24
รายงานผลการวิจัย เรื่อง ผลกระทบของการเลี้ยงกุงกุลาดําตอคุณภาพนําใน อําเภอดอนสัก กาญจนดิษฐ และ และทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี ทะเบียนวิจัยเลขที37-38-04-23-319-10-09-34-21 ดํ าเนินการโดย นายสุทัส โปรษยกุล นายประสิทธิตันประภาส กลุมปรับปรุงดินเค็ม กองอนุรักษดินและนํกระทรวงเกษตรและสหกรณ

รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

รายงานผลการวิจัย

เรื่อง

ผลกระทบของการเลี้ยงกุงกุลาดํ าตอคุณภาพนํ้ าในอํ าเภอดอนสัก กาญจนดิษฐ และ และทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี

ทะเบียนวิจัยเลขที่ 37-38-04-23-319-10-09-34-21

ดํ าเนินการโดย

นายสุทัส โปรษยกุลนายประสิทธิ์ ตันประภาส

กลุมปรับปรุงดินเค็ม กองอนุรักษดินและนํ้ ากระทรวงเกษตรและสหกรณ

Page 2: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

สารบัญหนา

1. บทคัดยอ 12. หลกัการและเหตุผล 33. วัตถุประสงค 34. การตรวจเอกสาร 45. ระยะเวลาและสถานที่ดํ าเนินการ 56. อุปกรณและวิธีการดํ าเนินการ 67. ผลการศึกษาและวิจารณ 88. สรุปผลการศึกษา 199. เอกสารอางอิง 20

Page 3: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

สารบัญภาพ หนา

1. ภาพที่ 1 พืน้ทีช่ายฝงทะเลจังหวัดสุราษฎรธานี 15

Page 4: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

สารบัญตาราง หนา

1. ตารางที่ 1 คาปฏิกริยา (pH) ของนํ้ าทิ้งจากบอเลี้ยงกุงและนํ้ าทะเล 16ป พ.ศ. 2537

2. ตารางที่ 2 คาความเค็มของนํ้ าทิ้งจากบอเลี้ยงกุงและนํ้ าทะเล 16 ป พ.ศ. 2537 (หนวย : ppt)3. ตารางที่ 3 ปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ในนํ้ าทิ้งจากบอเลี้ยงกุง 17 และนํ ้าทะเล ป พ.ศ. 2537 (หนวย : ppm)4. ตารางที่ 4 ปริมาณของไนไตรท-ไนโตรเจน (NO3-N) ในนํ้ าทิ้งจากบอเลี้ยงกุง 17 และนํ ้าทะเล ป พ.ศ. 2537 (หนวย : ppm)5. ตารางที่ 5 ปริมาณของออโทฟอสเฟต (PO4-P) ในนํ้ าทิ้งจากบอเลี้ยงกุง 18 และนํ ้าทะเล ป พ.ศ. 2537 (หนวย : ppm)6. ตารางที่ 6 ปริมาณของออกซิเจนที่ละลายในนํ้ า (DO) ในนํ้ าทิ้งจากบอ 18 เลีย้งกุงและนํ้ าทะเล ป พ.ศ. 2537 (หนวย : ppm)

Page 5: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

1

ทะเบียนวิจัยเลขที่ 37-38-04-23-319-10-09-34-21

ชื่อโครงการ ผลกระทบของการเลี้ยงกุงกุลาดํ าตอคุณภาพนํ้ าในอํ าเภอดอนสัก กาญจนดิษฐและทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานีImpact of shrimp farming on water quality of Amphoe Donsak, Kanchanadit andTha-Chang, Changwat Surat Thani

กลุมชุดดินที่ 12 ชุด ทาจีน

ผูดํ าเนินการ นายสุทสั โปรษยกุล Mr. Suthat Prosayakulนายประสิทธิ์ ตันประภาส Mr. Prasit Tonprapas

บทคัดยอ

การศึกษาคุณภาพของนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลที่เกิดจากผลกระทบของการเลี้ยงกุงกุลาดํ าในคลองดอนสกั อํ าเภอดอนสัก คลองบางอุน คลองเฉงอะ อํ าเภอกาญจนดษิฐ และคลองทาฉาง อํ าเภอทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธาน ี มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพนํ้ าทิ้งที่ปลอยลงสูคลองระบายนํ้ า โดยที่ยังไมมีการบ ําบดั และนํ ้าทิง้เหลานี้เมื่อถูกระบายออกสูทะเลอาจทํ าใหคุณภาพของนํ้ าทะเลที่นํ ามาใชในการเลี้ยงกุงเปลีย่นแปลงไปดวย ในขณะเดียวกันก็ตองการทราบวาการขุดบอเลี้ยงกุงในพื้นที่ที่เคยเปนปาชายเลนมากอนจะมีผลกระทบอยางไรตอคุณภาพของนํ้ าทิ้ง และนํ้ าทะเล การวางแผนการทดลองใชการทดลองแบบวิธีสังเกตุ(observation) โดยแบงสดัสวนของบอเลี้ยงกุงตอปาชายเลน ออกเปนสัดสวนตางๆ กัน คือ คลองดอนสัก มีบอเลี้ยงกุง : ปาชายเลนเทากับ 100:0 คลองบางอุน มีบอเลี้ยงกุง : ปาชายเลน เทากับ 35:65 คลองทาฉาง มีบอเลี้ยงกุง : ปาชายเลน เทากับ 50:50 คลองเฉงอะ มีบอเลี้ยงกุง : ปาชายเลน เทากับ 75:25 ซึง่ขอมูลดังกลาวนี้ไดสอบถามจากกรมประมงและกรมปาไม

คาของคุณภาพนํ้ าที่ศึกษาไดจากคาเฉลี่ยจากการวิเคราะหตัวอยางนํ้ าทุกจุดในคลองที่เก็บตัวอยาง ซึง่แตละจดุจะหางกันประมาณ 400 เมตร จุดสุดทายของการเก็บตัวอยางจะอยูระหวางรอยตอของปากคลองกบัทะเล ระดบัของความลึกที่เก็บเทากับ 4 ใน 10 สวนของระดับนํ้ าแตละจุดในขณะนั้น ตัวอยางนํ้ าทะเลจะเกบ็จากนํ ้าในบอพกันํ้ า แลวแชลงในลังนํ้ าแข็งสงไปยังหองปฏิบัติการ การศึกษาเริ่มตนในเดือนเมษายน 2537และสิน้สดุในเดอืนธันวาคม 2537 โดยการเก็บตัวอยางนํ้ าเดือนละ 1 คร้ัง เดือนเวนเดือน

Page 6: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

2

ผลการศึกษาพบวาการเลี้ยงกุงกุลาดํ าไมมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงคาปฏิกริยาของนํ้ าทิ้งและนํ ้าทะเลอยางเดนชัด แตจะมีคาผันแปรตามฤดูกาล โดยเฉพาะคาปฏิกริยาของนํ้ าทะเลในบริเวณพื้นที่ที่มีปาชายเลนมแีนวโนมลดลงและเปนกรดออนในชวงฤดูฝน ในบริเวณที่ไมมีปาชายเลนปฏิกริยาของนํ้ าทะเลจะมีคาเปนกลางจนถงึเปนดางเล็กนอย แสดงใหเห็นวาปาชายเลนมีอิทธิพลตอคาปฏกิริยาของนํ้ าทะเล คาความเค็มของนํ ้าทะเลในบรเิวณทีม่ปีาชายเชนจะมีความผันแปรตามฤดูกาลเชนเดียวกับคาปฏิกริยา แตยังมีความเค็มอยูในชวง5-30 ppt ซึง่เปนคาทีพ่บโดยทั่วๆ ไปในแหลงนํ้ ากรอย และยังมีความเหมาะสมตอการใชเลี้ยงกุง

ปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดในนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลไดรับผลกระทบจากการเลี้ยงกุงกุลาดํ าไมมากนกั สวนใหญจะมคีาผันแปรตามฤดูกาล ปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดในนํ้ าทิ้งจะสูงกวาในนํ้ าทะเล การมีหรือไมมีปาชายเลนไมแสดงผลกระทบตอปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟด ซึ่งแตกตางจากปริมาณของไนไตรทที่พบวาในบริเวณทีม่ีปาชายเลนหนาแนน จะมีไนไตรทในปรมิาณคอนขางสูง แตปริมาณที่มีอยูทั้งในนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลคอนขางตํ ่ามากจนไมอยูในระดับที่เปนอันตรายตอสัตวนํ้ า

ปริมาณของฟอสเฟตทั้งในนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลไดรับผลกระทบจากการเลี้ยงกุงกุลาดํ าอยางเดนชัดโดยเฉพาะในนํ ้าทิง้พบวาในปริมาณที่สูงมาก เนื่องจากฟอสเฟตสะสมอยูกับตะกอนดินในรูปของแคลเซียมฟอตเฟต อลูมนิัม่ฟอสเฟต และไอออนของฟอสเฟตไดเปนอยางดี ในบริเวณที่มีปาชายเลนจะพบปริมาณของฟอสเฟตในนํ ้าทะเลคอนขางสูงกวาบริเวณที่ไมมีปาชายเลน ซึ่งอาจเนื่องมาจากบริเวณที่ไมมีปาชายเลนมีการแพรกระจายไดดีกวา

ปริมาณของออกซเิจนในนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลทั้งในเขตการเลี้ยงกุงที่มีและไมมีปาชายเลน มีอยูในปริมาณที่คอนขางสูง อยูในชวง 5.17-7.54 ppm ซึง่เพยีงพอตอความตองการของสัตวนํ้ า เนื่องจากในเขตที่มีการเลีย้งกุงแบบพฒันา เกษตรกรใชกังหันตีนํ้ าเพื่อปริมาณของออกซิเจนในนํ้ า จึงไมมีปญหาการขาดออกซิเจน

Page 7: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

3

หลักการและเหตุผล

อาชพีการเลีย้งกุงกลุาดํ าเปนอาชีพที่ทํ าไดไมยุงยากและซับซอนมากนัก อาจกลาวไดวาเปนอาชพีทีท่ ํารายไดดีจึงแพรขยายอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในแถบชายฝงทะเลภาคใต การขุดบอเลี้ยงกุงสวนใหญเกษตรกรจะเลอืกพืน้ทีท่ีอ่ยูใกลชายฝงทะเล เนื่องจากสะดวกและงายตอการนํ านํ้ าเขามาใชและการระบายทิ้ง พื้นทีดั่งกลาวนีเ้ดิมเปนปาชายเลน เมื่อมีการขุดและทํ าลายจะทํ าใฟเกิดการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติทางนิเวศชายฝงทะเลอยางรุนแรงและรวดเร็ว การขุดกลับหนาดินจะทํ าใหเกิดการปลดปลอยกรดซลัฟริูคออกมา ดินจึงเปนกรดจัดปริมาณของออกซเิจนในดินลดลง เกิดการสะสมของสารพิษของโลหะ อโลหะของเกลือ และอนุมูลของเกลือตางๆจนเปนอันตรายตอพืชและสัตว

การเลีย้งกุงจํ าเปนตองปรับสภาพนํ้ าและดินใหมปีฏิกริยาพอเหมาะ เนื่องจากดินในบริเวณที่เปนปาชายเลนดั้งเดิมเปนกรดจัดดังกลาวแลว เพราะมีแรไพไรทสะสมอยูเปนจํ านวนมาก จึงจํ าเปนตองใชปูนขาวเพื่อปรับปฏิกริยาของดินและนํ้ า เปนเหตุใหปฏิกริยาของดินและนํ้ าเปลี่ยนแปลงไป ในขณะเดียวกันการทํ าคันกั้นนํ้ าก็เปนอปุสรรคตอการขึ้นลงของนํ้ าทะเล ซึ่งอาจมีผลตอความเค็มของนํ้ าในบอเลี้ยง

การเลี้ยงกุงแบบพัฒนาจํ าเปนตองใหอาหารและยาปฏิชีวนะเพื่อเรงการเจริญเติบโตและการปองกนัโรค ดังนัน้อาหารทีเ่หลือ ยาปฏิชีวนะที่ตกคาง และสิ่งขับถายจากกุงจะเปนปจจัยสํ าคัญที่กอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพของนํ้ า

ปาชายเลนเปนตวักรองทางธรรมชาติที่สํ าคัญ เนื่องจากนํ้ าที่ไหลผานจะลดความเร็วลงเมื่อปะทะกบัปาชายเลนกอนทีจ่ะออกสูทะเล จึงทํ าใหสารและตะกอนตางๆ บางสวนตกตะกอนทํ าใหคุณภาพของนํ้ าดีข้ึนเมือ่ปาชายเลนลกูท ําลายเพื่อกิจกรรมการเลี้ยงกุงหรือเพื่อกิจกรรมอื่นใดก็ตาม จึงทํ าใหขาดตัวกรองทางธรรมชาติและอาจเปนปจจยัหนึ่งที่ทํ าใหคุณภาพของนํ้ าเปลี่ยนแปลงไป ดวยสาเหตุดังกลาวมาแลวทั้งหมดขางตน กลุมปรับปรุงดนิเคม็ จงึไดทํ าการศึกษาผลกระทบของการใชพื้นที่ดินเค็มที่เปนปาชายเลนเพื่อการเลี้ยงกุงกุลาดํ าตอคุณภาพของนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเล

วัตถุประสงค

เพือ่ศึกษาการเปลีย่นแปลงคุณภาพของนํ้ าทางเคมีบางประการ ในคลองระบายนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลทีเ่กดิจากกจิกรรมการเลี้ยงกุงกุลาดํ า ในพื้นที่ดินเค็มชายทะเลทั้งที่มีปาชายเลนและไมมีปาชายเลน

Page 8: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

4

การตรวจเอกสาร

ผลจากการศึกษาคุณภาพของนํ้ าที่ชายฝงทะเลเขตระโนด จงัหวัดสงขลา และชายฝงทะเลเขตหัวไทร จงัหวดันครศรีธรรมราช ซึ่งเปนบริเวณที่มีการเลี้ยงกุงกุลาดํ า เปรียบเทียบกับชายฝงทะเลเขต อ.สทิงพระจงัหวดัสงขลา ซึง่เปนบริเวณที่ไมมีการเลี้ยงกุงของเริงชัย (2538) พบวาคุณภาพของนํ้ าในเขตที่มีการเลี้ยงกุงกลุาด ําตํ ่ากวาเขตที่มไมมีการเลี้ยงกุงอยางเห็นไดชัด คาที่ศึกษา ไดแก แอมโมเนีย BOD ไนไตรท suspendedsoild total oxidized nitrogen total phosphorus และคา SOC (specific oxygen consumption) ของตะกอนจะเพิม่มากขึ้นในเขตที่มีการเลี้ยงกุง

นอกจากนีย้งัรายงานวานํ ้าทิ้งจากบอกุง จะประกอบดวยสารอินทรียเปนจํ านวนมาก ซึ่งเกิดจากของเสยีทีขั่บถายออกจากกุง จากเศษอาหารที่เหลือในบอ การปลอยนํ้ าทิ้งติดตอกันเปนเวลานานๆ จากบอเลี้ยงกุงลงสูชายฝงทะเล จึงกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศของชายฝง และสารอินทรียที่มีมากเกินไปในนํ้ าทะเลดังกลาว จะกอใหเกิดการเจริญเติบโตของแพลงกตอนพืชอยางรวดเร็ว ซึ่งบางครั้งอาจกอใหเกิดปรากฎการณข้ีปลาวาฬ (red tide) ทีจ่ะท ําใหเกิดความเสียหายตอการเลี้ยงกุงในบริเวณนั้นๆ ได

ประวณี (2519) ไดทํ าการศึกษาคาความเค็มของนํ้ าบริเวณปาชายเลนเกาะภูเก็ต พบวาคาความเคม็ของนํ ้าจะแปรเปลี่ยนไปตามฤดูกาล ในชวงเริ่มฤดูมรสุม (เดือนพฤษภาคม) นํ้ าจะมีความเค็ม โดยเฉลี่ยประมาณ 29.64 ppt ในชวงกลางฤดมูรสุม (มิถุนายน-กันยายน) จะมีความเค็มอยูในชวงระหวาง 16-31 ppt และในปลายฤดูมรสุมจะมีความเค็มเฉลี่ย ประมาณ 28 ppt

สนทิ (2532) รายงานวาปริมาณของออกซิเจนที่ละลายในนํ้ าจะแปรเปลี่ยนไปตามระยะเวลากลางวนั กลางคืน ฤดูกาล ความอุดมสมบูรณของพืชและสัตวในบริเวณปาชายเลน

Perkin (1974) รายงานวาคาปฏกิริยาของแหลงนํ้ ากรอยจะมีความผันแปรมากกวาทะเลเปด ในสภาพทีป่ราศจากมลพิษคาปฏิกริยาบริเวณผิวนํ้ าจะมีคาสูงกวาพื้นทองนํ้ า อนตั (2522) ศึกษาพบวานอกเขตและบริเวณเขตปาชายเลน นํ้ าจะมีคาปฏกิริยาอยูในชวง 7.1-7.4 และในเขตปาจะอยูในชวง 6.6-7.0

ชนนิทร (2536) ศึกษาคุณภาพของนํ้ าทิ้งที่ระบายออกจากบอเลี้ยงกุงที่อํ าเภอกาญจนดิษฐจงัหวัดสุราษฎรธานี พบวาคาปฏกิริยาของนํ้ าเปนดางเล็กนอย มีคา pH อยูระหวาง 8.03-8.73 แอมโมเนียมีคาเฉลี่ยประมาณ 0.66 mg/L ซึง่สงูกวาคามาตรฐานมาก ไนเตรทและไนไตรทมคีาเฉลี่ยประมาณ 0.12 mg/L นํ้ าทิ้งดังกลาวนี ้ เมือ่ระบายผานปาชายเลนคุณภาพของนํ้ าจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ึนเพียงเล็กนอย วิพักตร และมาล ี (2536) และกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม (2536) รายงานวาการทํ าลายปาชายเลนไมวาเพื่อกิจกรรมใดๆกต็ามจะท ําใหเกดิการเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงและรวดเร็ว การเปดและการกลับหนาดิน จะทํ าใหดินปลดปลอย

Page 9: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

5

กรดซลัฟริูคออกมา ดินจึงเปนกรดจัด ปริมาณของออกซิเจนในดินลดลงเกิดการสะสมของสารพิษโลหะ อโลหะของเกลอื และอนุมูลของเกลือตางๆ จนเปนอันตรายตอพืชและสัตว

การเปลีย่นแปลงคุณภาพนํ้ าในแหลงนํ้ าธรรมชาติมีสาเหตุหลักอยูสองประการ คือ การเปลี่ยนแปลงทีเ่กดิขึน้ตามธรรมชาติ และการเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจากการกระทํ าของมนุษย การเปลี่ยนจากสาเหตุประการสุดทายนีม้กักอใหเกดิปญหามลพิษตอสภาพแวดลอมทั่วไป เชน ปญหาที่เกิดจากการเนาเสียของนํ้ าทิ้งจากการเลี้ยงกุงกลุาด ํา ซึง่มสีาเหตุจากการเนาสลายของสารอินทรีย ไดแก อาหารกุง และของเสียที่ขับถายจากกุง ทํ าใหปริมาณของออกซิเจนที่ละลายในนํ้ า (dissolved oiygen : DO) ลดลง เกดิการสะสมของสารพิษพวกแอมโมเนียไฮโดรเจนซัลไฟด และสารพิษอ่ืนๆ (ยนต, 2523; Boyd, 1979)

คุณภาพของนํ ้าทีเ่หมาะสมสํ าหรับการเลี้ยงกุงควรมีความเค็มอยูในชวง 15-25 สวนในพัน (ppt)มปีริมาณออกซิเจนในนํ้ ามากกวา 3 สวนในลาน (ppm) มี pH อยูในชวงระหวาง 7-9 มีปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดละลายอยูในนํ ้าไมเกิน 1.3 สวนในลาน มีปริมาณของแอมโมเนียไมเกิน 1.6 สวนในลาน และนํ้ าควรมีอุณหภูมิประมาณ 25-300 C (ประพันธ, 2530; สมยศ, 2531)

ระยะเวลาและสถานที่ดํ าเนินการ

ระยะเวลาดํ าเนินการ เร่ิมตน เดอืนเมษายน 2537ส้ินสุด เดือนธันวาคม 2537

สถานที่ดํ าเนินการ คลองดอนสัก บานโรงถาน อํ าเภอดอนสักคลองบางอุน บานบางอุน อํ าเภอกาญจนดิษฐคลองทาฉาง บานไรปรุง อ ําเภอทาฉางคลองเฉงอะ บานเฉงอะ อํ าเภอกาญจนดิษฐ

จงัหวัดสุรษฎรธานี

Page 10: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

6

อุปกรณและวิธีดํ าเนินการ

อุปกรณ1. ขวดเก็บตัวอยางนํ้ าขนาด 250 มิลลิลิตร2. เครื่องวัดคาปฏิกริยานํ้ า (pH meter) และอุณหภูมิ)3. ลังโฟมส ําหรับแชตัวอยางนํ้ า4. เครื่องวัดคาการนํ าไฟฟา5. สารละลาย Zn acetate

วธิดํี าเนินการดํ าเนินการทดลองแบบ observation โดยคดัเลอืกพื้นที่ที่มีการเลี้ยงกุงกุลาดํ าที่มีสภาพของพื้นที่

ทีแ่ตกตางกัน ดังนี้1. บริเวณโดยรอบจดุที่เก็บตัวอยางนํ้ าเปนบริเวณพื้นที่ที่มีแตบอเลี้ยงกุง โดยไมมีปาชายเลน

เหลอือยูเลยมีสัดสวนของบอเลี้ยงกุง : ปาชายเลน เทากับ 100:0 และพืน้ทีบ่อเลี้ยงกุงสวนใหญเคยเปนปาชายเลนมากอน พืน้ทีดั่งกลาวนี้ ไดแก พื้นที่รอบคลองดอนสัก อ.ดอนสัก จ.สุราษฎรธานี จุดที่เก็บตัวอยางนํ้ าเริ่มตนจากบานโรงถานเรือ่ยไปจนถึงรอยตอระหวางปากคลองกับทะเล มีจุดเก็บตัวอยาง 4 จุด แตละจุดหางกันประมาณ400 เมตร

2. บริเวณโดยรอบจดุที่เก็บตัวอยางนํ้ าเปนบริเวณพื้นที่ที่มีบอเลี้ยงกุงรอยละ 35 มีปาชายเลนรอยละ 65 หรือคิดเปนสัดสวนของชอเลี้ยงกุง : ปาชายเลน เทากับ 35:65 และพืน้ทีท่ีเ่ปนบอเลี้ยงกุงสวนใหญเคยเปนปาชายเลนมากอน พื้นที่ดังกลาวนี้ ไดแก พื้นที่โดยรอบคลองบางอุน บานบางอุน อ.กาญจนดิษฐ จ.สุราษฎรธานีจดุทีเ่กบ็ตัวอยางนํ ้าเริม่จากบานบางอุนเหนือไปจนถึงรอยตอระหวางปากคลองกับทะเลมีจุดเก็บตัวอยางนํ้ า 3 จุดแตละจุดหางกันประมาณ 400 เมตร

3. ลักษณะและสภาพพื้นที่เชนเดียวกับขอ 2 แตมีสัดสวนของบอเลี้ยงกุง : ปาชายเลน เทากับ50:50 พืน้ทีดั่งกลาวนี ้ไดแก พื้นที่โดยรอบคลองทาฉาง บานไรปรุง อ.ทาฉาง จ.สุราษฎรธานี จุดที่เก็บตัวอยางนํ้ าเร่ิมจากบานไรปรุงไปจนถึงรอยตอระหวางปากคลองกับทะเล มีจุดเก็บตัวอยางนํ้ า 3 จุด แตละจุดหางกันประมาณ400 เมตร

4. ลักษณะและสภาพพื้นที่เชนเดียวกับขอ 2 แตมีสัดสวนของบอเลี้ยงกุง : ปาชายเลน เทากับ75:25 พืน้ทีดั่งกลาวนี้ ไดแก พื้นที่โดยรอบคลองเฉงอะ บานเฉงอะ อ.กาญจนดษิฐ จ.สุราษฎรธานี จุดที่เก็บตัวอยางนํ ้าเริม่จากบานเฉงอะไปจนถึงรอยตอระหวางปากคลองกับทะเล มีจุดเก็บตัวอยางนํ้ า 3 จุด แตละจุดหางกันประมาณ 400 เมตร

Page 11: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

7

การเกบ็ตัวอยางนํ ้า เก็บจากกึ่งกลางคลองในขณะนํ้ าลง ซึ่งเปนเวลาที่เกษตรกรกํ าลังระบายนํ้ าบางสวนออกจากบอเลี้ยงกุงทิ้งลงสูคลองระบายนํ้ า แตละจุดเก็บจํ านวน 2 ขวด ที่ระดับความลึกโดยปริมาณ 4 ใน10 สวนของความลกึของนํ้ าในขณะนั้น วิธีเก็บตัวอยางนํ้ าจะเปดฝาขวดเมื่อกดขวดใหจมไดระดับความลึกดังกลาวแลว เมือ่นํ ้าเขาเต็มขวด จึงปดฝาขวดใหสนิทแลวเก็บรวบรวมใสถุงพลาสติก รัดปากถุงใหแนนนํ าลงแชในลังนํ ้าแขง็ทีเ่ตรยีมไวแลวนํ าสงไปยังหองปฏิบัติการ ตัวอยางนํ้ าจากแตละขวด จะนํ ามาวิเคราะหคุณภาพ ดังนี้

1. ขวดที ่ 1 ไมเติมสารเคมีใดๆ ใชเปนตัวอยางสํ าหรับวัด pH Ec และวเิคราะหหาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้ า (DO) ไนไตรท-ไนโตรเจน (NO2-N) และออโธฟอสเฟต (PO4-P)

2. ขวดที ่2 หลงัจากนํ าขวดตัวอยางขึ้นมาจากนํ้ าแลว เติมดวย Zn acetate 10-15 หยด ปดฝาไวตามเดมิ ใสลงในถงุพลาสติก รัดปากถุงใหแนนแลวจึงนํ าไปแชในลังนํ้ าแข็ง ใชเปนตัวอยางวิเคราะหหาปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ในหองปฏิบัติการ

สํ าหรับตัวอยางนํ้ าทะเลจะเก็บจากนํ้ าในบอพักนํ้ าที่เกษตรกรนํ ามาพักไวในบอพักกอนปลอยลงสูบอเลีย้งกุง ทัง้นีเ้พื่อใหไดตัวอยางนํ้ าที่มีคุณสมบัติตามธรรมชาติที่เกษตรกรใชเลี้ยงกุงและตัวอยางนํ้ าดังกลาวนี้ไดมกีารขึน้-ลง ผสมกบันํ ้าทีร่ะบายออกจากคลองะบายนํ้ าแลว ในบริเวณที่มีปาชายเลนนํ้ าดังกลาวนี้ก็จะไหลผานปาชายเลนมาแลวเชนกัน ซึ่งอาจทํ าใหตัวอยางนํ้ าจากแตละแหงมีคุณภาพแตกตางกันได

การเลอืกจดุเกบ็ตัวอยางนํ้ าซึ่งเปนจุดเริ่มตน จะเลือกตรงบริเวณที่มีการเลี้ยงกุงเปนบอสุดทายกอนทีจ่ะออกสูทะเลในวันเริ่มการทดลองและใชเปนจุดหลักตลอดการทดลอง

Page 12: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

8

ผลการศึกษาและวิจารณ

การศกึษาคณุสมบติัทางเคมีบางประการของนํ้ าทิ้งจากบอเลี้ยงกุง และนํ้ าทะเลในเขตอํ าเภอดอนสัก กาญจนดษิฐ และทาฉาง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดเร่ิมตนดํ าเนินการตั้งแตเดือนเมษายน จนถึงเดือนธันวาคม2537 มผีลการศึกษา ดังนี้

ปฏิกิริยา (pH) ของนํ้ า

ปฏิกริยาของนํ ้าทิง้จากคลองดอนสัก ในระหวางเดือนเมษายน-ธันวาคม 2537 อยูในชวง 7.2-7.9เฉลีย่ 7.6 (ตารางที่ 1) เมื่อนํ าไปเปรียบเทียบกับคาปฏกิริยาของนํ้ าทิ้งจากคลองบางอุน ทาฉาง และเฉงอะ ซึ่งมีคาปฏกิริยาอยูะหวาง 6.6-7.5 เฉลี่ย 7.1 6.6-7.7 เฉลี่ย 7.2 และ 6.7-7.5 เฉลี่ย 7.1 ตามลํ าดับ พบวาคาปฏิกริยาจากนํ ้าทิง้คลองดอนสักมีแนวโนมสูงกวา คาปฏกิริยาของนํ้ าทิ้งจากคลองบางอุน ทาฉาง และทาเฉงอะ บางชวงมปีฏิกริยาเปนกรดออนๆ คือ มปีฏิกริยาตํ ่ากวา 7 เล็กนอย ซึ่งอาจเกิดจากไดรับอิทธิพลจากนํ้ าจืดและดินในบอกุงและคลองระบายนํ้ าที่มีปฏิกริยาคอนขางเปนกรด

ปฏิกริยาของนํ ้าทะเลจากคลองดอนสักในชวงเดือนเดียวกันอยูในชวงระหวาง 7.4-7.9 เฉลี่ย 7.6เมือ่เปรียบเทียบกับนํ้ าทะเลจากคลองบางอุน ทาฉาง และเฉงอะ ที่มีคาปฏกิริยาอยูระหวาง 6.7-7.6 เฉลี่ย 7.26.9-7.8 เฉลีย่ 7.4 และ 6.7-7.5 เฉลี่ย 7.1 พบวาคาปฏกิริยาของนํ ้าทะเลจากคลองดอนสัก มีแนวโนมสูงกวา ซึ่งมีลักษณะเชนเดียวกับคาปฏกิริยาจากนํ้ าทิ้ง

ชนนิท (2536) รายงานวา คาปฏกิริยาของนํ ้าในพื้นที่ที่เปนปาชายเลนมากอน ควรมีคาเปนกรดปานกลางถงึเปนกรดเล็กนอย ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของดินในปาชายเลน คาปฏกิริยาของนํ้ าจึงควรมีคานอยกวาหรือเทากบัหรือมากกวา 7 เล็กนอย จากการศึกษาของอนันต (2522) พบวาดินในปาชายเลนอํ าเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี มีคาปฏกิริยาอยูระหวาง 4.9-5.0 Zottoli (1978) กศึ็กษาพบวาดินใตตนโกงกางจะมีคาปฏกิริยาประมาณ6.6 ใตตนแสมจะมีคาปฎกิริยาประมาณ 6.2 ปฏิกริยาของนํ้ าในปาชายเลนจึงควรมีคาอยูระหวาง 6.5-7.5

จากรายงานดงักลาวขางตนจะเห็นไดวาปฏิกริยาของนํ้ าทะเลจากคลองบางอุน คลองทาฉาง และคลองเฉงอะ โดยสวนใหญเปนไปตามลักษณะของธรรมชาติ และนํ้ าทะเลจากคลองดอนสักก็มีลักษณะเชนเดียวกนั จากการสงัเกตุพบวาคาปฏกิริยาของนํ ้าในชวงฤดูฝน (สิงหาคม-ธันวาคม) มีแนวโนมลดลง แสดงใหเห็นวาฤดูฝนมีอิทธิพลตอปฏิกริยาของนํ ้าทะเล โดยเฉพาะจากคลองทั้ง 3 ดังกลาวขางตน

เมื่อเปรียบเทียบคาปฏกิริยาของนํ ้าทิ้งกับนํ้ าทะเลจากคลองแตละแหง พบวามีความแตกตางกันนอยมาก แตจากการศึกษาของชนนิท (2536) พบวานํ้ าที่ระบายออกจากบอเลี้ยงกุงมีคาปฏกิริยาอยูระหวาง 8.0-

Page 13: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

9

8.7 และนํ ้าทะเลในบริเวณใกลปาชายเลนมีคาปฏกิริยาอยูระหวาง 8.06-8.60 ซึ่งโดยธรรมชาติแลวควรมีคาตํ่ ากวาหรอืสูงกวา 7 เพียงเล็กนอย และอนันต (2522) ศึกษาพบวานํ้ าในปาชายเลนที่ อํ าเภอขลงุ จังหวัดจันทบุรี มีคาปฏกิริยา เทากบั 6.7 ซึ่งแสดงใหเห็นวาการเลี้ยงกุงกุลาดํ ามีผลกระทบตอคาปฏิกริยาของนํ้ า การศึกษาในครั้งนี้จงึยงัไมสามารถกลาวไดวาการเลี้ยงกุงกุลาดํ ากอใหเกิดผลกระทบตอปฏิกริยาของนํ้ าทะเลอยางชัดเจน อยางไรก็ตามพบวาการทํ าลายปาชายเลนโดยไมเหลือไวเลยนั้น มีผลกระทบตอคาปฏกิริยาของนํ้ าคอนขางชัดเจน แตคาปฏิกริยาทีเ่ปลีย่นแปลงนั้นยังอยูในคามาตรฐานของปฏิกริยาของนํ้ าทะเล (คามาตรฐานอยูระหวาง 6.5-8.4 : Ayerและ Westcot, 1985)

คาความเค็มของนํ้ า

คาความเคม็ของนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลในคลองที่มีปาชายเลนทั้ง 3 แหง คอนขางแปรปรวนตามฤดูกาลในระหวางเดอืนเมษายน-มิถุนายน คาความเค็มเฉลี่ยตํ่ าสุด และสูงสุดของนํ้ าทิ้งมีคาระหวาง 4.35-19.20 ppt(ตารางที่ 2) เฉลี่ย 12.99 ppt นํ ้าทะเลมีคาระหวาง 6.40-19.20 ppt เฉลี่ย 13.76 ppt คาความเค็มของนํ้ าทะเลสวนใหญอยูในระดับที่พอเหมาะตอการเจริญเติบโตของกุง (คาความเค็มของนํ้ าทะเลที่กุงกุลาดํ าเจริญเติบโตไดดีอยูในชวง 10-20 ppt : บรรจง, 2529) ในระหวางเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ซึ่งเปนชวงที่มีฝนคอนขางตกชุก คาความเคม็เฉลี่ยของนํ้ าทิ้งอยูระหวาง 0.53-12.61 ppt เฉลี่ย 6.22 ppt นํ ้าทะเลมีคาระหวาง 1.82-20.61 ppt เฉลี่ย8.87 ppt จะเหน็ไดวาคาความเค็มของนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลนํ้ าทะเลในฤดูแลงจะสูงกวาในฤดูฝนเนื่องจากอิทธิพลของฝน

คาความเคม็ของนํ ้าทิ้งในคลองดินสักในเดือนเมษายน-มิถุนายน มีคาระหวาง 15.04-21.25 pptเฉลี่ย 18.14 ppt (ตารางที ่2) นํ้ าทะเลมีคาระหวาง 12.16-21.12 ppt เฉลี่ย 16.64 ppt ในระหวางเดือนสิงหาคม-ธนัวาคม นํ ้าทิ้งมีคาความเค็มเฉลี่ยระหวาง 16.64-25.02 ppt เฉลี่ย 21.65 ppt นํ ้าทะเลมีคาระหวาง 17.28-24.96ppt เฉลี่ย 21.76 ppt คาความเคม็ของนํ ้าทะเลสวนใหญมีคาคอนขางสูง และสูงมากกวาคาที่พอเหมาะตอการเจริญเติบโตของกุง (สูงกวา 20 ppt)

จากการศกึษาของชนนิทร (2536) พบวาในลํ ารางระบายนํ้ าทิ้งจากการทํ านากุงใน อํ าเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราฎรธานี มีคาความเค็มเฉลี่ยสูงสุด 24.6 ppt และตํ่ าสุด 11.3 ppt สวนนํ ้าทะเลจะมีคาอยูระหวาง 13.5-24.7 ppt และมคีวามผันแปรตามฤดูกาล นอกจากนี้ Zottoli (1978) ศึกษาพบวาในแหลงนํ้ ากรอยที่เปนปาชายเลนจะมีคาความเค็มต้ังแต 5 ppt จนถึง 30 ppt ดังนัน้การเลีย้งกุงจึงไมกอใหเกิดผลกระทบตอคาความเค็มของนํ้ า

Page 14: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

10

เมือ่เปรียบเทยีบคาความเค็มของนํ้ าทิ้งจากคลองดอนสักซึ่งไมมีปาชายเลนเหลืออยูกับอีกทั้ง 3แหง ไดแก คลองบางอุน ทาฉาง และเฉงอะ ซึง่มปีาชายเลนเหลืออยูในสัดสวนที่ตางกัน พบวานํ้ าทิ้งจากคลองดอนสักจะมคีาความเคม็สูงกวาจากทั้ง 3 คลองดังกลาว และเมื่อเปรียบเทียบคาความเค็มของนํ้ าทะเลจากคลองดอนสักกบัคาความเคม็จากคลองทั้ง 3 ผลที่ไดจะมีลักษณะเชนเดียวกับคาความเค็มจากนํ้ าทิ้ง นอกจากนี้ยังพบวาคาความเคม็ของนํ ้าทะเลและนํ้ าทิ้งจากคลองดอนสักไมแปรปรวนตามฤดูกาล ซึ่งแสดงใหวาการขุดทํ าลายปาชายเลนเพือ่กจิกรรมการเลี้ยงกุง โดยไมเหลือปาชายเลนอยูเลย อาจทํ าใหคาความเค็มของนํ้ าเปลี่ยนแปลงไปจากสภาพธรรมชาติ

ปรมิาณของไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S)

ซลัไฟดในนํ้ ามีอยู 3 รูปแบบ ไดแก H2S HS- และ S= รูปแบบไหนจะมีมากหรือนอยขึ้นอยูกับ pHซัลไฟดในรูปของ H2S จะเปนพษิตอส่ิงมีชีวิตมากกวาซัลไฟดในรูปอ่ืนๆ ถาอยูในรูปของไอออน (HS- และ S-) จะมีความเปนพษินอย แตการวิเคราะหโดยทั่วไปจะวิเคราะหเปนผลรวมของซัลไฟดทั้งหมด (Boyd, 1979)

ผลการวิเคราะหหาปริมาณของไฮโดรเจนซัลไดในคลองดอนสัก จากหองปฏิบัติการพบวาในนํ้ าทิง้อยูในชวงระหวาง 0.006-0.053 ppm นํ ้าทะเลอยูในชวงระหวาง 0.002-0.009 ppm (ตารางที่ 3) ปริมาณของซลัไฟดในนํ ้าทะเลมคีอนขางตํ่ ากวาในนํ้ าทิ้งมาก และปริมาณที่เปนอันตรายตอสัตวนํ้ าจะตองมีมากกวา 0.01mg/L หรือ ppm (คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ 2534)

ปริมาณของไฮโดรเจนซลัไดจากนํ้ าทิ้งในคลองดอนสักในเดือนเมษายน มีสูงมาก (0.053 ppm)ซึง่อาจเกดิจากการสะสมของนํ ้าทิ้งในชวงเวลาดังกลาว เนื่องจากการขึ้นลงของนํ้ าทะเลมีนอยมาก (นํ้ าตาย) ทํ าใหนํ ้าทิง้ถกูระบายออกไปสูทะเลเปนไปอยางชาๆ จึงทํ าใหเกิดการสะสมของไฮโดเจนซัลไฟดที่เกิดจากกิจกรรมของจุลินทรียที่ใชซัลเฟต และสารประกอบของซลัเฟอรออกไซดอ่ืนๆ เปนตัวรับอีเลก็ตรอนในขบวนการ metaboilismและปลดปลอยสารพวกซัลไฟดออกมาดังสมการ

SO=4 + SH+ S= + H2S

การลดปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดทํ าไดโดยการเพิ่ม pH และการเปลี่ยนถายนํ้ า (Boyd, 1979)ในระหวางเดอืนมถินุายน-ธันวาคม ปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดทั้งในนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเล จะลด

ลง ในนํ ้าทิ้งมีอยูในชวงระหวาง 0.006-0.020 ppm สวนในนํ ้าทะเลอยูในชวงระหวาง 0.002-0.008 ppm แสดงใหเหน็วาในชวงที่เปนฤดูฝน ปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดจะลดลง

Page 15: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

11

นํ ้าทิง้ในคลองบางอุน ทาฉาง และทาเฉงอะ ในเดือนเมษายน ปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดจะสูงเมือ่เทยีบกับคลองดอนสัก คือ มีคาระหวาง 0.038-0.061 ppm และอาจมสีาเหตุเชนเดียวกับคลองดอนสัก ในระหวางเดอืน มิถุนายน-ธันวาคม จะมีคาระหวาง 0.002-0.029 ppm ซึง่คาเฉลี่ยสูงสุดนับวาอยูในปริมาณที่คอนขางสูง

นํ ้าทะเลในคลองทัง้ 3 แหง ในเดือนเมษายน มีปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดละลายอยูในชวง0.004-0.018 ppm ในระหวางฤดูฝนจะมีปริมาณลดลงอยูในชวง 0.002-0.015 ppm และเมื่อนํ าไปเปรียบเทียบกบัคลองดอนสกัจะเหน็วามีความแตกตางกันเพียงเล็กนอย ซึ่งแสดงใหเห็นวาการขุดบอเลี้ยงกุงโดยมีปาชายเลนมากหรอืนอย หรือไมมีเลย มีผลตอปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดเพียงเล็กนอย

ปรมิาณของไนไตรท-ไนโตรเจน (NO2-N)

ไนไตรทในนํ ้าทิง้สวนใหญเกิดจากการขับถายของกุง และกิจกรรมของจุลินทรยีที่เปลี่ยนแอมโมเนียในบอกุง (Nitrosomonas และ Nitrobactor) นํ ้าทีใ่ชเลี้ยงกุงถามีไนไตรทอยูระหวาง 8.5-15.4 mg/L จึงจะท ําใหกุงตายรอยละ 90 ในเวลา 96 ชั่วโมง (LC 90 ที ่96 ชั่วโมง : Colt และ Armstrong, 1981)

ผลการวเิคราะหหาปริมาณของไนไตรทจากคลองดอนสักในหองปฏิบัติการในแตละเดือน พบวามีนอยมาก ในนํ้ าทิ้งมีอยูในชวงระหวาง 0.003-0.016 ppm ในนํ ้าทะเลมีอยูในชวงระหวาง 0.002-0.014 ppm (ตารางที ่ 4) ซึง่เปนชวงที่ไมเปนอันตรายตอสัตวนํ้ า และสอดคลองกับการศึกษาของชนินทร (2536) ที่พบวาคาเฉลี่ยของไนไตรทจากนํ้ าทิ้งในลํ ารางระบายนํ้ าจากบอเลี้ยงกุงในเขต อํ าเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี มีคาอยูระหวาง 0.0022-0.0041 mg/L ในบอกุงมีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 0.0020-0.0051 mg/L และในปาชายเลนมีคาเฉลี่ยสูงสุด เทากับ 0.0051 mg/L นอกจากนี้ปริมาณของไนไตรทจะมนีอยกวาปริมาณของแอมโมเนียและไนเตรท เนื่องจากแอมโมเนยีและไนเตรท เปนสารประกอบที่สามารถสะสมอยูในดินตะกอนไดดีกวาไนไตรทและไนไตรทมีโอกาสเปลี่ยนรูปไปเปนไนเตรทเหรือแอมโมเนียได

นํ ้าทิง้จากคลองบางอุน มีปริมาณไนไตรทอยูในชวงระหวาง 0.011-0.220 ppm ซึง่มปีริมาณที่สูงกวาในนํ้ าทิ้งจากคลองทาฉางและเฉงอะ ที่มีไนไตรทอยูในชวงระหวาง 0.003-0.115 ppm และ 0.006-0.079 ppmตามล ําดบั สาเหตอุาจเกดิจากมีการสะสมของนํ้ าทิ้งในคลองบางอุนมากกวานํ้ าทิ้งจากคลองทาฉางและเฉงอะเนือ่งจากคลองบางอุนมีขนาดแคบกวาคลองทาฉางและคลองเฉงอะ

นํ ้าทะเลในคลองบางอุนมีปริมาณไนไตรทอยูระหวาง 0.004-0.035 ppm คลองทาฉางเฉงอะอยูในชวง 0.002-0.053 ppm และ 0.003-0.018 ppm ตามล ําดับ และเมื่อนํ าคาของไนไตรทจากนํ ้าทิ้งและนํ้ าทะเลจากคลองทัง้ 4 แหง มาเปรียบเทียบกัน จะพบวาคาของไนไตรทจากนํ ้าทิ้งของคลองบางอุน ทาฉาง และทาเฉงอะมีความแปรปรวนมากกวาคาของไนไตรทในนํ ้าทิง้จากคลองดอนสัก ในนํ้ าทะเลก็มีลักษณะแปรปรวนเชนเดียวกัน

Page 16: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

12

นอกจากนี้ยังพบวาปริมาณของไนไตรทจากนํ ้าทะเลในคลองบางอุน ทาฉางและเฉงอะ มแีนวโนมสูงกวาจากคลองดอนสกั แสดงใหเปนวาปาชายเลนอาจมีผลตอการเพิ่มข้ึนหรือลดลงของไนไตรท ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของสุจนิต (2524) และสนิท (2532) ที่พบวาในบริเวณที่เปนปาชายเลนจะพบความหลากหลายของพืชและสัตว พืชและสัตวเหลานีม้สีวนอยางยิ่งตอการเพิ่มข้ึนของไนไตรทและไนเตรท ตามปกติในนํ้ าทะเลตามธรรมชาติ จะพบปริมาณของไนไตรทอยูในชวงระหวาง 0.0001-0.005 mg NO2-N/L และไนเตรทมีคาอยูในชวงระหวาง 0.001-0.500 mgNO3-N/L (สุจินต 2524)

ปรมิาณของออโทฟอสเฟต (PO4-P)

ปริมาณของฟอสเฟตทีพ่บในนํ้ าทิ้งจากคลองทั้ง 4 แหง มีคาคอนขางสูงมาก และสูงกวาปริมาณที่พบในนํ ้าทะเลทัว่ๆ ไป โดยปริมาณของฟอสเฟตในคลองดอนสักที่วิเคราะหไดในหองปฏิบัติการแตละเดือนมีคาอยูระหวาง 0.115-0.851 ppm เฉลี่ย 0.367 ppm ในคลองบางอุนมีคาระหวาง 0.220-0.692 ppm เฉลี่ย 0.411 ppmในคลองทาฉางมีคาระหวาง 0.180-0.391 ppm เฉลี่ย 0.316 ppm และในคลองเฉงอะมีคาระหวาง 0.212-0.402ppm (ตารางที ่5) ซึง่อาจเกดิจากการสะสมของนํ้ าทิ้งจากบอเลี้ยงกุงหลายแหงไหลมารวมกัน จึงทํ าใหมีการสะสมของฟอสเฟต โดยเฉพาะในระหวางเดือนสิงหาคม ถึงเดือนธันวาคม จะพบปริมาณของฟอสเฟตในนํ้ าทิ้งสูงกวาเดอืนอืน่ๆ ซึง่อาจเกดิจากมีการขยายพื้นที่การเลี้ยงกุงมากขึ้นในระหวางเดือนดังกลาว ยกเวนคลองดอนสัก ที่พบปริมาณของฟอสเฟตคอนขางตํ่ าในเดือนสิงหาคม (0.115 ppm) จากการศกึษาของสิริ (2532) พบวาการเลี้ยงกุงทะเลแบบหนาแนนทีบ่านทาแฉลบ อํ าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี มีคาออโทฟอสเฟตอยูระหวาง 0.0014-0.8155mg/L และชนนิทร (2536) พบวาในบอเลี้ยงกุงที่ อํ าเภอกาญจนดษิฐ จังหวัดสุราษฎรธานี มีปริมาณของออโทฟอสเฟตอยูระหวาง 0.034-0.063 mg/L นอกจากนี้ ยงยทุธ (2532) ยังพบวาการเลี้ยงกุงแบบพัฒนา ปริมาณของออโทฟอสเฟตจะเพิม่ข้ึนตลอดระยะเวลาการเลี้ยง เนื่องจากการเลี้ยงกุงแบบพัฒนามีการใหอาหาร จํ านวนมากสวนทีเ่หลอืจะละลายนํ้ าออกมาและสิ่งขับถายจากกุงก็เปนแหลงใหฟอสเฟตที่สํ าคัญ โดยปกติแลวออโทฟอสเฟตไมเปนอันตรายตอตัวกุงโดยตรง แตสามารถทํ าใหแพลงคตอนพชืเพิ่มจํ านวนขึ้นไดรวดเร็ว เนื่องจากใชฟอสเฟตเปนอาหาร การเพิ่มข้ึนของแพลงคตอนพชืในจ ํานวนที่มากเกินไป อาจทํ าใหเกิดสภาพการขาดออกซิเจนในแหลงนํ ้านัน้ๆ ได โดยเฉพาะในเวลากลางคืน

ผลการศกึษาดงักลาวนี้สอดคลองกับการศึกษาของชนินทร (2536) ที่พบวานํ้ าทะเลในปาชายเลนอํ าเภอกาญจนดษิฐ จังหวัดสุราษฎรธานี มีปริมาณของออโทฟอสเฟตสูงถึง 0.097 mg/L นอกจากนี้ ดารณี(2526) ไดศึกษาปรมิาณของออโทฟอสเฟตในระหวางเดือนสิงหาคม-กันยายน ในแมนํ้ าเวฬุ จังหวัดจันทบุรี มีคาเทากับ 0.00494 mg/L และในแมนํ้ าประแสรมีคาสูงสุด 0.1074 mg/L และ Chien (1989) ศึกษาพบวาสารประกอบฟอสฟอรัสสามารถสะสมอยูไดในดินในรูปของแคลเซียมฟอสเฟต อลูมนิั่มฟอสเฟต หรือไอออนฟอสเฟต

Page 17: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

13

ดังนัน้เมือ่เกษตรกรลางบอดิน ตะกอนที่มีฟอสเฟตสะสมอยูจะถูกชะลางออกสูแหลงนํ้ าภายนอก ทํ าปริมาณของฟอสเฟตสะสมมากขึน้ทุกป และเมื่อมีการขึ้นลงของนํ้ าทะเล ฟอสเฟตจากนํ้ าทิ้งและฟอสเฟตที่ละลายจากดินตะกอนกจ็ะถกูพดัพาไปกบันํ ้าทะเล ซึ่งทํ าใหพบปริมาณของฟอสเฟตในนํ้ าทะเลคอนขางสูง การเลี้ยงกุงกุลาดํ าจึงกอใหเกิดผลกระทบตอปริมาณของฟอสเฟตในนํ้ าทะเลอยางเดนชัด

นอกจากนี้ผลการศึกษายังแสดงใหเห็นวาปริมาณของฟอสเฟตในนํ้ าทะเลจากคลองบางอุนคอนขางสงูกวาคลองดอนสัก ทาฉาง และเฉงอะ ซึง่อาจเกดิจากคลองบางอุนมีปาชายเลนมากกวาคลองทั้ง 3 ดังกลาวขางตน จงึท ําใหการแพรกระจายของฟอสเฟตในนํ้ าเปนไปอยางชาๆ และเมื่อนํ้ าทะเลขึ้นบางสวนก็ไหลกลับเขามาตามเดิม

ปรมิาณของออกซิเจนที่ละลายในนํ้ า (DO)

ปริมาณของออกซเิจนที่ละลายในนํ้ าทิ้งจากคลองทั้ง 4 แหง มีคาเฉลี่ยตํ่ าสุด 5.17 ppm สูงสุด7.53 ppm (ตารางที ่ 6) ซึ่งยังเพียงพอตอการเจริญเติบโตของสัตวนํ้ า (คา DO ทีต่ํ่ าที่สุดและไมเปนอันตรายตอสัตวนํ้ า ตองมีไมนอยกวา 4 ppm : สํ านกังานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ 2534) แสดงใหเห็นวาการเลี้ยงกุงกลุาด ํา ไมท ําใหเกิดผลกระทบตอปริมาณของออกซิเจนที่ละลายในนํ้ า เนื่องจากการเลี้ยงกุงในเขตอํ าเภอตางๆดังกลาวเปนการเลี้ยงแบบพัฒนา มีการใชกังหันดีนํ้ า เพื่อเพิ่มปริมาณของออกซิเจนในนํ้ าทะเลจากคลองแตละแหงมอีอกซิเจนละลายอยูในชวงระหวาง 5.87-7.54 ppm ซึง่มปีริมาณใกลเคียงกันกับในนํ้ าทิ้ง ปริมาณของออกซเิจนในนํ ้าทะเลมีอยูสูงเกิดจากคลื่นและลมที่พัดอยูตลอดเวลา ทํ าใหมีการผสมของออกซิเจนกับนํ้ าทะเล

จากการเปรยีบเทยีบปริมาณของออกซิเจนที่ละลายในนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลของคลองทุกแหง พบวามปีริมาณใกลเคียงกันและไมมีปญหาการขาดแคลนออกซิเจน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของชนินทร (2536) ที่พบวาการเลี้ยงกุงแบบพัฒนาในเขต อํ าเภอกาญจนดษิฐ จงัหวัดสุราษฎรธานี มีออกซิเจนละลายในนํ้ าในบอเลี้ยงกุงสูงถึง 7.33 mg/L ในล ํารางระบายนํ้ ามีคาอยูระหวาง 4.033-5.33 mg/L และในปาชายเลนจะมีคาอยูระหวาง3.60-4.00 mg/L นบัวาคอนขางตํ ่า ซึง่เกิดจากบริเวณที่เปนปาชายเลนมีส่ิงที่มีชีวิตอาศัยอยูเปนจํ านวนมากทั้งพืชและสตัว ความตองการออกซิเจนจึงสูง จากการศึกษาของ Aksomkoac และคณะ (1978) ก็พบเชนเดียวกับวาในบริเวณพื้นที่ปาชายเลน อํ าเภอขลงุ จงัหวดัจนัทบรีุ มีออกซิเจนละลายในนํ้ าคอนขางตํ่ ามาก ระหวาง 1.7-3.4mg/L

Page 18: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

14

สรุปผลการศึกษา

ผลการศกึษาคณุภาพนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลในคลองดอนสัก อ.ดอนสัก คลองบางอุน คลองเฉงอะ อ.กาญจนดษิฐ และคลองทาฉาง อ.ทาฉาง จ.สุราษฎรธานี พอสรุปได ดังนี้

1. คาปฏกิริยาและความเค็มของนํ้ าทะเลและนํ้ าทิ้งจากคลองทั้ง 4 แหง ไมไดรับผลกระทบจากการเลีย้งกุงกลุาด ํา แตจะมีความผันแปรตามฤดูกาล โดยเฉพาะนํ้ าทะเลจากคลองบางอุน ทาฉาง และเฉลี่ย ในบริเวณทีม่ปีาชายเลนคาปฏิกริยาของนํ้ าทะเลมีแนวโนมลดลงจนเปนกรดออน ในชวงฤดูฝน ซึ่งแตกตางจากบริเวณทีไ่มมปีาชายเลนปฏิกริยาของนํ้ าทะเลคอนขางเปนกลางจนถึงเปนดางออน

2. ปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟดในนํ้ าทะเลจะนอยกวาในนํ้ าทิ้ง และมีความผันแปรไปตามฤดูกาลปาชายเลนไมไมีอิทธิพลตอปริมาณของไฮโดรเจนซัลไฟด

3. ปริมาณของไนไตรทในนํ ้าทิง้และนํ้ าทะเลมีคอนขางตํ่ า ไมอยูในระดับที่เปนอันตรายตอสัตวนํ้ าปาชายเลนคอนขางมีอิทธิพลตอปริมาณของไนไตรท เนื่องจากพบไนไตรทจากนํ้ าทะเลในบริเวณที่มีปาชายเลนสูงกวาจากบริเวณที่ไมมีปาชายเลน

4. ปริมาณของฟอสเฟตจากนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเลไดรับผลกระทบจากการเลี้ยงกุงกุลาดํ าอยางเดนชดั เนือ่งจากพบฟอสเฟตในปริมาณที่สูงมากจากนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเล และยังพบวาปาชายเลนมีอิทธิพลทํ าใหฟอสเฟตในนํ ้าทะเลมีแนวโนมสูงกวาในบริเวณที่ไมมีปาชายเลน

5. ไมมปีญหาการขาดแคลนออกซิเจนในเขตที่มีการเลี้ยงกุงแบบพัฒนาทั้งในนํ้ าทิ้งและนํ้ าทะเล

Page 19: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

15

Page 20: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

16

Page 21: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

17

Page 22: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

18

เอกสารอางอิง

กรมสงเสรมิคุณภาพสิ่งแวดลอม 2536 ปาชายเลนกับการอนุรักษทรัพยากรชายฝงทะเล ฝายพัฒนาและผลิตสื่อกองสงเสริมและเผยแพร กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กรุงเทพฯ 41 หนา

ชนนิทร อัมพรสถิร 2536 ผลกระทบของการทํ านากุงตอคุณภาพของนํ้ าบริเวณปาชายเลน อํ าเภอกาญจนดิษฐจงัหวดัสรุาษฎรธาน ีวิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 106 หนา

ดารณ ี หนัหาบญุ 2526 การเปรียบเทียบความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้ าในบาปชายเลนที่มีพื้นที่และความอุดมสมบูรณตางกัน โดยใชอนินทรยีไนโตรเจนและออโทฟอสเฟตเปนดัชนี วิทยานิพนธปริญญาญาโทมหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ

บรรจง เทยีนสงรัศมี 2529 การเพาะเลี้ยงกุงทะเล สํ านักพิมพอักษรเจริญทัศน กรุงเทพฯ 101 หนา

ประวณี วฒุสิถริภิญโญ 2519 การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของนํ้ าทะเลในบริเวณปาไมชายเลนและในทะเล ณ เกาะภูเก็ต หนา 786-809 ใน รายงานการประชุมปฏิบัติการนิเวศวิทยาของทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลน คร้ังที่ 1 ณ ศูนยชีววทิยาทางทะเลภูเก็ต สํ านักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ กรุงเทพฯ

ยุงยทุธ ปรีดาสมพะบุตร เพิ่มศักดิ์ เพิงมาก พุทธ สองแสงจินดา ศุภโยค สุวรรณมณี และวิชาญ ชูสุวรรณ 2532การเปลีย่นแปลงคณุภาพนํ้ าในบอเลี้ยงกุงกุลาดํ าแบบพัฒนา สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้ าชายฝง สงขลา 20 หนา

ยนต มกุสกิ 2523 คุณภาพของดินเลนในนากุง หลักสูตรการฝกอบรมการเลี้ยงกุงของสมาชกิสหกรณนิคมสมทุรสาคร จํ ากัด กองประมงนํ้ ากรอย กรมประมง กรุงเทพฯ

เริงชยั ตันสกลุ 2538 ผลกระทบของการทํ านากุงตอคุณภาพนํ้ าชายฝงและระบบนิเวศนวิทยาประการของจ.สงขลา และ จ.นครศรีธรรมราช หนา (IV-02) 1-7 ใน การสมัมนาระบบนิเวศนวิทยาปาชายเลนแหงชาติ คร้ังที่ 9 ณ โรงแรมภูเก็ตเมอรลิน จังหวัดภูเก็ต

Page 23: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

19

วิพักตร จินตนา และมาลี จินตนา 2536 การพัฒนาระบบรากของลูกไมโกงกางใบเล็ก (1) ภายใตสภาพที่มีออกซเิจนตํ่ า (2) ภายใตสภาพพื้นที่เปนกรดสูง หนา (II-17) 1-5 ใน การสมัมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติ คร้ังที่ 8 ณ โรงแรมวังใต จังหวัดสุราษฎรธานี

สนิท อักษาแกว 2532 ปาชายเลน นิเวศวิทยาและการจัดการ คอมพิวเตอรแอดเวอรไทซงิค กรุงเทพฯ 251 หนา

สมยศ สิทธโชคพนัธ 2531 การเลี้ยงกุงกุลาดํ าในเชิงธุรกิจ การเลี้ยงกุงแบบพัฒนา ฝายฝกอบรมกรมประมงกรุงเทพฯ 23 หนา

สิริ ทกุวนิาศ 2532 สรุปงานวิจัยสิ่งแวดลอมแหลงเลี้ยงกุงของไทย ณ สถาบันเพาะเลี้ยงสัตวนํ้ าชายฝงแหงชาติจงัหวดัสงขลา กรมประมง กรุงเทพฯ 225 หนา

สุจินต ดีแท 2531 สุมทรศาสตรเคม ี ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรกรุงเทพฯ 55 หนา

สํ านกังานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ 2534 มาตรฐานคุณสมบัตินํ้ าทะเลเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้ าชายฝงอางโดย ชนนิทร อัมพรสถิร 2536 ใน ผลกระทบของการทํ านากุงตอคุณภาพนํ้ าบริเวณปาชายเลนอํ าเภอกาญจนดษิฐ จงัหวดัสุราษฎรธานี วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรกรุงเทพฯ

อนันต คีตากร 2522 สมบัติของดินและนํ้ าปาชายเลน ณ ทองที่อํ าเภอขลงุ จงัหวัดจันทบุรี วิทยานิพนธ ปริญญาโทมหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ

Ayers, R.S. and D.W. Westcot. 1985. Water quality for Agriculture. FAO. Irrigation and Drainage Paper29 REV. 1. UNITED NATION. Rome.

Aksornkoae, S., G. Wattayakorn and W. Kaitpranee. 1978. Physical and Chemical Properties of Soiland Eater in Mangrove Forest at Amphoe Khlung, Changwat Chantaburi. อางโดย สนิทอักษรแกว ปาชายเลน นิเวศวิทยาและการจัดการ คอมพิวเตอรแอดเวอรไทยซงิค กรุงเทพฯ

Page 24: รายงานผลการวิจัย...Tha-Chang, Changwat Surat Thani กล มช ดด นท 12 ช ด ท าจ น ผ ด าเน นการ นายส

20

Boyd, C.E. 1979. Water quality in Warmwater Fish Ponds. Auburn University Agricultural ExperimentStation, Auburn, Alabama. 78 p.

Chien, Y.H. 1989. The mangement of sediment in prawn ponds. (Paper to be presented in 3 BrazillianShrimp-Farming Congress, JOAD-PB-Brazil october 16-20, 1989). 29 p.

Colt, J.E. and D.A. Armstrong. 1981. Nitrogen toxicity to crustaccand, fish and molluscs. อางโดย ยงยทุธ และคณะ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพนํ้ าในบอเลี้ยงกุงแบบพัฒนา สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวนํ ้าชายฝงทะเลสงขลา 20 หนา

.