสภาผู  แทนราษฎรลงมติไววางใจหรอืไมไววางใจ การลงมติ

ในกรณเีชนวานี ้มิใหกระทาํในวันเดียวกับวันท ่ีการอภปิรายสิ ้นสุด มติไมไววางใจตองมีคะแนนเสียงมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของ 

สภาผู  แทนราษฎร 

ในกรณที ่ีมติไมไววางใจมีคะแนนเสียงไมมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรซึ ่งเขาชื ่อ

เสนอญัตติขอเปดอภิปรายนั ้น เปนอันหมดสิทธิท ่ีจะเขาชื ่อเสนอญัตติขอเปดอภปิรายทั ่วไปเพื ่อลงมติไมไววางใจนายกรฐัมนตรีอีกตลอดสมัยประชุมนั ้น 

Page 92: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 92/206

๘๒ ในกรณที ่ีมติไมไววางใจมีคะแนนเสียงมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวน

สมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของสภาผู  แทนราษฎร ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรนําชื ่อ

ผู  ท ่ีไดรับการเสนอชื ่อตามวรรคหนึ ่งกราบบังคมทลูเพ ่ือทรงแตงตั ้งตอไป และมิใหนํามาตรา ๑๗๒ มาใชบังคับ 

มาตรา ๑๕๙  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในหกของจาํนวนสมาชิกท ้ังหมดเทาท ่ีมีอย ูของสภาผู  แทนราษฎร มีสิทธิเขาชื ่อเสนอญัตติขอเปดอภปิรายทั ่วไปเพื ่อลงมติไมไววางใจรัฐมนตรีเปนรายบคุคล และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๕๘ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี ่ มาใชบังคับโดยอนุโลม 

รัฐมนตรคีนใดพนจากตําแหนงเดิมแตยังคงเปนรฐัมนตรใีนตําแหนงอื ่นภายหลังจากวันท ่ีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเขาชื ่อตามวรรคหนึ ่ง  ใหรัฐมนตรีคนนั ้นยังคงตองถกูอภปิรายเพื ่อลงมติไมไววางใจตามวรรคหนึ ่งตอไป 

ใหนําความในวรรคสองมาใชบังคบักบัรัฐมนตรผูี  ซึ ่งพนจากตําแหนง

เดิมไมเกนิเกาสิบวนักอนวันที ่สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเขาชื ่อตามวรรคหนึ ่ง แตยังคงเปนรัฐมนตรีในตําแหนงอื ่นดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๑๖๐  ในกรณทีี ่สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรที ่มิไดอย ูใน 

พรรคการเมืองท ่ีสมาชิกในสังกัดของพรรคนั ้นดํารงตําแหนงรัฐมนตรีมีจํานวน 

ไมถงึเกณฑท ่ีจะเสนอญัตติขอเปดอภิปรายทั ่วไปตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๕๙ 

ใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจาํนวนมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกสภา ผู  แทนราษฎรดังกลาวทั ้งหมดเทาที ่มีอยู มีสิทธิเขาชื ่อเสนอญตัติขอเปดอภปิรายทั ่วไปเพ ่ือลงมติไมไววางใจนายกรฐัมนตรีหรือรัฐมนตรีเปนรายบคุคลตามมาตรา ๑๕๘ 

หรอืมาตรา ๑๕๙ ได เมื ่อคณะรัฐมนตรไีดบรหิารราชการแผนดินมาเกนิกวาสองปแลว 

มาตรา ๑๖๑  สมาชิกวฒุสิภาจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในสามของจํานวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของวฒุสิภา มีสิทธิเขาชื ่อขอเปดอภปิรายทั ่วไปใน

Page 93: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 93/206

๘๓ วฒุสิภาเพื ่อใหคณะรัฐมนตรีแถลงขอเท็จจรงิหรอืชี ้แจงปญหาสําคัญเกี ่ยวกับ 

การบรหิารราชการแผนดินโดยไมมีการลงมติ 

การขอเปดอภิปรายทั ่วไปตามมาตรานี ้ จะกระทาํไดครั ้งเดียวใน 

สมัยประชุมหนึ ่ง 

มาตรา ๑๖๒  ในกรณที ่ีมีการประชุมสภาผู  แทนราษฎรหรอืวุฒสิภาเพ ่ือตั ้งกระทู  ถามในเรื ่องใดเกี ่ยวกับงานในหนาที ่ หรือการอภปิรายไมไววางใจ 

นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผู  ใด ใหเปนหนาที ่ของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ผู  นั ้นตองเขารวมประชุมสภาผู  แทนราษฎรหรอืวฒุสิภาเพ ่ือชี ้แจงหรอืตอบกระทู  ถามในเรื ่องนั ้นดวยตนเอง  เวนแตมีเหตุจาํเปนอันมิอาจหลกีเลี ่ยงไดทําใหไมอาจเขาชี ้แจงหรือตอบกระทู   แตตองแจงใหประธานสภาผู  แทนราษฎรหรอืประธานวฒุสิภา ทราบกอนหรือในวันประชุมสภาในเรื ่องดังกลาว 

สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรมีอิสระจากมติพรรคการเมืองในการ 

ตั ้งกระทู  ถาม การอภปิราย และการลงมติในการอภปิรายไมไววางใจ 

หมวด ๗ 

การมสีวนรวมทางการเมอืงโดยตรงของประชาชน  

มาตรา ๑๖๓  ประชาชนผู  มีสิทธิเลือกตั ้งไมนอยกวาหนึ ่งหมื ่นคน 

มีสิทธิเขาชื ่อรองขอตอประธานรัฐสภาเพื ่อใหรัฐสภาพจิารณารางพระราชบัญญัติตามท ่ีกาํหนดในหมวด ๓ และหมวด ๕ แหงรัฐธรรมนูญนี ้ 

คํารองขอตามวรรคหนึ ่งตองจัดทาํรางพระราชบญัญัติเสนอมาดวย 

หลักเกณฑและวธีิการเขาชื ่อ รวมทั ้งการตรวจสอบรายชื ่อ ใหเปนไป 

ตามที ่กฎหมายบัญญติั 

Page 94: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 94/206

๘๔ ในการพจิารณารางพระราชบญัญัติตามวรรคหนึ ่ง  สภาผู  แทนราษฎร

และวฒุสิภาตองใหผู  แทนของประชาชนผู  มีสิทธิเลือกตั ้งท ่ีเขาชื ่อเสนอราง 

พระราชบัญญัตินั ้นชี ้แจงหลักการของรางพระราชบัญญัติ และคณะกรรมาธิการวสิามัญเพื ่อพิจารณารางพระราชบญัญัติดังกลาวจะตองประกอบดวยผู  แทนของประชาชนผู  มีสิทธิเลือกตั ้งที ่เขาชื ่อเสนอรางพระราชบญัญัตินั ้นจํานวนไมนอยกวาหนึ ่งในสามของจาํนวนกรรมาธิการทั ้งหมดดวย 

มาตรา ๑๖๔ ประชาชนผู  มีสิทธิเลอืกตั ้งจาํนวนไมนอยกวาสองหมื ่นคน 

มีสิทธิเขาชื ่อรองขอตอประธานวฒุิสภาเพื ่อใหวฒุสิภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตําแหนงได 

คํารองขอตามวรรคหนึ ่งตองระบพุฤติการณท ่ีกลาวหาวาผู  ดํารงตําแหนงดังกลาวกระทาํความผิดเปนขอ ๆ ใหชัดเจน 

หลักเกณฑ วธีิการ และเงื ่อนไขในการที ่ประชาชนจะเขาชื ่อรองขอ

ตามวรรคหนึ ่ง ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการ 

ปองกันและปราบปรามการทจุรติ 

มาตรา ๑๖๕ ประชาชนผู  มีสิทธิเลอืกตั ้งยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ 

การจัดใหมีการออกเสียงประชามติใหกระทาํไดในเหตุ ดังตอไปนี ้ (๑) ในกรณที ่ีคณะรัฐมนตรเีห็นวากจิการในเรื ่องใดอาจกระทบถงึ

ประโยชนไดเสียของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษาประธานสภาผู  แทนราษฎรและประธานวฒุสิภาเพื ่อประกาศในราชกจิจานุเบกษาใหมีการออกเสียงประชามติได 

(๒) ในกรณที ่ีมีกฎหมายบัญญัติใหมีการออกเสียงประชามติ 

การออกเสียงประชามติตาม (๑)หรอื (๒) อาจจดัใหเปนการออกเสียง

เพ ่ือมีขอยุติโดยเสียงขางมากของผู  มีสิทธิออกเสียงประชามติในปญหาที ่จัดใหมีการ

Page 95: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 95/206

๘๕ ออกเสียงประชามติ หรือเปนการออกเสียงเพื ่อใหคําปรกึษาแกคณะรัฐมนตรีกไ็ด เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติไวเปนการเฉพาะ 

การออกเสียงประชามติตองเปนการใหออกเสียงเห็นชอบหรือ 

ไมเห็นชอบในกิจการตามที ่จัดใหมีการออกเสียงประชามติ และการจัดการออกเสียงประชามติในเร ่ืองท ่ีขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญหรือเก ่ียวกับตัวบคุคลหรอื 

คณะบคุคล จะกระทาํมิได กอนการออกเสียงประชามติ รัฐตองดําเนินการใหขอมูลอยางเพยีงพอ 

และใหบุคคลฝายที ่เห็นชอบและไมเห็นชอบกับกจิการนั ้น มีโอกาสแสดงความคิดเห็นของตนไดอยางเทาเทียมกัน 

หลักเกณฑและวธีิการออกเสียงประชามติใหเปนไปตาม 

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ ซึ ่งอยางนอยตองกาํหนดรายละเอียดเกี ่ยวกับวธีิการออกเสียงประชามติ ระยะเวลาในการดําเนินการ 

และจาํนวนเสียงประชามติ เพ ่ือมีขอยุติ 

หมวด ๘ 

การเงนิ การคลัง และงบประมาณ 

มาตรา ๑๖๖  งบประมาณรายจายของแผนดินใหทําเปน 

พระราชบัญญัติ ถาพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจาํปงบประมาณออก 

ไมทันปงบประมาณใหม ใหใชกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจายในปงบประมาณปกอนนั ้นไปพลางกอน 

มาตรา ๑๖๗  ในการนําเสนอรางพระราชบญัญัติงบประมาณรายจาย

ประจาํปงบประมาณ ตองมีเอกสารประกอบซึ ่งรวมถงึประมาณการรายรบั และ 

วัตถปุระสงค กจิกรรม แผนงาน โครงการในแตละรายการของการใชจาย 

Page 96: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 96/206

๘๖ งบประมาณใหชัดเจน รวมทั ้งตองแสดงฐานะการเงนิการคลังของประเทศเกี ่ยวกับภาพรวมของภาวะเศรษฐกจิท ่ีเกดิจากการใชจายและการจดัหารายได ประโยชนและ

การขาดรายไดจากการยกเวนภาษเีฉพาะรายในรปูแบบตาง ๆ ความจาํเปนในการตั ้งงบประมาณผูกพันขามป ภาระหนี ้และการกอหนี ้ของรัฐและฐานะการเงนิของ 

รัฐวสิาหกิจ ในปท ่ีขออนุมัติงบประมาณนั ้นและปงบประมาณที ่ผานมาเพ ่ือใชประกอบการพจิารณาดวย 

หากรายจายใดไมสามารถจัดสรรงบประมาณใหแกหนวยราชการ 

รัฐวสิาหกิจหรือหนวยงานอื ่นใดของรัฐไดโดยตรง ใหจัดไวในรายการรายจาย 

งบกลาง โดยตองแสดงเหตุผลและความจาํเปนในการกาํหนดงบประมาณรายจาย 

งบกลางนั ้นดวย 

ใหมีกฎหมายการเงนิการคลังของรัฐเพ ่ือกําหนดกรอบวนัิยการเงนิการคลัง ซึ ่งรวมถงึหลักเกณฑเก ่ียวกับการวางแผนการเงนิระยะปานกลาง การจัดหารายได การกาํหนดแนวทางในการจดัทํางบประมาณรายจายของแผนดิน การบรหิาร

การเงนิและทรัพยสิน การบัญชี กองทนุสาธารณะ การกอหนี ้หรือการดําเนินการที ่ผูกพนัทรัพยสินหรอืภาระทางการเงนิของรัฐ หลักเกณฑการกาํหนดวงเงนิสํารองจายเพ ่ือกรณฉีุกเฉนิหรือจําเปน และการอื ่นท ่ีเก ่ียวของ ซึ ่งจะตองใชเปนกรอบในการ 

จัดหารายได กํากับการใชจายเงนิตามหลักการรักษาเสถยีรภาพ พัฒนาทางเศรษฐกจิอยางยั ่งยนื และความเปนธรรมในสังคม 

มาตรา ๑๖๘  รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจาํป งบประมาณ รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ ่มเติม และรางพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจาย สภาผู  แทนราษฎรจะตองวเิคราะหและพจิารณาใหแลวเสรจ็ 

ภายในหนึ ่งรอยหาวนันับแตวันที ่รางพระราชบญัญัติดังกลาวมาถงึสภาผู  แทนราษฎร 

ถาสภาผู  แทนราษฎรพจิารณารางพระราชบญัญัตินั ้นไมแลวเสรจ็ 

ภายในกาํหนดเวลาที ่กลาวในวรรคหนึ ่ง ใหถอืวาสภาผู  แทนราษฎรไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบัญญัตินั ้นและใหเสนอรางพระราชบญัญัติดังกลาวตอวฒุสิภา 

Page 97: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 97/206

๘๗ ในการพจิารณาของวฒุสิภา วฒุิสภาจะตองใหความเห็นชอบหรือ 

ไมใหความเห็นชอบภายในยี ่สิบวันนับแตวันท ่ีรางพระราชบัญญัตินั ้นมาถึงวฒุสิภา 

โดยจะแกไขเพ ่ิมเติมใด ๆ มิได ถาพนกําหนดเวลาดังกลาวใหถอืวาวฒุิสภาไดใหความเห็นชอบในรางพระราชบญัญัตินั ้น  ในกรณเีชนนี ้และในกรณที ่ีวฒุสิภา ใหความเห็นชอบ ใหดําเนินการตอไปตามมาตรา ๑๕๐ 

ถารางพระราชบญัญัติดังกลาววฒุสิภาไมเห็นชอบดวย ใหนํา บทบัญญัติมาตรา ๑๔๘ วรรคสอง มาใชบังคับโดยอนุโลม 

ในการพจิารณารางพระราชบญัญัติงบประมาณรายจายประจาํป งบประมาณ รางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ ่มเติม และรางพระราชบญัญัติโอนงบประมาณรายจาย สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจะแปรญัตติเพ ่ิมเติมรายการหรอืจาํนวนในรายการมิได แตอาจแปรญัตติในทางลดหรอืตัดทอนรายจายซึ ่งมิใชรายจายตามขอผูกพันอยางใดอยางหนึ ่ง ดังตอไปนี ้ 

(๑) เงนิสงใชตนเงนิกู   

(๒) ดอกเบ ้ียเงนิกู   (๓) เงินท ่ีกาํหนดใหจายตามกฎหมาย 

ในการพจิารณาของสภาผู  แทนราษฎร วฒุสิภา หรอืของคณะกรรมาธิการ 

การเสนอ การแปรญัตติ หรือการกระทาํดวยประการใด ๆ ท ่ีมีผลใหสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุสิภา หรือกรรมาธิการ มีสวนไมวาโดยทางตรงหรอืทางออมในการใชงบประมาณรายจาย จะกระทาํมิได 

ในกรณที ่ีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภา มีจํานวน 

ไมนอยกวาหนึ ่งในสิบของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของแตละสภา เห็นวามีการกระทาํฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหก ใหเสนอความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ 

เพ ่ือพิจารณา และศาลรัฐธรรมนูญตองพิจารณาวินิจฉัยภายในเจด็วันนับแตวันท ่ี ไดรับความเห็นดังกลาว ในกรณที ่ีศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยวามีการกระทาํฝาฝน 

บทบัญญติัตามวรรคหก ใหการเสนอ การแปรญตัติหรอืการกระทาํดังกลาวสิ ้นผลไป 

Page 98: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 98/206

๘๘ รัฐตองจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอกับการบรหิารงานโดยอิสระ

ของรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยติุธรรม ศาลปกครองและองคกรตามรัฐธรรมนูญ 

ในการพจิารณางบประมาณรายจายของรัฐสภา ศาล และองคกรตามวรรคแปด หากหนวยงานนั ้นเห็นวางบประมาณรายจายที ่ไดรับการจัดสรรใหนั ้น 

ไมเพียงพอ ใหสามารถเสนอคําขอแปรญัตติตอคณะกรรมาธิการไดโดยตรง 

มาตรา ๑๖๙  การจายเงนิแผนดินจะกระทาํไดกเ็ฉพาะที ่ไดอนุญาตไวในกฎหมายวาดวยงบประมาณรายจาย กฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี ่ยวดวยการโอนงบประมาณ หรือกฎหมายวาดวยเงนิคงคลัง  เวนแตในกรณจีาํเปนเรงดวนรัฐบาลจะจายไปกอนก็ได แตตองเปนไปตามหลักเกณฑและวธีิการที ่กฎหมายบัญญัติ ในกรณเีชนวานี ้ตองตั ้งงบประมาณรายจายเพ ่ือชดใชเงินคงคลังในพระราชบญัญติัโอนเงนิงบประมาณรายจาย พระราชบัญญติังบประมาณรายจายเพิ ่มเติม 

หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจาํปงบประมาณถดัไป  ท ้ังนี ้ ใหกําหนด

แหลงที ่มาของรายไดเพื ่อชดใชรายจายที ่ไดใชเงนิคงคลังจายไปกอนแลวดวย 

ในระหวางเวลาที ่ประเทศอยู ในภาวะสงครามหรอืการรบ คณะรัฐมนตรีมีอํานาจโอนหรอืนํารายจายที ่กาํหนดไวสําหรับหนวยราชการหรอืรัฐวสิาหกิจใด 

ไปใชในรายการที ่แตกตางจากที ่กําหนดไวในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจาํปไดทันที และใหรายงานรัฐสภาทราบโดยไมชักชา 

ในกรณที ่ีมีการโอนหรอืนํารายจายตามงบประมาณที ่กาํหนดไวใน

รายการใดไปใชในรายการอื ่นของหนวยราชการหรอืรัฐวสิาหกิจ  ใหรัฐบาลรายงานรัฐสภาเพื ่อทราบทกุหกเดือน 

มาตรา ๑๗๐  เงนิรายไดของหนวยงานของรัฐใดท ่ีไมตองนําสงเปนรายไดแผนดิน ใหหนวยงานของรัฐนั ้นทํารายงานการรบัและการใชจายเงนิดังกลาว 

เสนอตอคณะรัฐมนตรีเมื ่อสิ ้นปงบประมาณทกุป และใหคณะรัฐมนตรีทํารายงานเสนอตอสภาผู  แทนราษฎรและวฒุสิภาตอไป 

Page 99: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 99/206

๘๙ การใชจายเงนิรายไดตามวรรคหนึ ่งตองอย ูภายใตกรอบวนัิยการเงนิ

การคลังตามหมวดนี ้ดวย 

หมวด ๙ 

คณะรัฐมนตร ี

มาตรา ๑๗๑  พระมหากษัตริยทรงแตงตั ้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ ่งและรัฐมนตรีอื ่นอีกไมเกนิสามสิบหาคนประกอบเปนคณะรัฐมนตรี มีหนาที ่บรหิาร 

ราชการแผนดินตามหลักความรับผิดชอบรวมกัน 

นายกรัฐมนตรีตองเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรซึ ่งไดรับแตงตั ้งตามมาตรา ๑๗๒ 

ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรม 

ราชโองการแตงตั ้งนายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหนงติดตอกันเกินกวาแปดปมิได 

มาตรา ๑๗๒  ใหสภาผู  แทนราษฎรพจิารณาใหความเห็นชอบบุคคลซึ ่งสมควรไดรับแตงตั ้งเปนนายกรัฐมนตรีใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแต วันท ่ีมีการเรยีกประชุมรัฐสภาเปนคร ้ังแรกตามมาตรา ๑๒๗ 

การเสนอชื ่อบุคคลซึ ่งสมควรไดรับแตงตั ้งเปนนายกรัฐมนตรีตามวรรคหนึ ่ง ตองมีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรไมนอยกวาหนึ ่งในหาของจาํนวนสมาชิกท ้ังหมดเทาที ่มีอย ูของสภาผู  แทนราษฎรรับรอง 

มติของสภาผู  แทนราษฎรที ่เห็นชอบดวยในการแตงตั ้งบคุคลใด 

ใหเปนนายกรัฐมนตรี ตองมีคะแนนเสียงมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมด

เทาที ่มีอยู ของสภาผู  แทนราษฎร การลงมติในกรณเีชนวานี ้ใหกระทาํโดยการลงคะแนนโดยเปดเผย 

Page 100: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 100/206

๙๐ มาตรา ๑๗๓  ในกรณทีี ่พนกําหนดสามสิบวันนับแตวันท ่ีมีการเรยีก

ประชุมรัฐสภาเพื ่อใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรไดมาประชุมเปนคร ้ังแรกแลว 

ไมปรากฏวามีบุคคลใดไดรับคะแนนเสียงเห็นชอบใหไดรับแตงตั ้งเปนนายกรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๗๒ วรรคสาม ใหประธานสภาผู  แทนราษฎรนําความขึ ้นกราบบังคมทลูภายในสิบหาวันนับแตวันท ่ีพนกําหนดเวลาดังกลาวเพื ่อทรงมีพระบรมราชโองการแตงตั ้งบคุคลซึ ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดเปนนายกรัฐมนตรี 

มาตรา ๑๗๔  รัฐมนตรีตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม 

ดังตอไปนี ้ (๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ 

(๒) มีอายุไมต่ ํากวาสามสิบหาปบรบิูรณ (๓) สําเรจ็การศกึษาไมต่ ํากวาปรญิญาตรหีรือเทียบเทา (๔) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๒ (๑) (๒) (๓) (๔) (๖) (๗)

(๘) (๙) (๑๑) (๑๒) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๕) ไมเคยตองคําพพิากษาใหจําคุกโดยไดพนโทษมายังไมถึงหาปกอนไดรับแตงตั ้ง  เวนแตในความผิดอันไดกระทาํโดยประมาทหรอืความผิดลหุโทษ 

(๖) ไมเปนสมาชิกวฒุสิภา หรอืเคยเปนสมาชิกวฒุสิภาซึ ่งสมาชิกภาพสิ ้นสุดลงมาแลวยังไมเกินสองปนับถงึวันท ่ีไดรับแตงตั ้งเปนรัฐมนตรี 

มาตรา ๑๗๕  กอนเขารับหนาที ่ รัฐมนตรีตองถวายสัตยปฏิญาณตอพระมหากษัตริยดวยถอยคํา ดังตอไปนี ้ 

“ขาพระพทุธเจา (ชื ่อผู  ปฏิญาณ)ขอถวายสัตยปฏิญาณวา ขาพระพทุธเจาจะจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และจะปฏิบัติหนาท ่ีดวยความซื ่อสัตยสุจริต เพ ่ือประโยชนของประเทศและประชาชน  ท ้ังจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ ่งรัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจักรไทยทกุประการ”

Page 101: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 101/206

๙๑ มาตรา ๑๗๖  คณะรัฐมนตรีท ่ีจะเขาบรหิารราชการแผนดินตองแถลง

นโยบายตอรัฐสภาและชี ้แจงการดําเนินการตามแนวนโยบายพื ้นฐานแหงรัฐ 

ตามมาตรา ๗๕ โดยไมมีการลงมติความไววางใจ  ทั ้งนี ้ ภายในสิบหาวันนับแต วันเขารับหนาที ่ และเมื ่อแถลงนโยบายตอรัฐสภาแลวตองจัดทําแผนการบรหิาร 

ราชการแผนดิน เพ ่ือกําหนดแนวทางการปฏิบัติราชการแตละปตามมาตรา ๗๖ 

กอนแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามวรรคหนึ ่ง หากมีกรณีท ่ีสําคัญและจําเปนเรงดวนซึ ่งหากปลอยใหเนิ ่นชาไปจะกระทบตอประโยชนสําคัญของแผนดิน 

คณะรัฐมนตรีท ่ีเขารับหนาท ่ีจะดําเนินการไปพลางกอนเพียงเทาที ่จําเปนกไ็ด 

มาตรา ๑๗๗  รัฐมนตรียอมมีสิทธิเขาประชุมและแถลงขอเท็จจรงิหรอืแสดงความคิดเห็นในที ่ประชุมสภา และในกรณที ่ีสภาผู  แทนราษฎรหรอืวฒุสิภา มีมติใหเขาประชุมในเร ่ืองใด รัฐมนตรีตองเขารวมประชุม  และใหนําเอกสิทธิ ์ท ่ีบัญญัติไวในมาตรา ๑๓๐ มาใชบังคับโดยอนุโลม 

ในการประชุมสภาผู  แทนราษฎร ถารัฐมนตรีผู  ใดเปนสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรในขณะเดียวกันดวย  หามมิใหรัฐมนตรีผู  นั ้นออกเสียงลงคะแนนในเรื ่องที ่เกี ่ยวกับการดํารงตําแหนง การปฏิบัติหนาที ่หรอืการมีสวนไดเสียในเรื ่องนั ้น 

มาตรา ๑๗๘  ในการบรหิารราชการแผนดิน รัฐมนตรีตองดําเนินการตามบทบัญญติัแหงรฐัธรรมนูญ กฎหมาย และนโยบายที ่ไดแถลงไวตามมาตรา ๑๗๖ 

และตองรับผิดชอบตอสภาผู  แทนราษฎรในหนาที ่ของตน รวมทั ้งตองรับผิดชอบรวมกันตอรัฐสภาในนโยบายทั ่วไปของคณะรฐัมนตรี 

มาตรา ๑๗๙  ในกรณที ่ีมีปญหาสําคัญเกี ่ยวกับการบรหิารราชการแผนดินท ่ีคณะรัฐมนตรีเห็นสมควรจะฟงความคิดเห็นของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร

และสมาชิกวฒุสิภา นายกรัฐมนตรีจะแจงไปยังประธานรัฐสภาขอใหมีการเปด

Page 102: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 102/206

๙๒ อภปิรายทั ่วไปในที ่ประชุมรวมกันของรัฐสภากไ็ด  ในกรณเีชนวานี ้ รัฐสภาจะลงมติในปญหาท ่ีอภปิรายมิได 

มาตรา ๑๘๐  รัฐมนตรีทั ้งคณะพนจากตําแหนง เมื ่อ 

(๑) ความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ ้นสุดลงตามมาตรา ๑๘๒ 

(๒) อายุสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นสุดลงหรอืมีการยบุสภาผู  แทนราษฎร 

(๓) คณะรัฐมนตรีลาออก 

ในกรณที ่ีความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ ้นสุดลงตามมาตรา ๑๘๒ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๗) หรือ (๘) ใหดําเนินการตามมาตรา ๑๗๒ และมาตรา ๑๗๓ โดยอนุโลม 

มาตรา ๑๘๑  คณะรัฐมนตรีท ่ีพนจากตําแหนง ตองอย ูในตําแหนงเพื ่อปฏิบัติหนาที ่ตอไปจนกวาคณะรัฐมนตรีท ่ีตั ้งขึ ้นใหมจะเขารับหนาที ่ แตในกรณพีน

จากตําแหนงตามมาตรา ๑๘๐ (๒)คณะรัฐมนตรแีละรัฐมนตรจีะปฏิบัติหนาที ่ไดเทาที ่จาํเปน ภายใตเงื ่อนไขท ่ีกาํหนด ดังตอไปนี ้ (๑) ไมกระทําการอันเปนการใชอํานาจแตงตั ้งหรือโยกยายขาราชการ

ซึ ่งมีตําแหนงหรอืเงินเดือนประจํา หรือพนักงานของหนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ 

หรือกิจการที ่รัฐถอืหุ  นใหญ หรือใหบุคคลดังกลาวพนจากการปฏิบัติหนาที ่หรือ 

พนจากตําแหนง หรือใหผู  อื ่นมาปฏิบัติหนาท ่ีแทน เวนแตจะไดรับความเห็นชอบ

จากคณะกรรมการการเลอืกตั ้งกอน 

(๒)ไมกระทาํการอันมีผลเปนการอนุมัติใหใชจายงบประมาณสํารองจายเพ ่ือกรณฉีุกเฉนิหรือจําเปน เวนแตจะไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการเลอืกตั ้งกอน 

(๓) ไมกระทาํการอันมีผลเปนการอนุมัติงานหรอืโครงการ หรือมีผล

เปนการสรางความผูกพันตอคณะรัฐมนตรีชุดตอไป 

Page 103: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 103/206

๙๓ (๔) ไมใชทรัพยากรของรัฐหรือบุคลากรของรัฐเพ ่ือกระทาํการใด 

ซึ ่งจะมีผลตอการเลอืกตั ้ง และไมกระทาํการอันเปนการฝาฝนขอหามตามระเบยีบที ่

คณะกรรมการการเลอืกตั ้งกาํหนด 

มาตรา ๑๘๒  ความเปนรัฐมนตรีสิ ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื ่อ 

(๑) ตาย 

(๒) ลาออก 

(๓) ตองคําพพิากษาใหจาํคุก แมคดีนั ้นจะยังไมถึงที ่สุดหรือมีการ 

รอการลงโทษ เวนแตเปนกรณที ่ีคดียังไมถงึที ่สุดหรือมีการรอการลงโทษใน 

ความผิด  อันไดกระทาํโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐาน 

หมิ ่นประมาท 

(๔) สภาผู  แทนราษฎรมีมติไมไววางใจตามมาตรา ๑๕๘ หรือ 

มาตรา ๑๕๙ 

(๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๗๔ 

(๖) มีพระบรมราชโองการใหพนจากความเปนรัฐมนตรีตาม 

มาตรา ๑๘๓ 

(๗) กระทาํการอันตองหามตามมาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ หรือมาตรา ๒๖๙ 

(๘) วฒุสิภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง 

นอกจากเหตุท ่ีทําใหความเปนรัฐมนตรสิี ้นสุดลงเฉพาะตัว 

ตามวรรคหนึ ่งแลว ความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ ้นสุดลงเมื ่อครบกาํหนดเวลาตามมาตรา ๑๗๑ วรรคสี ่ ดวย 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๑ และมาตรา ๙๒ มาใชบังคับกับการสิ ้นสุดของความเปนรัฐมนตรีตาม (๒) (๓) (๕) หรือ (๗) หรือวรรคสอง  โดยให 

คณะกรรมการการเลอืกตั ้งเปนผู  สงเรื ่องใหศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยไดดวย 

Page 104: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 104/206

๙๔ มาตรา ๑๘๓  พระมหากษัตริยทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจในการให 

รัฐมนตรพีนจากความเปนรัฐมนตรีตามท ่ีนายกรัฐมนตรีถวายคําแนะนํา 

มาตรา ๑๘๔  ในกรณเีพ ่ือประโยชนในอันท ่ีจะรักษาความปลอดภยัของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั ่นคงในทางเศรษฐกจิของประเทศ 

หรือปองปดภัยพบิัติสาธารณะ พระมหากษัตริยจะทรงตราพระราชกาํหนดใหใชบังคับดังเชนพระราชบัญญัติก็ได 

การตราพระราชกาํหนดตามวรรคหนึ ่ง ใหกระทาํไดเฉพาะเมื ่อคณะ 

รัฐมนตรเีห็นวาเปนกรณฉีุกเฉนิที ่มีความจาํเปนรบีดวนอันมิอาจจะหลกีเลี ่ยงได ในการประชุมรัฐสภาคราวตอไป ใหคณะรัฐมนตรีเสนอ 

พระราชกาํหนดนั ้นตอรัฐสภาเพื ่อพิจารณาโดยไมชักชา ถาอย ูนอกสมัยประชุมและการรอการเปดสมัยประชุมสามัญจะเปนการชักชา คณะรัฐมนตรีตองดําเนินการใหมีการเรยีกประชุมรัฐสภาสมัยวสิามัญเพื ่อพจิารณาอนุมัติหรอืไมอนุมัติพระราชกาํหนด

โดยเรว็ ถาสภาผู  แทนราษฎรไมอนุมัติ หรือสภาผู  แทนราษฎรอนุมัติแตวฒุสิภา ไมอนุมัติและสภาผู  แทนราษฎรยนืยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงไมมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอยู ของสภาผู  แทนราษฎร ใหพระราชกาํหนดนั ้น 

ตกไป แตท ้ังนี ้ไมกระทบกระเทอืนกจิการที ่ไดเปนไปในระหวางที ่ใชพระราชกาํหนดนั ้น 

หากพระราชกาํหนดตามวรรคหนึ ่งมีผลเปนการแกไขเพ ่ิมเติมหรือ 

ยกเลกิบทบัญญัติแหงกฎหมายใด และพระราชกาํหนดนั ้นตองตกไปตามวรรคสาม 

ใหบทบัญญัติแหงกฎหมายที ่มีอย ูกอนการแกไขเพ ่ิมเติมหรือยกเลกิ มีผลใชบังคับตอไปนับแตวันท ่ีการไมอนุมัติพระราชกาํหนดนั ้นมีผล 

ถาสภาผู  แทนราษฎรและวฒุสิภาอนุมัติพระราชกาํหนดนั ้น หรือ 

ถาวฒุสิภาไมอนุมัติและสภาผู  แทนราษฎรยนืยันการอนุมัติดวยคะแนนเสียงมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอยู ของสภาผู  แทนราษฎร ใหพระราชกาํหนด

นั ้นมีผลใชบังคับเปนพระราชบัญญัติตอไป 

Page 105: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 105/206

๙๕ การอนุมัติหรือไมอนุมัติพระราชกาํหนด ใหนายกรัฐมนตรีประกาศ

ในราชกจิจานุเบกษา ในกรณไีมอนุมัติ ใหมีผลตั ้งแตวันถัดจากวันประกาศใน 

ราชกจิจานุเบกษา การพจิารณาพระราชกาํหนดของสภาผู  แทนราษฎรและของวฒุสิภา

ในกรณยีนืยันการอนุมัติพระราชกาํหนด จะตองกระทาํในโอกาสแรกที ่มีการประชุมสภานั ้น ๆ 

มาตรา ๑๘๕  กอนท ่ีสภาผู  แทนราษฎรหรอืวฒุสิภาจะไดอนุมัติ 

พระราชกาํหนดใดตามมาตรา ๑๘๔ วรรคสาม สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภาจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในหาของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของแตละสภา มีสิทธิเขาชื ่อเสนอความเห็นตอประธานแหงสภาที ่ตนเปนสมาชิกวาพระราชกาํหนดนั ้นไมเปนไปตามมาตรา ๑๘๔ วรรคหนึ ่งหรอืวรรคสอง และใหประธานแหงสภานั ้นสงความเห็นไปยังศาลรัฐธรรมนูญภายในสามวันนับแตวันท ่ี

ไดรับความเห็นเพ ่ือวินิจฉัย เมื ่อศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจงคําวนิิจฉัยนั ้นไปยังประธานแหงสภาที ่สงความเห็นนั ้นมา เมื ่อประธานสภาผู  แทนราษฎรหรอืประธานวฒุสิภาไดรับความเห็น

ของสมาชิก สภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภาตามวรรคหนึ ่งแลว ใหรอ 

การพจิารณาพระราชกาํหนดนั ้นไวกอนจนกวาจะไดรับแจงคําวนิิจฉัยของ 

ศาลรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ ่ง 

ในกรณที ่ีศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัยวาพระราชกาํหนดใดไมเปนไปตามมาตรา ๑๘๔ วรรคหนึ ่งหรอืวรรคสอง ใหพระราชกาํหนดนั ้นไมมีผลบังคบัมาแตตน 

คําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญวาพระราชกาํหนดใดไมเปนไปตามมาตรา ๑๘๔ วรรคหนึ ่งหรอืวรรคสอง ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจาํนวนตุลาการศาลรฐัธรรมนูญท ้ังหมด 

Page 106: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 106/206

๙๖ มาตรา ๑๘๖  ในระหวางสมัยประชุม ถามีความจาํเปนตองมีกฎหมาย

เก ่ียวดวยภาษีอากรหรอืเงินตราซึ ่งจะตองไดรับการพจิารณาโดยดวนและลับ 

เพ ่ือรักษาประโยชนของแผนดิน พระมหากษัตริยจะทรงตราพระราชกาํหนดใหใชบังคับดังเชนพระราชบัญญัติกไ็ด 

พระราชกาํหนดท ่ีไดตราขึ ้นตามวรรคหนึ ่ง จะตองนําเสนอตอ 

สภาผู  แทนราษฎรภายในสามวนันับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกจิจานุเบกษา และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๘๔ มาใชบังคับโดยอนุโลม 

มาตรา ๑๘๗  พระมหากษัตริยทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไมขัดตอกฎหมาย 

มาตรา ๑๘๘  พระมหากษัตริยทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจในการประกาศใชและเลกิใชกฎอัยการศกึตามลักษณะและวิธีการตามกฎหมายวาดวย 

กฎอัยการศกึ 

ในกรณที ่ีมีความจาํเปนตองประกาศใชกฎอัยการศกึเฉพาะแหง 

เปนการรบีดวน เจาหนาท ่ีฝายทหารยอมกระทาํไดตามกฎหมายวาดวยกฎอัยการศกึ 

มาตรา ๑๘๙  พระมหากษัตริยทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจในการประกาศสงครามเมื ่อไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา 

มติใหความเห็นชอบของรัฐสภาตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวา สองในสามของจํานวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของทั ้งสองสภา 

ในระหวางท ่ีอายุสภาผู  แทนราษฎรสิ ้นสุดลงหรอืสภาผู  แทนราษฎรถกูยบุ ใหวฒุสิภาทาํหนาท ่ีรัฐสภาในการใหความเห็นชอบตามวรรคหนึ ่ง และการลงมติตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกวฒุสิภาทั ้งหมด

เทาที ่มีอย ู 

Page 107: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 107/206

๙๗ มาตรา ๑๙๐  พระมหากษัตริยทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจในการทาํ

หนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศกึ และสัญญาอื ่น กับนานาประเทศหรอื 

กับองคการระหวางประเทศ 

หนังสือสัญญาใดมีบทเปลี ่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพ ้ืนท ่ี นอกอาณาเขตซึ ่งประเทศไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหวางประเทศ  หรือจะตองออกพระราชบัญญัติเพ ่ือใหการเปนไปตามหนังสือสัญญา  หรือมีผลกระทบตอความมั ่นคงทางเศรษฐกจิหรอืสังคมของประเทศอยางกวางขวาง  หรือมีผลผูกพันดานการคา การลงทนุ หรืองบประมาณของประเทศ อยางมีนัยสําคัญ ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐสภา  ในการนี ้ รัฐสภาจะตองพจิารณาใหแลวเสรจ็ภายในหกสิบวันนับแตวันท ่ีไดรับเร ่ืองดังกลาว 

กอนการดําเนินการเพื ่อทําหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรอื 

องคการระหวางประเทศตามวรรคสอง คณะรัฐมนตรีตองใหขอมูลและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และตองชี ้แจงตอรัฐสภาเกี ่ยวกับหนังสือสัญญานั ้น 

ในการนี ้ ใหคณะรัฐมนตรีเสนอกรอบการเจรจาตอรัฐสภาเพื ่อขอความเห็นชอบดวย 

เมื ่อลงนามในหนังสือสัญญาตามวรรคสองแลว  กอนท ่ีจะแสดงเจตนาใหมีผลผูกพัน คณะรัฐมนตรีตองใหประชาชนสามารถเขาถงึรายละเอียดของหนังสือสัญญานั ้น  และในกรณทีี ่การปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกลาวกอใหเกดิผลกระทบตอประชาชนหรอืผู  ประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม คณะรัฐมนตรีตองดําเนินการแกไขหรือเยียวยาผู  ไดรับผลกระทบนั ้นอยางรวดเรว็ เหมาะสม และ

เปนธรรม 

ใหมีกฎหมายวาดวยการกําหนดข ้ันตอนและวธีิการจัดทําหนังสือสัญญาที ่มีผลกระทบตอความมั ่นคงทางเศรษฐกจิหรอืสังคมของประเทศอยางกวางขวาง 

หรือมีผลผูกพันดานการคา หรือการลงทนุ อยางมีนัยสําคัญ  รวมทั ้งการแกไขหรือเยยีวยาผู  ไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญาดังกลาวโดยคํานึงถงึ

ความเปนธรรมระหวางผู  ท ่ีไดประโยชนกับผู  ท ่ีไดรับผลกระทบจากการปฏิบัติตามหนังสือสัญญานั ้นและประชาชนทั ่วไป 

Page 108: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 108/206

๙๘ ในกรณที ่ีมีปญหาตาม วรรคสอง ใหเปนอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญ

ที ่จะวนิิจฉัยชี ้ขาด โดยใหนําบทบัญญัติตามมาตรา ๑๕๔ (๑) มาใชบังคับกับการ

เสนอเร ่ืองตอศาลรัฐธรรมนูญโดยอนุโลม 

มาตรา ๑๙๑ พระมหากษัตริยทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจในการ 

พระราชทานอภัยโทษ 

มาตรา ๑๙๒  พระมหากษัตรยิทรงไวซึ ่งพระราชอํานาจในการ 

ถอดถอนฐานันดรศักดิ ์และเรยีกคืนเคร ่ืองราชอิสริยาภรณ 

มาตรา ๑๙๓  พระมหากษัตริยทรงแตงตั ้งขาราชการฝายทหารและฝายพลเรอืนตําแหนงปลัดกระทรวง อธิบดี และเทยีบเทา และทรงใหพนจากตําแหนง  เวนแตกรณีท ่ีพนจากตําแหนงเพราะความตาย 

มาตรา ๑๙๔  ขาราชการและพนักงานของรัฐซึ ่งมีตําแหนงหรือ 

เงนิเดือนประจาํและมิใชขาราชการการเมือง จะเปนขาราชการการเมืองหรอืผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองอื ่นมิได 

มาตรา ๑๙๕ บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการ

อันเก ่ียวกับราชการแผนดิน ตองมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 

เวนแตท ่ีมีบัญญัติไวเปนอยางอื ่นในรัฐธรรมนูญนี ้ บทกฎหมายที ่ทรงลงพระปรมาภไิธยแลวหรอืถือเสมือนหนึ ่งวาได

ทรงลงพระปรมาภไิธยแลว ใหประกาศในราชกจิจานุเบกษาโดยพลัน 

มาตรา ๑๙๖  เงนิประจาํตําแหนงและประโยชนตอบแทนอยางอื ่นขององคมนตร ีประธานและรองประธานสภาผู  แทนราษฎร ประธานและ 

Page 109: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 109/206

๙๙ รองประธานวฒุสิภา ผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกสภาผู  แทนราษฎร 

และสมาชิกวฒุสิภา ใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ซึ ่งตองกาํหนดใหจายได 

ไมกอนวันเขารับหนาที ่ บําเหน็จบํานาญหรอืประโยชนตอบแทนอยางอื ่นขององคมนตร ี

ซึ ่งพนจากตําแหนง ใหกาํหนดโดยพระราชกฤษฎีกา 

หมวด ๑๐ 

ศาล 

สวนท ่ี ๑ 

บทท ่ัวไป 

มาตรา ๑๙๗  การพจิารณาพพิากษาอรรถคดีเปนอํานาจของศาล 

ซึ ่งตองดําเนินการใหเปนไปโดยยติุธรรม ตามรัฐธรรมนูญ ตามกฎหมาย และในพระปรมาภไิธยพระมหากษัตริย 

ผู  พิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพจิารณาพพิากษาอรรถคดี 

ใหเปนไปโดยถกูตอง รวดเรว็ และเปนธรรม ตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย 

การโยกยายผู  พิพากษาและตุลาการโดยไมไดรับความยนิยอมจาก 

ผู  พิพากษาและตุลาการนั ้น จะกระทาํมิได  เวนแตเปนการโยกยายตามวาระตามที ่กฎหมายบัญญัติ เปนการเลื ่อนตําแหนงใหสูงขึ ้น เปนกรณที ่ีอย ูในระหวางถูก 

ดําเนินการทางวนัิยหรือตกเปนจาํเลยในคดีอาญา เปนกรณทีี ่กระทบกระเทอืนตอความยติุธรรมในการพจิารณาพพิากษาคดี หรือมีเหตุสุดวสัิยหรือเหตุจาํเปนอื ่น 

อันไมอาจกาวลวงได  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

Page 110: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 110/206

Page 111: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 111/206

๑๐๑ มาตรา ๒๐๑  กอนเขารับหนาท ่ี ผู  พิพากษาและตุลาการตองถวายสัตย

ปฏิญาณตอพระมหากษัตริยดวยถอยคําดังตอไปนี ้ 

“ขาพระพทุธเจา (ชื ่อผู  ปฏิญาณ)ขอถวายสัตยปฏิญาณวา ขาพระพทุธเจาจะจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และจะปฏิบัติหนาท ่ีในพระปรมาภไิธยดวยความซื ่อสัตยสุจรติ โดยปราศจากอคติท ้ังปวง เพ ่ือใหเกิดความยติุธรรมแกประชาชน และความสงบสุขแหงราชอาณาจักร ท ้ังจะรักษาไวและปฏิบัติตามซึ ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญ 

แหงราชอาณาจกัรไทยและกฎหมายทกุประการ”

มาตรา ๒๐๒  เงนิเดือน เงนิประจาํตําแหนง และประโยชนตอบแทนอื ่นของผู  พิพากษาและตุลาการ ใหเปนไปตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ ท ้ังนี ้ จะนําระบบบัญชีเงนิเดือนหรือเงินประจาํตําแหนงของขาราชการพลเรอืนมาใชบังคับมิได 

ใหนําความในวรรคหนึ ่งมาใชบังคับกับกรรมการการเลอืกตั ้ง ผู  ตรวจ

การแผนดิน กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ และกรรมการตรวจเงนิแผนดิน ดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๐๓  บุคคลจะดํารงตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการ ตุลาการศาลยติุธรรม กรรมการในคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง หรือกรรมการในคณะกรรมการตุลาการของศาลอื ่นตามกฎหมายวาดวยการนั ้น ในเวลา

เดียวกันมิได  ท ้ังนี ้ ไมวาจะเปนกรรมการโดยตําแหนงหรอืกรรมการผู  ทรงคุณวฒุ ิ

Page 112: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 112/206

๑๐๒ สวนท ่ี ๒ 

ศาลรัฐธรรมนญู 

มาตรา ๒๐๔  ศาลรัฐธรรมนูญประกอบดวยประธานศาลรฐัธรรมนูญคนหนึ ่งและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื ่นอีกแปดคน ซึ ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั ้งตามคําแนะนําของวฒุสิภาจากบคุคลดังตอไปนี ้ 

(๑) ผู  พิพากษาในศาลฎีกาซึ ่งดํารงตําแหนงไมต่ ํากวาผู  พิพากษา ศาลฎีกา ซึ ่งไดรับเลอืกโดยที ่ประชุมใหญศาลฎีกาโดยวธีิลงคะแนนลบั จํานวนสามคน 

(๒) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดซึ ่งไดรับเลือกโดยที ่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดโดยวธีิลงคะแนนลับ จํานวนสองคน 

(๓) ผู  ทรงคุณวฒุสิาขานิติศาสตรซึ ่งมีความรู  ความเชี ่ยวชาญทางดานนิติศาสตรอยางแทจรงิและไดรับเลอืกตามมาตรา ๒๐๖ จํานวนสองคน 

(๔) ผู  ทรงคุณวฒุสิาขารัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร หรือ 

สังคมศาสตรอื ่น ซึ ่งมีความรู  ความเชี ่ยวชาญทางดานการบรหิารราชการแผนดินอยางแทจริงและไดรับเลอืกตามมาตรา ๒๐๖ จํานวนสองคน 

ในกรณที ่ีไมมีผู  พิพากษาในศาลฎีกาหรอืตุลาการในศาลปกครองสูงสุดไดรับเลอืกตาม (๑) หรือ (๒) ใหท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาหรือท ่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด แลวแตกรณี เลอืกบุคคลอื ่นซึ ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐๕ และมีความรู  ความเชี ่ยวชาญทางดานนิติศาสตรท ่ีเหมาะสม 

จะปฏิบัติหนาที ่เปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหเปนตุลาการศาลรฐัธรรมนูญตาม (๑)

หรือ (๒) แลวแตกรณ ี

ใหผู  ไดรับเลือกตามวรรคหนึ ่ง ประชุมและเลอืกกันเองใหคนหนึ ่งเปนประธานศาลรัฐธรรมนูญ แลวแจงผลใหประธานวฒุสิภาทราบ 

ใหประธานวฒุสิภาเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 

แตงตั ้งประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 

Page 113: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 113/206

๑๐๓ มาตรา ๒๐๕  ผู  ทรงคุณวฒุติามมาตรา ๒๐๔ (๓) และ (๔) ตองมี 

คุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี ้ 

(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกดิ 

(๒) มีอายุไมต่ ํากวาสี ่สิบหาปบริบรูณ (๓) เคยเปนรัฐมนตรี ตุลาการพระธรรมนูญในศาลทหารสูงสุด 

กรรมการการเลอืกตั ้ง ผู  ตรวจการแผนดิน กรรมการปองกันและปราบปราม 

การทจุรติแหงชาติ กรรมการตรวจเงนิแผนดิน หรอืกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 

หรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ ํากวารองอัยการสูงสุด อธิบดีหรือผู  ดํารงตําแหนงทางบรหิารในหนวยราชการที ่มีอํานาจบรหิารเทียบเทาอธิบดี หรือดํารงตําแหนงไมต่ ํากวาศาสตราจารย หรือเคยเปนทนายความที ่ประกอบวชิาชีพ 

อยางสม่ ําเสมอและตอเนื ่องไมนอยกวาสามสิบปนับถงึวันท ่ีไดรับการเสนอชื ่อ 

(๔) ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๐๐ หรือมาตรา ๑๐๒ (๑) (๒)

(๔) (๕) (๖) (๗) (๑๓) หรือ (๑๔)

(๕) ไมเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุสิภา ขาราชการ 

การเมือง สมาชิกสภาทองถิ ่น หรือผู  บริหารทองถิ ่น 

(๖) ไมเปนหรอืเคยเปนสมาชิกหรอืผู  ดํารงตําแหนงอื ่นของ พรรคการเมือง ในระยะสามปกอนดํารงตําแหนง 

(๗) ไมเปนกรรมการการเลอืกตั ้ง ผู  ตรวจการแผนดิน กรรมการ 

ปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ กรรมการตรวจเงนิแผนดิน หรือ

กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 

มาตรา ๒๐๖  การสรรหาและการเลอืกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๐๔ (๓) และ (๔) ใหดําเนินการดังตอไปนี ้ 

(๑) ใหมีคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรฐัธรรมนูญคณะหนึ ่ง 

ประกอบดวยประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานสภาผู  แทนราษฎร 

ผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎร และประธานองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 

Page 114: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 114/206

๑๐๔ ซึ ่งเลอืกกันเองใหเหลอืหนึ ่งคน เปนกรรมการ ทําหนาที ่สรรหาและคัดเลือก 

ผู  ทรงคุณวฒุติามมาตรา ๒๐๔ (๓) และ (๔) ใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแต 

วันท ่ีมีเหตุทําใหตองมีการเลอืกบคุคลใหดํารงตําแหนงดังกลาว แลวใหเสนอรายชื ่อผู  ไดรับเลอืกพรอมความยนิยอมของผู  นั ้นตอประธานวฒุสิภา  มติในการคัดเลือก 

ดังกลาวตองลงคะแนนโดยเปดเผยและตองมีคะแนนไมนอยกวาสองในสามของจาํนวนกรรมการทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ู  ในกรณีท ่ีไมมีกรรมการในตําแหนงใด หรือมี 

แตไมสามารถปฏิบัติหนาที ่ได ถากรรมการที ่เหลืออย ูนั ้นมีจํานวนไมนอยกวา กึ ่งหนึ ่ง ใหคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรฐัธรรมนูญประกอบดวยกรรมการ 

ที ่เหลืออย ู (๒) ใหประธานวฒุสิภาเรยีกประชุมวฒุิสภาเพื ่อมีมติใหความเห็นชอบ

บุคคลผู  ไดรับการคัดเลอืกตาม (๑) ภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีไดรับรายชื ่อ การลงมติใหใชวธีิลงคะแนนลับ  ในกรณที ่ีวฒุสิภาใหความเห็นชอบ ใหประธานวฒุสิภานําความกราบบังคมทลูเพ ่ือทรงแตงตั ้งตอไป  ในกรณที ่ีวฒุสิภาไมเห็นชอบใน 

รายชื ่อใด ไมวาทั ้งหมดหรอืบางสวน ใหสงรายชื ่อนั ้นกลับไปยงัคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรฐัธรรมนูญพรอมดวยเหตุผลเพื ่อใหดําเนินการสรรหาใหม  หากคณะกรรมการสรรหาตุลาการศาลรฐัธรรมนูญไมเห็นดวยกับวฒุสิภาและมีมติยืนยันตามมติเดิมดวยคะแนนเอกฉันท ใหสงรายชื ่อนั ้นใหประธานวฒุสิภานําความ 

กราบบังคมทลูเพื ่อทรงแตงตั ้งตอไป  แตถามติท ่ียนืยันตามมติเดิมไมเปนเอกฉันท ใหเร ่ิมกระบวนการสรรหาใหม ซึ ่งตองดําเนินการใหแลวเสรจ็ภายในสามสิบวัน 

นับแตวันท ่ีมีเหตุใหตองดําเนินการดังกลาว 

ในกรณที ่ีไมอาจสรรหาผู  ทรงคุณวฒุติาม (๑) ไดภายในเวลาที ่กาํหนด 

ไมวาดวยเหตุใด ๆ  ใหท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาแตงตั ้งผู  พิพากษาในศาลฎีกาซึ ่งดํารงตําแหนงไมต่ ํากวาผู  พิพากษาศาลฎีกาจาํนวนสามคน  และใหท ่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดแตงตั ้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนสองคน เปน

กรรมการสรรหาเพื ่อดําเนินการตาม (๑) แทน 

Page 115: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 115/206

๑๐๕ มาตรา ๒๐๗ ประธานศาลรฐัธรรมนูญและตุลาการศาลรฐัธรรมนูญตอง 

(๑) ไมเปนขาราชการซึ ่งมีตําแหนงหรอืเงินเดือนประจาํ 

(๒) ไมเปนพนักงานหรอืลูกจางของหนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ 

หรือราชการสวนทองถิ ่น หรือไมเปนกรรมการหรอืท ่ีปรกึษาของรัฐวสิาหกิจหรือของหนวยงานของรัฐ 

(๓) ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุ  นสวน บรษิัท หรือองคการที ่ดําเนินธุรกจิโดยมุ งหาผลกาํไรหรอืรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลกูจางของบคุคลใด 

(๔) ไมประกอบวชิาชีพอิสระอื ่นใด 

ในกรณที ่ีท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาหรอืท ่ีประชุมใหญตุลาการใน 

ศาลปกครองสูงสุดเลือกบุคคล หรือวฒุสิภาใหความเห็นชอบบุคคลตาม (๑) (๒)

(๓) หรือ (๔) โดยไดรับความยนิยอมของบุคคลนั ้น ผู  ไดรับเลอืกจะเริ ่มปฏิบัติหนาท ่ีไดตอเมื ่อตนไดลาออกจากการเปนบุคคลตาม (๑) (๒) หรือ (๓) หรือแสดงหลักฐานใหเปนที ่เชื ่อไดวาตนไดเลกิประกอบวชิาชีพอิสระดังกลาวแลว ซึ ่งตองกระทาํ ภายใน

สิบหาวันนับแตวันท ่ีไดรับเลือกหรือไดรับความเห็นชอบ แตถาผู  นั ้นมิไดลาออกหรือเลิกประกอบวชิาชีพอิสระภายในเวลาที ่กําหนด ใหถือวาผู  นั ้นมิไดเคยรับเลือกหรือไดรับความเห็นชอบใหเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๔ และมาตรา ๒๐๖ แลวแตกรณี มาใชบังคับ 

มาตรา ๒๐๘  ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรฐัธรรมนูญ

มีวาระการดํารงตําแหนงเกาปนับแตวันท ่ีพระมหากษัตริยทรงแตงตั ้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว 

ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ ่งพนจากตําแหนงตามวาระ ใหปฏิบัติหนาที ่ตอไปจนกวาประธานศาลรฐัธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญซึ ่งไดรับแตงตั ้งใหมจะเขารับหนาที ่ 

ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเปน 

เจาพนักงานในการยติุธรรมตามกฎหมาย 

Page 116: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 116/206

๑๐๖ มาตรา ๒๐๙  นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ ประธานศาล 

รัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรฐัธรรมนูญพนจากตําแหนง เมื ่อ 

(๑) ตาย 

(๒) มีอายุครบเจด็สิบปบริบูรณ (๓) ลาออก 

(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐๕ 

(๕) กระทาํการอันเปนการฝาฝนมาตรา ๒๐๗ 

(๖) วฒุิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง 

(๗) ตองคําพพิากษาใหจําคุก แมคดีนั ้นจะยังไมถงึที ่สุดหรือมีการ 

รอการลงโทษ เวนแตเปนกรณที ่ีคดียังไมถงึที ่สุดหรือมีการรอการลงโทษใน 

ความผิดอันไดกระทาํโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรอืความผิดฐานหมิ ่นประมาท 

เมื ่อมีกรณีตามวรรคหนึ ่ง ใหตุลาการศาลรฐัธรรมนูญท ่ีเหลืออย ูปฏิบัติหนาที ่ตอไปไดภายใตบังคับมาตรา ๒๑๖ 

มาตรา ๒๑๐  ในกรณที ่ีประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาล 

รัฐธรรมนูญพนจากตําแหนงตามวาระพรอมกันท ้ังหมด ใหเร ่ิมดําเนินการตามมาตรา ๒๐๔ และมาตรา ๒๐๖ ภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีพนจากตําแหนง 

ในกรณที ่ีประธานศาลรฐัธรรมนูญหรอืตุลาการศาลรฐัธรรมนูญพนจากตําแหนงนอกจากกรณตีามวรรคหนึ ่ง ใหดําเนินการดังตอไปนี ้ 

(๑) ในกรณที ่ีเปนตุลาการศาลรฐัธรรมนูญซึ ่งไดรับเลือกโดยที ่ประชุมใหญศาลฎีกา ใหดําเนินการตามมาตรา ๒๐๔ ใหแลวเสรจ็ภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีพนจากตําแหนง 

(๒) ในกรณที ่ีเปนตุลาการศาลรฐัธรรมนูญซึ ่งไดรับเลอืกโดยที ่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ใหดําเนินการตามมาตรา ๒๐๔ 

ใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีพนจากตําแหนง 

Page 117: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 117/206

๑๐๗ (๓) ในกรณที ่ีเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๐๔ (๓) หรือ 

(๔) ใหดําเนินการตามมาตรา ๒๐๖ใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีพนจาก

ตําแหนง 

ในกรณที ่ีตุลาการศาลรฐัธรรมนูญพนจากตําแหนงไมวาทั ้งหมดหรือบางสวนนอกสมัยประชุมของรัฐสภา ใหดําเนินการตามมาตรา ๒๐๖ ภายในสามสิบวนันับแตวันเปดสมัยประชุมของรัฐสภา 

ในกรณที ่ีประธานศาลรัฐธรรมนูญพนจากตําแหนง ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๔ วรรคสาม มาใชบังคับ 

มาตรา ๒๑๑  ในการที ่ศาลจะใชบทบัญญัติแหงกฎหมายบังคับแก คดีใด ถาศาลเห็นเองหรอืคู ความโตแยงพรอมดวยเหตุผลวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั ้นตองดวยบทบัญญัติมาตรา ๖ และยังไมมีคําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวน 

ท ่ีเกี ่ยวกับบทบญัญติันั ้น ใหศาลสงความเห็นเชนวานั ้นตามทางการเพื ่อศาลรัฐธรรมนูญ

จะไดพจิารณาวนิิจฉัย ในระหวางนั ้นใหศาลดําเนินการพจิารณาตอไปได แตใหรอการพพิากษาคดีไวชั ่วคราว จนกวาจะมีคําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ 

ในกรณที ่ีศาลรัฐธรรมนูญเห็นวาคําโตแยงของคู ความตามวรรคหนึ ่งไมเปนสาระอันควรไดรับการวินิจฉัย ศาลรัฐธรรมนูญจะไมรับเร ่ืองดังกลาวไวพจิารณากไ็ด 

คําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหใชไดในคดีท ้ังปวง แตไมกระทบ

กระเทอืนถึงคําพพิากษาของศาลอันถงึที ่สุดแลว 

มาตรา ๒๑๒  บุคคลซึ ่งถกูละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที ่รัฐธรรมนูญนี ้รับรองไวมีสิทธิย ่ืนคํารองตอศาลรัฐธรรมนูญเพ ่ือมีคําวนิิจฉัยวาบทบัญญัติแหงกฎหมายขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญได 

Page 118: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 118/206

๑๐๘ การใชสิทธิตามวรรคหนึ ่งตองเปนกรณที ่ีไมอาจใชสิทธิโดยวธีิการ

อื ่นไดแลว  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวธีิ

พิจารณาของศาลรฐัธรรมนูญ 

มาตรา ๒๑๓  ในการปฏิบัติหนาที ่ ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจเรยีกเอกสารหรอืหลักฐานที ่เกี ่ยวของจากบคุคลใด หรอืเรยีกบคุคลใดมาใหถอยคํา ตลอดจนขอใหพนักงานสอบสวน หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ ่น ดําเนินการใดเพื ่อประโยชนแหงการพจิารณาได 

ศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจแตงตั ้งบคุคลหรอืคณะบคุคลเพื ่อปฏิบัติหนาที ่ตามท ่ีมอบหมาย 

มาตรา ๒๑๔  ในกรณที ่ีมีความขัดแยงเก ่ียวกับอํานาจหนาที ่ระหวางรัฐสภา คณะรัฐมนตร ีหรอืองคกรตามรัฐธรรมนูญที ่มิใชศาลตั ้งแตสององคกรขึ ้นไป 

ใหประธานรัฐสภา นายกรัฐมนตรี หรือองคกรนั ้น เสนอเร ่ืองพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญเพ ่ือพิจารณาวินิจฉัย 

มาตรา ๒๑๕  ในกรณที ่ีศาลรัฐธรรมนูญเห็นวาเร ่ืองใดหรอืประเด็นใดท ่ีไดมีการเสนอใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา เปนเร ่ืองหรือประเด็นท ่ีศาลรัฐธรรมนูญไดเคยพจิารณาวนิิจฉัยแลว ศาลรัฐธรรมนูญจะไมรับเรื ่องหรือประเด็นดังกลาวไว

พิจารณากไ็ด 

มาตรา ๒๑๖ องคคณะของตุลาการศาลรฐัธรรมนูญในการนั ่งพจิารณาและในการทาํคําวนิิจฉยั ตองประกอบดวยตุลาการศาลรฐัธรรมนูญไมนอยกวาหาคน 

คําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหถอืเสียงขางมาก เวนแตจะมีบัญญัติเปนอยางอื ่น

ในรัฐธรรมนูญนี ้ 

Page 119: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 119/206

๑๐๙ ตุลาการศาลรฐัธรรมนูญซึ ่งเปนองคคณะทกุคนจะตองทาํความเห็น

ในการวนิิจฉัยในสวนของตนพรอมแถลงดวยวาจาตอท ่ีประชุมกอนการลงมติ 

คําวนิิจฉยัของศาลรัฐธรรมนูญและความเห็นในการวนิิจฉยัของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญทุกคน ใหประกาศในราชกจิจานุเบกษา 

คําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอยางนอยตองประกอบดวยความ 

เปนมาหรือคํากลาวหา สรุปขอเท็จจรงิที ่ไดมาจากการพจิารณา เหตุผลในการวนิิจฉัยในปญหาขอเท็จจรงิและขอกฎหมาย และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมายที ่ยกขึ ้นอางอิง 

คําวนิิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนเด็ดขาด มีผลผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และองคกรอื ่นของรัฐ 

วธีิพจิารณาของศาลรฐัธรรมนูญใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพจิารณาของศาลรฐัธรรมนูญ 

มาตรา ๒๑๗  ศาลรัฐธรรมนูญมีหนวยธุรการของศาลรฐัธรรมนูญท ่ีเปนอิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญเปนผู  บังคับบัญชาขึ ้นตรงตอประธานศาลรัฐธรรมนูญ 

การแตงตั ้งเลขาธิการสํานักงานศาลรฐัธรรมนูญ ตองมาจากการเสนอของประธานศาลรัฐธรรมนูญและไดรับความเห็นชอบของคณะตุลาการศาล 

รัฐธรรมนูญตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญมีอิสระในการบรหิารงานบคุคล 

การงบประมาณ และการดําเนินการอื ่น  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

Page 120: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 120/206

๑๑๐ สวนท ่ี ๓ 

ศาลยติุธรรม 

มาตรา ๒๑๘  ศาลยติุธรรมมีอํานาจพจิารณาพพิากษาคดีทั ้งปวง  เวนแตคดีท ่ีรัฐธรรมนูญนี ้หรือกฎหมายบัญญัติใหอย ูในอํานาจของศาลอื ่น 

มาตรา ๒๑๙  ศาลยติุธรรมมีสามช ้ัน คือ ศาลชั ้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา เวนแตท ่ีมีบัญญัติไวเปนอยางอื ่นในรัฐธรรมนูญนี ้หรือตามกฎหมายอื ่น 

ศาลฎีกามีอํานาจพจิารณาพพิากษาคดีท ่ีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติใหเสนอตอศาลฎีกาไดโดยตรง และคดีท ่ีอุทธรณหรือฎีกาคําพิพากษาหรอื 

คําสั ่งของศาลชั ้นตนหรือศาลอุทธรณ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ  เวนแตเปนกรณที ่ี ศาลฎีกาเห็นวาขอกฎหมายหรือขอเท็จจริงที ่อุทธรณหรือฎีกานั ้นจะไมเปนสาระ 

อันควรแกการพจิารณา ศาลฎีกามีอํานาจไมรับคดีไวพิจารณาพพิากษาได  ท ้ังนี ้ ตามระเบยีบที ่ท ่ีประชุมใหญศาลฎีกากาํหนด 

ใหศาลฎีกามีอํานาจพจิารณาและวินิจฉัยคดีท ่ีเก ่ียวกับการเลอืกตั ้งและการเพกิถอนสิทธิเลือกตั ้งในการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา  และใหศาลอุทธรณมีอํานาจพจิารณาและวินิจฉัยคดีที ่เก ่ียวกับการเลอืกตั ้งและการเพกิถอนสิทธิเลอืกตั ้งในการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาทองถิ ่นและ 

ผู  บริหารทองถิ ่น  ท ้ังนี ้ วธีิพจิารณาและวนิิจฉัยคดีใหเปนไปตามระเบยีบที ่ท ่ีประชุมใหญศาลฎีกากําหนด โดยตองใชระบบไตสวนและเปนไปโดยรวดเรว็ 

ใหมีแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองในศาลฎีกา โดยองคคณะผู  พพิากษาประกอบดวยผู  พิพากษาในศาลฎีกาซึ ่งดํารงตําแหนงไมต่ ํากวา ผู  พิพากษาศาลฎีกาหรอืผู  พิพากษาอาวโุสซึ ่งเคยดํารงตําแหนงไมต่ ํากวาผู  พพิากษา

ศาลฎีกาจาํนวนเกาคน ซึ ่งไดรับเลอืกโดยที ่ประชุมใหญศาลฎีกาโดยวธีิลงคะแนนลบั 

และใหเลือกเปนรายคดี 

Page 121: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 121/206

๑๑๑ อํานาจหนาที ่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทาง 

การเมืองและวธีิพิจารณาคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง ใหเปนไปตามท ่ี

บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้และในพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพจิารณาคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง 

มาตรา ๒๒๐  การแตงตั ้งและการใหผู  พพิากษาในศาลยติุธรรม 

พนจากตําแหนง ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยติุธรรมกอน 

แลวจงึนําความกราบบังคมทูล 

การเลื ่อนตําแหนง การเลื ่อนเงินเดือน และการลงโทษผู  พิพากษาในศาลยติุธรรม ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยติุธรรม ในการนี ้ใหคณะกรรมการตุลาการศาลยติุธรรมแตงตั ้งคณะอนุกรรมการขึ ้นช ้ันศาลละหนึ ่งคณะ เพ ่ือเสนอความคิดเห็นในเร ่ืองดังกลาวเพื ่อประกอบการพจิารณา 

การใหความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยติุธรรมตาม

วรรคหนึ ่งและวรรคสอง ตองคํานึงถงึความรู  ความสามารถและพฤติกรรมทาง จรยิธรรมของบคุคลดังกลาวดวย เปนสําคัญ 

มาตรา ๒๒๑  คณะกรรมการตุลาการศาลยติุธรรมประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี ้ 

(๑) ประธานศาลฎีกาเปนประธานกรรมการ 

(๒) กรรมการผู  ทรงคุณวฒุใินแตละชั ้นศาล ไดแก ศาลฎีกาหกคน 

ศาลอุทธรณสี ่คน และศาลชั ้นตนสองคน ซึ ่งเปนขาราชการตุลาการในแตละชั ้นศาล 

และไดรับเลอืกจากขาราชการตุลาการในแตละช ้ันศาล 

(๓) กรรมการผู  ทรงคุณวฒุจิํานวนสองคน ซึ ่งไมเปนขาราชการตุลาการ 

และไดรับเลือกจากวฒุสิภา 

คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และวธีิการเลอืกกรรมการผู  ทรงคุณวฒุิ ใหเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

Page 122: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 122/206

๑๑๒ ในกรณที ่ีไมมีกรรมการผู  ทรงคุณวฒุติามวรรคหนึ ่ง (๓) หรือมีแต 

ไมครบสองคน  ถาคณะกรรมการตุลาการศาลยติุธรรมจํานวนไมนอยกวาเจด็คน

เห็นวามีเร ่ืองเรงดวนที ่ตองใหความเห็นชอบ ใหคณะกรรมการตุลาการศาลยติุธรรมจาํนวนดังกลาวเปนองคประกอบและองคประชุมพิจารณาเรื ่องเรงดวนนั ้นได 

มาตรา ๒๒๒  ศาลยติุธรรมมีหนวยธุรการของศาลยติุธรรมท ่ี เปนอิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลยติุธรรมเปนผู  บังคับบัญชาขึ ้นตรงตอประธานศาลฎีกา 

การแตงตั ้งเลขาธิการสํานักงานศาลยติุธรรม ตองมาจากการเสนอของประธานศาลฎีกาและไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยติุธรรมตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

สํานักงานศาลยติุธรรมมีอิสระในการบรหิารงานบคุคล การงบประมาณ 

และการดําเนินการอื ่น  ทั ้งนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

สวนท ่ี ๔ 

ศาลปกครอง 

มาตรา ๒๒๓  ศาลปกครองมีอํานาจพจิารณาพพิากษาคดีพพิาทระหวางหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ องคกรปกครองสวนทองถิ ่น 

หรอืองคกรตามรัฐธรรมนูญ หรอืเจาหนาที ่ของรัฐกบัเอกชน หรอืระหวางหนวยราชการ 

หนวยงานของรฐั รัฐวสิาหกจิ องคกรปกครองสวนทองถิ ่น หรอืองคกรตามรัฐธรรมนูญ 

หรือเจาหนาที ่ของรัฐดวยกัน อันเนื ่องมาจากการใชอํานาจทางปกครองตามกฎหมาย 

หรือเนื ่องมาจากการดําเนินกิจการทางปกครองของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ 

รัฐวสิาหกจิ องคกรปกครองสวนทองถิ ่น หรอืองคกรตามรัฐธรรมนูญ หรอืเจาหนาที ่

Page 123: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 123/206

๑๑๓ ของรัฐ  ท ้ังนี ้ ตามที ่กฎหมายบัญญัติ  รวมทั ้งมีอํานาจพจิารณาพพิากษาเรื ่องท ่ี รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติใหอย ูในอํานาจของศาลปกครอง 

อํานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ ่งไมรวมถงึการวินิจฉัยชี ้ขาดขององคกรตามรัฐธรรมนูญซึ ่งเปนการใชอํานาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององคกรตามรัฐธรรมนูญนั ้น 

ใหมีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั ้นตน และจะมี 

ศาลปกครองชั ้นอุทธรณดวยก็ได 

มาตรา ๒๒๔  การแตงตั ้งและการใหตุลาการในศาลปกครองพนจากตําแหนง ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที ่กฎหมายบัญญัติกอน แลวจงึนําความกราบบังคมทูล 

ผู  ทรงคุณวฒุิสาขานิติศาสตรและผู  ทรงคุณวฒุิในการบรหิารราชการแผนดินอาจไดรับแตงตั ้งใหเปนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดได การแตงตั ้งให

บคุคลดังกลาวเปนตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ใหแตงตั ้งไมนอยกวาหนึ ่งในสามของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดทั ้งหมด และตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที ่กฎหมายบัญญัติและไดรับความเห็นชอบจากวฒุสิภากอน แลวจงึนําความกราบบังคมทูล 

การเลื ่อนตําแหนง การเลื ่อนเงินเดือน และการลงโทษตุลาการใน 

ศาลปกครอง ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตาม

ท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

ตุลาการศาลปกครองในชั ้นศาลใดจะมีจํานวนเทาใด ใหเปนไปตามที ่คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองกาํหนด 

มาตรา ๒๒๕  การแตงตั ้งตุลาการในศาลปกครองใหดํารงตําแหนง

ประธานศาลปกครองสูงสุดนั ้น เมื ่อไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการ

Page 124: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 124/206

๑๑๔ ศาลปกครองและวฒุสิภาแลว ใหนายกรัฐมนตรีนําความกราบบังคมทลูเพื ่อทรง 

แตงตั ้งตอไป 

มาตรา ๒๒๖  คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบดวยบุคคล ดังตอไปนี ้ 

(๑) ประธานศาลปกครองสูงสุดเปนประธานกรรมการ 

(๒) กรรมการผู  ทรงคุณวฒุจิาํนวนเกาคนซึ ่งเปนตุลาการใน 

ศาลปกครองและไดรับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองดวยกันเอง 

(๓) กรรมการผู  ทรงคุณวฒุซึิ ่งไดรับเลอืกจากวฒุิสภาสองคน และจากคณะรัฐมนตรีอีกหนึ ่งคน 

คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และวธีิการเลอืกกรรมการผู  ทรงคุณวฒุ ิ

ใหเปนไปตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

ในกรณที ่ีไมมีกรรมการผู  ทรงคุณวฒุติามวรรคหนึ ่ง (๓) หรือมีแต 

ไมครบสามคน  ถาคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองจาํนวนไมนอยกวาหกคนเห็นวาเปนเร ่ืองเรงดวนที ่ตองใหความเห็นชอบ ใหคณะกรรมการตุลาการ 

ศาลปกครองจาํนวนดังกลาวเปนองคประกอบและองคประชุมพิจารณาเรื ่องเรงดวนนั ้นได 

มาตรา ๒๒๗  ศาลปกครองมีหนวยธุรการของศาลปกครองที ่เปน

อิสระ โดยมีเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเปนผู  บังคับบัญชาขึ ้นตรงตอประธานศาลปกครองสูงสุด 

การแตงตั ้งเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ตองมาจากการเสนอของประธานศาลปกครองสูงสุดและไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

สํานักงานศาลปกครองมีอิสระในการบรหิารงานบคุคล การงบประมาณ 

และการดําเนินการอื ่น  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

Page 125: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 125/206

๑๑๕ สวนที ่ ๕ 

ศาลทหาร 

มาตรา ๒๒๘  ศาลทหารมีอํานาจพจิารณาพพิากษาคดีอาญาซึ ่ง 

ผู  กระทาํผิดเปนบคุคลที ่อยู ในอํานาจศาลทหารและคดีอื ่น ท ้ังนี ้ ตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

การแตงตั ้งและการใหตุลาการศาลทหารพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

หมวด ๑๑ 

องคกรตามรัฐธรรมนญู 

สวนท ่ี ๑ 

องคกรอิสระตามรัฐธรรมนญู 

๑. คณะกรรมการการเลอืกตั  ้ง 

มาตรา ๒๒๙  คณะกรรมการการเลอืกตั ้ง ประกอบดวย 

ประธานกรรมการคนหนึ ่งและกรรมการอื ่นอีกสี ่คน ซึ ่งพระมหากษัตริยทรงแตงตั ้งตามคําแนะนําของวฒุสิภา จากผู  ซึ ่งมีความเปนกลางทางการเมืองและมี 

ความซื ่อสัตยสุจรติเปนท ่ีประจักษ 

ใหประธานวฒุสิภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั ้งประธานกรรมการและกรรมการตามวรรคหนึ ่ง 

Page 126: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 126/206

๑๑๖ มาตรา ๒๓๐  กรรมการการเลอืกตั ้งตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ

ตองหาม ดังตอไปนี ้ 

(๑) มีอายุไมต่ ํากวาสี ่สิบปบริบูรณ (๒) สําเร็จการศกึษาไมต่ ํากวาปรญิญาตรหีรือเทียบเทา (๓) มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๐๕ (๑) (๔)

(๕) และ (๖)

(๔) ไมเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู  ตรวจการแผนดิน กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติ กรรมการตรวจเงนิแผนดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๗ มาใชบังคับกับกรรมการการเลอืกตั ้งดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๓๑  การสรรหาและการเลอืกประธานกรรมการและ

กรรมการการเลอืกตั ้ง ใหดําเนินการดังนี ้ (๑) ใหมีคณะกรรมการสรรหากรรมการการเลอืกตั ้งจาํนวนเจด็คน 

ซึ ่งประกอบดวยประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานสภาผู  แทนราษฎร ผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎร บุคคลซึ ่งที ่ประชุมใหญศาลฎีกาคัดเลือกจาํนวนหนึ ่งคน และบคุคลซึ ่งที ่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกจาํนวนหนึ ่งคน เปนกรรมการ ทําหนาที ่สรรหาผู  มี 

คุณสมบัติตามมาตรา ๒๓๐ ซึ ่งสมควรเปนกรรมการการเลอืกตั ้ง จาํนวนสามคน 

เสนอตอประธานวฒุสิภา  โดยตองเสนอพรอมความยนิยอมของผู  ไดรับการเสนอชื ่อนั ้น  มติในการสรรหาดังกลาวตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจาํนวนกรรมการทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ู  ในกรณีท ่ีไมมีกรรมการในตําแหนงใด หรือมี 

แตไมสามารถปฏิบัติหนาที ่ได ถากรรมการที ่เหลืออย ูนั ้นมีจํานวนไมนอยกวา 

กึ ่งหนึ ่ง ใหคณะกรรมการสรรหากรรมการการเลอืกตั ้งประกอบดวยกรรมการ 

ท ่ีเหลืออย ู ทั ้งนี ้ ใหนําบทบัญญัติในมาตรา ๑๑๓ วรรคสอง มาใชบังคับโดยอนุโลม 

Page 127: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 127/206

๑๑๗ บุคคลซึ ่งที ่ประชุมใหญศาลฎีกาและที ่ประชุมใหญตุลาการในศาล 

ปกครองสูงสุดเลอืกตามวรรคหนึ ่ง ตองมิใชผู  พพิากษาหรอืตุลาการ  และตองไมเปน

กรรมการสรรหาผู  ดํารงตําแหนงในองคกรตามรัฐธรรมนูญอื ่นในขณะเดียวกัน 

(๒) ใหท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาพจิารณาสรรหาผู  มีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๓๐ ซึ ่งสมควรเปนกรรมการการเลอืกตั ้งจาํนวนสองคน เสนอตอประธานวฒุสิภา  โดยตองเสนอพรอมความยนิยอมของผู  นั ้น 

(๓) การสรรหาตาม (๑) และ (๒) ใหกระทาํภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีมีเหตุท ่ีทาํใหตองมีการเลอืกบุคคลใหดํารงตําแหนงดังกลาว ในกรณทีี ่มีเหตุท ่ีทําใหไมอาจดําเนินการสรรหาไดภายในเวลาที ่กําหนดหรือไมอาจสรรหาได ครบจาํนวนภายในเวลาที ่กาํหนดตาม (๑) ใหท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาพจิารณาสรรหาแทนจนครบจาํนวนภายในสิบหาวันนับแตวันท ่ีครบกาํหนดตาม (๑)

(๔) ใหประธานวฒุสิภาเรยีกประชุมวฒุสิภาเพื ่อมีมติใหความ 

เห็นชอบผู  ไดรับการสรรหาตาม (๑) (๒)หรอื (๓) ซึ ่งตองกระทาํโดยวธีิลงคะแนนลบั 

(๕) ในกรณที ่ีวฒุสิภาใหความเห็นชอบใหดําเนินการตาม (๖) แตถาวฒุสิภาไมเห็นชอบในรายชื ่อใด ไมวาทั ้งหมดหรือบางสวน ใหสงรายชื ่อนั ้น 

กลับไปยังคณะกรรมการสรรหากรรมการการเลอืกตั ้งหรอืท ่ีประชุมใหญศาลฎีกา แลวแตกรณี เพ ่ือใหดําเนินการสรรหาใหม  หากคณะกรรมการสรรหากรรมการ การเลอืกตั ้งหรอืท ่ีประชุมใหญศาลฎีกา ไมเห็นดวยกับวฒุสิภา และมีมติยืนยัน 

ตามมติเดิมดวยคะแนนเอกฉันทหรือดวยคะแนนไมนอยกวาสองในสามของท ่ี

ประชุมใหญศาลฎีกา แลวแตกรณี ใหดําเนินการตอไปตาม (๖) แตถามติท ่ียืนยันตามมติเดิมไมเปนเอกฉันทหรือไมไดคะแนนตามที ่กําหนด ใหเร ่ิมกระบวนการ 

สรรหาใหม ซึ ่งตองดําเนินการใหแลวเสรจ็ภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีมีเหตุใหตองดําเนินการดังกลาว 

(๖) ใหผู  ไดรับความเห็นชอบตาม (๔)หรอื (๕)ประชุมและเลอืกกันเอง

ใหคนหนึ ่งเปนประธานกรรมการการเลอืกตั ้ง และแจงผลใหประธานวฒุิสภาทราบ 

และใหประธานวฒุสิภานําความกราบบังคมทลูเพ ่ือทรงแตงตั ้งตอไป 

Page 128: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 128/206

๑๑๘ มาตรา ๒๓๒  กรรมการการเลอืกตั ้งมีวาระการดํารงตําแหนงเจด็ป

นับแตวันท ่ีพระมหากษัตริยทรงแตงตั ้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว 

กรรมการการเลอืกตั ้งซึ ่งพนจากตําแหนงตามวาระ ตองอยู ในตําแหนงเพื ่อปฏิบัติหนาท ่ีตอไปจนกวากรรมการการเลอืกตั ้งซึ ่งไดรับแตงตั ้งใหม จะเขารับหนาที ่ 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๙ (๑) (๒) (๓) (๕) (๖) (๗) และการขาดคุณสมบัติและมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๒๓๐ มาใชบังคับกับการพนจากตําแหนงของกรรมการการเลอืกตั ้งดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๓๓  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุสิภา หรือสมาชิกของทั ้งสองสภารวมกัน มีจํานวนไมนอยกวาหนึ ่งในสิบของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของทั ้งสองสภา มีสิทธิเขาชื ่อรองขอตอประธานรัฐสภาวากรรมการ 

การเลอืกตั ้งคนใดคนหนึ ่งขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหาม หรือกระทาํการ 

อันตองหามตามมาตรา ๒๓๐ และใหประธานรัฐสภาสงคํารองนั ้นไปยัง 

ศาลรัฐธรรมนูญภายในสามวันนับแตวันท ่ีไดรับคํารอง เพ ่ือใหศาลรัฐธรรมนูญวนิิจฉัย 

เมื ่อศาลรัฐธรรมนูญมีคําวนิิจฉัยแลว ใหศาลรัฐธรรมนูญแจง 

คําวนิิจฉัยไปยังประธานรัฐสภาและประธานกรรมการการเลอืกตั ้ง 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๒ มาใชบังคับกับการพนจากตําแหนงของ

กรรมการการเลอืกตั ้งดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๓๔  ในกรณที ่ีกรรมการการเลอืกตั ้งพนจากตําแหนงตามวาระพรอมกันท ้ังคณะ ใหดําเนินการสรรหาตามมาตรา ๒๓๑ ภายในเกาสิบวัน 

นับแตวันท ่ีพนจากตําแหนง 

ในกรณที ่ีกรรมการการเลอืกตั ้งพนจากตําแหนงเพราะเหตุอื ่น 

นอกจากถงึคราวออกตามวาระ ใหดําเนินการสรรหาตามมาตรา ๒๓๑ ใหแลวเสรจ็

Page 129: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 129/206

๑๑๙ ภายในหกสิบวันนับแตวันท ่ีมีเหตุดังกลาว และใหผู  ไดรับความเห็นชอบอย ูในตําแหนงเพียงเทาวาระที ่เหลืออย ูของผู  ซึ ่งตนแทน 

มาตรา ๒๓๕  คณะกรรมการการเลอืกตั ้งเปนผู  ควบคุมและดําเนินการจัดหรือจัดใหมีการเลอืกตั ้งหรอืการสรรหาสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร สมาชิก 

วฒุสิภา สมาชิกสภาทองถิ ่น และผู  บริหารทองถิ ่น แลวแตกรณี รวมทั ้งการออกเสียงประชามติ ใหเปนไปโดยสุจรติและเที ่ยงธรรม 

ประธานกรรมการการเลอืกตั ้งเปนผู  รักษาการตามพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง 

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลอืกตั ้ง 

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ และกฎหมาย 

วาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาทองถิ ่นหรือผู  บริหารทองถิ ่น และเปนนายทะเบยีน

พรรคการเมือง 

ใหมีสํานักงานคณะกรรมการการเลอืกตั ้งเปนหนวยงานที ่เปนอิสระในการบรหิารงานบคุคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื ่น ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๒๓๖  คณะกรรมการการเลอืกตั ้งมีอํานาจหนาที ่ ดังตอไปนี ้ (๑) ออกประกาศหรอืวางระเบยีบกําหนดการทั ้งหลายอันจําเปนแก

การปฏิบัติตามกฎหมายตามมาตรา ๒๓๕ วรรคสอง รวมทั ้งวางระเบยีบเกี ่ยวกับ 

การหาเสียงเลอืกตั ้งและการดําเนินการใด ๆ ของพรรคการเมือง ผู  สมัครรับเลอืกตั ้ง 

และผู  มีสิทธิเลือกตั ้ง เพ ่ือใหเปนไปโดยสุจริตและเที ่ยงธรรม และกาํหนดหลักเกณฑการดําเนินการของรัฐในการสนับสนุนใหการเลอืกตั ้งมีความเสมอภาคและมีโอกาส

ทัดเทียมกันในการหาเสียงเลอืกตั ้ง 

Page 130: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 130/206

๑๒๐ (๒) วางระเบยีบเกี ่ยวกับขอหามในการปฏิบัติหนาท ่ีของคณะ 

รัฐมนตรีและรัฐมนตรีขณะอยู ในตําแหนงเพื ่อปฏิบัติหนาท ่ีตามมาตรา ๑๘๑ 

โดยคํานึงถงึการรักษาประโยชนของรัฐ และคํานึงถงึความสุจรติ เท ่ียงธรรม 

ความเสมอภาค และโอกาสทัดเทียมกันในการเลอืกตั ้ง 

(๓) กําหนดมาตรการและการควบคุมการบรจิาคเงนิใหแก พรรคการเมือง การสนับสนุนทางการเงนิโดยรัฐ การใชจายเงนิของพรรคการเมืองและผู  สมัครรับเลอืกตั ้ง รวมทั ้งการตรวจสอบบัญชีทางการเงนิของพรรคการเมืองโดยเปดเผย และการควบคุมการจายเงนิหรือรับเงนิเพ ่ือประโยชนในการลงคะแนนเลือกตั ้ง 

(๔) มีคําสั ่งใหขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ 

หนวยงานของรฐั รัฐวสิาหกิจ หรือราชการสวนทองถิ ่น หรือเจาหนาที ่อื ่นของรัฐ 

ปฏิบัติการทั ้งหลายอันจาํเปนตามกฎหมายตามมาตรา ๒๓๕ วรรคสอง 

(๕) สืบสวนสอบสวนเพ ่ือหาขอเท็จจรงิและวินิจฉัยชี ้ขาดปญหาหรือ

ขอโตแยงที ่เกดิขึ ้นตามกฎหมายตามมาตรา ๒๓๕ วรรคสอง (๖) สั ่งใหมีการเลอืกตั ้งใหมหรือออกเสียงประชามติใหมใน 

หนวยเลอืกตั ้งใดหนวยเลอืกตั ้งหนึ ่งหรอืทุกหนวยเลอืกตั ้ง เมื ่อมีหลักฐานอันควรเชื ่อไดวาการเลอืกตั ้งหรอืการออกเสียงประชามติในหนวยเลอืกตั ้งนั ้น ๆ มิไดเปนไปโดยสุจรติและเที ่ยงธรรม 

(๗) ประกาศผลการเลอืกตั ้ง ผลการสรรหา และผลการออกเสียง

ประชามติ 

(๘) สงเสรมิและสนับสนุนหรือประสานงานกับหนวยราชการ 

หนวยงานของรฐั รัฐวสิาหกจิ หรอืราชการสวนทองถิ ่น หรอืสนับสนุนองคการเอกชน 

ในการใหการศกึษาแกประชาชนเกี ่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และสงเสรมิการมีสวนรวมทางการเมืองของ

ประชาชน 

(๙) ดําเนินการอื ่นตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

Page 131: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 131/206

๑๒๑ ในการปฏิบัติหนาที ่ คณะกรรมการการเลอืกตั ้งมีอํานาจเรยีกเอกสาร

หรอืหลักฐานที ่เกี ่ยวของจากบคุคลใด หรอืเรยีกบคุคลใดมาใหถอยคํา ตลอดจนขอให

พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน หนวยราชการ หนวยงานของรฐั รัฐวสิาหกิจ 

หรอืราชการสวนทองถิ ่น ดําเนินการเพื ่อประโยชนแหงการปฏิบัติหนาที ่ การสืบสวน 

สอบสวน หรือวินิจฉัยชี ้ขาด 

คณะกรรมการการเลอืกตั ้งมีอํานาจแตงตั ้งบคุคล คณะบคุคล หรอืผู  แทน 

องคการเอกชน เพื ่อปฏิบัติหนาท ่ีตามที ่มอบหมาย 

มาตรา ๒๓๗  ผู  สมัครรับเลอืกตั ้งผู  ใดกระทาํการ กอ หรือสนับสนุนใหผู  อื ่นกระทาํการอันเปนการฝาฝนพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา หรือระเบยีบหรือประกาศของคณะกรรมการการเลอืกตั ้ง ซึ ่งมีผลทาํใหการเลอืกตั ้งมิไดเปนไปโดยสุจรติและเที ่ยงธรรม  ใหเพกิถอนสิทธิเลอืกตั ้งของบคุคลดังกลาวตามพระราชบญัญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา ถาการกระทาํของบคุคลตามวรรคหนึ ่ง ปรากฏหลักฐานอันควร 

เชื ่อไดวาหัวหนาพรรคการเมืองหรือกรรมการบรหิารของพรรคการเมืองผู  ใด มีสวนรู  เห็น หรือปลอยปละละเลย หรือทราบถงึการกระทาํนั ้นแลว มิไดยับยั ้งหรือแกไขเพ ่ือใหการเลอืกตั ้งเปนไปโดยสุจริตและเที ่ยงธรรม ใหถือวาพรรคการเมืองนั ้น

กระทาํการเพื ่อใหไดมาซึ ่งอํานาจในการปกครองประเทศโดยวธีิการซึ ่งมิไดเปน 

ไปตามวถิีทางที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ตามมาตรา ๖๘ และในกรณที ่ี ศาลรัฐธรรมนูญมีคําสั ่งใหยบุพรรคการเมืองนั ้น ใหเพิกถอนสิทธิเลือกตั ้งของ หัวหนาพรรคการเมืองและกรรมการบรหิารพรรคการเมืองดังกลาวมีกาํหนดเวลา หาปนับแตวันท ่ีมีคําสั ่งใหยุบพรรคการเมือง 

Page 132: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 132/206

๑๒๒ มาตรา ๒๓๘  คณะกรรมการการเลอืกตั ้งตองดําเนินการสืบสวน

สอบสวนเพ ่ือหาขอเท็จจรงิโดยพลันเมื ่อมีกรณีใดกรณหีนึ ่ง ดังตอไปนี ้ 

(๑) ผู  มีสิทธิเลือกตั ้ง ผู  สมัครรับเลือกตั ้ง หรือพรรคการเมืองซึ ่งมีสมาชิกสมัครรับเลอืกตั ้งในเขตเลอืกตั ้งใดเขตเลอืกตั ้งหนึ ่ง คัดคานวาการเลอืกตั ้ง 

ในเขตเลอืกตั ้งนั ้นเปนไปโดยไมถกูตองหรือไมชอบดวยกฎหมาย 

(๒) ผู  เขารับการสรรหา หรือสมาชิกขององคกรตามมาตรา ๑๑๔ 

วรรคหนึ ่ง คัดคานวาการสรรหาสมาชิกวฒุสิภานั ้น เปนไปโดยไมถกูตองหรอื 

ไมชอบดวยกฎหมาย 

(๓) ปรากฏหลักฐานอันควรเชื ่อไดวา กอนไดรับเลือกตั ้งหรือสรรหา สมาชิกสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุสิภา สมาชิกสภาทองถิ ่น หรือผู  บรหิารทองถิ ่น 

ผู  ใดไดกระทาํการใด ๆ โดยไมสุจรติเพ ่ือใหตนเองไดรับเลอืกตั ้งหรอืสรรหา หรือ 

ไดรับเลอืกตั ้งหรอืสรรหามาโดยไมสุจรติโดยผลของการที ่บุคคลหรอืพรรคการเมืองใด 

ไดกระทาํลงไปโดยฝาฝนหลักเกณฑตามพระราชบญัญติัประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย

การเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา พระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง หรือกฎหมายวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาทองถิ ่นหรือผู  บรหิารทองถิ ่น 

(๔) ปรากฏหลักฐานอันควรเชื ่อไดวาการออกเสียงประชามติมิไดเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย หรือผู  มีสิทธิเลอืกตั ้งคัดคานวาการออกเสียงประชามติในหนวยเลอืกตั ้งใดเปนไปโดยไมถูกตองหรือไมชอบดวยกฎหมาย 

เมื ่อดําเนินการตามวรรคหนึ ่งเสรจ็แลว คณะกรรมการการเลอืกตั ้งตองพจิารณาวนิิจฉัยสั ่งการโดยพลัน 

มาตรา ๒๓๙  ในกรณทีี ่คณะกรรมการการเลอืกตั ้งวนิิจฉัยใหมีการเลือกตั ้งใหมหรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั ้งกอนการประกาศผลการเลือกตั ้งสมาชิก

สภาผู  แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา  ใหคําวนิิจฉัยของคณะกรรมการการเลอืกตั ้งเปนท ่ีสุด 

Page 133: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 133/206

๑๒๓ ในกรณที ่ีประกาศผลการเลอืกตั ้งแลว ถาคณะกรรมการการเลอืกตั ้ง

เห็นวาควรใหมีการเลอืกตั ้งใหมหรือเพิกถอนสิทธิเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร

หรอืสมาชิกวฒุสิภาผู  ใด ใหยื ่นคํารองตอศาลฎีกาเพื ่อวนิิจฉยั  เมื ่อศาลฎีกาไดรับคํารองของคณะกรรมการการเลอืกตั ้งแลว สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภา ผู  นั ้นจะปฏิบัติหนาที ่ตอไปไมได จนกวาศาลฎีกาจะมีคําสั ่งยกคํารอง  ในกรณที ่ี ศาลฎีกามีคําสั ่งใหมีการเลอืกตั ้งใหมในเขตเลอืกตั ้งใดหรือเพิกถอนสิทธิเลือกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาผู  ใด ใหสมาชิกภาพของสมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาในเขตเลอืกตั ้งนั ้นสิ ้นสุดลง ในกรณที ่ีบุคคลตามวรรคสองปฏิบัติหนาที ่ตอไปไมได  มิใหนับ

บุคคลดังกลาวเขาในจาํนวนรวมของสมาชิกเทาท ่ีมีอย ูของสภาผู  แทนราษฎรหรอื 

วฒุสิภา แลวแตกรณี ใหนําความในวรรคหนึ ่ง วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบังคับกับ

การเลอืกตั ้งสมาชิกสภาทองถิ ่นและผู  บริหารทองถิ ่นดวยโดยอนุโลม โดยการยื ่น 

คํารองตอศาลตามวรรคสองใหย ่ืนตอศาลอุทธรณ  และใหคําสั ่งของศาลอุทธรณ เปนท ่ีสุด 

มาตรา ๒๔๐  ในกรณที ่ีมีการคัดคานวาการสรรหาสมาชิกวฒุสิภา ผู  ใดเปนไปโดยไมถูกตองหรือไมชอบดวยกฎหมาย หรือปรากฏหลักฐานอันควรเชื ่อไดวากอนไดรับการสรรหา สมาชิกวฒุสิภาผู  ใดกระทาํการตามมาตรา ๒๓๘ 

ใหคณะกรรมการการเลอืกตั ้งดําเนินการสืบสวนสอบสวนโดยพลัน 

เมื ่อคณะกรรมการการเลอืกตั ้งไดวนิิจฉัยสั ่งการเปนอยางใดแลว 

ใหเสนอตอศาลฎีกาเพื ่อพิจารณาวินิจฉัยโดยพลัน และใหนําความในมาตรา ๒๓๙ 

วรรคสองและวรรคสาม มาใชบังคบักบัการที ่สมาชิกวฒุสิภาผู  นั ้นไมอาจปฏิบัติหนาที ่ตอไปได โดยอนุโลม 

Page 134: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 134/206

๑๒๔ ในกรณที ่ีศาลฎีกามีคําสั ่งใหเพิกถอนการสรรหาหรอืเพิกถอนสิทธิ

เลอืกตั ้งสมาชิกวฒุสิภาผู  ใด ใหสมาชิกภาพของสมาชิกวฒุสิภาผู  นั ้นสิ ้นสุดลงนับแต

วันที ่ศาลฎีกามีคําสั ่ง และใหดําเนินการสรรหาสมาชิกวฒุสิภาใหมแทนตําแหนงที ่วาง 

ในการดําเนินการตามวรรคหนึ ่งหรือวรรคสองประธานกรรมการ 

การเลอืกตั ้งจะรวมดําเนินการหรอืวินิจฉัยสั ่งการมิได และใหคณะกรรมการ 

การเลอืกตั ้งมีองคประกอบเทาท ่ีมีอย ู การคัดคานและการพจิารณาของคณะกรรมการการเลอืกตั ้ง ใหเปน

ไปตามที ่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา 

มาตรา ๒๔๑  ในระหวางที ่พระราชกฤษฎีกาใหมีการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภา ประกาศใหมีการสรรหาสมาชิกวฒุิสภา หรือประกาศใหมีการออกเสียงประชามติ มีผลใชบังคบั หามมิใหจับ คุมขัง หรอืหมายเรยีก

ตัวกรรมการการเลอืกตั ้งไปทาํการสอบสวน  เวนแตในกรณที ่ีไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการการเลอืกตั ้ง หรือในกรณที ่ีจับในขณะกระทาํความผิด 

ในกรณที ่ีมีการจับกรรมการการเลอืกตั ้งในขณะกระทาํความผิด หรือจับ หรือคุมขังกรรมการการเลอืกตั ้งในกรณอืี ่น ใหรายงานไปยังประธานกรรมการการเลอืกตั ้งโดยดวน และประธานกรรมการการเลอืกตั ้งอาจสั ่งใหปลอยผู  ถกูจับได แตถาประธานกรรมการการเลอืกตั ้งเปนผู  ถกูจับหรือคุมขัง ใหเปนอํานาจของ 

คณะกรรมการการเลอืกตั ้งเทาท ่ีมีอย ูเปนผู  ดําเนินการ 

๒. ผู  ตรวจการแผนดิน 

มาตรา ๒๔๒  ผู  ตรวจการแผนดินมีจาํนวนสามคน ซึ ่งพระมหากษัตรยิทรงแตงตั ้งตามคําแนะนําของวฒุสิภา จากผู  ซึ ่งเปนท ่ียอมรับนับถอืของประชาชน 

Page 135: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 135/206

๑๒๕ มีความรอบรู  และมีประสบการณในการบรหิารราชการแผนดิน วสิาหกจิ หรอืกจิกรรมอันเปนประโยชนรวมกันของสาธารณะ และมีความซื ่อสัตยสุจรติเปนท ่ีประจักษ 

ใหผู  ไดรับเลือกเปนผู  ตรวจการแผนดินประชุมและเลอืกกันเองให คนหนึ ่งเปนประธานผู  ตรวจการแผนดินแลวแจงผลใหประธานวฒุสิภาทราบ 

ใหประธานวฒุสิภาเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั ้งประธานผู  ตรวจการแผนดินและผู  ตรวจการแผนดิน 

คุณสมบัติและลักษณะตองหามของผู  ตรวจการแผนดินใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผู  ตรวจการแผนดิน 

ผู  ตรวจการแผนดินมีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันท ่ี พระมหากษัตริยทรงแตงตั ้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว 

ใหมีสํานักงานผู  ตรวจการแผนดินเปนหนวยงานที ่เปนอิสระในการบรหิารงานบคุคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื ่น ท ้ังนี ้ ตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๒๔๓  การสรรหาและการเลอืกผู  ตรวจการแผนดินใหนํา บทบัญญัติมาตรา ๒๐๖ และมาตรา ๒๐๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม โดยใหมี 

คณะกรรมการสรรหาจาํนวนเจด็คนประกอบดวย ประธานศาลฎีกา ประธานศาล 

รัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานสภาผู  แทนราษฎร ผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎร บุคคลซึ ่งที ่ประชุมใหญศาลฎีกาคัดเลือกจาํนวนหนึ ่งคน และบุคคลซึ ่งที ่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลอืกจํานวนหนึ ่งคน  และ

ใหนําบทบัญญัต   ิมาตรา ๒๓๑ (๑) วรรคสอง มาใชบังคับดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๔๔  ผู  ตรวจการแผนดินมีอํานาจหนาที ่ ดังตอไปนี ้ (๑) พิจารณาและสอบสวนหาขอเท็จจรงิตามคํารองเรยีนในกรณ ี

(ก) การไมปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออํานาจ

หนาที ่ตามกฎหมายของขาราชการ พนักงาน หรอืลกูจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวสิาหกจิ หรือราชการสวนทองถิ ่น 

Page 136: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 136/206

๑๒๖ (ข) การปฏิบัติหรือละเลยไมปฏิบัติหนาท ่ีของขาราชการ 

พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวสิาหกิจ หรือ 

ราชการสวนทองถิ ่น ท ่ีกอใหเกดิความเสียหายแกผู  รองเรยีนหรือประชาชนโดย 

ไมเปนธรรม ไมวาการนั ้นจะชอบหรอืไมชอบดวยอํานาจหนาท ่ีกต็าม 

(ค) การตรวจสอบการละเลยการปฏิบัติหนาที ่หรือการปฏิบัติหนาท ่ีโดยไมชอบดวยกฎหมายขององคกรตามรัฐธรรมนูญและองคกรในกระบวนการยติุธรรม  ทั ้งนี ้ ไมรวมถงึการพจิารณาพพิากษาอรรถคดีของศาล 

(ง) กรณีอื ่นตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

(๒) ดําเนินการเกี ่ยวกับจรยิธรรมของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาท ่ีของรัฐตามมาตรา ๒๗๙ วรรคสาม และมาตรา ๒๘๐ 

(๓) ติดตาม ประเมินผล และจัดทําขอเสนอแนะในการปฏิบัติตาม 

รัฐธรรมนูญ  รวมตลอดถงึขอพจิารณาเพื ่อแกไขเพิ ่มเติมรฐัธรรมนูญในกรณที ่ีเห็นวา จาํเปน 

(๔) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหนาที ่พรอมขอสังเกตตอคณะรัฐมนตรี สภาผู  แทนราษฎร และวฒุสิภา ทุกป  ท ้ังนี ้ ใหประกาศรายงาน 

ดังกลาวในราชกจิจานุเบกษาและเปดเผยตอสาธารณะดวย 

การใชอํานาจหนาท ่ีตาม (๑) (ก) (ข) และ (ค) ใหผู  ตรวจการแผนดินดําเนินการเมื ่อมีการรองเรียน   เวนแตเปนกรณีท ่ีผู  ตรวจการแผนดินเห็นวา  

การกระทําดังกลาวมีผลกระทบตอความเสียหายของประชาชนสวนรวมหรอื 

เพ ่ือคุ  มครองประโยชนสาธารณะ ผู  ตรวจการแผนดินอาจพจิารณาและสอบสวน 

โดยไมมีการรองเรยีนได 

มาตรา ๒๔๕  ผู  ตรวจการแผนดินอาจเสนอเร ่ืองตอศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองได เมื ่อเห็นวามีกรณีดังตอไปนี ้ 

(๑) บทบัญญัติแหงกฎหมายใดมีปญหาเก ่ียวกับความชอบดวย 

รัฐธรรมนูญ ใหเสนอเร ่ืองพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ และให 

Page 137: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 137/206

๑๒๗ ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา  ท ้ังนี ้ ตามพระราชบัญญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญวาดวยวธีิพิจารณาของศาลรฐัธรรมนูญ 

(๒)กฎ คําสั ่ง หรอืการกระทาํอื ่นใดของบคุคลใดตามมาตรา ๒๔๔ (๑)

(ก) มีปญหาเกี ่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรอืกฎหมาย ใหเสนอเรื ่องพรอมดวยความเห็นตอศาลปกครอง และใหศาลปกครองพจิารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา  ท ้ังนี ้ ตามพระราชบัญญัติวาดวยการจัดตั ้งศาลปกครองและวธีิพิจารณาคดีปกครอง 

๓. คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ 

มาตรา ๒๔๖ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ 

ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนึ ่งและกรรมการอื ่นอีกแปดคน ซึ ่ง 

พระมหากษัตริยทรงแตงตั ้งตามคําแนะนําของวฒุสิภา 

กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติตองเปนผู  ซึ ่งมีความซื ่อสัตยสุจริตเปนท ่ีประจักษและมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม 

ตามมาตรา ๒๐๕ โดยเคยเปนรัฐมนตรี กรรมการการเลอืกตั ้ง ผู  ตรวจการแผนดิน 

กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ หรอืกรรมการตรวจเงนิแผนดิน หรอืเคยรับราชการ 

ในตําแหนงไมต่ ํากวาอธิบดีหรือผู  ดํารงตําแหนงทางบรหิารในหนวยราชการที ่มีอํานาจบรหิารเทยีบเทาอธิบดี หรือดํารงตําแหนงไมต่ ํากวาศาสตราจารย  ผู  แทน 

องคการพัฒนาเอกชน หรือผู  ประกอบวชิาชีพที ่มีองคกรวิชาชีพตามกฎหมาย 

มาเปนเวลาไมนอยกวาสามสิบป ซึ ่งองคการพัฒนาเอกชนหรอืองคกรวิชาชีพนั ้น 

ใหการรับรองและเสนอชื ่อเขาสู กระบวนการสรรหา การสรรหาและการเลอืกกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติ

แหงชาติ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๔ วรรคสามและวรรคสี ่ มาตรา ๒๐๖ และ

มาตรา ๒๐๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม โดยใหมีคณะกรรมการสรรหาจาํนวนหาคน

Page 138: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 138/206

๑๒๘ ประกอบดวยประธานศาลฎีกา ประธานศาลรฐัธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด 

ประธานสภาผู  แทนราษฎร และผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎร 

ใหประธานวฒุสิภาเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั ้งประธานกรรมการและกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ 

ใหมีกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติประจาํจังหวัด โดยคุณสมบัติ กระบวนการสรรหา และอํานาจหนาท ่ี ใหเปนไปตามที ่บัญญัติไวใน 

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุรติ 

มาตรา ๒๔๗  กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ 

มีวาระการดํารงตําแหนงเกาปนับแตวันท ่ีพระมหากษัตริยทรงแตงตั ้ง และให ดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว 

กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติซึ ่งพนจากตําแหนงตามวาระ ตองปฏิบัติหนาที ่ตอไปจนกวากรรมการซึ ่งไดรับแตงตั ้งใหม 

จะเขารับหนาที ่ การพนจากตําแหนง การสรรหา และการเลอืกกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติแทนตําแหนงที ่วาง ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๙ 

และมาตรา ๒๑๐ มาใชบังคับ โดยอนุโลม 

มาตรา ๒๔๘  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในสี ่

ของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของสภาผู  แทนราษฎร หรือประชาชนผู  มีสิทธิเลอืกตั ้งไมนอยกวาสองหมื ่นคน มีสิทธิเขาชื ่อรองขอตอประธานวฒุสิภาวากรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติผู  ใดกระทาํการขาดความเที ่ยงธรรม จงใจฝาฝนรฐัธรรมนูญหรอืกฎหมาย หรอืมีพฤติการณท ่ีเปนการเสื ่อมเสียแกเกยีรติศักดิ ์ของการดํารงตําแหนงอยางรายแรง เพ ่ือใหวฒุสิภามีมติใหพนจากตําแหนง 

Page 139: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 139/206

๑๒๙ มติของวฒุสิภาใหกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ

พนจากตําแหนงตามวรรคหนึ ่ง ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี ่ของจาํนวน

สมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของวฒุิสภา 

มาตรา ๒๔๙  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุิสภา หรือสมาชิกของทั ้งสองสภา มีจํานวนไมนอยกวาหนึ ่งในหาของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของทั ้งสองสภา มีสิทธิเขาชื ่อรองขอตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองวา กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติผู  ใดร่ ํารวยผิดปกติ 

กระทาํความผิดฐานทจุริตตอหนาที ่ หรือกระทาํความผิดตอตําแหนงหนาท ่ีราชการ 

คํารองขอตามวรรคหนึ ่งตองระบพุฤติการณท ่ีกลาวหาวาผู  ดํารงตําแหนงดังกลาวกระทาํการตามวรรคหนึ ่งเปนขอ   ๆใหชัดเจน และใหย ่ืนตอประธานวฒุิสภา เมื ่อประธานวฒุสิภาไดรับคํารองแลว ใหสงคํารองดังกลาวไปยังศาลฎีกาแผนก 

คดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองเพื ่อพิจารณาพพิากษา 

กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติผู  ถูกกลาวหา จะปฏิบัติหนาท ่ีในระหวางนั ้นมิได จนกวาจะมีคําพพิากษาของศาลฎีกาแผนก 

คดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองใหยกคํารองดังกลาว 

ในกรณที ่ีกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติไมอาจปฏิบัติหนาที ่ไดตามวรรคสาม และมีกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติเหลืออย ูนอยกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนกรรมการปองกันและปราบปราม 

การทจุรติแหงชาติท ้ังหมด  ใหประธานศาลฎีกาและประธานศาลปกครองสูงสุดรวมกันแตงตั ้งบคุคลซึ ่งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามเชนเดียวกับกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจรติแหงชาติ ทําหนาท ่ีเปนกรรมการปองกันและ 

ปราบปรามการทจุรติแหงชาติเปนการชั ่วคราว  โดยใหผู  ท ่ีไดรับแตงตั ้งอยู ในตําแหนงไดจนกวากรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติท ่ีตนดํารงตําแหนง

แทนจะปฏิบัติหนาท ่ีได หรือจนกวาจะมีคําพพิากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองวาผู  นั ้นกระทาํความผิด 

Page 140: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 140/206

๑๓๐ มาตรา ๒๕๐  คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ

มีอํานาจหนาที ่ ดังตอไปนี ้ 

(๑) ไตสวนขอเท็จจรงิและสรปุสํานวนพรอมท ้ังทาํความเห็นเก ่ียวกับการถอดถอนออกจากตําแหนงเสนอตอวฒุสิภาตามมาตรา ๒๗๒ และมาตรา ๒๗๙ 

วรรคสาม 

(๒) ไตสวนขอเทจ็จรงิและสรปุสํานวนพรอมทั ้งทาํความเห็นเกี ่ยวกับการดําเนินคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองสงไปยังศาลฎีกาแผนก 

คดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองตามมาตรา ๒๗๕ 

(๓) ไตสวนและวนิิจฉัยวาเจาหนาท ่ีของรัฐตั ้งแตผู  บรหิารระดับสูงหรือขาราชการซึ ่งดํารงตําแหนงตั ้งแตผู  อํานวยการกองหรอืเทียบเทาขึ ้นไปร่ ํารวย 

ผิดปกติ กระทาํความผิดฐานทจุรติตอหนาที ่ หรอืกระทาํความผิดตอตําแหนงหนาที ่ ราชการ หรือความผิดตอตําแหนงหนาท ่ีในการยติุธรรม รวมทั ้งดําเนินการกับ 

เจาหนาที ่ของรัฐหรือขาราชการในระดับต่ ํากวาท ่ีรวมกระทาํความผิดกับ 

ผู  ดํารงตําแหนงดังกลาวหรอืกับผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง หรือท ่ีกระทาํความผิดในลักษณะที ่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติเห็นสมควรดําเนินการดวย  ท ้ังนี ้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุรติ 

(๔) ตรวจสอบความถกูตองและความมีอย ูจรงิ รวมทั ้งความ 

เปลี ่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี ้สินของผู  ดํารงตําแหนงตามมาตรา ๒๕๙ และ

มาตรา ๒๖๔ ตามบัญชีและเอกสารประกอบที ่ไดย ่ืนไว  ท ้ังนี ้ ตามหลักเกณฑและ 

วธีิการที ่คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติกาํหนด 

(๕)กํากบัดูแลคุณธรรมและจรยิธรรมของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง 

(๖) รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหนาที ่พรอมขอสังเกตตอคณะรัฐมนตร ีสภาผู  แทนราษฎร และวฒุสิภา ทุกป ท ้ังนี ้ ใหประกาศรายงานดังกลาว

ในราชกจิจานุเบกษาและเปดเผยตอสาธารณะดวย 

(๗) ดําเนินการอื ่นตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

Page 141: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 141/206

๑๓๑ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๑๓ มาใชบังคับกับการปฏิบัติหนาท ่ีของ

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติดวยโดยอนุโลม 

ประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติและกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติเปนเจาพนักงานในการยติุธรรมตามกฎหมาย 

มาตรา ๒๕๑  คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติมีหนวยธุรการของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติท ่ีเปนอิสระ โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติเปนผู  บังคบับญัชาขึ ้นตรงตอประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ 

การแตงตั ้งเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม 

การทจุริตแหงชาติ ตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการปองกันและ 

ปราบปรามการทจุรติแหงชาติและวฒุสิภา 

ใหมีสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติเปนหนวยงานที ่เปนอิสระในการบรหิารงานบคุคล การงบประมาณ และ 

การดําเนินการอื ่น  ท ้ังนี ้ ตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

๔. คณะกรรมการตรวจเงนิแผนดิน 

มาตรา ๒๕๒  การตรวจเงนิแผนดินใหกระทาํโดยคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดินท ่ีเปนอิสระและเปนกลาง 

คณะกรรมการตรวจเงนิแผนดิน ประกอบดวย ประธานกรรมการ 

คนหนึ ่งและกรรมการอื ่นอีกหกคน ซึ ่งพระมหากษตัรยิทรงแตงตั ้งจากผู  มีความชํานาญ

และประสบการณดานการตรวจเงนิแผนดิน การบัญชี การตรวจสอบภายใน การเงนิการคลัง และดานอื ่น 

Page 142: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 142/206

๑๓๒ การสรรหาและการเลอืกกรรมการตรวจเงนิแผนดินและผู  วาการ

ตรวจเงนิแผนดิน ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๔ วรรคสามและวรรคสี ่ มาตรา ๒๐๖ 

และมาตรา ๒๐๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม เวนแตองคประกอบของคณะกรรมการสรรหาใหเปนไปตามมาตรา ๒๔๓ 

ใหประธานวฒุสิภาเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั ้งประธานกรรมการและกรรมการตรวจเงนิแผนดินและผู  วาการตรวจเงนิแผนดิน 

กรรมการตรวจเงนิแผนดินมีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแตวันท ่ีพระมหากษัตริยทรงแตงตั ้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว 

คุณสมบัติ ลักษณะตองหาม และการพนจากตําแหนงของกรรมการตรวจเงนิแผนดินและผู  วาการตรวจเงนิแผนดิน รวมทั ้งอํานาจหนาท ่ีของคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดิน ผู  วาการตรวจเงนิแผนดิน และสํานักงานการตรวจเงนิแผนดิน ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงนิแผนดิน 

การกาํหนดคุณสมบัติและวธีิการเลอืกบคุคลซึ ่งจะไดรับการแตงตั ้งเปนกรรมการตรวจเงนิแผนดินและผู  วาการตรวจเงนิแผนดิน จะตองเปนไปเพื ่อใหไดบุคคลที ่มีคุณสมบัติเหมาะสม มีความซื ่อสัตยสุจรติเปนท ่ีประจักษ และเพื ่อใหไดหลักประกันความเปนอิสระในการปฏิบัติหนาท ่ีของบคุคลดังกลาว 

มาตรา ๒๕๓  คณะกรรมการตรวจเงนิแผนดินมีอํานาจหนาที ่กําหนด

หลกัเกณฑมาตรฐานเกี ่ยวกับการตรวจเงนิแผนดิน ใหคําปรกึษา แนะนํา และเสนอแนะใหมีการแกไขขอบกพรองเก ่ียวกับการตรวจเงนิแผนดิน  และมีอํานาจแตงตั ้งคณะกรรมการวนัิยทางการเงนิและการคลงัที ่เปนอิสระเพื ่อทาํหนาที ่วนิิจฉยัการดําเนินการ 

ท ่ีเกี ่ยวกับวนัิยทางการเงนิ การคลัง และการงบประมาณ  และใหคดีท ่ีพิพาทเกี ่ยวกับคําวนิิจฉัยของคณะกรรมการวนัิยทางการเงนิและการคลังในเรื ่องดังกลาวเปนคดีท ่ี

อย ูในอํานาจของศาลปกครอง 

Page 143: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 143/206

๑๓๓ ใหผู  วาการตรวจเงนิแผนดินมีอํานาจหนาท ่ีเกี ่ยวกับการตรวจเงนิ 

แผนดินท ่ีเปนอิสระและเปนกลาง 

มาตรา ๒๕๔  คณะกรรมการตรวจเงนิแผนดินมีหนวยธุรการของคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดินท ่ีเปนอิสระ โดยมีผู  วาการตรวจเงนิแผนดินเปน 

ผู  บังคับบัญชาขึ ้นตรงตอประธานกรรมการตรวจเงนิแผนดิน 

ใหมีสํานักงานการตรวจเงนิแผนดินเปนหนวยงานที ่เปนอิสระในการบรหิารงานบคุคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื ่น ท ้ังนี ้ ตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

สวนท ่ี ๒ 

องคกรอื ่นตามรัฐธรรมนูญ 

๑. องคกรอัยการ 

มาตรา ๒๕๕  พนักงานอัยการมีอํานาจหนาที ่ตามท ่ีบัญญัติใน 

รัฐธรรมนูญนี ้และตามกฎหมายวาดวยอํานาจและหนาที ่ของพนักงานอัยการและกฎหมายอื ่น 

พนักงานอัยการมีอิสระในการพจิารณาสั ่งคดีและการปฏิบัติหนาที ่ใหเปนไปโดยเที ่ยงธรรม 

การแตงตั ้งและการใหอัยการสูงสุดพนจากตําแหนงตองเปนไปตามมติของคณะกรรมการอัยการ และไดรับความเห็นชอบจากวฒุสิภา 

ใหประธานวฒุสิภาเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงต   ั   ง

อัยการสูงสุด 

Page 144: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 144/206

๑๓๔ องคกรอัยการมีหนวยธุรการที ่เปนอิสระในการบรหิารงานบคุคล 

การงบประมาณ และการดําเนินการอื ่น โดยมีอัยการสูงสุดเปนผู  บังคับบัญชา ท ้ังนี ้ 

ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

พนักงานอัยการตองไมเปนกรรมการในรัฐวสิาหกิจหรอืกิจการอื ่นของรัฐในทํานองเดียวกัน  เวนแตจะไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการอัยการ  ท ้ังตองไมประกอบอาชีพหรือวิชาชีพ หรือกระทาํกจิการใดอันเปนการกระทบกระเทอืนถึงการปฏิบัติหนาที ่ หรือเสื ่อมเสียเกียรติศักดิ ์แหงตําแหนงหนาท ่ีราชการ  และตอง 

ไมเปนกรรมการ ผู  จัดการ หรือท ่ีปรึกษากฎหมาย หรือดํารงตําแหนงอื ่นใดท ่ีมีลักษณะงานคลายคลงึกันนั ้นในหางหุ  นสวนบรษิัท 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม 

๒. คณะกรรมการสิทธมินษุยชนแหงชาติ 

มาตรา ๒๕๖  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ประกอบดวย 

ประธานกรรมการคนหนึ ่งและกรรมการอื ่นอีกหกคน ซึ ่งพระมหากษตัรยิทรงแตงตั ้งตามคําแนะนําของวฒุสิภา จากผู  ซึ ่งมีความรู  หรือประสบการณดานการคุ  มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเปนท ่ีประจักษ  ท ้ังนี ้ โดยตองคํานึงถงึการมีสวนรวมของผู  แทนจากองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนดวย 

ใหประธานวฒุสิภาเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั ้งประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 

คุณสมบติั ลักษณะตองหาม การถอดถอน และการกาํหนดคาตอบแทนกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ใหเปนไปตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีวาระการดํารงตําแหนงหกปนับแต

วันท ่ีพระมหากษัตริยทรงแตงตั ้ง และใหดํารงตําแหนงไดเพียงวาระเดียว 

Page 145: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 145/206

๑๓๕ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๔ วรรคสาม มาตรา ๒๐๖ มาตรา ๒๐๗ 

และมาตรา ๒๐๙ (๒) มาใชบังคับโดยอนุโลม เวนแตองคประกอบของคณะ

กรรมการสรรหาใหเปนไปตามมาตรา ๒๔๓ 

ใหมีสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนหนวยงาน 

ที ่เปนอิสระในการบรหิารงานบคุคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื ่น  ท ้ังนี ้ ตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๒๕๗  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจหนาที ่ ดังตอไปนี ้ 

(๑)ตรวจสอบและรายงานการกระทาํหรอืการละเลยการกระทาํ อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไมเปนไปตามพันธกรณรีะหวางประเทศเกี ่ยวกับสิทธิมนุษยชนที ่ประเทศไทยเปนภาคี และเสนอมาตรการการแกไขที ่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที ่กระทาํหรือละเลยการกระทาํดังกลาวเพื ่อดําเนินการ ในกรณี

ท ่ีปรากฏวาไมมีการดําเนินการตามที ่เสนอ ใหรายงานตอรัฐสภาเพื ่อดําเนินการตอไป 

(๒) เสนอเร ่ืองพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณที ่ี เห็นชอบตามท ่ีมีผู  รองเรยีนวา บทบัญญัติแหงกฎหมายใดกระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี ่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ  ทั ้งนี ้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ  

(๓) เสนอเรื ่องพรอมดวยความเห็นตอศาลปกครอง ในกรณที ่ีเห็นชอบ

ตามท ่ีมีผู  รองเรียนวา กฎ คําสั ่ง หรือการกระทาํอื ่นใดในทางปกครองกระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี ่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย  ทั ้งนี ้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั ้งศาลปกครองและวธีิพจิารณาคดีปกครอง 

(๔) ฟองคดีตอศาลยติุธรรมแทนผู  เสียหาย เมื ่อไดรับการรองขอจาก 

ผู  เสียหายและเปนกรณที ่ีเห็นสมควรเพ ่ือแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปน

สวนรวม  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

Page 146: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 146/206

๑๓๖ (๕) เสนอแนะนโยบายและขอเสนอในการปรับปรงุกฎหมาย และ 

กฎ ตอรัฐสภาหรอืคณะรัฐมนตรีเพ ่ือสงเสริมและคุ  มครองสิทธิมนุษยชน 

(๖)สงเสรมิการศกึษา การวจิัย และการเผยแพรความรู  ดานสิทธิมนุษยชน 

(๗) สงเสรมิความรวมมือและการประสานงานระหวางหนวยราชการ 

องคการเอกชน และองคการอื ่นในดานสิทธิมนุษยชน 

(๘) จัดทาํรายงานประจาํปเพื ่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศและเสนอตอรัฐสภา 

(๙) อํานาจหนาที ่อื ่นตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

ในการปฏิบัติหนาที ่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตองคํานึงถงึผลประโยชนสวนรวมของชาติและประชาชนประกอบดวย 

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจเรยีกเอกสารหรอื 

หลกัฐานที ่เกี ่ยวของจากบคุคลใด หรอืเรยีกบคุคลใดมาใหถอยคํา รวมทั ้งมีอํานาจอื ่นเพ ่ือประโยชนในการปฏิบัติหนาท ่ี ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

๓. สภาที ่ปรกึษาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ 

มาตรา ๒๕๘  สภาที ่ปรึกษาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติมีหนาที ่ใหคําปรกึษาและขอเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีในปญหาตาง ๆ ท ่ีเกี ่ยวกับเศรษฐกจิและสังคม รวมถงึกฎหมายที ่เก ่ียวของ 

แผนพัฒนาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติและแผนอื ่นตามท ่ีกฎหมายบัญญัติตองใหสภาที ่ปรึกษาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ ใหความเห็นกอนพิจารณาประกาศใช 

องคประกอบ ท ่ีมา อํานาจหนาท ่ี และการดําเนินงานของสภา 

ท ่ีปรกึษาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ ใหเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

Page 147: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 147/206

๑๓๗ ใหมีสํานักงานสภาที ่ปรกึษาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติเปนหนวยงาน

ท ่ีเปนอิสระในการบรหิารงานบคุคล การงบประมาณ และการดําเนินการอื ่น  ทั ้งนี ้ 

ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

หมวด ๑๒ 

การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ 

สวนท ่ี ๑ 

การตรวจสอบทรัพยสิน 

มาตรา ๒๕๙  ผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองดังตอไปนี ้ มีหนาท ่ียื ่น

บัญชีแสดงรายการทรพัยสินและหนี ้สินของตน คู สมรส และบตุรที ่ยังไมบรรลนิุติภาวะตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติ ทุกครั ้งที ่เขารับตําแหนงหรอืพนจากตําแหนง 

(๑) นายกรัฐมนตรี (๒) รัฐมนตรี (

๓)

สมาชิกสภาผู  แทนราษฎร 

(๔) สมาชิกวฒุสิภา (๕) ขาราชการการเมืองอื ่น 

(๖) ผู  บริหารทองถิ ่นและสมาชิกสภาทองถิ ่นตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

บัญชีตามวรรคหนึ ่งใหย ่ืนพรอมเอกสารประกอบซึ ่งเปนสําเนาหลักฐานที ่พิสูจนความมีอย ูจรงิของทรัพยสินและหนี ้สินดังกลาว รวมทั ้งสําเนาแบบแสดง

รายการภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในรอบปภาษทีี ่ผานมา 

Page 148: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 148/206

๑๓๘ การยื ่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี ้สินตามวรรคหนึ ่งและ

วรรคสอง ใหรวมถงึทรัพยสินของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองที ่มอบหมายใหอย ู 

ในความครอบครองหรอืดูแลของบคุคลอื ่นไมวาโดยทางตรงหรอืทางออมดวย 

มาตรา ๒๖๐  บัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี ้สินตามมาตรา ๒๕๙ ใหแสดงรายการทรพัยสินและหนี ้สินท ่ีมีอย ูจรงิในวันท ่ีเขารับตําแหนงหรือวันท ่ีพนจากตําแหนง แลวแตกรณี และตองยื ่นภายในกาํหนดเวลาดังตอไปนี ้ 

(๑) ในกรณที ่ีเปนการเขารับตําแหนง ใหย ่ืนภายในสามสิบวันนับแตวันเขารับตําแหนง 

(๒) ในกรณที ่ีเปนการพนจากตําแหนง ใหยื ่นภายในสามสิบวันนับแตวันพนจากตําแหนง 

(๓) ในกรณที ่ีบุคคลตามมาตรา ๒๕๙ ซึ ่งไดย ่ืนบัญชีไวแลว ตายในระหวางดํารงตําแหนงหรือกอนย ่ืนบัญชีหลังจากพนจากตําแหนง ใหทายาทหรอื 

ผู  จัดการมรดก ยื ่นบัญชีแสดงรายการทรพัยสินและหนี ้สินท ่ีมีอย ูในวันท ่ีผู  ดํารงตําแหนงนั ้นตาย ภายในเกาสิบวันนับแตวันท ่ีผู  ดํารงตําแหนงตาย 

ผู  ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผู  บริหารทองถิ ่น สมาชิกสภาทองถิ ่น หรือผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง ซึ ่งพนจากตําแหนง นอกจากตองย ่ืนบัญชีตาม (๒) แลว ใหมีหนาที ่ย ่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี ้สินท ่ีมีอย ูจรงิในวันครบหนึ ่งปนับแตวันท ่ีพนจากตําแหนงดังกลาวอีกครั ้งหนึ ่งโดยใหย ่ืนภายใน

สามสิบวันนับแตวันท ่ีพนจากตําแหนงมาแลวเปนเวลาหนึ ่งปดวย 

มาตรา ๒๖๑  บัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี ้สินและเอกสารประกอบของนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู  แทนราษฎร และสมาชิกวฒุสิภา ใหเปดเผยใหสาธารณชนทราบโดยเรว็แตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันท ่ี 

ครบกาํหนดตองยื ่นบัญชีดังกลาว บัญชีของผู  ดํารงตําแหนงอื ่นจะเปดเผยไดตอเมื ่อ

Page 149: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 149/206

๑๓๙ การเปดเผยดังกลาวจะเปนประโยชนตอการพจิารณาพพิากษาคดีหรอืการวนิิจฉยัชี ้ขาด 

และไดรับการรองขอจากศาลหรอืผู  มีสวนไดเสียหรอืคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดิน 

ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติจัดใหมีการประชุมคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติเพื ่อตรวจสอบความถกูตองและความมีอย ูจริงของทรัพยสินและหนี ้สินดังกลาวโดยเรว็ 

มาตรา ๒๖๒  ในกรณทีี ่มีการยื ่นบัญชีเพราะเหตุท ่ีผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองผู  ใดพนจากตําแหนงหรือตาย ใหคณะกรรมการปองกันและ 

ปราบปรามการทจุรติแหงชาติทําการตรวจสอบความเปลี ่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี ้สินของผู  ดํารงตําแหนงนั ้น แลวจดัทาํรายงานผลการตรวจสอบ รายงานดังกลาวใหประกาศในราชกจิจานุเบกษา 

ในกรณที ่ีปรากฏวาผู  ดํารงตําแหนงตามวรรคหนึ ่งผู  ใดมีทรัพยสิน 

เพ ่ิมขึ ้นผิดปกติ ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ 

สงเอกสารทั ้งหมดท ่ีมีอย ูพรอมท ้ังรายงานผลการตรวจสอบไปยงัอัยการสูงสุดเพ ่ือดําเนินคดีตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองใหทรัพยสิน 

ท ่ีเพ ่ิมขึ ้นผิดปกตินั ้นตกเปนของแผนดินตอไป และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๗๒ 

วรรคหา มาใชบังคับโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๖๓  ผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองผู  ใดจงใจไมยื ่นบัญชีแสดง

รายการทรพัยสินและหนี ้สินและเอกสารประกอบตามที ่กาํหนดไวในรัฐธรรมนูญนี ้ หรือจงใจยื ่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี ้สินและเอกสารประกอบดวย 

ขอความอันเปนเทจ็ หรอืปกปดขอเทจ็จรงิที ่ควรแจงใหทราบ ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติเสนอเร ่ืองใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองวินิจฉัยตอไป 

ถาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองวินิจฉัยวาผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองผู  ใดกระทาํความผิดตามวรรคหนึ ่ง ใหผู  นั ้นพนจาก

Page 150: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 150/206

๑๔๐ ตําแหนงในวันท ่ีศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองวนิิจฉัย 

โดยใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม และผู  นั ้นตองหามมิให

ดํารงตําแหนงทางการเมืองหรือดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมืองเปนเวลาหาป นับแตวันท ่ีศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองวินิจฉัยดวย 

มาตรา ๒๖๔  บทบัญญัติมาตรา ๒๕๙ มาตรา ๒๖๐ มาตรา ๒๖๑ 

วรรคสอง และมาตรา ๒๖๓ วรรคหนึ ่ง ใหใชบังคับกับเจาหนาท ่ีของรัฐ ตามท ่ี คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติกาํหนดดวยโดยอนุโลม 

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติอาจเปดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี ้สินและเอกสารประกอบที ่มีการยื ่นไวแก ผู  มีสวนไดเสียได ถาเปนประโยชนในการดําเนินคดีหรือการวนิิจฉัยการกระทาํความผิด ตามท ่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุริต 

สวนท ่ี ๒ 

การกระทาํที ่เปนการขัดกันแหงผลประโยชน 

มาตรา ๒๖๕  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวฒุสิภาตอง 

(๑) ไมดํารงตําแหนงหรอืหนาที ่ใดในหนวยราชการ หนวยงานของรฐั 

หรือรัฐวสิาหกิจ หรือตําแหนงสมาชิกสภาทองถิ ่น ผู  บรหิารทองถิ ่น หรือขาราชการสวนทองถิ ่น 

(๒) ไมรับหรือแทรกแซงหรอืกาวกายการเขารับสัมปทานจากรัฐ 

หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวสิาหกิจ หรือเขาเปนคู สัญญากับรัฐ หนวย

ราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวสิาหกิจ อันมีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอน 

Page 151: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 151/206

๑๔๑ หรือเปนหุ  นสวนหรอืผู  ถอืหุ  นในหางหุ  นสวนหรอืบริษัทท ่ีรับสัมปทานหรือเขาเปนคู สัญญาในลักษณะดังกลาว  ท ้ังนี ้ ไมวาโดยทางตรงหรอืทางออม 

(๓) ไมรับเงนิหรือประโยชนใด ๆ จากหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวสิาหกิจ เปนพิเศษนอกเหนือไปจากที ่หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ 

หรือรัฐวสิาหกิจ ปฏิบัติตอบุคคลอื ่น ๆ ในธุรกจิการงานตามปกติ 

(๔) ไมกระทาํการอันเปนการตองหามตามมาตรา ๔๘ 

บทบัญญัติมาตรานี ้มิใหใชบังคับในกรณที ่ีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรือสมาชิกวฒุสิภารับเบ ้ียหวัด บําเหน็จ บํานาญ เงนิปพระบรมวงศานุวงศ หรือเงินอื ่นใดในลักษณะเดียวกัน และมิใหใชบังคับในกรณที ่ีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภารับหรือดํารงตําแหนงกรรมาธิการของรัฐสภา สภาผู  แทนราษฎร 

หรือวุฒสิภา หรือกรรมการที ่ไดรับแตงตั ้งในการบรหิารราชการแผนดิน 

ใหนําความใน (๒) (๓) และ (๔) มาใชบังคับกับคู สมรสและบตุรของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภา และบคุคลอื ่นซึ ่งมิใชคู สมรสและบุตร

ของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภานั ้น ท ่ีดําเนินการในลักษณะผู  ถูกใช ผู  รวมดําเนินการ หรือผู  ไดรับมอบหมายจากสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภาใหกระทาํการตามมาตรานี ้ดวย 

มาตรา ๒๖๖  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวฒุิสภาตองไมใชสถานะหรอืตําแหนงการเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืสมาชิกวฒุสิภาเขาไป

กาวกายหรือแทรกแซงเพื ่อประโยชนของตนเอง ของผู  อื ่น หรือของพรรคการเมือง 

ไมวาโดยทางตรงหรอืทางออม ในเร ่ืองดังตอไปนี ้ (๑) การปฏิบัติราชการหรอืการดําเนินงานในหนาที ่ประจาํของ 

ขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ 

กจิการที ่รัฐถอืหุ  นใหญ หรือราชการสวนทองถิ ่น 

(๒)การบรรจุ แตงตั ้ง โยกยาย โอน เลื ่อนตําแหนง และเลื ่อนเงนิเดือนของขาราชการซึ ่งมีตําแหนงหรอืเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง 

Page 152: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 152/206

๑๔๒ พนักงาน หรือลกูจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิาหกิจ กจิการที ่รัฐถอืหุ  นใหญ หรือราชการสวนทองถิ ่น หรือ 

(๓) การใหขาราชการซึ ่งมีตําแหนงหรอืเงินเดือนประจาํและมิใช ขาราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรฐั 

รัฐวสิาหกิจ กจิการที ่รัฐถอืหุ  นใหญ หรือราชการสวนทองถิ ่น พนจากตําแหนง 

มาตรา ๒๖๗  ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๕ มาใชบังคับกับนายก 

รัฐมนตรีและรัฐมนตรีดวย  เวนแตเปนการดํารงตําแหนงหรอืดําเนินการตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย และจะดํารงตําแหนงใดในหางหุ  นสวน บริษัท หรือองคการที ่ดําเนินธุรกจิโดยมุ งหาผลกาํไรหรอืรายไดมาแบงปนกัน หรือเปนลูกจางของบคุคลใดกมิ็ไดดวย 

มาตรา ๒๖๘  นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีจะกระทาํการใดที ่บัญญัติ

ไวในมาตรา ๒๖๖ มิได  เวนแตเปนการกระทาํตามอํานาจหนาที ่ในการบรหิารราชการตามนโยบายที ่ไดแถลงตอรัฐสภาหรอืตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๒๖๙  นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตองไมเปนหุ  นสวนหรอื 

ผู  ถือหุ  นในหางหุ  นสวนหรอืบริษัท หรือไมคงไวซึ ่งความเปนหุ  นสวนหรอืผู  ถอืหุ  นในหางหุ  นสวนหรอืบริษัทตอไป  ท ้ังนี ้ ตามจํานวนที ่กฎหมายบัญญัติ  ในกรณที ่ี

นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผู  ใดประสงคจะไดรับประโยชนจากกรณดัีงกลาวตอไป 

ใหนายกรัฐมนตรหีรอืรฐัมนตรผูี  นั ้นแจงใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติทราบภายในสามสิบวันนับแตวันท ่ีไดรับแตงตั ้ง และให นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีผู  นั ้นโอนหุ  นในหางหุ  นสวนหรอืบริษัทดังกลาวให นิติบุคคลซึ ่งจัดการทรัพยสินเพ ่ือประโยชนของผู  อื ่น  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

Page 153: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 153/206

๑๔๓ นายกรัฐมนตรแีละรัฐมนตรจีะกระทาํการใดอันมีลักษณะเปนการเขาไป

บรหิารหรือจัดการใด ๆ เกี ่ยวกับหุ  นหรือกิจการของหางหุ  นสวนหรอืบริษัทตาม

วรรคหนึ ่ง มิได บทบัญญัติมาตรานี ้ใหนํามาใชบังคับกับคู สมรสและบุตรที ่ยัง 

ไมบรรลนิุติภาวะของนายกรฐัมนตรีและรัฐมนตรีดวย และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๕๙ วรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม 

สวนท ่ี ๓ 

การถอดถอนจากตําแหนง 

มาตรา ๒๗๐  ผู  ดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิก 

สภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุสิภา ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ 

ประธานศาลปกครองสูงสุด หรืออัยการสูงสุด ผู  ใดมีพฤติการณร ํ่ารวยผิดปกติ 

สอไปในทางทจุริตตอหนาที ่ สอวากระทาํผิดตอตําแหนงหนาท ่ีราชการ สอวากระทาํผิดตอตําแหนงหนาที ่ในการยติุธรรม สอวาจงใจใชอํานาจหนาท ่ีขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทาง จริยธรรมอยางรายแรง วฒุสิภามีอํานาจถอดถอนผู  นั ้นออกจากตําแหนงได 

บทบัญญัติวรรคหนึ ่งใหใชบังคบักบัผู  ดํารงตําแหนงดังตอไปนี ้ดวย คือ 

(๑) ตุลาการศาลรฐัธรรมนูญ กรรมการการเลอืกตั ้ง ผู  ตรวจการแผนดิน 

และกรรมการตรวจเงนิแผนดิน 

(๒) ผู  พพิากษาหรอืตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผู  ดํารงตําแหนงระดับสูง  ทั ้งนี ้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุริต 

Page 154: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 154/206

๑๔๔ มาตรา ๒๗๑  สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในสี ่

ของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาท ่ีมีอย ูของสภาผู  แทนราษฎร มีสิทธิเขาชื ่อรองขอตอ

ประธานวฒุสิภาเพื ่อใหวฒุสิภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนบุคคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตําแหนงได คํารองขอดังกลาวตองระบพุฤติการณท ่ีกลาวหาวาผู  ดํารงตําแหนงดังกลาวกระทาํความผิดเปนขอ ๆ ใหชัดเจน 

สมาชิกวฒุสิภาจาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในสี ่ของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของวฒุสิภา มีสิทธิเขาชื ่อรองขอตอประธานวฒุสิภาเพ ่ือใหวฒุสิภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนสมาชิกวฒุสิภาออกจากตําแหนงได 

ประชาชนผู  มีสิทธิเลือกตั ้งจาํนวนไมนอยกวาสองหมื ่นคนมีสิทธิเขาชื ่อรองขอใหถอดถอนบคุคลตามมาตรา ๒๗๐ ออกจากตําแหนงไดตามมาตรา ๑๖๔ 

มาตรา ๒๗๒  เมื ่อไดรับคํารองขอตามมาตรา ๒๗๑ แลว ใหประธานวฒุสิภาสงเรื ่องใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติดําเนินการ

ไตสวนใหแลวเสร็จโดยเรว็ 

เมื ่อไตสวนเสร็จแลว ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปราม 

การทจุริตแหงชาติทํารายงานเสนอตอวฒุสิภา โดยในรายงานดังกลาวตองระบใุหชัดเจนวาขอกลาวหาตามคํารองขอขอใดมีมูลหรือไม เพียงใด มีพยานหลักฐานที ่ควรเชื ่อไดอยางไร พรอมท ้ังระบขุอยุติวาจะใหดําเนินการอยางไรดวย 

ในกรณที ่ีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ

เห็นวาขอกลาวหาตามคํารองขอขอใดเปนเรื ่องสําคญั จะแยกทาํรายงานเฉพาะขอนั ้น 

สงไปใหประธานวฒุสิภาตามวรรคหน่ึงเพื ่อใหพิจารณาไปกอนกไ็ด ถาคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติมีมติดวย

คะแนนเสียงไมนอยกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนกรรมการทั ้งหมดเทาที ่มีอยู  วาขอกลาวหาใดมีมูล นับแตวันดังกลาวผู  ดํารงตําแหนงที ่ถูกกลาวหาจะปฏิบัติหนาที ่ตอไปมิได

จนกวาวฒุสิภาจะมีมติ และใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติสงรายงานและเอกสารที ่มีอย ูพรอมท ้ังความเห็นไปยังประธานวฒุสิภาเพ ่ือ

Page 155: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 155/206

๑๔๕ ดําเนินการตามมาตรา ๒๗๓ และอัยการสูงสุด เพ ่ือดําเนินการฟองคดีตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองตอไป แตถาคณะกรรมการปองกัน

และปราบปรามการทจุรติแหงชาติเห็นวาขอกลาวหาใดไมมีมูล ใหขอกลาวหาขอนั ้นเปนอันตกไป 

ในกรณที ่ีอัยการสูงสุดเห็นวารายงาน เอกสาร และความเห็นท ่ี คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติสงใหตามวรรคสี ่ยัง 

ไมสมบูรณพอท ่ีจะดําเนินคดีได ใหอัยการสูงสุดแจงใหคณะกรรมการปองกัน 

และปราบปรามการทจุรติแหงชาติทราบเพื ่อดําเนินการตอไป โดยใหระบขุอท ่ี ไมสมบูรณนั ้นใหครบถวนในคราวเดียวกัน ในกรณนีี ้ ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติและอัยการสูงสุดตั ้งคณะทาํงานขึ ้นคณะหนึ ่ง โดยมี 

ผู  แทนจากแตละฝายจาํนวนเทากนั เพื ่อดําเนินการรวบรวมพยานหลกัฐานใหสมบูรณ แลวสงใหอัยการสูงสุด เพ ่ือฟองคดีตอไป ในกรณที ่ีคณะทาํงานดังกลาวไมอาจหาขอยุติเก ่ียวกับการดําเนินการฟองคดีได ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปราม

การทุจรติแหงชาติมีอํานาจดําเนินการฟองคดีเองหรือแตงตั ้งทนายความใหฟองคดีแทนกไ็ด 

มาตรา ๒๗๓  เมื ่อไดรับรายงานตามมาตรา ๒๗๒ แลว ใหประธานวฒุสิภาจัดใหมีการประชุมวฒุสิภาเพื ่อพิจารณากรณดัีงกลาวโดยเรว็ 

ในกรณที ่ีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติสง

รายงานใหนอกสมัยประชุม ใหประธานวฒุสิภาแจงใหประธานรัฐสภาทราบเพื ่อนําความกราบบังคมทลูเพ ่ือมีพระบรมราชโองการเรยีกประชุมรัฐสภาเปนการประชุมสมัยวสิามัญ และใหประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 

มาตรา ๒๗๔  สมาชิกวฒุสิภามีอิสระในการออกเสียงลงคะแนนซึ ่ง

ตองกระทาํโดยวธีิลงคะแนนลับ มติท ่ีใหถอดถอนผู  ใดออกจากตําแหนง ใหถือเอาคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในหาของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของวฒุสิภา 

Page 156: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 156/206

๑๔๖ ผู  ใดถกูถอดถอนออกจากตําแหนงใหผู  นั ้นพนจากตําแหนงหรอืให

ออกจากราชการนับแตวันท ่ีวฒุสิภามีมติใหถอดถอน และใหตัดสิทธิผู  นั ้นใน 

การดํารงตําแหนงใดในทางการเมืองหรือในการรับราชการเปนเวลาหาป มติของวฒุสิภาตามมาตรานี ้ใหเปนท ่ีสุด และจะมีการรองขอให 

ถอดถอนบคุคลดังกลาวโดยอาศยัเหตุเดียวกันอีกมิได แตไมกระทบกระเทอืน 

การพจิารณาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง 

สวนท ่ี ๔ 

การดําเนนิคดีอาญาผู  ดํารงตําแหนงทางการเมอืง 

มาตรา ๒๗๕  ในกรณทีี ่นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภา ผู  แทนราษฎร สมาชิกวฒุสิภา หรอืขาราชการการเมืองอื ่น ถกูกลาวหาวาร่ ํารวยผิดปกติ 

กระทาํความผิดตอตําแหนงหนาที ่ราชการตามประมวลกฎหมายอาญา หรือกระทาํความผิดตอตําแหนงหนาท ่ีหรือทุจรติตอหนาท ่ีตามกฎหมายอื ่น ใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง มีอํานาจพจิารณาพพิากษา 

บทบัญญัติวรรคหนึ ่งใหใชบังคับกับกรณที ่ีบุคคลดังกลาวหรอื 

บุคคลอื ่นเปนตัวการ ผู  ใช หรือผู  สนับสนุน รวมทั ้งผู  ให ผู  ขอให หรือรับวาจะใหทรัพยสินหรือประโยชนอื ่นใดแกบุคคลตามวรรคหนึ ่ง เพ ่ือจูงใจใหกระทาํการ 

ไมกระทาํการ หรือประวงิการกระทาํอันมิชอบดวยหนาท ่ีดวย 

การยื ่นคํารองตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติเพ ่ือใหดําเนินการตามมาตรา ๒๕๐ (๒) ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุรติ 

ในกรณที ่ีผู  ถกูกลาวหาตามวรรคหนึ ่ง เปนผู  ดํารงตําแหนงนายก 

รัฐมนตรี รัฐมนตรี ประธานสภาผู  แทนราษฎร หรือประธานวฒุสิภา  ผู  เสียหายจากการกระทาํดังกลาวจะย ่ืนคํารองตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติ

Page 157: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 157/206

๑๔๗ แหงชาติเพ ่ือใหดําเนินการตามมาตรา ๒๕๐ (๒) หรือจะยื ่นคํารองตอท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาเพ ่ือขอใหตั ้งผู  ไตสวนอิสระตามมาตรา  ๒๗๖  ก็ได  แตถาผู  เสียหายได

ย ่ืนคํารองตอคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติแลว  ผู  เสียหาย 

จะยื ่นคํารองตอท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาไดตอเมื ่อคณะกรรมการปองกันและ 

ปราบปรามการทจุรติแหงชาติไมรับดําเนินการไตสวน ดําเนินการลาชาเกนิสมควร 

หรือดําเนินการไตสวนแลวเห็นวาไมมีมูลความผิดตามขอกลาวหา ในกรณที ่ีคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ

เห็นวามีเหตุอันควรสงสัยวามีกรณีตามวรรคสี ่ และคณะกรรมการปองกันและ 

ปราบปรามการทจุริตแหงชาติมีมติใหดําเนินการตามมาตรา ๒๕๐ (๒) ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนกรรมการทั ้งหมดเทาที ่มีอย ู ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติดําเนินการตามมาตรา ๒๕๐ (๒) โดยเรว็ 

ในกรณนีี ้ ผู  เสียหายจะยื ่นคํารองตอท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาตามวรรคสี ่ มิได ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๗๒ วรรคหนึ ่ง วรรคสี ่ และวรรคหา มาใช

บังคับโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๗๖  ในกรณที ่ีท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาเห็นควรดําเนินการตามคํารองท ่ียื ่นตามมาตรา ๒๗๕ วรรคสี ่ ใหท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาพจิารณาแตงตั ้งผู  ไตสวนอิสระจากผู  ซึ ่งมีความเปนกลางทางการเมืองและมีความซื ่อสัตยสุจรติเปนท ่ีประจักษ หรอืจะสงเรื ่องใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติ

ดําเนินการไตสวนตามมาตรา ๒๕๐ (๒) แทนการแตงตั ้งผู  ไตสวนอิสระ ก็ได คุณสมบติั อํานาจหนาที ่ วธีิการไตสวน และการดําเนินการอื ่นที ่จาํเปน

ของผู  ไตสวนอิสระ ใหเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

เมื ่อผู  ไตสวนอิสระไดดําเนินการไตสวนหาขอเทจ็จรงิและสรปุสํานวนพรอมทําความเห็นแลว ถาเห็นวาขอกลาวหามีมูล ใหสงรายงานและเอกสารที ่มีอย ู

พรอมท ้ังความเห็นไปยังประธานวฒุสิภาเพื ่อดําเนินการตามมาตรา ๒๗๓ และสงสํานวนและความเห็นไปยังอัยการสูงสุดเพ ่ือย ่ืนฟองคดีตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญา

Page 158: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 158/206

๑๔๘ ของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองตอไป และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๗๒ วรรคหา มาใชบังคับโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๗๗  ในการพจิารณาคดี ใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองยดึสํานวนของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติ หรือของผู  ไตสวนอิสระ แลวแตกรณี เปนหลักในการพจิารณา และอาจไตสวนหาขอเท็จจรงิและพยานหลักฐานเพิ ่มเติมไดตามที ่เห็นสมควร 

วธีิพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองใหเปนไปตามที ่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวธีิพิจารณาคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง และใหนําบทบัญญัติ 

มาตรา ๒๑๓ มาใชบังคับกับการปฏิบัติหนาท ่ีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ 

ผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองดวยโดยอนุโลม 

บทบัญญัติวาดวยความคุ  มกันของสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและ

สมาชิกวฒุสิภาตามมาตรา ๑๓๑ มิใหนํามาใชบังคับกับการพจิารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง 

มาตรา ๒๗๘  การพพิากษาคดีใหถือเสียงขางมาก โดยผู  พิพากษาซึ ่งเปนองคคณะทกุคนตองทาํความเห็นในการวนิิจฉัยคดีเปนหนังสือพรอมท ้ังตองแถลงดวยวาจาตอท ่ีประชุมกอนการลงมติ 

คําสั ่งและคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองใหเปดเผยและเปนท ่ีสุด  เวนแตเปนกรณตีามวรรคสาม 

ในกรณที ่ีผู  ตองคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองมีพยานหลักฐานใหม ซึ ่งอาจทาํใหขอเท็จจรงิเปลี ่ยนแปลงไปในสาระสําคัญ อาจยื ่นอุทธรณตอท ่ีประชุมใหญศาลฎีกาภายในสามสิบวันนับแต 

วันท ่ีมีคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองได 

Page 159: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 159/206

๑๔๙ หลักเกณฑการยื ่นอุทธรณและการพจิารณาวนิิจฉัยของที ่ประชุมใหญ

ศาลฎีกา ใหเปนไปตามระเบยีบที ่ท ่ีประชุมใหญศาลฎีกากําหนด 

หมวด ๑๓ 

จริยธรรมของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมอืงและเจาหนาที ่ของรัฐ 

มาตรา ๒๗๙ มาตรฐานทางจรยิธรรมของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง 

ขาราชการ หรือเจาหนาท ่ีของรัฐแตละประเภท ใหเปนไปตามประมวลจรยิธรรมที ่กาํหนดขึ ้น 

มาตรฐานทางจรยิธรรมตามวรรคหนึ ่ง จะตองมีกลไกและระบบ 

ในการดําเนินงานเพื ่อใหการบังคับใชเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั ้งกาํหนดข ้ันตอนการลงโทษตามความรายแรงแหงการกระทาํ 

การฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทางจรยิธรรมตามวรรคหนึ ่ง 

ใหถอืวาเปนการกระทาํผิดทางวนัิย  ในกรณที ่ีผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม ใหผู  ตรวจการแผนดินรายงานตอรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือสภาทองถิ ่นท ่ีเก ่ียวของ แลวแตกรณี  และหากเปนการกระทาํผิดรายแรงใหสงเรื ่องใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติแหงชาติพจิารณาดําเนินการ โดยใหถอืเปนเหตุท ่ีจะถกูถอดถอนจากตําแหนงตามมาตรา ๒๗๐ 

การพจิารณา สรรหา กลั ่นกรอง หรือแตงตั ้งบคุคลใด เขาสู ตําแหนงที ่มีสวนเกี ่ยวของในการใชอํานาจรัฐ รวมทั ้งการโยกยาย การเลื ่อนตําแหนง การเลื ่อนเงนิเดือน และการลงโทษบคุคลนั ้น จะตองเปนไปตามระบบคุณธรรมและคํานึงถงึพฤติกรรมทางจรยิธรรมของบคุคลดังกลาวดวย 

มาตรา ๒๘๐  เพื ่อประโยชนในการดําเนินการตามหมวดนี ้ ใหผู  ตรวจการแผนดินมีอํานาจหนาท ่ีเสนอแนะหรือใหคําแนะนําในการจัดทําหรอืปรับปรงุ

Page 160: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 160/206

๑๕๐ ประมวลจรยิธรรมตามมาตรา ๒๗๙  วรรคหนึ ่ง และสงเสรมิใหผู  ดํารงตําแหนง 

ทางการเมือง ขาราชการ และเจาหนาท ่ีของรัฐ  มีจิตสํานึกในดานจริยธรรม  

รวมท ้ังมีหนาท ่ีรายงานการกระทาํที ่มีการฝาฝนประมวลจรยิธรรมเพื ่อใหผู  ท ่ี รับผิดชอบในการบังคับการใหเปนไปตามประมวลจรยิธรรมดําเนินการบังคับใหเปนไปตามประมวลจรยิธรรมตามมาตรา ๒๗๙ วรรคสาม 

ในกรณที ่ีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทางจรยิธรรมมีลักษณะรายแรงหรอืมีเหตุอันควรเชื ่อไดวาการดําเนินการของผู  รับผิดชอบจะไมเปนไปดวยความเปนธรรม ผู  ตรวจการแผนดินจะไตสวนและเปดเผยผลการไตสวนตอสาธารณะกไ็ด 

หมวด ๑๔ 

การปกครองสวนทองถิ ่น 

มาตรา ๒๘๑  ภายใตบังคับมาตรา ๑ รัฐจะตองใหความเปนอิสระแกองคกรปกครองสวนทองถิ ่นตามหลักแหงการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ ่น และสงเสรมิใหองคกรปกครองสวนทองถิ ่นเปนหนวยงานหลักในการจัดทําบรกิารสาธารณะ และมีสวนรวมในการตัดสินใจแกไขปญหาในพื ้นท ่ี 

ทองถิ ่นใดมีลักษณะที ่จะปกครองตนเองได ยอมมีสิทธิจัดตั ้งเปนองคกรปกครองสวนทองถิ ่น ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๒๘๒ การกาํกบัดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ ่นตองทาํเทาที ่ จาํเปนและมีหลกัเกณฑ วธีิการ และเงื ่อนไขที ่ชัดเจนสอดคลองและเหมาะสมกบัรปูแบบขององคกรปกครองสวนทองถิ ่น  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ โดยตองเปนไป

เพ ่ือการคุ  มครองประโยชนของประชาชนในทองถิ ่นหรือประโยชนของประเทศเปน

Page 161: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 161/206

๑๕๑ สวนรวม และจะกระทบถงึสาระสําคัญแหงหลักการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถิ ่น หรือนอกเหนือจากที ่กฎหมายบัญญัติไวมิได 

ในการกาํกับดูแลตามวรรคหนึ ่ง ใหมีการกาํหนดมาตรฐานกลางเพื ่อเปนแนวทางใหองคกรปกครองสวนทองถิ ่นเลือกไปปฏิบัติไดเอง โดยคํานึงถงึความเหมาะสมและความแตกตางในระดับของการพัฒนาและประสิทธิภาพในการบรหิารขององคกรปกครองสวนทองถิ ่นในแตละรปูแบบโดยไมกระทบตอ 

ความสามารถในการตัดสินใจดําเนินงานตามความตองการขององคกรปกครอง สวนทองถิ ่น รวมทั ้งจดัใหมีกลไกการตรวจสอบการดําเนินงานโดยประชาชนเปนหลัก 

มาตรา ๒๘๓  องคกรปกครองสวนทองถิ ่นยอมมีอํานาจหนาที ่ โดยทั ่วไปในการดูแลและจัดทําบรกิารสาธารณะเพื ่อประโยชนของประชาชนในทองถิ ่น และยอมมีความเปนอิสระในการกาํหนดนโยบาย การบรหิาร การจัดบรกิารสาธารณะ การบรหิารงานบคุคล การเงนิและการคลัง และมีอํานาจหนาที ่ของตนเอง

โดยเฉพาะ โดยตองคํานึงถงึความสอดคลองกับการพัฒนาของจังหวัดและประเทศเปนสวนรวมดวย 

องคกรปกครองสวนทองถิ ่นยอมไดรับการสงเสรมิและสนับสนุนใหมีความเขมแข็งในการบรหิารงานไดโดยอิสระและตอบสนองตอความตองการของประชาชนในทองถิ ่นไดอยางมีประสิทธิภาพ  สามารถพัฒนาระบบการคลงัทองถิ ่นใหจัดบรกิารสาธารณะไดโดยครบถวนตามอํานาจหนาท ่ี จัดตั ้งหรือรวมกันจัดตั ้ง

องคการเพื ่อการจัดทําบรกิารสาธารณะตามอํานาจหนาที ่ เพ ่ือใหเกิดความคุ  มคาเปนประโยชน และใหบรกิารประชาชนอยางทั ่วถงึ 

ใหมีกฎหมายกาํหนดแผนและขั ้นตอนการกระจายอํานาจ เพ ่ือกาํหนดการแบงอํานาจหนาที ่และจัดสรรรายไดระหวางราชการสวนกลางและ 

ราชการสวนภูมิภาคกับองคกรปกครองสวนทองถิ ่น และระหวางองคกรปกครอง

สวนทองถิ ่นดวยกันเอง โดยคํานึงถงึการกระจายอํานาจเพิ ่มขึ ้นตามระดับความสามารถขององคกรปกครองสวนทองถิ ่นแตละรปูแบบ  รวมทั ้งกาํหนดระบบตรวจสอบและ

Page 162: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 162/206

๑๕๒ ประเมินผล โดยมีคณะกรรมการประกอบดวยผู  แทนหนวยราชการที ่เกี ่ยวของ 

ผู  แทนองคกรปกครองสวนทองถิ ่น และผู  ทรงคุณวฒุิ โดยมีจาํนวนเทากัน เปน 

ผู  ดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย 

ใหมีกฎหมายรายไดทองถิ ่น เพ ่ือกําหนดอํานาจหนาที ่ในการจัดเกบ็ภาษีและรายไดอื ่นขององคกรปกครองสวนทองถิ ่น โดยมีหลักเกณฑท ่ีเหมาะสมตามลกัษณะของภาษแีตละชนิด การจัดสรรทรัพยากรในภาครฐั การมีรายไดท ่ีเพยีงพอกับรายจายตามอํานาจหนาท ่ีขององคกรปกครองสวนทองถิ ่น  ท ้ังนี ้ โดยคํานึงถงึระดับข ้ันการพัฒนาทางเศรษฐกจิของทองถิ ่น สถานะทางการคลงัขององคกร 

ปกครองสวนทองถิ ่น และความยั ่งยนืทางการคลังของรัฐ 

ในกรณที ่ีมีการกาํหนดอํานาจหนาท ่ีและการจัดสรรรายไดใหแก องคกรปกครองสวนทองถิ ่นแลว  คณะกรรมการตามวรรคสามจะตองนําเรื ่อง 

ดังกลาวมาพจิารณาทบทวนใหมทุกระยะเวลาไมเกินหาป เพ ่ือพิจารณาถงึความเหมาะสมของการกาํหนดอํานาจหนาท ่ี และการจัดสรรรายไดท ่ีไดกระทาํไปแลว 

ท ้ังนี ้ ตองคํานึงถงึการกระจายอํานาจเพิ ่มขึ ้นใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ ่นเปนสําคัญ 

การดําเนินการตามวรรคหา เมื ่อไดรับความเห็นชอบจากคณะ 

รัฐมนตรีและรายงานรัฐสภาแลว ใหมีผลบังคับได 

มาตรา ๒๘๔  องคกรปกครองสวนทองถิ ่นตองมีสภาทองถิ ่นและ

คณะผู  บริหารทองถิ ่นหรือผู  บริหารทองถิ ่น 

สมาชิกสภาทองถิ ่นตองมาจากการเลอืกตั ้ง 

คณะผู  บรหิารทองถ ่ินหรือผู  บรหิารทองถิ ่นใหมาจากการเลอืกตั ้ง 

โดยตรงของประชาชน หรือมาจากความเห็นชอบของสภาทองถิ ่น 

การเลอืกตั ้งสมาชิกสภาทองถิ ่นและคณะผู  บริหารทองถิ ่นหรือ 

ผู  บรหิารทองถิ ่นที ่มาจากการเลอืกตั ้งโดยตรงของประชาชน ใหใชวธีิออกเสียง 

ลงคะแนนโดยตรงและลบั 

Page 163: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 163/206

๑๕๓ สมาชิกสภาทองถิ ่น คณะผู  บรหิารทองถิ ่น หรือผู  บริหารทองถิ ่น มี

วาระการดํารงตําแหนงคราวละสี ่ป 

คณะผู  บรหิารทองถิ ่นหรือผู  บรหิารทองถิ ่นจะเปนขาราชการซึ ่งมีตําแหนงหรอืเงินเดือนประจาํ พนักงานหรอืลกูจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวสิาหกิจ หรือของราชการสวนทองถิ ่น และจะมีผลประโยชนขัดกันกับการดํารงตําแหนงตามที ่กฎหมายบัญญัติมิได 

คุณสมบัติของผู  มีสิทธิเลือกตั ้งและผู  มีสิทธิสมัครรับเลอืกตั ้ง 

หลักเกณฑและวิธีการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาทองถิ ่น คณะผู  บรหิารทองถิ ่นและ 

ผู  บรหิารทองถิ ่น ใหเปนไปตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

ในกรณที ่ีคณะผู  บริหารทองถิ ่นตองพนจากตําแหนงทั ้งคณะ หรือ 

ผู  บรหิารทองถิ ่นพนจากตําแหนงและจาํเปนตองมีการแตงตั ้งคณะผู  บรหิารทองถิ ่นหรือผู  บรหิารทองถิ ่นเปนการชั ่วคราว มิใหนําบทบัญญัติวรรคสาม และวรรคหก 

มาใชบังคับ ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

การจัดตั ้งองคกรปกครองสวนทองถิ ่นรูปแบบพเิศษที ่มีโครงสรางการบรหิารที ่แตกตางจากที ่บัญญัติไวในมาตรานี ้ ใหกระทาํไดตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

แตคณะผู  บริหารทองถิ ่นหรือผู  บริหารทองถิ ่นตองมาจากการเลอืกตั ้ง 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๖๕ มาตรา ๒๖๖ มาตรา ๒๖๗ และมาตรา ๒๖๘ มาใชบังคบักบัสมาชิกสภาทองถิ ่น คณะผู  บรหิารทองถิ ่นหรอืผู  บรหิารทองถิ ่น 

แลวแตกรณี ดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๘๕  ประชาชนผู  มีสิทธิเลือกตั ้งในองคกรปกครองสวน 

ทองถิ ่นใดเห็นวาสมาชิกสภาทองถิ ่น คณะผู  บริหารทองถิ ่นหรือผู  บริหารทองถิ ่น 

ผู  ใดขององคกรปกครองสวนทองถิ ่นนั ้นไมสมควรดํารงตําแหนงตอไป ใหมีสิทธิลงคะแนนเสียงถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ ่น คณะผู  บรหิารทองถิ ่นหรือผู  บรหิาร 

ทองถิ ่นผู  นั ้นพนจากตําแหนง  ท ้ังนี ้ จํานวนผู  มีสิทธิเขาชื ่อ หลักเกณฑและวธีิการ 

Page 164: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 164/206

๑๕๔ เขาชื ่อ การตรวจสอบรายชื ่อ และการลงคะแนนเสียง ใหเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๒๘๖ ประชาชนผู  มีสิทธิเลอืกตั ้งในองคกรปกครองสวนทองถิ ่นมีสิทธิเขาชื ่อรองขอตอประธานสภาทองถิ ่นเพ ่ือใหสภาทองถิ ่นพิจารณาออก 

ขอบัญญัติทองถิ ่นได จํานวนผู  มีสิทธิเขาชื ่อ หลักเกณฑและวิธีการเขาชื ่อ รวมทั ้งการ 

ตรวจสอบรายชื ่อ ใหเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๒๘๗  ประชาชนในทองถิ ่นมีสิทธิมีสวนรวมในการบรหิารกจิการขององคกรปกครองสวนทองถิ ่น โดยองคกรปกครองสวนทองถิ ่นตองจัดใหมีวธีิการที ่ใหประชาชนมีสวนรวมดังกลาวไดดวย 

ในกรณที ่ีการกระทาํขององคกรปกครองสวนทองถิ ่นจะมีผลกระทบ

ตอชีวติความเปนอย ูของประชาชนในทองถิ ่นในสาระสําคัญ  องคกรปกครอง สวนทองถิ ่นตองแจงขอมูลรายละเอียดใหประชาชนทราบกอนกระทาํการเปนเวลาพอสมควร และในกรณที ่ีเห็นสมควรหรือไดรับการรองขอจากประชาชนผู  มีสิทธิเลือกตั ้งในองคกรปกครองสวนทองถิ ่น ตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นกอนการกระทาํนั ้น หรืออาจจัดใหประชาชนออกเสียงประชามติเพ ่ือตัดสินใจกไ็ด  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

องคกรปกครองสวนทองถิ ่นตองรายงานการดําเนินงานตอประชาชนในเรื ่องการจัดทํางบประมาณ การใชจาย และผลการดําเนินงานในรอบป เพ ่ือใหประชาชนมีสวนรวมในการตรวจสอบและกาํกับการบรหิารจัดการขององคกร 

ปกครองสวนทองถิ ่น 

ในการจัดทาํงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถิ ่นตามวรรคสาม 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๖๘ วรรคหกมาใชบังคับโดยอนุโลม 

Page 165: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 165/206

๑๕๕ มาตรา ๒๘๘  การแตงตั ้งและการใหขาราชการและลกูจางของ 

องคกรปกครองสวนทองถิ ่นพนจากตําแหนง ตองเปนไปตามความเหมาะสมและ

ความจาํเปนของแตละทองถิ ่น โดยการบรหิารงานบคุคลขององคกรปกครอง สวนทองถิ ่นตองมีมาตรฐานสอดคลองกัน  และอาจไดรับการพัฒนารวมกันหรือ 

สับเปลี ่ยนบุคลากรระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ ่นดวยกันได รวมทั ้งตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการขาราชการสวนทองถิ ่นซึ ่งเปนองคกรกลางบริหารงานบคุคลสวนทองถิ ่นกอน  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

ในการบรหิารงานบคุคลขององคกรปกครองสวนทองถิ ่น ตองมี 

องคกรพทิักษระบบคุณธรรมของขาราชการสวนทองถิ ่น เพ ่ือสรางระบบคุ  มครองคุณธรรมและจรยิธรรมในการบรหิารงานบคุคล  ท ้ังนี ้ ตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

คณะกรรมการขาราชการสวนทองถิ ่นตามวรรคหนึ ่งจะตองประกอบดวย 

ผู  แทนของหนวยราชการที ่เกี ่ยวของ ผู  แทนขององคกรปกครองสวนทองถิ ่น ผู  แทนขาราชการสวนทองถิ ่นและผู  ทรงคุณวฒุ ิโดยมีจํานวนเทากัน  ท ้ังนี ้ ตามท ่ีกฎหมาย

บัญญัติ 

การโยกยาย การเลื ่อนตําแหนง การเลื ่อนเงินเดือน และการลงโทษ 

ขาราชการและลกูจางขององคกรปกครองสวนทองถิ ่น ใหเปนไปตามที ่กฎหมายบัญญัติ 

มาตรา ๒๘๙  องคกรปกครองสวนทองถิ ่นยอมมีอํานาจหนาท ่ีบํารงุ

รักษาศลิปะ จารตีประเพณ ีภมิูปญญาทองถิ ่น และวัฒนธรรมอันดีของทองถ ่ิน 

องคกรปกครองสวนทองถิ ่นยอมมีสิทธิท ่ีจะจัดการศกึษาอบรม และการฝกอาชีพตามความเหมาะสมและความตองการภายในทองถิ ่นนั ้น และเขาไป 

มีสวนรวมในการจดัการศกึษาอบรมของรฐั โดยคํานึงถงึความสอดคลองกับ มาตรฐานและระบบการศกึษาของชาติ 

Page 166: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 166/206

๑๕๖ การจัดการศกึษาอบรมภายในทองถิ ่นตามวรรคสอง องคกรปกครอง

สวนทองถิ ่นตองคํานึงถงึการบาํรงุรักษาศลิปะ จารตีประเพณ ีภมิูปญญาทองถิ ่น 

และวัฒนธรรมอันดีของทองถิ ่นดวย 

มาตรา ๒๙๐  องคกรปกครองสวนทองถิ ่นยอมมีอํานาจหนาที ่ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ ่งแวดลอมตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ 

กฎหมายตามวรรคหนึ ่งอยางนอยตองมีสาระสําคัญดังตอไปนี ้ (๑) การจัดการ การบาํรุงรักษา และการใชประโยชนจาก

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ ่งแวดลอมท ่ีอย ูในเขตพ ้ืนท ่ี (๒) การเขาไปมีสวนรวมในการบาํรงุรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ ่งแวดลอมท ่ีอย ูนอกเขตพื ้นท ่ี เฉพาะในกรณที ่ีอาจมีผลกระทบตอการดํารงชีวติของประชาชนในพื ้นท ่ีของตน 

(๓) การมีสวนรวมในการพจิารณาเพื ่อริเร ่ิมโครงการหรอืกิจกรรมใด

นอกเขตพ ้ืนท ่ีซึ ่งอาจมีผลกระทบตอคุณภาพสิ ่งแวดลอมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื ้นท ่ี (๔) การมีสวนรวมของชุมชนทองถิ ่น 

หมวด ๑๕ 

การแก ไขเพ ่ิมเติมรัฐธรรมนญู 

มาตรา ๒๙๑  การแกไขเพ ่ิมเติมรัฐธรรมนูญใหกระทาํไดตามหลักเกณฑและวิธีการ ดังตอไปนี ้ 

(๑) ญัตติขอแกไขเพิ ่มเติมตองมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภา

ผู  แทนราษฎรมีจํานวนไมนอยกวาหนึ ่งในหาของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของสภาผู  แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวฒุสิภามี

Page 167: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 167/206

๑๕๗ จาํนวนไมนอยกวาหนึ ่งในหาของจาํนวนสมาชิกท ้ังหมดเทาท ่ีมีอย ูของท ้ังสองสภา หรอืจากประชาชนผู  มีสิทธิเลอืกตั ้งจาํนวนไมนอยกวาหาหมื ่นคนตามกฎหมายวาดวย

การเขาชื ่อเสนอกฎหมาย 

ญัตติขอแกไขเพิ ่มเติมรัฐธรรมนูญที ่มีผลเปนการเปลี ่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิทรงเปนประมุข หรือเปลี ่ยนแปลงรปูของรัฐ จะเสนอมิได 

(๒)ญัตติขอแกไขเพิ ่มเติมตองเสนอเปนรางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ ่มเติมและใหรัฐสภาพจิารณาเปนสามวาระ 

(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที ่หนึ ่งขั ้นรับหลักการ ใหใชวธีิเรียกชื ่อและลงคะแนนโดยเปดเผย และตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยในการแกไขเพ ่ิมเติมนั ้น ไมนอยกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอย ูของทั ้งสองสภา 

(๔) การพจิารณาในวาระที ่สองข ้ันพิจารณาเรยีงลาํดับมาตรา ตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนผู  มีสิทธิเลอืกตั ้งที ่เขาชื ่อเสนอรางรัฐธรรมนูญ

แกไขเพ ่ิมเติมดวย 

การออกเสียงลงคะแนนในวาระที ่สองขั ้นพจิารณาเรยีงลาํดับมาตรา ใหถอืเอาเสียงขางมากเปนประมาณ 

(๕) เมื ่อการพจิารณาวาระที ่สองเสร็จสิ ้นแลว ใหรอไวสิบหาวัน 

เมื ่อพนกําหนดนี ้แลวใหรัฐสภาพจิารณาในวาระที ่สามตอไป 

(๖)การออกเสียงลงคะแนนในวาระที ่สามขั ้นสุดทาย ใหใชวธีิเรยีกชื ่อ

และลงคะแนนโดยเปดเผย และตองมีคะแนนเสียงเห็นชอบดวยในการที ่จะใหออกใชเปนรัฐธรรมนูญมากกวากึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกทั ้งหมดเทาที ่มีอยู ของทั ้งสองสภา 

(๗) เมื ่อการลงมติไดเปนไปตามท ่ีกลาวแลว ใหนํารางรัฐธรรมนูญ 

แกไขเพ ่ิมเติมขึ ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม 

Page 168: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 168/206

๑๕๘ บทเฉพาะกาล 

มาตรา ๒๙๒  ใหคณะองคมนตรซึี ่งดํารงตําแหนงอยู ในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ เปนคณะองคมนตรตีามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ 

มาตรา ๒๙๓  ใหสภานิติบัญญัติแหงชาติตามรัฐธรรมนูญแหง 

ราชอาณาจกัรไทย (ฉบบัชั ่วคราว)พุทธศักราช ๒๕๔๙ ทําหนาที ่รัฐสภา สภาผู  แทนราษฎร และวฒุสิภาตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้จนกวาจะมีการประชุมรัฐสภาเปนคร ้ังแรกตามมาตรา ๑๒๗ 

ในระหวางเวลาตามวรรคหนึ ่ง ถาบทบัญญัติใดในรัฐธรรมนูญนี ้หรือกฎหมายอื ่นบัญญติัใหประธานรัฐสภา ประธานสภาผู  แทนราษฎรหรอืประธานวฒุสิภา เปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ  ใหประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติเปน

ผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 

ในวาระเริ ่มแรก หากปรากฏวาเมื ่อตองมีการประชุมรัฐสภาเปน 

ครั ้งแรกตามมาตรา ๑๒๗ แลว แตยังไมมีวฒุสิภา ใหสภานิติบัญญติัแหงชาติทําหนาที ่วฒุสิภาตอไป  เวนแตการพจิารณาใหบุคคลดํารงตําแหนงและการถอดถอนจากตําแหนงตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ จนกวาจะมีวฒุสิภาตามรัฐธรรมนูญนี ้ และกจิการใดที ่สภานิติบัญญัติแหงชาติไดดําเนินการในระหวางเวลาดังกลาว ใหมีผลเปนการดําเนินการของวฒุสิภา และในกรณที ่ีบทบัญญัติใดในรัฐธรรมนูญนี ้หรือกฎหมายอื ่นบัญญัติใหประธานวฒุสิภาเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 

ใหประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติเปนผู  ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 

มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๓  มาตรา ๙๔  มาตรา ๑๐๑  มาตรา ๑๐๒ 

มาตรา ๑๐๖  มาตรา ๑๐๙  มาตรา ๑๑๑  มาตรา ๑๑๓  มาตรา ๑๑๔  มาตรา ๑๑๕ 

มาตรา ๑๑๙  มาตรา ๑๒๐  มาตรา ๑๙๗ วรรคสี ่  มาตรา ๒๖๑ และบทบัญญัติ 

Page 169: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 169/206

๑๕๙ แหงกฎหมายใดที ่หามมิใหบุคคลดํารงตําแหนงทางการเมือง มาใชบังคับกับ 

การดํารงตําแหนงของสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ 

ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๕๓ มาใชบังคับกับการสิ ้นสุดของ 

สภานิติบัญญัติแหงชาติดวยโดยอนุโลม 

มาตรา ๒๙๔  ใหสภารางรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกราง 

รัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั ่วคราว) พุทธศักราช 

๒๕๔๙ สิ ้นสุดลงในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ เพ ่ือประโยชนแหงการขจัดสวนไดเสีย หามมิใหกรรมาธิการยกราง

รัฐธรรมนูญลงสมัครรับเลอืกตั ้งเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรหรอืดํารงตําแหนงสมาชิกวฒุสิภาภายในสองปนับแตวันท ่ีพนจากตําแหนงตามวรรคหนึ ่ง 

มาตรา ๒๙๕  ใหสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณารางพระราชบญัญัติ

ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภา รางพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง และรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลอืกตั ้ง ท ่ีไดรับจากคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ ใหแลวเสรจ็ภายในระยะเวลาที ่กําหนดตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั ่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ 

ในกรณที ่ีพนกาํหนดเวลาตามวรรคหนึ ่งแลว แตสภานิติบัญญติัแหงชาติ

ยังพจิารณารางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวไมแลวเสรจ็ ใหประธานสภานิติบัญญัติแหงชาตินํารางพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญท ่ี คณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญจัดทําขึ ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายภายใน 

เจ็ดวันเพ ่ือทรงลงพระปรมาภไิธย โดยถอืเสมือนวาสภานิติบัญญัติแหงชาติไดใหความเห็นชอบรางพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวแลว 

ในระหวางท ่ีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรค 

การเมือง และพระราชบญัญติัประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลอืกตั ้ง 

Page 170: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 170/206

๑๖๐ ตามวรรคหนึ ่ง ยังไมมีผลใชบังคับ ใหพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง พ.ศ. ๒๕๔๑  และพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย 

คณะกรรมการการเลอืกตั ้ง พ.ศ. ๒๕๔๑ ยังคงใชบังคับตอไปจนกวาพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวจะมีผลใชบังคับ 

มาตรา ๒๙๖  ใหดําเนินการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรตาม 

รัฐธรรมนูญนี ้ใหแลวเสรจ็ภายในเกาสิบวนั และดําเนินการใหไดมาซึ ่งสมาชิกวฒุสิภาตามรัฐธรรมนูญนี ้ใหแลวเสรจ็ภายในหนึ ่งรอยหาสิบวัน  ท ้ังนี ้ นับแตวันท ่ี พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๙๕ มีผลใชบังคับ 

ในการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรทั ่วไปครั ้งแรกภายหลงัวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ ผู  มีสิทธิสมัครรับเลือกตั ้งตองเปนสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ ่งแตเพียงพรรคเดียวไมนอยกวาสามสิบวันนับถงึวันเลือกตั ้ง 

สวนระยะเวลาตามมาตรา ๑๐๑ (๔) (ก) ใหใชกาํหนดเปนเวลาหนึ ่งป และระยะเวลา

ตามมาตรา ๑๐๑ (๔) (ค) และ (ง) ใหใชกําหนดเปนสองป ในวาระเริ ่มแรก หามมิใหผู  เคยเปนสมาชิกวฒุิสภาซึ ่งไดรับเลอืกตั ้งเปนครั ้งแรกตามรฐัธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พทุธศักราช ๒๕๔๐ ดํารงตําแหนงเปนสมาชิกวฒุสิภาซึ ่งจะมีการไดมาเปนคร ้ังแรกตามรัฐธรรมนูญนี ้  และมิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๑๕ (๙) และมาตรา ๑๑๖ วรรคสอง มาใชบังคับกับผู  เคยเปนสมาชิกวฒุสิภาซึ ่งไดรับเลือกตั ้งครั ้งหลังสุดตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย 

พุทธศักราช ๒๕๔๐ 

มาตรา ๒๙๗  ในวาระเริ ่มแรก ใหสมาชิกวฒุสิภาที ่มาจากการสรรหามีวาระสามปนับแตวันเร ่ิมตนสมาชิกภาพ  และมิใหนําบทบัญญัติเกี ่ยวกับการหามดํารงตําแหนงติดตอกันเกินหนึ ่งวาระมาใชบังคับกับบุคคลดังกลาวในการสรรหา

คราวถัดไปหลังจากสิ ้นสุดสมาชิกภาพ 

Page 171: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 171/206

๑๖๑ มาตรา ๒๙๘  ใหคณะรัฐมนตรีท ่ีบรหิารราชการแผนดินอย ูในวัน

ประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ คงเปนคณะรัฐมนตรีตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ 

และใหพนจากตําแหนงทั ้งคณะเมื ่อคณะรัฐมนตรีที ่ตั ้งขึ ้นใหมตามรัฐธรรมนูญนี ้ เขารับหนาที ่ 

ใหคณะมนตรคีวามมั ่นคงแหงชาติตามรัฐธรรมนูญแหงราช 

อาณาจักรไทย (ฉบับชั ่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ พนจากตําแหนงทั ้งคณะพรอมกับคณะรัฐมนตรีท ่ีบรหิารราชการแผนดินอย ูในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ดวย 

มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๗๑ วรรคสอง  มาตรา ๑๗๒  มาตรา ๑๗๔ และมาตรา ๑๘๒ (๔) (๗) และ (๘) มาใชบังคับกับการดํารงตําแหนง 

นายกรัฐมนตรแีละรัฐมนตรที ่ีบรหิารราชการแผนดินอยู ในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ 

มาตรา ๒๙๙  ใหผู  ตรวจการแผนดินของรัฐสภา ซึ ่งดํารงตําแหนง 

อย ูในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ เปนผู  ตรวจการแผนดินตามบทบัญญัติแหง 

รัฐธรรมนูญนี ้ และใหคงดํารงตําแหนงตอไปจนกวาจะสิ ้นสุดวาระ โดยใหเริ ่มนับวาระตั ้งแตวันที ่พระมหากษตัรยิทรงแตงตั ้ง และใหผู  ตรวจการแผนดินดังกลาว เลอืกกันเอง ใหคนหนึ ่งเปนประธานผู  ตรวจการแผนดินใหแลวเสรจ็ภายในหกสิบวนันับแตวันท ่ีประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ และใหนําบทบัญญติัมาตรา ๒๔๒ วรรคสอง และวรรคสาม  มาใชบังคับโดยอนุโลม 

ใหกรรมการการเลอืกตั ้ง กรรมการปองกันและปราบปรามการทจุรติ

แหงชาติ และสมาชิกสภาที ่ปรกึษาเศรษฐกจิและสังคมแหงชาติ  ซึ ่งดํารงตําแหนงอยู ในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ คงดํารงตําแหนงตอไปจนกวาจะสิ ้นสุดวาระ 

โดยใหเร ่ิมนับวาระตั ้งแตวันท ่ีไดรับแตงตั ้ง 

ใหกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติซึ ่งดํารงตําแหนงอยู ในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ คงดํารงตําแหนงตอไปจนกวาจะมี  การแตงตั ้งคณะ

กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้  แตถาบุคคล 

ดังกลาวไดรับแตงตั ้งใหดํารงตําแหนงยังไมเกนิหนึ ่งปนับถงึวันประกาศใช 

Page 172: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 172/206

๑๖๒ รัฐธรรมนูญนี ้ มิใหนําบทบัญญัติเก ่ียวกับการหามดํารงตําแหนงติดตอกันเกิน 

หนึ ่งวาระมาใชบังคับกับบคุคลนั ้นในการแตงตั ้งกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

ขึ ้นใหมเปนคร ้ังแรกตามรัฐธรรมนูญนี ้ ใหบุคคลตามมาตรานี ้ปฏิบัติหนาที ่ตามพระราชบัญญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายท ่ีเก ่ียวของท ่ีใชบังคับอย ูในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ไปกอน จนกวาจะมีการตราพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายเพ ่ือใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญนี ้ขึ ้นใชบังคับ  เวนแตบทบัญญัติใดขัดหรือแยงกับ 

บทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ใหใชบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้แทน 

มาตรา ๓๐๐  ใหคณะตุลาการรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญ 

แหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั ่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ เปนศาลรัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ โดยใหผู  ดํารงตําแหนงประธานศาลฎีกา เปนประธานศาลรัฐธรรมนูญ ผู  ดํารงตําแหนงประธานศาลปกครองสูงสุดเปน 

รองประธานศาลรัฐธรรมนูญ แตใหผู  พิพากษาในศาลฎีกาหรอืตุลาการใน 

ศาลปกครองสูงสุดที ่ไดรับเลอืกตามมาตรา ๓๕ ของรฐัธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย 

(ฉบับชั ่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ คงดํารงตําแหนงเปนตุลาการศาลรฐัธรรมนูญตอไปจนกวาจะมีการแตงตั ้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญขึ ้นใหมตามบทบัญญัติ 

แหงรัฐธรรมนูญนี ้ ซึ ่งตองไมเกินหนึ ่งรอยหาสิบวันนับแตวันท ่ีไดมีการแตงตั ้งประธานสภาผู  แทนราษฎรและผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎรภายหลงัจาก 

การเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเปนการทั ่วไปครั ้งแรกตามบทบัญญัติ 

แหงรัฐธรรมนูญนี ้ มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๕ (๓) มาตรา ๒๐๗ (๑) (๒) และ

มาตรา ๒๐๙ (๕) มาใชบังคับกับการดํารงตําแหนงตุลาการศาลรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ ่ง 

ใหบทบัญญัติมาตรา ๓๕ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี ่ ของ 

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย (ฉบับช ่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ยังคงมีผล

Page 173: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 173/206

๑๖๓ ใชบังคับตอไปจนกวาจะมีการตราพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพจิารณาของศาลรฐัธรรมนูญขึ ้นใชบังคับ 

บรรดาคดีหรือการใดที ่อย ูในระหวางดําเนินการของคณะตุลาการ 

รัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ ่ง ใหศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรานี ้ดําเนินการตอไป และเมื ่อมีการแตงตั ้งตุลาการศาลรฐัธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญนี ้แลว บรรดาคดีหรือการท ่ีคางดําเนินการนั ้นใหโอนไปอยู ในอํานาจหนาท ่ีของศาลรัฐธรรมนูญที ่แตงตั ้ง 

ขึ ้นใหมนั ้น 

ในระหวางท ่ียังมิไดมีการตราพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 

วาดวยวิธีพิจารณาของศาลรฐัธรรมนูญ ใหศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจออกขอกําหนดเกี ่ยวกับวธีิพจิารณาและการทาํคําวนิิจฉัยได  แตท ้ังนี ้ ตองตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาวใหแลวเสรจ็ภายในหนึ ่งปนับแตวันประกาศใช รัฐธรรมนูญนี ้ 

มาตรา ๓๐๑  ใหดําเนินการสรรหาคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดินและผู  วาการตรวจเงนิแผนดินภายในหนึ ่งรอยย ่ีสิบวันนับแตวันท ่ีมีการแตงตั ้งประธานสภาผู  แทนราษฎรและผู  นําฝายคานในสภาผู  แทนราษฎร ภายหลังจากการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรเปนการทั ่วไปครั ้งแรกตามบทบญัญติัแหงรฐัธรรมนูญนี ้ และหากยังไมมีประธานศาลรัฐธรรมนูญท ่ีมาจากการสรรหาตามรัฐธรรมนูญนี ้ ใหคณะกรรมการสรรหาประกอบดวยกรรมการเทาท ่ีมีอย ู 

ในระหวางท ่ียังไมมีคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดิน ใหผู  วาการ 

ตรวจเงนิแผนดินเปนผู  ใชอํานาจหนาท ่ีแทนประธานกรรมการตรวจเงนิแผนดินและคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดิน 

มาตรา ๓๐๒  ใหพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังตอไปนี ้มี

ผลใชบังคับตอไปภายใตเงื ่อนไขท ่ีกําหนดไวในมาตรานี ้ 

Page 174: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 174/206

๑๖๔ (๑) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผู  ตรวจการแผนดิน

ของรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยใหประธานผู  ตรวจการแผนดินเปนผู  รักษาการตาม

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี ้ (๒) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและ

ปราบปรามการทจุรติ พ.ศ.๒๕๔๒ โดยใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุริตแหงชาติเปนผู  รักษาการตามพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี ้ 

(๓)พระราชบัญญติัประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการตรวจเงนิแผนดิน 

พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยใหประธานกรรมการตรวจเงนิแผนดินเปนผู  รักษาการตาม 

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี ้ (๔) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวธีิพจิารณาคดีอาญา

ของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง พ.ศ.๒๕๔๒ โดยใหประธานศาลฎีกาเปนผู  รักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี ้ 

ใหถือวาการแกไขเพิ ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญโดย

พระราชบัญญัติท ่ีไดประกาศใชบังคับในระหวางวันท ่ีรัฐธรรมนูญแหงราช 

อาณาจักรไทย (ฉบบัชั ่วคราว)พทุธศักราช ๒๕๔๙ มีผลใชบังคบั เปนการแกไขเพิ ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญนี ้ 

ใหผู  รักษาการตามพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ ่ง ดําเนินการปรับปรงุพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเพ ่ือใหเปนไปตามที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญนี ้ภายในหนึ ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้  ในกรณีที ่

ยังไมมีผู  ดํารงตําแหนงที ่เปนผู  รักษาการตามพระราชบญัญัติประกอบรัฐธรรมนูญ 

ดังกลาว ระยะเวลาหนึ ่งปใหเร ่ิมนับตั ้งแตวันท ่ีมีการแตงตั ้งผู  ดํารงตําแหนงนั ้น 

ใหสภาผู  แทนราษฎรพจิารณารางพระราชบญัญติัประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรานี ้ใหแลวเสรจ็ภายในหนึ ่งรอยย ่ีสิบวันนับแตวันท ่ีไดรับราง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกลาว และใหวฒุสิภาพจิารณาใหแลวเสรจ็

ภายในเกาสิบวันนับแตวันท ่ีไดรับรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั ้น 

Page 175: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 175/206

๑๖๕ การลงมติใหแกไขเพ ่ิมเติมหรือไมใหความเห็นชอบราง 

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ ่ง ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวา

กึ ่งหนึ ่งของจาํนวนสมาชิกของแตละสภา ใหคณะกรรมการการเลอืกตั ้งจัดทํารางพระราชบญัญัติประกอบ 

รัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติเพ ่ือใหเปนไปตามบทบัญญัติแหง 

รัฐธรรมนูญนี ้ โดยใหนําความในวรรคสาม วรรคสี ่ และวรรคหา มาใชบังคับโดยอนุโลม 

มาตรา ๓๐๓  ในวาระเริ ่มแรก ใหคณะรัฐมนตรีท ่ีเขาบรหิารราชการแผนดินภายหลังจากการเลอืกตั ้งทั ่วไปเปนคร ้ังแรกตามรัฐธรรมนูญนี ้ ดําเนินการ 

จัดทําหรอืปรับปรงุกฎหมายในเรื ่องดังตอไปนี ้ ใหแลวเสรจ็ภายในเวลาที ่กาํหนด 

(๑) กฎหมายท ่ีเกี ่ยวกับการกาํหนดรายละเอียดเพื ่อสงเสริมและ 

คุ  มครองการใชสิทธิและเสรีภาพตามมาตรา ๔๐  มาตรา ๔๔  บทบัญญัติในสวนที ่ 

๗ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื ่อมวลชน  สวนที ่ ๘ สิทธิและเสรีภาพในการศกึษา  สวนที ่ ๙ สิทธิในการไดรับบรกิารสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ  สวนที ่ ๑๐ สิทธิในขอมูลขาวสารและการรองเรียน รวมทั ้งกฎหมายวาดวยขอมูลสวนบคุคลตามมาตรา ๕๖  สวนที ่ ๑๒ สิทธิชุมชน  กฎหมายวาดวยการจัดตั ้งองคการเพื ่อการคุ  มครองผู  บรโิภคที ่เปนอิสระตามมาตรา ๖๑ วรรคสอง กฎหมาย 

วาดวยสภาพัฒนาการเมืองตามมาตรา ๗๘ (๗) กฎหมายเพ ่ือจัดตั ้งองคกรเพื ่อการ

ปฏิรูปกระบวนการยติุธรรมตามมาตรา ๘๑ (๔) กฎหมายวาดวยการจัดตั ้งสภาเกษตรกรตามมาตรา ๘๔ (๘) กฎหมายวาดวยการจัดตั ้ง  กองทนุพัฒนาการเมืองภาคพลเมืองตามมาตรา ๘๗ (๔) และกฎหมายวาดวย  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตามมาตรา ๒๕๖ ภายในหนึ ่งปนับแตวันท ่ีแถลงนโยบายตอรัฐสภา ตามมาตรา ๑๗๖ 

(๒) กฎหมายเพื ่อการพัฒนาการศกึษาของชาติตามมาตรา ๘๐ โดย 

สงเสรมิการศกึษาในระบบ การศกึษานอกโรงเรยีน การศกึษาตามอัธยาศัย การเรยีนรู  

Page 176: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 176/206

๑๖๖ ดวยตนเอง การเรยีนรู  ตลอดชีวติ วทิยาลัยชุมชนหรือรูปแบบอื ่น รวมทั ้งปรับปรงุกฎหมายเพื ่อกาํหนดหนวยงานรบัผิดชอบการจัดการศกึษาที ่เหมาะสมและสอดคลอง

กับระบบการศกึษาทกุระดับของการศกึษาขั ้นพ ้ืนฐาน ภายในหนึ ่งปนับแตวันท ่ีแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามมาตรา ๑๗๖ 

(๓) กฎหมายตามมาตรา ๑๙๐ วรรคหา โดยอยางนอยตองมี 

รายละเอียดเก ่ียวกับข ้ันตอนและวธีิการดําเนินการจัดทําหนังสือสัญญาที ่มีการ 

ตรวจสอบถวงดุลระหวางคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา มีความโปรงใส มีประสิทธิภาพ 

และใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจรงิ  รวมทั ้งรายละเอียดเกี ่ยวกับการศกึษาวจิัยท ่ีมีความเปนอิสระซึ ่งดําเนินการกอนการเจรจาทาํหนังสือสัญญา โดยไมมีการขัดกนัระหวางประโยชนของรัฐกับผลประโยชนของผู  ศึกษาวิจัยไมวาในชวงเวลาใดของการบังคับใชหนังสือสัญญาภายในหนึ ่งปนับแตวันท ่ีแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามมาตรา ๑๗๖ 

(๔) กฎหมายตามมาตรา ๘๖ (๑) และมาตรา ๑๖๗ วรรคสาม ภายใน

สองปนับแตวันท ่ีแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามมาตรา ๑๗๖ 

(๕) กฎหมายวาดวยการกาํหนดแผนและขั ้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ ่น กฎหมายรายไดทองถิ ่น กฎหมายจัดตั ้งองคกร 

ปกครองสวนทองถิ ่น กฎหมายเกี ่ยวกับขาราชการสวนทองถิ ่น และกฎหมายอื ่นตามหมวด ๑๔ การปกครองสวนทองถิ ่น เพ ่ือใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้ ภายในสองปนับแตวันท ่ีแถลงนโยบายตอรัฐสภาตามมาตรา ๑๗๖  ในการนี ้ 

จะจัดทําเปนประมวลกฎหมายทองถิ ่นก็ได ในกรณที ่ีปรากฏวากฎหมายใดที ่ตราขึ ้นกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญ

นี ้ มีเนื ้อหาสาระเปนไปตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี ้แลว ใหถือเปนการยกเวนที ่จะไมตองดําเนินการตามมาตรานี ้อีก 

มาตรา ๓๐๔  ใหดําเนินการจัดทาํประมวลจรยิธรรมตามมาตรา ๒๗๙ 

ใหแลวเสร็จภายในหนึ ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ 

Page 177: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 177/206

๑๖๗ มาตรา ๓๐๕  ในวาระเริ ่มแรก มิใหนําบทบัญญัติดังตอไปนี ้มาใช

บังคับกับกรณตีาง ๆ ภายใตเงื ่อนไขดังตอไปนี ้ 

(๑) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๔๗ วรรคสอง มาใชบังคับจนกวาจะมีการตรากฎหมายตามมาตรา ๔๗ จัดตั ้งองคกรเพื ่อทําหนาท ่ีจัดสรรคล ่ืนความถี ่และกาํกบัดูแลการประกอบกจิการวทิยกุระจายเสียง วทิยโุทรทศัน และกจิการโทรคมนาคม 

ซึ ่งตองไมเกนิหนึ ่งรอยแปดสิบวนันับแตวันที ่แถลงนโยบายตอรัฐสภา โดยอยางนอยกฎหมายดังกลาวตองมีสาระสําคัญใหมีคณะกรรมการเฉพาะดาน เปนหนวยยอยภายในองคกรนั ้น แยกตางหากจากกัน ทําหนาท ่ีกาํกับการประกอบกจิการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน และกาํกับการประกอบกจิการโทรคมนาคม และมีรายละเอียดวาดวยการกาํกับและคุ  มครองการดําเนินกิจการ การจัดใหมีกองทนุพัฒนาทรัพยากรสื ่อสารและสงเสรมิใหภาคประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินการสื ่อมวลชนสาธารณะ  แตท ้ังนี ้ตองไมกระทบกระเทอืนถึงการอนุญาต สัมปทาน 

หรือสัญญาที ่ชอบดวยกฎหมายที ่ไดกระทาํขึ ้นกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ 

จนกวาการอนุญาต สัมปทาน หรือสัญญานั ้นจะสิ ้นผล 

(๒) ภายใตบังคับมาตรา ๒๙๖ วรรคสาม มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๐๒ (๑๐) เฉพาะในสวนที ่เกี ่ยวกับการเคยเปนสมาชิกวฒุสิภา มาตรา ๑๑๕ (๙)

และมาตรา ๑๑๖ วรรคสอง มาใชบังคับกับการเลอืกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและการดํารงตําแหนงทางการเมืองเปนคร ้ังแรกตามรัฐธรรมนูญนี ้ 

(๓) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๔๑ มาใชบังคับกับการตราพระราช

บัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๙๕ 

(๔) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๖๗ วรรคหนึ ่ง และวรรคสอง  มาตรา ๑๖๘ วรรคเกา  มาตรา ๑๖๙ เฉพาะกรณกีารกาํหนดแหลงที ่มาของรายไดเพ ่ือชดใชรายจายท ่ีไดใชเงนิคงคลังจายไปกอน และมาตรา ๑๗๐ มาใชบังคับภายในหนึ ่งป นับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ 

(๕) การใดที ่เก ่ียวกับการจัดทําหรือดําเนินการตามหนังสือสัญญาที ่ไดดําเนินการไปแลวกอนวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ ใหเปนอันใชได และมิใหนํา

Page 178: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 178/206

๑๖๘ บทบัญญัติมาตรา ๑๙๐ วรรคสาม มาใชบังคับ  แตใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๙๐ 

วรรคสาม มาใชบังคับกับการดําเนินการที ่ยังคงคางอยู  และตองดําเนินการตอไป 

(๖) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๐๙ (๒) มาใชบังคับกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติซึ ่งดํารงตําแหนงอยู ในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ 

(๗) มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๒๕๕ วรรคหา และมาตรา ๒๘๘ 

วรรคสาม มาใชบังคับภายในหนึ ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ 

มาตรา ๓๐๖  ในวาระเริ ่มแรก ใหผู  พพิากษาในศาลฎีกาที ่เคยดํารงตําแหนงไมต่ ํากวาผู  พิพากษาศาลฎีกาซึ ่งมีอายุครบหกสิบปบริบูรณในปงบประมาณ 

๒๕๕๐ สามารถปฏิบัติหนาท ่ีผู  พพิากษาอาวโุสในศาลฎีกาตามมาตรา ๒๑๙ ได ท ้ังนี ้ จนกวาจะมีการปรับปรงุกฎหมายเกี ่ยวกับการกาํหนดหลักเกณฑการปฏิบัติหนาท ่ีของผู  พิพากษาอาวโุส 

ภายในหนึ ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ใหตรากฎหมาย

กาํหนดหลักเกณฑใหผู  พิพากษาศาลยติุธรรมดํารงตําแหนงไดจนถงึอายคุรบเจด็สิบป และผู  พพิากษาศาลยติุธรรมซึ ่งมีอายุครบหกสิบปบริบูรณขึ ้นไปในปงบประมาณใดซึ ่งไดปฏิบัติหนาที ่มาแลวไมนอยกวายี ่สิบปและผานการประเมินสมรรถภาพในการปฏิบัติหนาที ่ สามารถขอไปดํารงตําแหนงผู  พพิากษาอาวโุสในศาลซึ ่งไมสูงกวาขณะดํารงตําแหนงได 

กฎหมายที ่จะตราขึ ้นตามวรรคหนึ ่งและวรรคสอง จะตองมี 

บทบัญญัติใหผู  ท ่ีจะมีอายุครบหกสิบปบริบูรณขึ ้นไปในปงบประมาณใดในระยะ 

หกสิบปแรก นับแตวันท ่ีกฎหมายดังกลาวมีผลใชบังคับ ทยอยพนจากตําแหนง 

ท ่ีดํารงอยู เปนลําดับในแตละปตอเนื ่องกันไป และสามารถขอไปดํารงตําแหนง 

ผู  พพิากษาอาวโุสตอไปได ใหนําบทบัญญัติในวรรคสองและวรรคสามไปใชกับพนักงานอัยการ

ดวย โดยอนุโลม 

Page 179: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 179/206

๑๖๙ มาตรา ๓๐๗  ใหกรรมการตุลาการศาลยติุธรรมผู  ทรงคุณวฒุซึิ ่งดํารง

ตําแหนงอยู ในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ คงดํารงตําแหนงเปนกรรมการตุลาการ

ศาลยติุธรรมตอไป เวนแตกรรมการผู  ทรงคุณวฒุทิ ่ีอายคุรบหกสิบปบรบิูรณในป งบประมาณ ๒๕๕๐ และกรรมการผู  ทรงคุณวฒุใินชั ้นศาลใดที ่ยายไปจากชั ้นศาลนั ้น 

ท ้ังนี ้ ไมเกนิหนึ ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ 

มาตรา ๓๐๘  ใหคณะรัฐมนตรีท ่ีบรหิารราชการแผนดินอย ูในวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ แตงตั ้งคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายที ่มีการดําเนินการที ่เปนอิสระภายในเกาสิบวนันับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ โดยใหคณะกรรมการ 

ดังกลาวมีหนาท ่ีศึกษาและเสนอแนะการจดัทํากฎหมายที ่จําเปนตองตราขึ ้นเพ ่ือ 

อนุวัติการตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ  และใหคณะกรรมการดังกลาวจัดทํากฎหมายเพ ่ือจัดตั ้งองคกรเพื ่อการปฏิรูปกฎหมาย ตามมาตรา ๘๑ (๕) ใหแลวเสรจ็ภายในหนึ ่งปนับแตวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้ โดยในกฎหมายดังกลาวอยางนอย

ตองมีบทบัญญัติกาํหนดใหมีหนาที ่สนับสนุนการดําเนินการรางกฎหมายของประชาชนผู  มีสิทธิเลือกตั ้งดวย 

การดําเนินการตามวรรคหนึ ่ง ไมเปนการตัดอํานาจหนาที ่ของหนวยงานอื ่นท ่ีมีหนาที ่ตองจัดทํากฎหมายในความรับผิดชอบ 

มาตรา ๓๐๙  บรรดาการใด ๆ ท ่ีไดรับรองไวในรัฐธรรมนูญแหง 

ราชอาณาจักรไทย (ฉบับช ่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ วาเปนการชอบดวยกฎหมายและรัฐธรรมนูญ รวมทั ้งการกระทาํที ่เก ่ียวเนื ่องกับกรณดัีงกลาวไมวากอนหรือหลังวันประกาศใชรัฐธรรมนูญนี ้  ใหถอืวาการนั ้นและการกระทาํนั ้นชอบดวยรัฐธรรมนูญนี ้ 

.....................................................

.....................................................

Page 180: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 180/206

๑๗๐ สาระสําคัญของ 

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย  รางขึ ้นบนสถานการณท ่ีจะตอง 

นําพาประเทศไปสู การปกครองระบอบประชาธิปไตยท ่ีสมบูรณ  จัดใหมีการ  

เลือกตั ้งตอไป  แกปญหาของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย  พุทธศักราช  

๒๕๔๐ ท ่ีกอใหเกิดการผูกขาดอํานาจรัฐและการใชอํานาจอยางไมเปนธรรม  

การดําเนินการทางการเมืองท ่ีขาดความโปรงใส ไมมีคุณธรรมและ จริยธรรม ระบบ

การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐท ่ีลมเหลว และการใชสิทธิและเสรีภาพของประชาชนยังไมไดรับการคุ  มครองและสงเสริมอยางเต็มท ่ี 

รางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย  จึงมีสาระสําคัญท ่ีมุ งจะแกไขปญหาดังกลาว โดยดําเนินการใน ๔ แนวทางดวยกัน คือ 

๑. การคุ  มครอง สงเสริม และการขยายสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอยางเต็มท ่ี 

๒. การลดการผูกขาดอํานาจรัฐและขจัดการใชอํานาจอยางไมเปนธรรม 

๓. การทาํใหการเมืองมีความโปรงใส มีคุณธรรมและจรยิธรรม 

๔. การทําใหระบบตรวจสอบมีความเขมแข็งและทํางานไดอยางมี  

ประสิทธิภาพ 

๑. การคุ  มครอง สงเสรมิ และการขยายสิทธแิละเสรีภาพของประชาชนอยางเต็มที ่ รัฐธรรมนูญจะตองไม ใช รัฐธรรมนูญของคนเพียงหยิบ มือเดียว  คือ 

นักการเมืองเทานั ้น  แตรัฐธรรมนูญตองเปนรั ฐธรรมนูญของประชาชน รัฐธรรมนูญท ่ีประชาชนมีพ ้ืนท ่ี รัฐธรรมนูญท ่ีประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดชะตาชีวิต 

ของตนเองได โดยดําเนินการดังนี ้ 

Page 181: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 181/206

๑๗๑ ๑.๑ เพ ่ิมประเภทสิทธิและเสรภีาพใหมากขึ  ้นกวาเดิม มากกวารัฐธรรมนูญ

แหงราชอาณาจกัรไทย พทุธศักราช ๒๕๔๐ สิทธิและเสรภีาพที ่เพ ่ิมขึ ้น ไดแก 

๑) กําหนดในแนวนโยบายพ ้ืนฐานแหงรัฐใหสิทธิและเสรีภาพตาม  

พันธกรณีระหวางประเทศท ่ีประเทศไทยรับรอง  มีผลผูกพันเชนเดียวกับสิทธิ  

และเสรีภาพที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๘๒)

๒) การคุ  มครองบุคคลจากการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบจากขอมูลสวนบคุคล (มาตรา ๓๕)

๓) เพ ่ิมสิทธิในกระบวนการยุติธรรม  โดยการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมใหประชาชนเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยงาย สะดวก รวดเร็ว ท ่ัวถึง โดยเด็ก 

เยาวชน สตรี ผู  สูงอายุ คนพิการและทุพพลภาพไดรับการคุ  มครองในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีอยางเหมาะสม (มาตรา ๔๐) และท ่ีสําคัญ คือ ประชาชนมีสิทธิฟองศาลรัฐธรรมนูญดวยตนเองไดเปนครั ้งแรก (มาตรา ๒๑๒)

๔) สิทธิดานแรงงานท ่ีไดรับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพ  

ในการทํางาน รวมทั ้งหลักประกันในการดํารงชีพท ้ังในระหวางการทํางานและเมื ่อพนภาวะการทํางาน ไดรับการบัญญัติไวเปนคร ้ังแรก (มาตรา ๔๔)

๕) สิทธิและเสรีภาพของสื ่อมวลชนไดรับการคุ  มครองอยางไมเคยมี 

มากอน ไมเพียงแตหามปดกิจการสื ่อมวลชนเทานั ้น ยังหามแทรกแซงสื ่อมวลชน 

ในการเสนอขาวสารและหากมีการดําเนินการดังกลาวไมวาทางตรงหรือทางออม 

ก็ถือเปนการจงใจใชอํานาจหนาท ่ีโดยมิชอบ (มาตรา ๔๕ และมาตรา ๔๖) รวมท ้ัง

หามผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองเปนเจาของกิจการหรือถือหุ  นในกิจการสื ่อสารมวลชนดวย เพ ่ือปองกันการใชสื ่อสารมวลชนเพ ่ือประโยชนของตนเอง (มาตรา ๔๘)

๖) ประชาชนยังไดรับการศึกษาฟรีไมนอยกว า ๑๒ ป โดยเพิ ่มใหผู  ยากไร ผู  พิการหรือทุพพลภาพ หรือผู  อยู ในสภาวะยากลําบาก ตองไดรับการสนับสนุนให

ไดรับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื ่น  นอกจากนี ้การจัดการศึกษาอบรมของ  

องคกรวิชาชีพหรือเอกชน การศึกษาทางเลือกของประชาชน การเรียนรู  ดวยตนเอง

Page 182: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 182/206

๑๗๒ และการเรียนรู  ตลอดชีวิตก็ไดรับความคุ  มครองและสงเสริมจากรัฐเชนกัน  

(มาตรา ๔๙)

๗) เด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัวไดรับสิทธิเพ ่ิมขึ ้นในการพัฒนาดานรางกาย จิตใจ และสติปญญา  ตามศักยภาพและสภาพแวดลอมท ่ีเหมาะสม 

(มาตรา ๕๒ วรรคหนึ ่ง) เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในครอบครัว  มีสิทธิไดรับความคุ  มครองจากการใชความรุนแรงและการปฏิบัติท ่ีไมเปนธรรม และหากเกิดเหตุดังกลาวขึ ้น ยอมไดรับการบาํบัดฟ นฟูจากรัฐ (มาตรา ๕๒ วรรคสอง) 

๘) บุคคลท ่ีไรท ่ีอย ู อาศัยและไมมีรายไดเพียงพอ  มีสิทธิไดรับการ  

ชวยเหลอืจากรัฐ เปนคร ้ังแรก (มาตรา ๕๕)

๙) ขยายสิทธิชุมชน  โดยการเพิ ่มสิทธิของชุมชน  และชุมชนทองถ ่ินเพ ่ือใหครอบคลุมถึงกรณีการรวมตัวกันของบุคคลขึ ้นเปนชุมชนโดยไมจําเปนตองเปนการรวมตัวกันมาเปนเวลานานจนถือวาเปนชุมชนทองถ ่ินดั ้งเดิม (มาตรา ๖๖ ) 

นอกจากนี ้ การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที ่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรง

ตอคุณภาพสิ ่งแวดลอมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพของประชาชน จะตองจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผู  มีสวนไดเสียกอน  

(มาตรา ๖๗ วรรคสอง) โดยชุมชนมีสิทธิท ่ีจะฟองหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ 

รัฐวิสาหกิจ  ราชการสวนทองถิ ่น  หรือองคกรอื ่นของรัฐท ่ีเปนนิติบุคคลเพ ่ือใหปฏิบัติหนาท ่ีตามท ่ีกฎหมายบัญญัติรับรองสิทธิชุมชนไว (มาตรา ๖๗ วรรคสาม)

๑๐) ประชาชนมีสิทธิติดตามและรองขอใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติ

หนาท ่ีของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาท ่ีของรัฐ เปนคร ้ังแรก (มาตรา ๖๒ วรรคหนึ ่ง) รวมท ้ังมีสิทธิเขาถึงรายละเอียดของรางพระราชบัญญัติท ่ีเสนอเขาสู การพิจารณาของรัฐสภา (มาตรา ๑๔๒ วรรคหก) นอกเหนือจากสิทธิในการเขาถึงขอมูลขาวสารของราชการ (มาตรา ๕๖)

๑๑) ในการทําหนังสือสัญญาหรือขอตกลงระหวางประเทศท ้ังหลายท ่ีมี 

ผลกระทบตอประชาชนอยางมีนัยสําคัญ  รัฐจะตองใหขอมูลจัดใหมีการรับฟง  

ความคิดเห็นของประชาชนกอนและเมื ่อมีการลงนามแลว  จะตองใหประชาชน 

Page 183: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 183/206

๑๗๓ เขาถึงรายละเอียดของสนธิสัญญา  รวมท ้ังตองแกไขหรือเยียวยาผู  ไดรับผลกระทบจากการลงนามในสนธิสัญญา  อยางรวดเร็วเหมาะสม  และเปนธรรมดวย (มาตรา 

๑๙๐ วรรคสองถงึวรรคสี ่)๑๒) ใหสิทธิประชาชน ๕๐,๐๐๐ คน เขาชื ่อเพ ่ือเสนอขอแกไขรัฐธรรมนูญ

ไดเปนครั ้งแรก (มาตรา ๒๙๑ (๑))

๑๓) ใหเจาหนาท ่ีของรัฐมีเสรีภาพในการรวมกล ุมเชนเดียวกับบุคคล  

ท ่ัวไป (มาตรา ๖๔) 

๑๔) ใหความสําคัญกับสิทธิสตรีมากขึ ้น โดยไดกําหนดไวเปนหลักการ 

ไววาใหชายและหญิงมีความเทาเทียมกัน (มาตรา ๓๐) โดยรัฐตองใหความสงเสริมความเสมอภาคระหว างหญิงและชาย (มาตรา ๘๐ (๑)) และในการดําเนิน  

แนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชนตองคํานึงถึงสัดสวนของหญิง  

และชายดวยเชนกัน  นอกจากนี ้ เพ ่ือเปนการสงเสริมใหสตรีมีสวนรวมทางการเมืองมากขึ ้น  จึงไดกําหนดใหการจัดทําบญัชีรายชื ่อของพรรคการเมืองในระบบสัดสวน

จะตองคํานึงถึงโอกาส  สัดสวนท ่ีเหมาะสม และความเทาเทียมกันระหวางหญิง  

และชายดวย (มาตรา ๙๗ (๒)) และกรรมาธิการวิสามัญท ่ีสภาผู  แทนราษฎรตั ้งขึ ้นเพ ่ือพิจารณารางกฎหมายท ่ีมีสาระสําคัญเก ่ียวกับ เด็ก สตรี คนชรา ผู  สูงอายุ จะตองมีสัดสวนของหญงิและชายท ่ีเทาเทยีมกัน เพื ่อใหสตรีซึ ่งเปนเพศที ่มีความละเอียดออนไดมีสวนรวมในการพจิารณารางกฎหมายในประเด็นท ่ีละเอียดออนดวย 

๑.๒ ทําใหการใชสิทธแิละเสรภีาพงายขึ  ้นกวาเดิม โดยมีมาตรการ ดังนี ้ 

๑) แบงหมวดหมู ของสิทธิและเสรีภาพใหชัดเจน  เพ ่ือใหประชาชนอานและเขาถึงรัฐธรรมนูญไดโดยงาย โดยแบงหมวดสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยออกเปนสวนๆ ไดแก สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล (มาตรา ๓๒ - มาตรา ๓๘) สิทธิในกระบวนการยุติธรรม (มาตรา ๓๙ - มาตรา ๔๐) สิทธิในขอมูลขาวสารและการรองเรียน (มาตรา ๕๖ - มาตรา ๖๒) สิทธิชุมชน (มาตรา ๖๖ - มาตรา ๖๗) สิทธิ

พทิักษรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๖๘ - มาตรา ๖๙) ฯลฯ 

Page 184: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 184/206

๑๗๔ ๒) สิทธิและเสรีภาพท ่ีรัฐธรรมนูญไดรับรองและคุ  มครองไว แมยังไมมี

กฎหมายลูกตราขึ ้น  ประชาชนก็สามารถใชสิทธิและเสรีภาพเหลานั ้นไดทันที  โดย

การรองขอตอศาล (มาตรา ๒๘ วรรคสาม)

๓) กําหนดใหรัฐตองสงเสริม สนับสนุน  และชวยเหลือประชาชนในการใชสิทธิและเสรภีาพตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๘ วรรคสี ่)

๔) ลดจํานวนประชาชนในการเขาชื ่อเสนอรางกฎหมาย จาก ๕๐,๐๐๐ ชื ่อ 

เหลือเพียง  ๑๐,๐๐๐ ชื ่อ (มาตรา ๑๖๓ วรรคหนึ ่ง) โดยกําหนดใหมีคณะกรรมการวิสามัญเพ ่ือพิจารณารางกฎหมาย   ดังกลาว ซึ ่งประกอบดวยผู  แทนประชาชน 

ท ่ีเขาชื ่อเสนอรางกฎหมายจํานวนไมนอยกวา ๑ ใน ๓ (มาตรา ๑๖๓ วรรคสอง) และลดจํานวนประชาชนในการเขาชื ่อ   ถอดถอนผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง  และ 

ขาราชการประจําระดับสูง  จาก  ๕๐,๐๐๐ รายชื ่อ  เหลือเพียง  ๒๐,๐๐๐ รายชื ่อ 

(มาตรา ๑๖๔) 

๑.๓ ทําใหการใชสิทธิและเสรีภาพมีประสิทธิภาพและมีมาตรการคุ  มครอง

อยางชัดเจน โดยการบัญญัติให ๑) ตัดคําวา “ท ้ังนี ้ตามท ่ีกฎหมายบัญญัติ ” ออกจากทายบทบัญญัติ  

ท ่ีเก ่ียวกับสิทธิและเสรีภาพในหลายมาตรา  เพ ่ือสงสัญญาณวาสิทธิและเสรีภาพ  

ของประชาชนเกดิขึ ้นทันทีตามรัฐธรรมนูญไมใชตามกฎหมาย 

๒) กําหนดระยะเวลาในการตรากฎหมายลูกท ่ีเก ่ียวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชนใหชัดเจน (สวนใหญประมาณ ๑ ป) เพ ่ือมิใหผู  มีอํานาจถวงเวลา 

ในการตรากฎหมายลูกอันเปนการลิดรอนสิทธิและเสรีภาพของประชาชน  

(มาตรา ๓๐๓)

๓) ใหประชาชนมีสิทธิฟองศาลรัฐธรรมนูญเพื  ่อใหมีคําวินิจฉัยวากฎหมายขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญไดโดยตรงในกรณีที  ่มีการละเมิดสิทธิและ  

เสรีภาพที ่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๑๒)

๔) ใหชุมชนมีสิทธิฟองศาลไดในกรณีท ่ีมีการละเมิดสิทธิของชุมชน  

(มาตรา ๖๗ วรรคสาม)

Page 185: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 185/206

๑๗๕ ๕) ใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติฟองศาลรัฐธรรมนูญและ  

ศาลปกครองได ในกรณีท ่ีกฎหมาย กฎ คําสั ่ง หรือการกระทําใดขัดตอรัฐธรรมนูญ 

และเปนผู  เสียหายแทนประชาชนเพ ่ือฟองศาลไดในกรณที ่ีมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน 

(มาตรา ๒๕๗ (๒) (๓) และ (๔))

๖) ในกรณีท ่ีเห็นวาเจาหนาท ่ีของรัฐกระทําการมิชอบอันมีผลกระทบตอประชาชนสวนรวม ผู  ตรวจการแผนดินสามารถตรวจสอบขอเทจ็จริงไดโดยมิตองมีการรองเรยีนกอน (มาตรา ๒๔๔ วรรคสอง) 

๑.๔ ทําใหแนวนโยบายพื  ้นฐานแหงรัฐมีความชัดเจน  รอบดานและผกูพัน

รัฐมากกวาเดิม โดยการบัญญัติให ๑) มีการแยกแยะหมวดแนวนโยบายพื ้นฐานแหงรัฐใหครอบคลุมทุกดาน

อยางชัดเจน  ไมวาจะเปนดานความมั ่นคง ดานศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษาและวัฒนธรรม  ดานกฎหมายและการยุติธรรม  ดานการตางประเทศ ดานเศรษฐกิจ  ดานท ่ีดิน  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ ่งแวดลอม  ดานวิทยาศาสตร 

ทรัพยสินทางปญญาและพลังงาน และดานการมีสวนรวมของประชาชน 

๒) กําหนดแนวนโยบายพ ้ืนฐานแหงรัฐในเร ่ืองท ่ีสําคัญเพ ่ิมขึ ้น  เชน 

รัฐตองพัฒนาระบบงานภาครัฐโดยมุ งเนนการพัฒนาคุณภาพ  คุณธรรมและ 

จริยธรรมของเจาหนาที ่ของรัฐ และสงเสริมใหหนวยงานของรัฐใชหลักการบริ หารกจิการบานเมืองท ่ีดีเปนแนวทางในการปฏิบัติราชการ (มาตรา ๗๘ (๔)) จัดใหมีการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม (มาตรา ๘๑ (๓) (๔)) สงเสริมและสนับสนุนใหมีการดําเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (มาตรา ๘๓)

ปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีอากรใหมีความเปนธรรม (มาตรา ๘๔ (๓)) คุ  มครองและรักษาผลประโยชนของเกษตรกรในการผลิตและการตลาดสินคาเกษตร  

(มาตรา ๘๔ (๘)) จัดใหมีสาธารณูปโภคข ้ันพ ้ืนฐานอันจําเปนตอการดํารงชีวิตของประชาชนและมิใหสาธารณูปโภคดังกลาวตกอย ู ในความผูกขาดของเอกชน 

(มาตรา  ๘๔ (๑๐)) กําหนดหลักเกณฑการใชท ่ีดินใหครอบคลุมท ่ัวประเทศ  

โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับสภาพแวดลอมและวิถีชีวิตของชุมชนทองถิ  ่น 

Page 186: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 186/206

๑๗๖ ดําเนินการใหเกษตรกรมีท ่ีดินเพ ่ือใชประกอบการเกษตรอยางท ่ัวถึง (มาตรา ๘๕) 

และไมใหดําเนินการใดท ่ีเปนเหตุใหโครงสรางหรือโครงขายข ้ันพ ้ืนฐานของกิจการ

สาธารณูปโภคข ้ันพ ้ืนฐานของรัฐอันจําเปนตอการดํารงชีวิตของประชาชน หรือเพ ่ือความมั ่นคงของรัฐตกไปเปนกรรมสิทธิ ์ของเอกชน  หรือทําใหรัฐเปนเจาของ  

นอยกวารอยละหาสิบเอ็ด (มาตรา ๘๔ (๑๑)) 

๓) กําหนดใหมีการจัดตั ้งองคกรขึ ้นมาเพ ่ือดําเนินการในเร ่ืองท ่ีเก ่ียวของใหเปนไปตามท ่ีกําหนดไวในแนวนโยบายพ ้ืนฐานแหงรัฐ  ไดแก สภาพัฒนา 

การเมือง  ซึ ่งทําหนาท ่ีคอยสอดสองใหมีการปฏิบัติตามแผนพัฒนาการเมือง  

(มาตรา ๗๘ (๗)) กองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง คอยชวยเหลือและสนับสนุนในการดําเนินกิจกรรมอันเปนการสงเสริมใหประชาชนมีความเขมแข็งในทาง  

การเมือง (มาตรา ๘๗ (๔)) องคกรเพ ่ือปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม  มีหนาท ่ี ปรับปรุงและพัฒนาการดําเนินงานของหนวยงานที  ่เก ่ียวของกับกระบวนการ  

ยุติธรรม (มาตรา  ๘๑ (๔)) สภาเกษตรกร  คอยวางแผนการเกษตรและรักษา  

ผลประโยชนของเกษตรกร (มาตรา ๘๔(๘)) โดยมาตรา ๓๐๓ กําหนดใหมีการดําเนินการจัดทํากฎหมายวาดวยการจัดตั  ้งองคกรดังท ่ีกลาวมาภายในเวลา  ๑ ป นับแตวันท ่ีคณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายตอรัฐสภา   นอกจากนี ้ยังไดกําหนดใหมีคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายทําหนาท ่ีศึกษาและเสนอแนะการจัดทํากฎหมาย  

ท ่ีตองตราขึ ้นเพ ่ืออนุวัตรการใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงรั ฐธรรมนูญ (มาตรา ๘๑ 

(๓)) 

๔) กําหนดใหรัฐบาลท ่ีจะเขาบริหารราชการแผนดินตองแถลงนโยบาย  

ตอรัฐสภาวาจะดําเนินการใด  ในระยะเวลาใด เพ ่ือบริหารราชการแผนดินใหเปนไปตามแนวนโยบายพ ้ืนฐานแหงรัฐ และตองจัดทํารายงานแสดงผลการดําเนินการ  วามีปญหาและอุปสรรคอยางไรบาง เสนอตอรัฐสภาปละ ๑ คร ้ัง (มาตรา ๗๕ และ ๗๖) 

๑.๕  ใหประชาชนมีสวนรวมในการบริหารงานของทองถิ ่นและกระจาย

อํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ ่นเพ ่ิมขึ  ้น เพ ่ือเปนฐานของการปกครองระบอบประชาธปิไตยระดับประเทศ โดยการกาํหนดให 

Page 187: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 187/206

๑๗๗ ๑) องคกรปกครองสวนทองถ ่ินมีอิสระอยางเต็มท ่ีในการบริหารงานของ

ตนเองในทุกดาน  และเปนหนวยงานหลักในการจัดทําบริการสาธารณะท ่ีมีความ

หลากหลาย (มาตรา ๒๘๑ วรรคหนึ ่ง) กําหนดใหมีการตรากฎหมายรายไดทองถ ่ิน 

เพ ่ือวางหลักเกณฑในการจัดเก็บภาษีและรายไดอื ่น  ๆ ขององคกรปกครองสวน 

ทองถ ่ิน (มาตรา ๒๘๓ วรรคสี ่) และกําหนดใหมีการจัดโครงสรางการบริหาร  

ที ่คลองตัว (มาตรา ๒๘๔ วรรคเกา)๒) ปฏิรูประบบการบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ ่น

โดยใหบคุลากรขององคกรปกครองสวนทองถ ่ินมีสถานะเปนขาราชการเชนเดียวกับขาราชการพลเรือนระดับประเทศ  มีคณะกรรมการขาราชการสวนทองถ ่ินเปนของตนเองท ่ีอิสระจากสวนกลาง  โดยใหสามารถโอนยายขาราชการระหวางองคกร 

ปกครองสวนทองถ ่ินได รวมท ้ังการใหมีคณะกรรมการพิทักษระบบคุณธรรมระดับทองถิ ่นดวย (มาตรา ๒๘๘)

๓) เพ ่ิมการมีสวนรวมของประชาชนในระดับทองถ ่ิน  ใหประชาชน 

ในทองถ ่ินสามารถลงประชามติในเร ่ืองท ่ีเก ่ียวกับทองถ ่ินของตนเองได (มาตรา ๒๘๗ วรรคหนึ ่งและวรรคสอง ) ลดจํานวนประชาชนท ่ีจะเขาชื ่อถอดถอน 

นักการเมืองทองถ ่ินและการเสนอรางขอบัญญัติทองถ ่ิน (มาตรา ๒๘๕ และมาตรา 

๒๘๖) รวมท ้ังการใหองคกรปกครองสวนทองถ ่ินจะตองรายงานการดําเนินงาน 

ตอประชาชน  ในเร ่ืองการจัดทํางบประมาณ  การใชจาย และผลการดําเนินงาน  

ในรอบป เพ ่ือใหประชาชนมีสวนรวมในการตรวจสอบกํากับการบริหารจัดการ  

(มาตรา ๒๘๗ วรรคสาม)

๔) ปรับปรุงระบบการกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถ ่ินใหมี  

ประสิทธิภาพ โดยใหมีมาตรฐานกลางในการดําเนินงาน เพ ่ือใหองคกรปกครองสวนทองถ ่ินปฏิบัติไดเอง  โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและความแตกตางในระดับของการพัฒนาและประสิทธิภาพในการบรหิารงานขององคกรปกครองสวนทองถ ่ิน 

รวมท ้ังการจัดใหมีกลไกการตรวจสอบการดําเนินงานขององคกรปกครองสวน  

ทองถิ ่นโดยประชาชน (มาตรา ๒๘๒ วรรคสอง)

Page 188: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 188/206

๑๗๘ ๒. การลดการผกูขาดอาํนาจรัฐและขจัดการใชอํานาจอยางไมเปนธรรม 

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ มุ งเนนใหมีรัฐบาลท ่ีเขมแข็งมีประสิทธิภาพ ซึ ่ง

เปนสิ ่งท ่ีถูกตอง แตความเขมแข็งและมีประสิทธิภาพตองไมใชการผูกขาดอํานาจ 

แตเพียงผู  เดียว  จนนําไปสู การใชอํานาจอยางไมเปนธรรม  จําเปนอยางย ่ิงท ่ี รางรัฐธรรมนูญฉบับใหมจะตองลดการผูกขาดอํานาจและสรางดุลยภาพของอํานาจในทางการเมืองขึ ้น โดยมีมาตรการ ดังนี ้ 

๒.๑ เสริมสรางอํานาจทางการเมืองใหแกประชาชน  เพ ่ือใหประชาชนเปน 

“ผู  เลน” มิใช “ผู  ดู” ทางการเมืองอีกตอไป  ซึ ่งมีมาตรการมากมายดังท ่ีไดกลาวไวแลวในขอ ๑ เชน 

๑) การใหประชาชนมีสวนรวมทางการเมืองในทุกดาน  ไมวาจะเปนเร ่ืองการดําเนินงานตาง  ๆ ของภาครัฐ (มาตรา ๕๘ มาตรา ๑๖๓ วรรคหา และมาตรา ๑๙๐ วรรคสาม) การทําหนังสือสัญญา (มาตรา ๑๙๐) การลงประชามติในเร ่ือง 

ท ่ีสําคัญและมีผลผูกพันการตัดสินใจของรัฐบาล (มาตรา ๑๖๕) และการแกไข 

เพ ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๙๑ วรรคหนึ ่ง)

๒) ใหประชาชนและชุมชนมีอํานาจในการฟองรองรัฐที ่ใชอํานาจ  

ไมเปนธรรมได (มาตรา ๒๑๒ และมาตรา ๖๗ วรรคสาม)

๓) ใหประชาชนใชสิทธิทางการเมืองไดงายขึ ้น เชน การลดจาํนวนประชาชนในการเขาชื ่อถอดถอนนักการเมืองเหลือเพียง  ๒๐,๐๐๐ คน และการเสนอกฎหมายเหลือเพียง ๑๐,๐๐๐ คน ทั ้งในระดับประเทศและในระดับทองถิ ่น (มาตรา ๑๖๓ และ 

มาตรา ๑๖๔ มาตรา ๒๗๑ มาตรา ๒๘๕ และมาตรา ๒๘๖)

๒.๒ จํากัดการผูกขาดและการใชอํานาจท ่ีไมเปนธรรมของรัฐบาล  โดยมีมาตรการ ดังนี ้ 

๑) ใหนายกรัฐมนตรีอย ูไดไมเกนิ ๘ ป (มาตรา ๑๗๑ วรรคสี ่)๒) การตราพระราชกําหนดของรัฐบาลจะตองถูกตรวจสอบโดยเครงครัด

จากศาลรัฐธรรมนูญ มิใชตามอําเภอใจของรัฐบาลอีกตอไป  รัฐบาลจะตราพระราชกําหนดไดก็ตอเมื ่อเปนกรณีฉุกเฉินท ่ีมีความจําเปนรีบดวนอันมิอาจหลีกเล ่ียงได 

Page 189: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 189/206

๑๗๙ มิใชเปนกรณีท ่ีรัฐบาลตราพระราชกําหนดเพ ่ือหลีกเล ่ียงการตรวจสอบของรัฐสภา  

(มาตรา ๑๘๔)

๓) ใหมีหมวดการเงิน  การคลัง  และงบประมาณขึ ้นเปนคร ้ังแรก  

ในประเทศไทยเพ ่ือมิใหรัฐบาลใชจายเงินอยางไมมีวินัยทางการเงินและงบประมาณ 

อันจะกอใหเกิดภาระทางการเงินการคลังของประเทศ (มาตรา ๑๖๖ ถึงมาตรา ๑๗๐)

โดยจะตองมีการกําหนดวัตถุประสงค กิจกรรม แผนงาน และโครงการใหชัดเจน 

(มาตรา ๑๖๗ วรรคหนึ ่ง) รายจายงบกลางตองมีจํานวนจํากัดและตองแสดงเหตุผลและความจาํเปนดวย (มาตรา ๑๖๗ วรรคสอง)

๔) ใหรัฐสภา ศาล และองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญสามารถขอแปรญัตติตอคณะกรรมาธิการของสภาไดโดยตรง เพ ่ือมิใหรัฐบาลใชการจัดสรรงบประมาณเปนเคร ่ืองมือตอรองการทําหนาท ่ีขององคกรเหลานี ้ (มาตรา ๑๖๘ วรรคเกา)

เชนเดียวกับการใหองคกรตามรัฐธรรมนูญสามารถเสนอแกไขกฎหมายของตน  

ไปยังรัฐสภาไดโดยไมถกูรัฐบาลขัดขวาง (มาตรา ๑๔๒ (๓))

๕) ใหองคกรอัยการเปนอิสระจากรัฐบาล เพ ่ือทําหนาท ่ีตรวจสอบการใชอํานาจรัฐไดอยางเต็มท ่ี โดยเฉพาะอยางย ่ิงการดําเนินคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมือง (มาตรา ๒๕๕)

๖) กําหนดขอบเขตภาระหนาที ่ของรัฐบาลรักษาการอยางชัดเจน  เพ ่ือมิใหรัฐบาลรักษาการแทรกแซงการทํางานของฝายประจํา  และใชกลไกของรัฐ 

ไปสนับสนุนพรรคการเมืองและผู  สมัครฝายตนในการเลอืกตั ้ง (มาตรา ๑๘๑)

๗) หามควบรวมพรรคการเมืองท ่ีมีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรในสภา ในระหวางอายุของสภา เพ ่ือปองกันการเกิดเสียงขางมากอยางผิดปกติในสภา  

(มาตรา ๑๐๔)

๒.๓  ใหคนดีมีความสามารถเปนสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร และเปนอิสระ

จากการครอบงําของพรรคการเมือง เพ ่ือทําหนาท ่ีผู  แทนประชาชนอยางเต็มที ่ โดย

บัญญัติอยางชัดเจนวา 

Page 190: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 190/206

๑๘๐ ๑) ปรับปรุงระบบการเลือกตั ้งสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรใหม ใหสมาชิก

สภาผู  แทนราษฎรท ่ีมาจากเขตเลือกตั ้งเปนผู  แทนราษฎรในเขตการเลือกตั ้งท ่ี 

ใหญขึ ้น  เพ ่ือใหคนดีมีความสามารถสามารถแขงขันกับคนท ่ีใชเงินได ปรับปรุงระบบสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื ่อเปนระบบการเลือกตั ้งแบบสัดสวนท ่ีมีการแบงเปนกลุ มจังหวัดออกเปน  ๘ กล ุมจังหวัด เพ ่ือมิใหมีการกระจุกตัวผู  แทนราษฎรแตในสวนกลาง และยกเลิกสัดสวน  ๕% เพ ่ือใหพรรคเล็กมีท ่ีนั ่งในสภา 

เพ ่ือใหเกดิความหลากหลายในความคิดทางการเมือง 

๒) สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรมีอิสระจากมติพรรคการเมืองในการตั ้งกระทู  ถามการอภิปราย  และการลงมติในการอภิปรายไมไววางใจ (มาตรา ๑๖๒ วรรคสอง)

๓) สมาชิกสภาผู  แทนราษฎรสามารถเสนอรางกฎหมายไดโดยไมตอง  

ขออนุญาตจากพรรคการเมืองของตนอีกตอไป (มาตรา ๑๔๒ (๒))

๒.๔  ใหสมาชิกวุฒิสภาปลอดจากอิทธิพลของพรรคการเมืองอยางแทจริง 

ดวยการกําหนดใหมีสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั ้ง ๗๖ คน (จังหวัดละ  ๑ คน)

และมาจากการสรรหา ๗๔ คน รวมแลว ๑๕๐ คน (มาตรา ๑๑๑) เพ ่ือมิใหมีการแทรกแซงจากกลุ มการเมืองใหมากท ่ีสุด  โดยสมาชิกวุฒสิภาท ้ังจากการเลอืกตั ้งและการสรรหานั ้นไดกําหนดคุณสมบัติใหสูงขึ ้น  และหางไกลจากการเมืองมากขึ ้น 

(มาตรา  ๑๑๕) สวนสมาชิกวุฒิสภาจากการสรรหานั ้น  มีการสรรหาโดย  

คณะกรรมการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาท ่ีเปนกลางมากท ่ีสุด (มาตรา ๑๑๓) และ 

สรรหาสมาชิกวุฒิสภาจากบุคคลท ่ีมีความเชี ่ยวชาญ และมีประสบการณจากทุกกลุ มวิชาชีพ   ในขณะเดียวกันก็ เป ดโอกาสใหแก ผู   ด อยโอกาสทางสังคมดวย  

(มาตรา ๑๑๔) 

๒.๕ หามสมาชิกสภาผู   แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาแทรกแซง  ขาราชการประจํา โดยการกําหนดหามกาวกายหรือแทรกแซงเพ ่ือประโยชนของตน

และพรรคการเมือง ท ้ังทางตรงและทางออม  ในการปฏิบัติราชการหรอืการดําเนินงาน  

Page 191: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 191/206

๑๘๑ ในหนาท ่ีประจําการบรรจุ  แตงตั ้ง  ยาย  โอน  เล ่ือนตําแหนงหรือเงินเดือน  

(มาตรา ๒๖๖) 

๓. การทําใหการเมอืงมีความโปรงใส มคุีณธรรมและจรยิธรรม 

ความโปรงใส มีคุณธรรมและจริยธรรมของนักการเมือง คือ สิ ่งท ่ีขาดหายไปในรัฐธรรมนูญ  พ.ศ. ๒๕๔๐ นักการเมืองจํานวนมากไมตระหนักถึงสิ ่งเหลานี ้ อาศัยศรีธนญชัยทางการเมืองหลบเล ่ียงกฎหมาย สรางผลประโยชนทับซอน  ร ํ่ารวยบนความทุกขยากของชาติบานเมืองและประชาชน มาตรการท ่ีจะนําประเทศไทย 

ไปสู ประชาธิปไตยอยางแทจริงในทางเนื ้อหา มิใชประชาธิปไตยในทางรปูแบบ จึงไดแก 

๓.๑ บัญญัติหมวดคุณธรรมและจริยธรรมของผ ู ดํารงตําแหนงทางการ

เมอืงและเจาหนาที ่ของรัฐไวอยางชัดเจน 

๑) จริยธรรมของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจ าหนาท ่ีของรัฐจะตอง

มีมาตรฐานท ่ีชัดเจน  โดยมีกลไกและระบบในการดําเนินงานท ่ีมีประสิทธิภาพ  

รวมทั ้งกาํหนดข ้ันตอนการลงโทษตามความรายแรงแหงการละเมิด (มาตรา ๒๗๙)

๒) การฝาฝนมาตรฐานจริยธรรมท ่ีรายแรงของผู  ดํารงตําแหนงทาง  

การเมืองนําไปสู การถอดถอนออกจากตําแหนง (มาตรา ๒๘๐)

๓) ไดกาํหนดใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเปนผู   กํากับดูแลคุณธรรมและจริยธรรมของผู   ดํารงตําแหนงทางการเมือง  

(มาตรา ๒๕๐ (๕)) 

๓.๒ กําหนดมาตรการเพ ่ือไมใหมีผลประโยชนทับซอนทางการเมือง โดยการบัญญัติ 

๑) หามมิใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ดํารงตําแหนงหรือหนาท ่ีใดในหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ  หรือรัฐวิสาหกิจ  หรือตําแหนง

สมาชิกสภาทองถิ ่น ผู  บริหารทองถิ ่น หรือขาราชการสวนทองถิ ่น หามมิใหรับหรือแทรกแซงหรือกาวกายการเขารับสัมปทานจากรัฐ  หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ 

Page 192: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 192/206

Page 193: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 193/206

๑๘๓ ๓.๔  ใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา  นายกรัฐมนตรีและ  

รัฐมนตรีพนจากตําแหนงในกรณีที ่ศาลมคํีาพพิากษาไดงายขึ  ้น 

๑) กรณีสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา เมื ่อมีคําพิพากษา  

ถึงท ่ีสุดใหจําคุก  แมจะมีการรอการลงโทษก็พนจากตําแหนง  เวนแตความผิด 

ท ่ีกระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ  หรือความผิดฐานหมิ ่นประมาท  (มาตรา ๑๐๖ (๑๑) และมาตรา ๑๑๙ (๘)) 

๒) กรณีนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี  เมื ่อตองคําพิพากษาใหจําคุก  แมคดีจะยังไมถึงท ่ีสุดหรือมีการรอการลงโทษก็ตามก็พนจากตําแหนง  เวนแตความผิด 

อันไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือความผิดฐานหมิ ่นประมาท 

(มาตรา ๑๘๒ (๓))

๓.๕ หามประธานสภา รองประธานสภา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี

ดําเนนิการในลักษณะที ่มผีลประโยชนทับซอน 

๑) กรณีประธานสภาและรองประธานสภาผู  แทนราษฎร ในระหวางการ

ดํารงตําแหนงจะเปนกรรมการบริหารหรือดํารงตําแหนงใดในพรรคการเมือง  

ในขณะเดียวกันมิได (มาตรา ๑๒๔ วรรคหา)๒) กรณีนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี หามมิใหออกเสียงลงคะแนนในเร ่ือง

ท ่ีเก ่ียวกับการดํารงตําแหนง  การปฏิบัติหนาท ่ี หรือการมีสวนไดเสียในเร ่ืองนั ้น 

(มาตรา ๑๗๗ วรรคทาย)

๔. การทาํใหองคกรตรวจสอบมคีวามอสิระ เขมแขง็ และทาํงานไดอยางมปีระสิทธภิาพ 

องคกรตรวจสอบและองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญ  

พ.ศ. ๒๕๔๐ ซึ ่งเปนความหวังของประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ  

ถูกแทรกแซงและลมเหลวในการทํางาน การปรับปรุงระบบตรวจสอบท ้ังระบบ  

จึงจาํเปนตองเกดิขึ ้น 

๔.๑ ปรับปรุงระบบการสรรหาองคกรตรวจสอบ  เพ ่ือใหไดคนท ่ีมีความเปนอิสระอยางแทจริง  โดยการกําหนดใหประธานศาลรัฐธรรมนูญ  ประธานศาล

Page 194: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 194/206

๑๘๔ ฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด  ประธานสภาผู  แทนราษฎร และผู  นําฝายคาน 

ในสภาผู  แทนราษฎรเปนคณะบคุคลสรรหาองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 

๔.๒ ปรับปรุงอํานาจหนาท ่ีและระบบการทํางานขององคกรตรวจสอบ  ใหดีย ่ิงขึ  ้น 

๑) ใหศาลรัฐธรรมนูญมีอํานาจรับฟองเร ่ืองท ่ีประชาชนถูกละเมิดสิทธิ  

และเสรภีาพไดโดยตรง (มาตรา ๒๑๒)

๒) ใหศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองเปน 

ผู  พิจารณาคดีท ่ีมีการฟองวานักการเมืองไมแสดงทรัพยสินหรือหนี ้สิน  หรือแสดงทรัพยสินหรือหนี ้สินเปนเท็จดวย (มาตรา ๒๖๓)

๓) ใหคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติดูแลเฉพาะผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองและขาราชการประจําระดับสูงเทานั ้น เพ ่ือใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพเพิ ่มขึ ้น (มาตรา ๒๕๐) 

๔) ใหผู   ตรวจการแผนดินสามารถหยิบยกเร ่ืองท ่ีเกิดความเสียหาย  

ตอประชาชนโดยสวนรวม หรือเพ ่ือคุ  มครองประโยชนสาธารณะขึ ้นไดเอง  โดย 

ไมจําตองมีการรองเรียนได (มาตรา ๒๔๔ วรรคทาย) นอกจากนี ้ยังไดกําหนดให  ผู  ตรวจการแผนดินมีอํานาจดําเนินการเกี ่ยวกับจริยธรรมของผู  ดํารงตําแหนง 

ทางการเมืองของเจาหนาที ่รัฐ (มาตรา ๒๔๔ (๒)) และมีอํานาจติดตาม ประเมินผล 

และจดัทําขอเสนอแนะในการปฏิบติัตามรัฐธรรมนูญ  รวมถึงขอพิจารณาเพื ่อแกไขรัฐธรรมนูญในกรณที ่ีเห็นวาจาํเปน (มาตรา ๒๔๔ (๓)) 

๕) เพ ่ิมอํานาจคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติโดยใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติฟองศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองได ในกรณีท ่ีกฎหมาย 

กฎ คําสั ่ง หรือการกระทําใดขัดตอรัฐธรรมนูญ  และเปนผู  เสียหายแทนประชาชน 

เพ ่ือฟองศาลไดในกรณที ่ีมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน (มาตรา ๒๕๗ (๒) และ (๓)) 

๖) ใหสภาท ่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติมีอํานาจเพ ่ิมขึ ้นในการ  

ใหความเห็นเก ่ียวกับรางกฎหมายท ้ังหลายท ่ีเก ่ียวกับเศรษฐกิจและสังคมดวย  

(มาตรา ๒๕๘)

Page 195: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 195/206

๑๘๕ ๗) ใหองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ รัฐสภา และศาล สามารถแปรญัตติ

งบประมาณไดโดยตรงกับกรรมาธิการของสภา (มาตรา ๑๖๘ วรรคทาย)

๘) ใหสมาชิกสภาผู  แทนราษฎรสามารถอภิปรายนายกรัฐมนตรีไดงายขึ ้นโดยใชเสียงเพียง  ๑/๕ (มาตรา ๑๕๘ วรรคหนึ ่ง) และสามารถอภิปรายไมไววางใจรัฐมนตรีรายบุคคลไดโดยใชเสียงเพียง  ๑/๖ เทานั ้น (มาตรา๑๕๙ วรรคหนึ ่ง)

นอกจากนี ้ยังกําหนดใหสามารถอภิปรายไมไววางใจรัฐมนตรีที ่หลบการอภิปราย 

ไมไววางใจโดยไปดํารงตําแหนงรัฐมนตรีอื ่นได (มาตรา ๑๕๙ วรรคสองและ 

วรรคสาม) เชนเดียวกับการกาํหนดใหนายกรฐัมนตรแีละรัฐมนตรตีองมาตอบกระทู  ถามและชี ้แจงกับสภาดวยตนเอง (มาตรา ๑๖๒)

๙) แยกองคกรอัยการออกมาเปนอิสระจากรัฐบาลเพ ่ือใหองคกรอัยการทํางานไดอยางอิสระในการตรวจสอบการใชอํานาจของรัฐบาล (มาตรา ๒๕๕)

๑๐) ใหมีผู  ไตสวนอิสระซึ ่งมาจากการแตงตั ้งของท ่ีประชุมใหญศาลฎีกา 

จากผู  ซึ ่งมีความเปนกลางทางการเมืองและมีความซื ่อสัตยสุจริตเปนท ่ีประจักษ  

เพ ่ือชวยเหลือใหการปฏิบัติหนาท ่ีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู  ดํารงตําแหนงทางการเมืองเปนไปโดยมีประสิทธิภาพมากขึ ้น (มาตรา ๒๗๖) ทั ้งนี ้ อํานาจหนาท ่ีของผู  ไตสวนอิสระดังกลาวจะไดบัญญัติไวในกฎหมายตอไป 

๔.๓ จัดใหมีระบบการตรวจสอบการทํางานขององคกรอิสระตาม  รัฐธรรมนญู 

๑) การใหใบเหลือง  ใบแดง ของคณะกรรมการการเลือกตั ้งสามารถอุทธรณตอศาลฎีกาได  สวนการเลือกตั ้งระดับทองถ ่ิน  สามารถอุทธรณคําสั ่ง 

คณะกรรมการการเลอืกตั ้งที ่ศาลอุทธรณได (มาตรา ๒๓๙)

๒) กฎ คําสั ่ง หรือการกระทําอื ่นใดขององคกรตามรัฐธรรมนูญอันเนื ่อง 

มาจากการใชอํานาจตามกฎหมาย หรือเนื ่องมาจากการดําเนินกิจการทางปกครอง 

สามารถถกูตรวจสอบโดยศาลปกครองได (มาตรา ๒๓๓)

๓) ผู  ตรวจการแผนดินมีอํานาจตรวจสอบการละเลยการปฏิบัติหนาท ่ี หรือการปฏิบัติหนาท ่ีโดยไมชอบดวยกฎหมายขององคกรตามรัฐธรรมนูญ  หรือ 

Page 196: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 196/206

๑๘๖ องคกรในกระบวนการยุติธรรม ท ้ังนี ้ ไมรวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี 

ของศาล (มาตรา ๒๔๔ (๑) (ค))

Page 197: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 197/206

๑๘๗ นายนรนิติ เศรษฐบตุร  ประธานสภารางรัฐธรรมนญู 

นายเสร ีสุวรรณภานนท  รองประธานสภารางรัฐธรรมนูญ คนท ่ีหนึ ่ง 

นายเดโช สวนานนท  รองประธานสภารางรัฐธรรมนูญ คนท ่ีสอง 

รายชื ่อสมาชกิสภารางรัฐธรรมนญู 

1. นายกนก โตสุรัตน 

2. นางกรรณกิาร บรรเทิงจติร 

3. นายกฤษฎา ใหวัฒนานุกลุ 

4. นายกลานรงค จันทิก 

5. นายการณุ ใสงาม 

6. นายกติติ ตรีเศรษฐ 

7. นายเกรกิเกยีรติ พิพัฒนเสรีธรรม 

8. นายเกยีรติชัย พงษพาณชิย 

9. นายคมสัน โพธิ ์คง 

10. นายจรัญ ภักดีธนากลุ 

11. นายจรัส สุวรรณมาลา 

12. นายจติุนันท ภริมยภักดี 

13. นายเจรญิศักดิ ์ โรจนฤทธิ ์พเิชษฐ 

14. นายเจิมศักดิ ์ ป  นทอง 

15. นายช.ชัยนาท ศรีเสมาเมือง 

16. นายชนินทร บัวประเสรฐิ 

17. นายชวลติ หมื ่นนุช 

18. นายชาติชาย เจียมศรพีงษ 

Page 198: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 198/206

๑๘๘ 19. นายชาติชาย แสงสุข 

20. นายชาล ีกางอิ ่ม 

21. นายชํานาญ ภวูลิัย 

22. นายชูชัย ศุภวงศ 

23. นายโชคชัย อักษรนันท 

24. นายไชยยศ เหมะรัชตะ 

25. นางดวงสุดา เตโชติรส 

26. นายเดโช สวนานนท 27. นายธนพิชญ มูลพฤกษ 

28. พลตํารวจโท ธรรมนิตย ปตะนีละบตุร 

29. นายธวัช บวรวนิชยกรู 

30. นายธิติพันธุ  เชื ้อบุญชัย 

31. นายธีรวัฒน รมไทรทอง 

32. นายนครินทร เมฆไตรรัตน 

33. นายนรนิติ เศรษฐบตุร 

34. นายนิตย วังววิัฒน 

35. นายนิมิตร ชัยจรีะธิกลุ 

36.

นายนุรักษ 

มาประณตี 

37. นายปกรณ ปรียากร 

38. นายประดิษฐ เหลืองอราม 

39. นายประพันธ นัยโกวิท 

40. นายประวทิย อัครชิโนเรศ 

41. นายประสงค พิทูรกจิจา 

42. นายปรญิญา ศิริสารการ 

Page 199: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 199/206

๑๘๙ 43. นางพรรณราย แสงวเิชียร 

44. นางสาวพวงเพชร สารคุณ 

45. นายพเิชียร อํานาจวรประเสรฐิ 

46. นายพสิิฐ ล ้ีอาธรรม 

47. พลเรอืเอก พีรศักดิ ์ วัชรมูล 

48. นายไพบลูย วราหะไพฑูรย 

49. นายไพโรจน พรหมสาสน 

50. นายมนตรี เพชรขุ  ม 

51. นายมนูญศรี โชติเทวัญ 

52. นายมานิจ สุขสมจิตร 

53. พลตํารวจเอก มีชัย นุกูลกจิ 

54. นายรัฐ ชูกลิ ่น 

55. นางรจุริา เตชางกรู 

56. นายวรากรณ สามโกเศศ (ลาออกเมื ่อวันท ่ี 1 ก.พ. 2550)

57. นายวัชรา หงสประภัศร 

58. นายวชิัย รปูขําดี 

59. นายวชิัย เรืองเรงิกลุฤทธิ ์ 

60.

นายวชิัย 

ศรขีวัญ 

61. นายวชิา มหาคุณ 

62. นายวทิธยา บรบิูรณทรัพย 

63. นายวทิยา คชเขื ่อน 

64. นายวทิยา งานทว ี

65. นายวทิวัส บญุญสถิตย 

66. นายวนัีส มานมุงศลิป 

Page 200: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 200/206

๑๙๐ 67. นายวฒุชิาติ กัลยาณมิตร 

68. นายวฒุสิาร ตันไชย 

69. นายศรรีาชา เจริญพานิช 

70. นายศักดิ ์ชัย อุ นจิตติกลุ 

71. นายศักดิ ์นรินทร เขื ่อนอน 

72. นายศวิะ แสงมณ ี

73. นายเศวต ทินกูล 

74. นางสดศรี สัตยธรรม 

75. นายสนั ่น อินทรประเสรฐิ 

76. นายสมเกียรติ รอดเจริญ 

77. นายสมคิด เลิศไพฑูรย 

78. นายสมชัย ฤชุพันธุ  

79. นายสมยศ สมวิวัฒนชัย 

80. นายสวัสดิ ์ โชติพานิช 

81. นายสวาง ภู พัฒนวบิูลย 

82. นายสวงิ ตันอุด 

83. นายสามขวัญ พนมขวัญ 

84.

นายสุนทร 

จันทรรังสี 

85. นายสุรชัย เลี ้ยงบญุเลศิชัย 

86. นายสุรพล พงษทัดศิรกิุล 

87. นายเสริมเกียรติ วรดิษฐ 

88. นายเสรี นิมะย ุ

89. นายเสรี สุวรรณภานนท 

90. นายหลักชัย กติติพล 

Page 201: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 201/206

๑๙๑ 91. นายอนุศาสน สุวรรณมงคล 

92. นายอภชิาติ ดําดี 

93. นายอรรครัตน รัตนจันทร 94. นายอรัญ ธรรมโน 

95. นางสาวอลสิา พันธุศักดิ ์ 

96. นายอัครวทิย สุมาวงศ 

97. นายอังคณา นีละไพจติร 

98. นางสาวอาภา อรรถบรูณวงศ 99. นายอุทิศ ชูชวย 

100.นายโอกาส เตพละกลุ 

101.นายโอรส วงษสิทธิ ์ (ไดรับแตงตั ้งเมื ่อวันท ่ี 1 มี.ค. 2550

แทนนายวรากรณ สามโกเศศ)

Page 202: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 202/206

๑๙๒ 

Page 203: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 203/206

๑๙๓ รายชื ่อคณะกรรมาธกิารยกรางรัฐธรรมนูญ 

1. นาวาอากาศตรี ประสงค สุ นศิริ  ประธานคณะกรรมาธิการ 

2. นายอัครวิทย สุมาวงศ  รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท ่ีหนึ ่ง 

3. นายจรัญ ภักดีธนากุล  รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท ่ีสอง 

4. ศาสตราจารย (พิเศษ) วชิา มหาคุณ  รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท ่ีสาม 

5. นายชูชัย ศุภวงศ  รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท ่ีสี ่ 

6. ศาสตราจารยสมคิด เลิศไพฑูรย  เลขานุการคณะกรรมาธิการ 

7. นายอัชพร จารจุินดา  รองเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนที ่หนึ ่ง 

8. นางกาญจนารตัน ลีวโิรจน  รองเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนท ่ีสอง 

9. นายคมสัน โพธิ ์คง  รองเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนท ่ีสาม 

10. ผู  ชวยศาสตราจารยธิติพันธุ  เชื ้อบุญชัย  รองเลขานุการคณะกรรมาธิการ คนท ่ีสี ่ 

11. นายธงทอง จันทรางศุ  โฆษกคณะกรรมาธิการ 

12. นายพสิิฐ ล ้ีอาธรรม  โฆษกคณะกรรมาธิการ 

13. นายไพบลูย วราหะไพฑูรย  โฆษกคณะกรรมาธิการ 

14. นายปกรณ ปรียากร  โฆษกคณะกรรมาธิการ 

15. ศาสตราจารยเกริกเกยีรติ พพิัฒนเสรีธรรม กรรมาธิการ 

16. ศาสตราจารยไชยยศ เหมะรัชตะ  กรรมาธิการ 

17. นายเดชอุดม ไกรฤทธิ ์  กรรมาธิการ 

18. นายวจิติร สุระกลุ  กรรมาธิการ 

19. นายธนพิชญ มูลพฤกษ  กรรมาธิการ 

20. รองศาสตราจารยนครินทร เมฆไตรรัตน  กรรมาธิการ 

21. นายนุรักษ มาประณตี  กรรมาธิการ 

22. นายประพันธ นัยโกวทิ  กรรมาธิการ 

Page 204: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 204/206

Page 205: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 205/206

๑๙๔ 23. นางสาวพวงเพชร สารคุณ  กรรมาธิการ 

24. นายไพโรจน พรหมสาสน  กรรมาธิการ 

25. นายมนตรี ศรีเอี ่ยมสะอาด  กรรมาธิการ 

26. นายมานิจ สุขสมจิตร  กรรมาธิการ 

27. นายวจิติร วชิัยสาร  กรรมาธิการ 

28. นายวทิยา งานทว ี กรรมาธิการ 

29. รองศาสตราจารยวฒุิสาร ตันไชย  กรรมาธิการ 

30. รองศาสตราจารยศรรีาชา เจริญพานิช  กรรมาธิการ 

31. นางสดศร ีสัตยธรรม  กรรมาธิการ 

32. นายสนั ่น อินทรประเสรฐิ  กรรมาธิการ 

33. นายสุพจน ไขมุกด  กรรมาธิการ 

34. นางอังคณา นีละไพจติร  กรรมาธิการ 

35. พลเอก อัฏฐพร เจริญพานิช  กรรมาธิการ 

Page 206: Constitution 50

8/3/2019 Constitution 50

http://slidepdf.com/reader/full/constitution-50 206/206