352
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ชุดกาสอน วิชาการจัดการธุรกิจเกษตร (Agribusiness Management) เลม 2 รหัส 3506 - 1002 ดย นายสมโพธ วงศพันธุ แผนกวิชาธรกิจเกษตร คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอ

ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

  • Upload
    others

  • View
    13

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546

ชุดการสอน

วิชาการจัดการธุรกิจเกษตร (Agribusiness Management)

เลม 2

รหัส 3506 - 1002

โดย

นายสมโพธ วงศพันธุ แผนกวิชาธุรกิจเกษตร

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง

Page 2: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

ก คํานํา

การจัดทําชุดการสอน ในรายวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร รหัสวิชา 3506-1002 3(4) ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาเกษตรกรรม ขาพเจาไดรวบรวมเรียบเรียงและจัดทําข้ึน เพื่อนํามาใชในการจัดกระบวน การเรียนการสอน ซ่ึงประกอบดวยแบบฝกหัดทบทวน, ใบงานมอบหมาย, Power point ประกอบการบรรยาย, แบบประเมินกอน-หลังเรียน และเอกสารประกอบการสอน ซ่ึงไดจัดทําท้ังหมด 12 หนวย คือ ความรูท่ัวไปเก่ียวกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร, องคกรธุรกิจเกษตรของไทย, หนาท่ีพื้นฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร, การจัดการผลิต, การจัดการการตลาด, การบัญชีและการจัดการทางการเงิน, นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับระบบธุรกิจเกษตร, การเขียนแผนธุรกิจเกษตร, โครงการธุรกิจเกษตร, การจัดการธุรกิจขนาดยอม, การวิเคราะหกรณีตัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร และปญหาและแนวทางแกไขปญหาธุรกิจเกษตร ซ่ึงผูเรียนและผูสอนสามารถนําไปใชควบคูประกอบกันกบัการจัดการเรียนการสอนไดเปนอยางดี และสามารถนําไปพัฒนาหรือบูรณาการกบัสาขาอาชีพทางดานการเกษตรหรือในอาชีพอ่ืน ๆ ได อีกท้ังเนื่องจากเนื้อหาในรายวชิาการจัดการธุรกิจเกษตร ปจจุบันยังขาดตําราและหนังสือเรียนเพื่อนาํใชในการเรียนการสอน จึงไดรวบรวมเรียบเรียงและจัดทําเนื้อหา ใหทันกับยุคสมัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา

การจัดทําชุดการสอนสําเร็จไดดวยดี โดยความชวยเหลือจาก คุณวัชรา ศรีรักษ ท่ีชวยในการพิมพเอกสาร คุณครูวิไลรัตน นิ้มสันติเจริญ และคุณครูชริดา จิตตเอ้ือเฟอ อาจารยสอนภาษาไทยท่ีชวยในการพิสูจนอักษร แกไขการใชภาษาท่ีไมถูกตองตามหลักการใชภาษาไทย และขอขอบคุณเจาของเน้ือหารายวิชาทุกทาน ท่ีขาพเจาไดนําขอความ เน้ือหามารวบรวมเรียบเรียงเผยแพร ความรูใหกับนักศึกษา และขาพเจาหวังวาผูนําไปใชคงไดรับประโยชนจากชุดการสอนน้ี หากมีขอผิดพลาดประการใด ขาพเจาตองขออภัยมา ณ ท่ีนี้ จะนําไปพัฒนาปรับปรุงแกไขใหเปนประโยชนในการศึกษาตอไป และอนิสงคผลบุญท่ีไดรับการจัดทําชุดการสอนนี้ ขาพเจาขออุทิศใหกับคุณพอ คุณแมและผูมีพระคุณทุกทานท่ีไดลวงลับไปแลว

นายสมโพธ วงศพันธุ

ตําแหนงครูวิทยฐานะชํานาญการพิเศษ

Page 3: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

ข วิชา การจัดการธุรกิจเกษตร 3 (4) รหัสวิชา 3506-1002 ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ประเภทวิชาเกษตรกรรม ทฤษฎีรวม 40 ช่ัวโมง ปฏิบัต ิ 32 ช่ัวโมง

จุดประสงครายวิชา 1. เพื่อใหเขาใจประเภท รูปแบบหลักและกระบวนการจัดการธุรกิจเกษตร 2. เพื่อใหสามารถวิเคราะห วางแผนและดําเนินงานธุรกิจเกษตรอยางมีระบบตามหลักการ

และกระบวนการ โดยคํานงึถึงผลกระทบตอสังคมและสภาพแวดลอม 3. เพื่อใหมีเจตคติท่ีดีตองานอาชีพธุรกิจเกษตร และมีกิจนิสัยในการทํางานดวยความ

รับผิดชอบ รอบครอบมีคุณธรรมจริยธรรม และสามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนได

มาตรฐานรายวิชา 1. เขาใจหลักการและกระบวนการธุรกิจเกษตร 2. ประยุกตใชหลักการจัดการในการจดัการธุรกิจ 3. ประยุกตใชการจัดการผลิตในการดําเนนิงานธุรกิจเกษตร 4. ประยุกตใชการจัดการตลาดในการดําเนินงานธุรกิจเกษตร 5. วิเคราะหกรณตีัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร 6. เขียนแผนธุรกิจเกษตรตามหลักการและกระบวนการ

คําอธิบายรายวิชา 40ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความหมาย ความสําคัญ ประเภทและรูปแบบของธุรกิจเกษตร องคการธุรกิจเกษตรของไทย หนาท่ีพื้นฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร ระบบธุรกิจเกษตร การจัดการผลิต การจัดการการตลาด การบัญชีและการจัดการทางการเงิน นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับระบบธุรกิจเกษตร ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร แผนธุรกิจเกษตร วิเคราะหกรณตีัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร โครงการธุรกิจเกษตร การจัดการธุรกิจขนาดยอม

Page 4: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยการเรยีนรู วิชา การจัดการธุรกิจเกษตร 3 (4) รหัสวิชา 3506-1002 ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ประเภทวิชาเกษตรกรรม ทฤษฎีรวม 40 ช่ัวโมง ปฏิบัต ิ 32 ช่ัวโมง

หนวยท่ี เร่ือง ทฤษฎี

(ชั่วโมง) ปฏิบตั ิ

(ชั่วโมง) รวม ชั่วโมง

ปฐมนิเทศการเรียนการสอน(ขอตกลงในการเรียนการสอน หลักเกณฑการวัดผลประเมินผล)

2 - 2

1 ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร

4 2 8

2 องคกรธุรกิจเกษตรของไทย 4 2 14 3 หนาท่ีพื้นฐานในการจดัการธุรกิจเกษตร 3 3 20 4 การจัดการผลิต 3 2 25 5 การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด 4 3 32 6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน 3 2 37 7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับระบบ

ธุรกิจเกษตร 3 1 41

8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร 2 5 48 9 โครงการธุรกิจเกษตร 2 4 54 10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม 2 2 58 11 วิเคราะหกรณตีัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร 1 4 63 12 ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร 3 2 68 สรุปผลการเรียน และประเมินผลปลายภาคเรียน 4 - 72 รวม 40 32 72

Page 5: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

สารบัญ

หนวยท่ี เร่ือง หนา คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คาํอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ 1 ความรูท่ัวไปเก่ียวกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร 1 1. ความหมายและความสําคัญของการจัดการธุรกิจเกษตร 2 2. วัตถุประสงคของการดําเนินธุรกิจ 9 3. ประเภทของธุรกิจ 10 4. ลักษณะของธุรกิจเกษตร 11 5. ปจจัยพื้นฐานปจจยัท่ีสําคัญในการทําธุรกิจเกษตร 11 6. สภาพแวดลอมของธุรกิจเกษตร 12 7. หนาท่ีและความรับผิดชอบของธุรกิจเกษตร 16 แบบฝกหัด 18-19 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 20-22 ใบงาน 23-24 เฉลยขอสอบ 25 2 องคกรธุรกิจเกษตรของไทย 26 1. กิจการเจาของคนเดียว (Sold Proprietorship) 27 2. กิจการแบบหางหุนสวน (Partnership) 28 3. กิจการบริษทัจํากัด (Limited Company)

บริษัทจํากัด (Limited Company) บริษัทมหาชน (จํากัด) (Public Company)

34

Page 6: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยท่ี เร่ือง หนา 4. กิจการแบบรัฐวิสาหกจิ (State Enterprise) 39 5. กิจการแบบสหกรณจํากดั (Co-Operative) 42 6. กิจการแบบแฟรนไชส (Franchise) 45 แบบฝกหัด 53-55 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 56-57 ใบงาน 58 เฉลยขอสอบ 59

3 หนาท่ีพ้ืนฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร 60 1. กระบวนการในการบริหารจัดการธุรกิจ 61 1.1 การวางแผน (Planning)

1.2 การจัดองคการ (Organizing) 1.3 การนํา (Leading ) 1.4 การควบคุม ( Controlling )

62 65 68 72

2. เทคนิคตาง ๆ ในการจัดการ 78

2.1 เทคนิคท่ีใชในการวางแผน 2.2 เทคนิคท่ีใชในการจัดองคการ 2.3 เทคนิคการนํา 2.4 เทคนิคการควบคุมงาน

78 84 87 88

แบบฝกหัด 94-96 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 97-99 ใบงาน 100 เฉลยขอสอบ 102

4 การจัดการผลิต 103 1. ความหมาย องคประกอบท่ีสําคัญและความสําคัญของการผลิต 104 2. การผลิตทางดานธุรกิจอุตสาหกรรม 109 3. ลําดับขั้นในการผลิต 111

Page 7: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยท่ี เร่ือง หนา 4. ปจจัยท่ีตองพิจารณาในการเลือกทําเลท่ีต้ังในการผลิต 112 5. ระบบการผลิต (Production System) 113 6. การควบคุมการผลิต 114 แบบฝกหัด 116-117 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 118-120 ใบงาน 121-122 เฉลยขอสอบ 123

5 การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด 124 1. ความหมายของตลาดและการตลาด 125 2. แนวความคิดทางการตลาด 126 3. เปรียบเทียบแนวความคิดแบบเกา - แบบใหม 127 4. หนาท่ีการตลาด 129 5. ความสําคญัของการตลาด 132 6. การวางแผนการตลาด 133 แบบฝกหัด 139-141 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 142-144 ใบงาน 145 เฉลยขอสอบ 146 6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน 147 1. ความหมายและความสําคัญของการบัญชี 149 2. ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับบัญชี 151 3. การจัดทํางบการเงิน 152 4. เอกสารทางธุรกิจท่ีใชในการบันทึกบัญชี 155 5. ข้ันตอนการลงบัญชี 156 6. การบันทึกบัญชีอยางงาย 156 7. ขอบเขตและแนวทางการบริหารการเงิน ขอบเขตของการบริหาร

การเงินเร่ิมต้ังแต 156

Page 8: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยท่ี เร่ือง หนา 8. แหลงท่ีมาของเงินทุน 158 แบบฝกหัด 162-163 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 164-166 ใบงาน 167-172 เฉลยขอสอบ 173 7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับระบบธุรกิจเกษตร 174 1. ความหมายของนโยบาย 176 2. ความสําคัญของนโยบาย 178 3. ลักษณะท่ีดขีองนโยบาย 178 4. กระบวนการกําหนดนโยบาย 179 5. การพัฒนาหรือนโยบายหลักการจัดทําแผนพัฒนาฯ ตั้งแตฉบับท่ี 4

ถึงปจจุบัน 179

6. ปจจัยท่ีกําหนดความสําเร็จหรือลมเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติ

191

แบบฝกหัด 196-198 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 199-201 ใบงาน 202-203 เฉลยขอสอบ 204 8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร 205 1. ความหมายและความสําคัญของแผนธุรกิจ 206 2. การเขียนแผนธุรกิจ

2.1 สวนประกอบของแผนธุรกิจ 2.2 วิธีการเขียนแผนธุรกิจ

208-222

แบบฝกหัด 223-224 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 225-227 ใบงาน 228-229 เฉลยขอสอบ 230

Page 9: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยท่ี เร่ือง หนา 9 โครงการธุรกิจเกษตร 231 1. ความหมายและความสําคัญของโครงการ 233 2. สวนประกอบของโครงการ 236 3. ลําดับข้ันตอนการเขียนโครงการ 237 4. ลักษณะของโครงการท่ีดี 341 5. ประเภทของโครงการ 342 6. การใชถอยคํา สํานวนในการเขียนโครงการ 242 แบบฝกหัด 244-245 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 246-248 ใบงาน 249 เฉลยขอสอบ 250

10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม 251 1. ความหมายและความสําคัญของธุรกิจขนาดยอม 253 2. ประเภทของธุรกิจขนาดยอม 255 3. ลักษณะโดยท่ัวไปของธุรกิจขนาดยอม 256 4. ความสําคัญของธุรกิจขนาดยอม 257 5. องคประกอบของธุรกิจขนาดยอม 259 6. ขอดี - ขอเสียของการดําเนินธุรกิจขนาดยอม 260 7. คุณสมบัติของผูประกอบการทางธุรกิจขนาดยอม 261 8. ปจจัยท่ีมีผลตอความสําเร็จของการประกอบธุรกิจขนาดยอม 261 9. บุคลิกลักษณะของผูประกอบการธุรกิจขนาดยอมท่ีด ี 261 10 ปญหาการดําเนินธุรกิจขนาดยอม 262 11. ข้ันตอนในการวางแผนเปดกิจการธุรกจิขนาดยอม 262 12. การวางแผนการตลาด มาใชกับธุรกิจขนาดยอม 263 13. ปจจัยเฉพาะเกีย่วกับตําแหนงท่ีตั้ง 263 14. ปจจัยเกี่ยวกับแหลงสนับสนุนในการเลือกทําเลที่ตั้ง 264 15. ความสําคัญของทําเลท่ีต้ังท่ีมีตอธุรกิจขนาดยอม 264

Page 10: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยท่ี เร่ือง หนา 16. ปจจัยท่ีทําใหประสบผลสําเร็จในการบริหารธุรกิจขนาดยอม 264 แบบฝกหัด 266-267 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 268-269 ใบงาน 270-271 เฉลยขอสอบ 272

11 วิเคราะหกรณีตัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร 273 1. กรณีตวัอยางการจัดการธุรกิจเกษตร

กรณีตัวอยางธุรกิจเกษตรผูจดัการฟารม นายอาวุธ อักษรนิตย ผูใหการสนับสนุนพื้นท่ีดําเนินการ ช่ือเอกชน นายทองแดง ศรีพุม ท่ีตั้งฟารม หมู 2 บานไร ตาํบลไผลอม อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยธุยา

274-282

2. การวิเคราะหโครงการธุรกิจเกษตร 283-286 แบบฝกหัด 287 ใบงาน 288-289

12 ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร 290 1. ปญหาท่ัวไป 291-297 2. การแกปญหา 297-310 แบบฝกหัด 312-313 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 314 ใบงาน 315 เอกสารอางอิง 316

Page 11: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

สารบัญภาพ

หนวยท่ี เร่ือง หนา 1 ความรูท่ัวไปเก่ียวกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร 1 ภาพท่ี 1 การปลูกปาลมน้ํามันและการจําหนายผลผลิตเกษตร 3 ภาพท่ี 2 ภาพจําลองระบบธุรกิจและองคประกอบของระบบ 4 ภาพท่ี 3 แบบจําลองหวงโซคุณคา 5 ภาพท่ี 4 ภาพแสดงการใช IT ในการจัดการโซอุปทาน 6 ภาพท่ี 5 ภาพโครงสรางธุรกิจเกษตร 8 ภาพท่ี 6 สภาพแวดลอมทางธุรกิจเกษตร 13 2 องคกรธุรกิจเกษตรของไทย 26 ภาพท่ี 7 ธุรกจิแบบเจาของคนเดียว การเล้ียงแกะและการทําสวนปาลมน้ํามัน 27 ภาพท่ี 8 หางหุนสวนสามัญผลิตภัณฑอาหารแมเล็ก

สินคาสุดยอดหน่ึงตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ 2547 ประเภทผลิตภัณฑ : เคร่ืองดื่มระดับดาว

29

ภาพท่ี 9 หางหุนสวนจํากดัเกิดแกวสมุนไพรไทยผลิตภณัฑไวน-สาโท เชน ไวนล้ินจี่ ไวนกระชายดาํ ไวนลูกหมอน สาโท(OTOP)

31

ภาพท่ี 10 บริษัท ผลิตภัณฑอาหารเชฟชอย จํากดั 35 ภาพท่ี 11 บริษัทไทยลักซ เอ็นเตอรไพรส ( มหาชน )ประกอบธุรกิจผลิตและ

จําหนายอาหารสัตวน้ําจํากดั 38

ภาพท่ี 12 โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง 39 ภาพท่ี 13 ธนาคารออมสิน สํานักงานใหญธนาคารออมสิน 40 ภาพท่ี 14 สหกรณวดัจันทร ไมจํากัดสินใช สหกรณการเกษตรแหงแรก 42 ภาพท่ี 15 สหกรณการเกษตรทายาง 42 ภาพท่ี 16 น้ําอัดลมโคคา-โคลา ธุรกิจแฟรนไชสท่ีใชสินคาและช่ือการคา 48 ภาพท่ี 17 เคเอฟซี เปนธุรกิจ แฟรนไชส ท่ีใชรูปแบบทางธุรกิจ 49

Page 12: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยท่ี เร่ือง หนา 3 หนาท่ีพ้ืนฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร 60 ภาพท่ี 18 การประชุมวางแผน ซ่ึงเปนหนึ่งในกระบวนการในการบริหาร

จัดการ 61

ภาพท่ี 19 กระบวนการบริหารงานแบบงาย ๆ แบบ PDCA 62 ภาพท่ี 20 แผนในรูปแบบนโยบาย นโยบายพักชําระหนีเ้กษตรกร 64 ภาพท่ี 21 แผนภูมิแสดงโครงสรางแบบหนวยหลัก 66 ภาพท่ี 22 แผนภูมิแสดงโครงสรางแบบหนวยหลักและหนวยงานท่ีปรึกษา 67 ภาพท่ี 23 แผนภูมิโครงสรางองคการแบบหนาท่ีงานเฉพาะ 68 ภาพท่ี 24 พืน้ฐานของการจงูใจ 70 ภาพท่ี 25 มาสโลวเจาของทฤษฎีลําดับข้ันความตองการ 70

ภาพท่ี 26 ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ มอบรางวัลจรรยาบรรณดีเดน หอการคาไทย ประจําป 2550 ใหแก นายสาระ ลํ่าซํา นายกสมาคมประกันชีวิตไทย

72

ภาพท่ี 27 การควบคุมการเดนิรถของรถไฟฟาแตละขบวน จะถูกดวยระบบคอมพิวเตอรท่ีออกแบบมาเฉพาะ

73

4 การจัดการผลิต 103 ภาพท่ี 28 การผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรม 105 ภาพท่ี 29 ความสําคัญของการผลิตกอใหเกิดประโยชนรูปแบบผลิตภณัฑใหม 109 ภาพท่ี 30 สินคาเกษตรสวนใหญเปนสินคนข้ันปฐมภูมิ 111

5 การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด 124 ภาพท่ี 31 ตลาดขายสินคาเกษตร 126

ภาพท่ี 32 ข้ันตอนการซ้ือขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนา 128 ภาพท่ี 33 การขนสงทางรถไฟ 130 ภาพท่ี 34 การส่ือสารขอมูลทางงบการตลาดตองรวดเร็วทันตอสถานการณของ

โลก

131

ภาพท่ี 35 ความสําคัญของการตลาดทําใหเศรษฐกิจขยายตัวมีสินคาและ บริการใหมและชวยยกระดับคาครองชีพของประชากรใหสูงข้ึน

132

Page 13: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยท่ี เร่ือง หนา ภาพท่ี 36 ข้ันตอนการวางแผนการตลาด 133 ภาพท่ี 37 แสดงระบบงานการตลาด 136

6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน 147 ภาพท่ี 38 การทําบัญชีเจาของกิจการไดทราบฐานะและผลการดําเนินงานของ

ธุรกิจท่ีตนเปนเจาของ 150

7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับระบบธุรกิจเกษตร 174 ภาพท่ี 39 นโยบายเศรษฐกจิของรัฐบาลสุรยุทธ 'ตลาดเสรีฉบับพอเพียง' 177

8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร 205 ภาพท่ี 40 สวนประกอบที่สําคัญของการเขียนแผนธุรกจิ 207 9 โครงการธุรกิจเกษตร 231 ภาพท่ี 41 โครงการเล้ียงปลาดุกซ่ึงเปนสวนหนึ่งของโครงการเกษตร เพื่อหา

รายไดของเกษตรกร 236

ภาพท่ี 42 การเขียนโครงการเกษตรยั่งยืนภายใตแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง

239

10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม 251 ภาพท่ี 43 แฟรนไชสกาแฟสดบลูเมาทเทนคอฟฟ ถือวาเปนธุรกิจขนาดเล็ก

และธุรกิจขนาดยอม ธุรกิจขนาดเล็กอาจจะเปนเจาของรานกาแฟสดเพียงคนเดียว ทําดวยตัวเองหรือจางพนักงานเพียงคนเดียว

255

ภาพท่ี 44 "ริน" ผูนําธุรกิจขนมหวานไทยของฉะเชิงเทรา เร่ิมกิจการมาตั้งแต พ.ศ.2517 จากสูตรขนมท่ีคุณยายทําใหลูกหลานรับประทานกันในครอบครัวและแจกจายญาติมิตร พัฒนามาเปนธุรกิจขนาดยอม ผลิตและจําหนายขนมหวานของดีประจําจังหวัดฉะเชิงเทราในปจจุบัน

257

11 วิเคราะหกรณีตัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร 273 12 ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร 286 ภาพท่ี 45 วิถีชีวิตของเกษตรกรไทย 292 ภาพท่ี 46 การจัดการระบบการผลิตของเกษตรกรไทย 292

Page 14: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยท่ี เร่ือง หนา ภาพท่ี 47 การนํานโยบายมาใชสูประชาชนของภาครัฐ 293 ภาพท่ี 48 ผลกระทบตอการเปนหนีส้ินของเกษตรกรไทย 293 ภาพท่ี 49 เกษตรกรรม อาจเปนอาชีพท่ีมีความสุขท่ีสุดในโลก สําหรับ

ศตวรรษท่ี 21 แลว เกษตรกรรม เทคโนโลยี และ ส่ิงแวดลอม จะอาศัยและอยูรวมกันไดอยางกลมกลืนและพอเพยีง

302

ภาพท่ี 50 เกษตรกรกําลังนั่งจิบไวนมองฟารมของพวกเขา เซ็นเซอรตางๆท่ีติดตั้งอยูในฟารม กําลังเก็บขอมูล ดิน น้ํา ฟา ฝน และตัดสินใจเปด-ปดน้ํา ใหปุย หรือ ออกคําส่ังใหรถเก็บเกี่ยวออกไปทํางานเอง

303

ภาพท่ี 51 การขาดแคลนนํ้าจืดทําใหระบบการใหน้ําแกฟารมตองฉลาดมาข้ึน 304 ภาพท่ี 52 ระบบรถแทร็กเตอรขับเองดวยการนําทางจาก GPS ของบริษัท

John Deereประเทศสหรัฐอเมริกา 307

ภาพท่ี 53 จาก Google Earth แสดงขอมูลโครงการท่ีมีช่ือวา Bio Mapping ซ่ึงมีการนําเอาเคร่ืองวัดอัตราการเตนของหัวใจและ GPSไปติดท่ีคนแลวปลอยใหเดินไปในเมือง

308

ภาพท่ี 54 เซ็นเซอรตรวจวดัอุณหภูมิและความช้ืนของดนิท่ีใชพลังงานจากแสงอาทิตย สงขอมูลไป Server ดวยสัญญาณวิทย ุ

309

Page 15: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

สารบัญ

หนวยท่ี เร่ือง หนา คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คาํอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ 1 ความรูท่ัวไปเก่ียวกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร 1 1. ความหมายและความสําคัญของการจัดการธุรกิจเกษตร 2 2. วัตถุประสงคของการดําเนินธุรกิจ 9 3. ประเภทของธุรกิจ 10 4. ลักษณะของธุรกิจเกษตร 11 5. ปจจัยพื้นฐานปจจยัท่ีสําคัญในการทําธุรกิจเกษตร 11 6. สภาพแวดลอมของธุรกิจเกษตร 12 7. หนาท่ีและความรับผิดชอบของธุรกิจเกษตร 16 แบบฝกหัด 18-19 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 20-22 ใบงาน 23-24 เฉลยขอสอบ 25

Page 16: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

สารบัญ

หนวยท่ี เร่ือง หนา คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คาํอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ 2 องคกรธุรกิจเกษตรของไทย 26 1. กิจการเจาของคนเดียว (Sold Proprietorship) 27 2. กิจการแบบหางหุนสวน (Partnership) 28 3. กิจการบริษทัจํากัด (Limited Company)

บริษัทจํากัด (Limited Company) บริษัทมหาชน (จํากัด) (Public Company)

34

4. กิจการแบบรัฐวิสาหกจิ (State Enterprise) 39 5. กิจการแบบสหกรณจํากดั (Co-Operative) 42 6. กิจการแบบแฟรนไชส (Franchise) 45 แบบฝกหัด 53-55 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 56-57 ใบงาน 58 เฉลยขอสอบ 59

Page 17: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

สารบัญ หนวยท่ี เรื่อง หนา

คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คําอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ

3 หนาท่ีพ้ืนฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร 60 1. กระบวนการในการบริหารจัดการธุรกิจ 61 1.1 การวางแผน (Planning)

1.2 การจัดองคการ (Organizing) 1.3 การนํา (Leading ) 1.4 การควบคุม ( Controlling )

62 65 68 72

2. เทคนิคตาง ๆ ในการจัดการ 78 2.1 เทคนิคท่ีใชในการวางแผน

2.2 เทคนิคท่ีใชในการจัดองคการ 2.3 เทคนิคการนํา 2.4 เทคนิคการควบคุมงาน

78 84 87 88

แบบฝกหัด 94-96 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 97-99 ใบงาน 100 เฉลยขอสอบ 102

Page 18: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

ง สารบัญ

หนวยท่ี เรื่อง หนา คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คําอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ

4 การจัดการผลิต 103 1. ความหมาย องคประกอบท่ีสําคัญและความสําคัญของการผลิต 104 2. การผลิตทางดานธุรกิจอุตสาหกรรม 109 3. ลําดับข้ันในการผลิต 111

4. ปจจัยท่ีตองพิจารณาในการเลือกทําเลท่ีต้ังในการผลิต 112 5. ระบบการผลิต (Production System) 113 6. การควบคุมการผลิต 114 แบบฝกหัด 116-117 แบบประเมินกอนและหลังเรยีน 118-120 ใบงาน 121-122 เฉลยขอสอบ 123

5 การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด 124 1. ความหมายของตลาดและการตลาด 125 2. แนวความคิดทางการตลาด 126 3. เปรียบเทียบแนวความคิดแบบเกา - แบบใหม 127 4. หนาที่การตลาด 129 5. ความสําคัญของการตลาด 132 6. การวางแผนการตลาด 133 แบบฝกหัด 139-141 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 142-144 ใบงาน 145 เฉลยขอสอบ 146

Page 19: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

ง สารบัญ

หนวยท่ี เร่ือง หนา คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คําอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ 6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน 147 1. ความหมายและความสําคัญของการบัญชี 149 2. ความรูทั่วไปเก่ียวกับบัญชี 151 3. การจัดทํางบการเงิน 152 4. เอกสารทางธุรกิจที่ใชในการบันทึกบัญชี 155 5. ขั้นตอนการลงบัญชี 156 6. การบันทึกบัญชีอยางงาย 156 7. ขอบเขตและแนวทางการบริหารการเงิน ขอบเขตของการบริหารการเงินเริ่มต้ังแต 156 8. แหลงที่มาของเงินทุน 158 แบบฝกหัด 162-163 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 164-166 ใบงาน 167-172 เฉลยขอสอบ 173 7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายที่เก่ียวของกับระบบธุรกิจเกษตร 174 1. ความหมายของนโยบาย 176 2. ความสําคัญของนโยบาย 3. ลักษณะที่ดีของนโยบาย 178 4. กระบวนการกําหนดนโยบาย 179 5. การพัฒนาหรือนโยบายหลักการจัดทําแผนพัฒนาฯ ต้ังแตฉบับที่ 4 ถึงปจจุบัน 179 6. ปจจัยที่กําหนดความสําเร็จหรือลมเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติ 191 แบบฝกหัด 196-198 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 199-201 ใบงาน 202-203 เฉลยขอสอบ 204

Page 20: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

ง สารบัญ

หนวยท่ี เร่ือง หนา คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คําอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ 8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร 205 1. ความหมายและความสําคัญของแผนธุรกิจ 206 2. การเขียนแผนธุรกิจ

2.1 สวนประกอบของแผนธุรกิจ 2.2 วิธีการเขียนแผนธุรกิจ

208-222

แบบฝกหัด 223-224 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 225-227 ใบงาน 228-229 เฉลยขอสอบ 230

หนวยท่ี เร่ือง หนา 9 โครงการธุรกิจเกษตร 231 1. ความหมายและความสําคัญของโครงการ 233 2. สวนประกอบของโครงการ 236 3. ลําดับขั้นตอนการเขียนโครงการ 237 4. ลักษณะของโครงการท่ีดี 341 5. ประเภทของโครงการ 342 6. การใชถอยคํา สํานวนในการเขียนโครงการ 242 แบบฝกหัด 244-245 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 246-248 ใบงาน 249 เฉลยขอสอบ 250

Page 21: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

ง สารบัญ

หนวยท่ี เร่ือง หนา คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คําอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ

10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม 251 1. ความหมายและความสําคัญของธุรกิจขนาดยอม 253 2. ประเภทของธุรกิจขนาดยอม 255 3. ลักษณะโดยท่ัวไปของธุรกิจขนาดยอม 256 4. ความสําคัญของธุรกิจขนาดยอม 257 5. องคประกอบของธุรกิจขนาดยอม 259 6. ขอดี - ขอเสียของการดําเนินธุรกิจขนาดยอม 260 7. คุณสมบัติของผูประกอบการทางธุรกิจขนาดยอม 261 8. ปจจัยท่ีมีผลตอความสําเร็จของการประกอบธุรกิจขนาดยอม 261 9. บุคลิกลักษณะของผูประกอบการธุรกิจขนาดยอมท่ีด ี 261 10 ปญหาการดําเนินธุรกิจขนาดยอม 262 11. ข้ันตอนในการวางแผนเปดกิจการธุรกจิขนาดยอม 262 12. การวางแผนการตลาด มาใชกับธุรกิจขนาดยอม 263 13. ปจจัยเฉพาะเกีย่วกับตําแหนงท่ีตั้ง 263 14. ปจจัยเกี่ยวกับแหลงสนับสนุนในการเลือกทําเลที่ตั้ง 264 15. ความสําคัญของทําเลท่ีต้ังท่ีมีตอธุรกิจขนาดยอม 264

Page 22: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

ง สารบัญ

หนวยท่ี เร่ือง หนา คํานํา ก จุดประสงครายวิชา มาตรฐานรายวิชา คําอธิบายรายวิชา ข หนวยการเรียนรู ค สารบัญ ง สารบัญภาพ จ

หนวยท่ี เร่ือง หนา 16. ปจจัยที่ทําใหประสบผลสําเร็จในการบริหารธุรกิจขนาดยอม 264 แบบฝกหัด 266-267 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 268-269 ใบงาน 270-271 เฉลยขอสอบ 272

11 วิเคราะหกรณีตัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร 273 1. กรณีตัวอยางการจัดการธุรกิจเกษตร

กรณีตัวอยางธุรกิจเกษตรผูจัดการฟารม นายอาวุธ อักษรนิตย ผูใหการสนับสนุนพ้ืนที่ดําเนินการ ช่ือเอกชน นายทองแดง ศรีพุม ที่ต้ังฟารม หมู 2 บานไร ตําบลไผลอม อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

274-282

2. การวิเคราะหโครงการธุรกิจเกษตร 283-286 แบบฝกหัด 287 ใบงาน 288-289

12 ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร 290 1. ปญหาทั่วไป 291-297 2. การแกปญหา 297-310 แบบฝกหัด 312-313 แบบประเมินกอนและหลังเรียน 314 ใบงาน 315 เอกสารอางอิง 316

Page 23: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

สารบัญภาพ

หนวยท่ี เร่ือง หนา 1 ความรูท่ัวไปเก่ียวกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร 1 ภาพท่ี 1 การปลูกปาลมน้ํามันและการจําหนายผลผลิตเกษตร 3 ภาพท่ี 2 ภาพจําลองระบบธุรกิจและองคประกอบของระบบ 4 ภาพท่ี 3 แบบจําลองหวงโซคุณคา 5 ภาพท่ี 4 ภาพแสดงการใช IT ในการจัดการโซอุปทาน 6 ภาพท่ี 5 ภาพโครงสรางธุรกิจเกษตร 8 ภาพท่ี 6 สภาพแวดลอมทางธุรกิจเกษตร 13 2 องคกรธุรกิจเกษตรของไทย 26 ภาพท่ี 7 ธุรกจิแบบเจาของคนเดียว การเล้ียงแกะและการทําสวนปาลมน้ํามัน 27 ภาพท่ี 8 หางหุนสวนสามัญผลิตภัณฑอาหารแมเล็ก

สินคาสุดยอดหน่ึงตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ 2547 ประเภทผลิตภัณฑ : เคร่ืองดื่มระดับดาว

29

ภาพท่ี 9 หางหุนสวนจํากดัเกิดแกวสมุนไพรไทยผลิตภณัฑไวน-สาโท เชน ไวนล้ินจี่ ไวนกระชายดาํ ไวนลูกหมอน สาโท(OTOP)

31

ภาพท่ี 10 บริษัท ผลิตภัณฑอาหารเชฟชอย จํากดั 35 ภาพท่ี 11 บริษัทไทยลักซ เอ็นเตอรไพรส ( มหาชน )ประกอบธุรกิจผลิตและ

จําหนายอาหารสัตวน้ําจํากดั 38

ภาพท่ี 12 โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง 39 ภาพท่ี 13 ธนาคารออมสิน สํานักงานใหญธนาคารออมสิน 40 ภาพท่ี 14 สหกรณวดัจันทร ไมจํากัดสินใช สหกรณการเกษตรแหงแรก 42 ภาพท่ี 15 สหกรณการเกษตรทายาง 42 ภาพท่ี 16 น้ําอัดลมโคคา-โคลา ธุรกิจแฟรนไชสท่ีใชสินคาและช่ือการคา 48 ภาพท่ี 17 เคเอฟซี เปนธุรกิจ แฟรนไชส ท่ีใชรูปแบบทางธุรกิจ 49

Page 24: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

จ สารบัญภาพ

หนวยท่ี เร่ือง หนา 3 หนาท่ีพื้นฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร 60 ภาพท่ี 18 การประชุมวางแผน ซึ่งเปนหน่ึงในกระบวนการในการบริหารจัดการ 61 ภาพท่ี 19 กระบวนการบริหารงานแบบงาย ๆ แบบ PDCA 62 ภาพท่ี 20 แผนในรูปแบบนโยบาย นโยบายพักชําระหนี้เกษตรกร 64 ภาพท่ี 21 แผนภูมิแสดงโครงสรางแบบหนวยหลัก 66 ภาพท่ี 22 แผนภูมิแสดงโครงสรางแบบหนวยหลักและหนวยงานที่ปรึกษา 67 ภาพท่ี 23 แผนภูมิโครงสรางองคการแบบหนาที่งานเฉพาะ 68 ภาพท่ี 24 พ้ืนฐานของการจูงใจ 70 ภาพท่ี 25 มาสโลวเจาของทฤษฎีลําดับขั้นความตองการ 70

ภาพท่ี 26 ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ มอบรางวัลจรรยาบรรณดีเดน หอการคาไทย ประจําป 2550 ใหแก นายสาระ ล่ําซํา นายกสมาคมประกันชีวิตไทย

72

ภาพท่ี 27 การควบคุมการเดินรถของรถไฟฟาแตละขบวน จะถูกดวยระบบคอมพิวเตอรที่ออกแบบมาเฉพาะ

73

4 การจัดการผลิต 103 ภาพท่ี 28 การผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรม 105 ภาพท่ี 29 ความสําคัญของการผลิตกอใหเกิดประโยชนรูปแบบผลิตภัณฑใหม 109 ภาพท่ี 30 สินคาเกษตรสวนใหญเปนสินคนขั้นปฐมภูมิ 111

5 การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด 124 ภาพท่ี 31 ตลาดขายสินคาเกษตร 126

ภาพท่ี 32 ขั้นตอนการซื้อขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนา 128 ภาพท่ี 33 การขนสงทางรถไฟ 130 ภาพท่ี 34 การสื่อสารขอมูลทางงบการตลาดตองรวดเร็วทันตอสถานการณของโลก 131

ภาพท่ี 35 ความสําคัญของการตลาดทําใหเศรษฐกิจขยายตัวมีสินคาและ บริการใหมและชวยยกระดับคาครองชีพของประชากรใหสูงขึ้น

132

ภาพท่ี 36 ขั้นตอนการวางแผนการตลาด 133 ภาพท่ี 37 แสดงระบบงานการตลาด 136

Page 25: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

จ สารบัญภาพ

หนวยท่ี เร่ือง หนา 6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน 147 ภาพท่ี 38 การทําบัญชีเจาของกิจการไดทราบฐานะและผลการดําเนินงานของ

ธุรกิจท่ีตนเปนเจาของ 150

7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับระบบธุรกิจเกษตร 174 ภาพท่ี 39 นโยบายเศรษฐกจิของรัฐบาลสุรยุทธ 'ตลาดเสรีฉบับพอเพียง' 177

8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร 205 ภาพท่ี 40 สวนประกอบท่ีสําคัญของการเขียนแผนธุรกจิ 207 9 โครงการธุรกิจเกษตร 231 ภาพท่ี 41 โครงการเล้ียงปลาดุกซ่ึงเปนสวนหนึ่งของโครงการเกษตร เพื่อหา

รายไดของเกษตรกร 236

ภาพท่ี 42 การเขียนโครงการเกษตรยั่งยืนภายใตแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง

239

10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม 251 ภาพท่ี 43 แฟรนไชสกาแฟสดบลูเมาทเทนคอฟฟ ถือวาเปนธุรกิจขนาดเล็ก

และธุรกิจขนาดยอม ธุรกิจขนาดเล็กอาจจะเปนเจาของรานกาแฟสดเพียงคนเดียว ทําดวยตัวเองหรือจางพนักงานเพียงคนเดียว

255

ภาพท่ี 44 "ริน" ผูนําธุรกิจขนมหวานไทยของฉะเชิงเทรา เร่ิมกิจการมาตั้งแต พ.ศ.2517 จากสูตรขนมท่ีคุณยายทําใหลูกหลานรับประทานกันในครอบครัวและแจกจายญาติมิตร พัฒนามาเปนธุรกิจขนาดยอม ผลิตและจําหนายขนมหวานของดีประจําจังหวัดฉะเชิงเทราในปจจุบัน

257

Page 26: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

จ สารบัญภาพ

หนวยท่ี เร่ือง หนา 11 วิเคราะหกรณีตัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร 273 12 ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร 286 ภาพท่ี 45 วิถีชีวิตของเกษตรกรไทย 292 ภาพท่ี 46 การจัดการระบบการผลิตของเกษตรกรไทย 292

หนวยท่ี เร่ือง หนา ภาพท่ี 47 การนํานโยบายมาใชสูประชาชนของภาครัฐ 293 ภาพท่ี 48 ผลกระทบตอการเปนหนีส้ินของเกษตรกรไทย 293 ภาพท่ี 49 เกษตรกรรม อาจเปนอาชีพท่ีมีความสุขท่ีสุดในโลก สําหรับ

ศตวรรษท่ี 21 แลว เกษตรกรรม เทคโนโลยี และ ส่ิงแวดลอม จะอาศัยและอยูรวมกันไดอยางกลมกลืนและพอเพยีง

302

ภาพท่ี 50 เกษตรกรกําลังนั่งจิบไวนมองฟารมของพวกเขา เซ็นเซอรตางๆท่ีติดตั้งอยูในฟารม กําลังเก็บขอมูล ดิน น้ํา ฟา ฝน และตัดสินใจเปด-ปดน้ํา ใหปุย หรือ ออกคําส่ังใหรถเก็บเกี่ยวออกไปทํางานเอง

303

ภาพท่ี 51 การขาดแคลนนํ้าจืดทําใหระบบการใหน้ําแกฟารมตองฉลาดมาข้ึน 304 ภาพท่ี 52 ระบบรถแทร็กเตอรขับเองดวยการนําทางจาก GPS ของบริษัท

John Deereประเทศสหรัฐอเมริกา 307

ภาพท่ี 53 จาก Google Earth แสดงขอมูลโครงการท่ีมีช่ือวา Bio Mapping ซ่ึงมีการนําเอาเคร่ืองวัดอัตราการเตนของหัวใจและ GPSไปติดท่ีคนแลวปลอยใหเดินไปในเมือง

308

ภาพท่ี 54 เซ็นเซอรตรวจวดัอุณหภูมิและความช้ืนของดนิท่ีใชพลังงานจากแสงอาทิตย สงขอมูลไป Server ดวยสัญญาณวิทย ุ

309

Page 27: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

316

เอกสารอางอิง

เกษมสุข บุญญา. ธุรกิจท่ัวไปหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี(ปวช.) พุทธศักราช 2545(ปรับปรุงพุทธศักราช 2546). กรุงเทพฯ : เจริญรุงเรืองการพิมพ, 2547. จินตนา บุญบงการ. สภาพแวดลอมทางธุรกิจ. พิมพคร้ังท่ี 7. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจฬุาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2549. จีรวัฒน ปลองใหม. การจัดการธุรกิจเบ้ืองตนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี(ปวช) พุทธศักราช 2545(ปรับปรุง พ.ศ. 2546). พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : บริษัทไทยรมเกลา จํากัด, 2547. ชนงกรณ กุณฑลบุตร. หลักการจัดการและองคกรและการจัดการแนวคิดการบริหารธุรกิจใน สถานการณปจจุบัน. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ, 2549. ณัฏฐพันธ เขจรนันทน. หลักการบริหารธุรกิจ. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคช่ันจํากัดมหาชน, 2548 ฐาปนา บุญหลา. คูมือการจัดทําแผนธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม. กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน), 2550. ตรวจสอบบัญชีสหกรณ, กรม. สมุดบัญชีรับ-จายในครัวเรือน. กรุงเทพ : กระทรวงเกษตรและ สหกรณ. มปป. ตรวจสอบบัญชีสหกรณ, กรม. สมุดคิดกําไร- ขาดทุนในการประกอบอาชีพ. กรุงเทพ : กระทรวง เกษตรและสหกรณ. มปป. ทันฉลอง รุงวิทู. คูมือการเขียนแผนธุรกิจอยางงาย. พมิพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : หจก.สามลดา, 2550. นงนุช โสรัตน. การจัดการธุรกิจการเกษตร. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตร คณะ เศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2529. เบญจมาศ อภสิิทธ์ิภิญโญ. บัญชีอยางงาย. กรุงเทพฯ : บริษัทโชคเจริญมารเก็ตต้ิง จาํกัด, 2550. ประชุม รอดประเสริฐ. นโยบายและการวางแผนหลักและทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร : เนติกุล การพิมพ, 2543. พรพรมหม พรมเพศ. ธุรกิจเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพทอปจํากดั, 2550. ไพรินทร แยมจินดาและอุไรวรรณ บุญอาจ. การจัดการธุรกิจเบื้องตน หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชพี พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุงพุทธศักราช 2546). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเอม พันธ จํากัด, 2540. มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. สํานกั. การทําบัญชีอยางงาย. กรุงเทพ : สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2549.

Page 28: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

317

รังสรรค เลิศในสัตย. การตลาดเชิงกลยุทธเพื่อความสําเร็จสําหรับผูบริหาร SMEs. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพดีการพิมพจํากัด, 2549. วรนารถ แสงมณี. ความรูท่ัวไปเก่ียวกับการบริหารธุรกิจ. กรุงเทพฯ : บริษัท เท็กซแอนด เจอรนัล พับลิเคช่ัน จํากัด, 2544. วัฒนา ศิวะเกือ้ ดุษฎี สงวนชาติและนัทพร พิทยะ. การบัญชีเบ้ืองตน. พิมพคร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจฬุาลงกรณมหาวทิยาลัย, 2549. วิเชียร วิทยอุดม. องคการและการจัดการ. กรุงเทพฯ : บริษัทธนธัชการพิมพจํากัด, 2550. ศิณีย สังขรัศมี. หลักธุรกิจเกษตร. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตร คณะ เศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2529. ศิริวรรณ เสรีรัตนและคณะ. องคการและการจัดการ. กรุงเทพฯ : บริษัทธรรมสาร จํากัด, 2545. ศิวฤทธ์ิ พงศกรรังศิลป. หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพทอปจํากัด, 2547. สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ. ธุรกิจเกษตรท่ัวไป. กรุงเทพฯ : ภาควิชาเศรษฐศาสตรเกษตร คณะ เศรษฐศาสตรและบริหารธุรกิจเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2529. สิทธิชัย อุยตระกูล. หลักการจัดการหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้สูง พุทธศักราช 2540 กรมอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเอมพันธ จํากัด, 2540. สุมาลี อุณหะนันทน การบริหารการเงินเลมหนึ่ง. พิมพคร้ังท่ี 6. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550. สุรพันธุ ฉันพเคนสุวรรณ. หลักการบริหารธุรกิจ. พิมพคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : บริษัทจุดทองจํากัด, 2550. โสภิณ ทองปาน. หลักและนโยบายของไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพซันนี่, มปป. อารัฐ ตันโช. เกษตรธรรมชาติประยุกต. เชียงใหม : ม.แมโจ, มปป. อุทัย อันอน. หนี้เกษตรกร. อุบลราชธานี : ม.อุบลราชธานี, มปป. www.maejonaturalfarming.org http://www.uploadtoday.com/download/?d75a2c803081deed57a7fa0cd02d29cf www.oknation.net/blog/print.php?id=105275

****************************

Page 29: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

318

ภาคเกษตร (เพจนี้เพิ่มเติมขอมูลลาสุดเม่ือ 20 มีนาคม2543) (หาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก Link page ขาวภาคเกษตร จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ) ผูจัดการรายวัน - 20 มี.ค.43 การแกปญหาปลูกมันฝร่ัง ศูนยวิจัยกสิกรไทย 25 กุมภาพันธ 2543 หนี้สินเกษตรกร ขาวทีวีสีชอง 7 - 22 ต.ค.42 ศูนยวิจัยกสิกรไทย - ปท่ี 5 ฉบับท่ี 717 วันท่ี 31 สิงหาคม 2542 ศูนยวิจัยกสิกรไทย 23 ก.ค.42 ขายตรง ... ชองทางจําหนายใหมของสินคาเกษตร ผูจัดการรายวัน 16 กรกฎาคม 2542 ขาวปก -

Page 30: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 1 เร่ือง ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร

*****************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1. บอกความหมายของธุรกจิเกษตรได 2. อธิบายความหมายของระบบธุรกิจเกษตรได 3. บอกความสําคัญของธุรกิจเกษตรได 4. แยกประเภทของธุรกิจได 5. อธิบายถึงปจจัยพืน้ฐานท่ีสําคัญของการดําเนินธุรกจิเกษตรได 6. อธิบายถึงสภาวะแวดลอมท่ีมีผลกระทบตอการทําธุรกิจได 7. บอกถึงหนาท่ีและความรับผิดชอบของธุรกิจได

สาระสําคัญ การจัดการธุรกิจเกษตร (Agribusiness Management ) หมายถึง “การดาํเนินงานท้ังหลายใน

ดานท่ีเกีย่วกับการผลิต การจัดจําหนายปจจัยการผลิตสินคาเกษตร กจิกรรมระดับไรนา การเก็บรักษา การแปรรูปและการจดัจําหนายสินคาเกษตร ตลอดจนผลิตผลพลอยไดจากสินคาเกษตร” ระบบธุรกิจการเกษตร หมายถึง “ความสมัพันธท่ีสลับซับซอนของปจจัย(Factors) ตาง ๆ และแนวทางของลักษณะความสัมพันธ ท่ีจะทําใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีตองการ ตามโครงสรางธุรกิจการเกษตร” ประเภทของธุรกิจ ซ่ึงสามารถจําแนกไดโดยท่ัวไป คือ 1. ธุรกิจการเกษตร( Agriculture )

2. ธุรกิจเหมืองแร (Mineral ) 3. ธุรกิจอุตสาหกรรม( Manufacturing ) 4. ธุรกิจกอสราง (Construction) 5. ธุรกิจเกี่ยวกับการพาณิชย( Commercial ) 6. ธุรกิจการเงิน ( Finance ) 7. ธุรกิจการบริการ(Services) 8. ธุรกิจการอ่ืน ๆ

Page 31: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

2

ปจจัยพื้นฐานท่ีสําคัญในการทําธุรกิจเกษตร 1. ปจจัยภายในองคการธุรกิจ (Internal Factors) เปนปจจัยท่ีธุรกิจดําเนินการจดัหาและรวบรวมมา สามารถควบคุมและบริหารการใชปจจัยเหลานี้ได 2. ปจจัยภายนอกองคการธุรกิจ (External Factors) เปนอิทธิพลจากสิ่งแวดลอมภายนอกองคการธุรกิจ ท่ีมีผลกระทบตอการดําเนนิงาน เปนปจจยัท่ีไมอยูนิ่งมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา สภาวะแวดลอมของธุรกิจ หมายถึงสภาวการณตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น และสงผลกระทบท้ังทางตรงและทางออมตอการดําเนินงานของธุรกิจทางการเกษตร สามารถแบงได 2 ลักษณะ 1. สภาวะแวดลอมท่ีควบคุมได คือ สภาพแวดลอมภายใน ท่ีมีผลกระทบโดยตรงตอการการดําเนนิธุรกิจเกษตร เชนวัตถุประสงคของธุรกิจ ทรัพยากรของธุรกิจเกษตรและการจัดการ

2. สภาวะแวดลอมท่ีไมสามารถควบคุมได คือ สภาพแวดลอมภายนอกท่ีมีผลกระทบโดยออมตอการการดําเนินธุรกิจเกษตร เชน สภาวะแวดลอมทางการเมืองและกฎหมาย สภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ สภาวะแวดลอมสังคมและวัฒนธรรม สภาวะแวดลอมทางเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอมระหวางประเทศ

เน้ือหา

1. ความหมายและความสําคัญของการจัดการธุรกิจเกษตร

1.1 ความหมายของการบริหารและการจัดการ การบริหาร (Administration)หรือการจัดการ(Management) มักถูกใชเรียกกันบอย ซ่ึงแต

กอนสองคํานีมี้ความหมายแตกตางกัน การบริหารมักเรียกกนัในภาคราชการและเปนองคการท่ีไมไดมุงหวังกาํไร สวนการจัดการมักใชในภาคธุรกิจเอกชน แตอยางไรก็ตามสองคํานี้สามารถนํามาใชแทนกันไดในความหมายลักษณะเดียวกัน งานดานบริหารและการจัดการเปนงานสําคัญ ท่ีอํานวยการใหมนุษยทํางานไดอยางมีท้ังประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (effective and efficiency) สมความมุงมาตรปรารถนาทุกอยาง

“การบริหาร คือกระบวนการของการวางแผน การจัดโครงสรางและการจัดสายงานขององคการ การชี้นําและการส่ังงาน การควบคุมรวมถึงการใชทรัพยากรอ่ืนขององคการ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย(Goals)ขององคการท่ีไดกําหนดไว”

“ การจัดการ คือ กระบวนการที่ผูจัดการใชศิลปะและกลยุทธตาง ๆ ดําเนินกจิกรรม ตามข้ันตอนตาง ๆ โดยอาศัยความรวมแรงรวมใจของสมาชิกภายในองคการ การตระหนักถึง

Page 32: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

3

สรุปไดวา “การบริหาร คือ การใชท้ังความเปนศาสตรและศิลปะมาผสมผสานกัน เพื่อการนําเอาทรัพยากรการบริหาร(Administration Resources)มาประกอบเขาดวยกัน จนสามารถบรรลุเปาหมายของกลุมหรือองคการไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยกระบวนการบริหาร ( Process of Administration ) ในการปฏิบัตงิานนั้น”

ผูบริหาร( Manager ) เปนบุคคลท่ีทําหนาท่ีในกระบวนการบริหารจัดการ โดยอาศยัหนาท่ี 4 ประการคือ การวางแผน( Planning ) การจัดองคการ( Organizing ) การนํา( leading ) และการควบคุม ( Controlling ) ทรัพยากรขององคการ

1.2 ความหมายของคําวาธุรกิจ(Business) ธุรกิจเปนคําท่ีมีความหมายกวาง เปนส่ิงท่ีอยูรอบ ๆ ตัวเรา ซ่ึงในสังคมปจจุบันจําเปนตองพึ่งพาธุรกิจสวนใหญเพื่อความเจริญกาวหนาในสังคมนั้น ๆ ยังมีสวนสําคัญตอการปรับปรุงคุณคาของชีวิตมนุษย ท้ังในสวนของบุคคลและชุมชนของสังคมตาง ๆ “ ความหมายของธุรกิจ(Business)” คือ “ การดําเนนิกิจกรรมในดานผลิต ( productions ) การจัดจําหนาย ( distributions) และการบริการ ( business services ) ”

ลักษณะของการกระทําธุรกจิ มี 2 ลักษณะ คือ การประกอบธุรกิจเพื่อมุงหวงักําไร และการประกอบธุรกิจโดยไมมุงหวังกําไร

1.3 ความหมายของคําวา “ธุรกิจเกษตร” (Agribusiness) หมายถึง “ การดําเนินงานท้ังหลายในดานท่ีเกี่ยวกับการผลิต การจัดจําหนายปจจัยการผลิตสินคาเกษตร กิจกรรมระดับไรนาการเก็บรักษา การแปรรูปและการจัดจําหนายสินคาเกษตร ตลอดจนผลิตผลพลอยไดจากสินคาเกษตร”

ภาพท่ี 1 การปลูกปาลมน้าํมันและการจําหนายผลผลิตเกษตร

Page 33: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

4

1.4 ระบบธุรกิจ (Business System) และหวงโซคุณคา (Value Chain) 1.4.1 ระบบธุรกิจ (Business System)

ขอบเขตของระบบ (System Boundary) โดยสมมติใหวงกลมใหญแทนองคกรธุรกิจ ซ่ึงในท่ีนี้ก็คือ “ระบบธุรกิจ” ภายใตขอบเขตของระบบน้ีเปนส่ิงท่ีผูบริหารสามารถวางแผน ดําเนินกิจการและควบคุมกจิกรรมตาง ๆ ใหบรรลุตามเปาหมายขององคกรได ขณะท่ีส่ิงท่ีอยูนอกขอบเขตของระบบจะไมสามารถควบคุมได แตเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอการดําเนินงานของธุรกิจทั้งสิ้น ระบบยอย (Subsystems) ไดแกหนาท่ีการงานตาง ๆ ท่ีอยูในระบบหลัก เชน หนาท่ีทางการเงิน บัญชี บริหารบุคคล ซ่ึงมีวัตถุประสงคเฉพาะของแตละหนาท่ีท่ีแตกตางกนัไป เชน เปาหมายทางการตลาด คือเพ่ือแสวงหาลูกคา ในขณะท่ีหนาท่ีทางการเงิน คือการจัดหาแหลงทุนเปนตน ปฏิสัมพนัธ (Interaction) ความสัมพันธระหวางระบบยอยตาง ๆ เพื่อการแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารซ่ึงกันและกัน เพือ่การประสานงานกันใหบรรลุเปาหมายหลักขององคกร ความเปนอิสระตอกันและการพึ่งพากัน(Independence and Interdependence)เปนความอิสระตอกันภายในระบบยอยหน่ึง ๆ ทําใหมองเห็นภาพไดวาระบบยอยหนึ่ง ๆ อาจถูกมองใหเปนระบบหลักไดเชนกัน โดยมีขอบเขตวัตถุประสงค และปฏิสัมพันธไดเชนเดียวกนั ระบบธุรกิจ จึงเปนระบบท่ีพบเหน็กันอยูในชีวติประจําวนัคอนขางมาก มีความสัมพันธกนัในหลาย ๆ หนาท่ีการงานอยางเดนชดั แมจะแบงแยกหนาท่ีกนัอยางชัดเจน และมีวัตถุประสงคแตกตางกันออกไป แตกลับตองอาศัยขอมูลตาง ๆ เพื่อทํางานรวมกนัอยางเปนระเบียบ ใหบรรลุวัตถุประสงคขององคกรรวมกัน ซ่ึงเปนวตัถุประสงคเดียวกัน เชน วตัถุประสงคเพื่อแสวงหากําไร เพื่อสรางยอดขาย เพือ่สังคม เปนตน

ภาพท่ี 2 ภาพจําลองระบบธุรกิจและองคประกอบของระบบ

Page 34: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

5

1.4.2 หวงโซคุณคา (Value Chain) ตามแนวคิดของ Michel E. Porter ไดสรางภาพจําลองหวงโซคุณคา (Value Chain )

ของธุรกิจซ่ึงประกอบดวยกิจกรรมหลัก (Primary Activities) และกิจกรรมสนับสนุน (Support Activities) โดยท่ีกิจกรรมตาง ๆ เหลานี้จะมีผลตอความสามารถในการทํากําไรขององคกรธุรกิจ

กิจกรรมหลัก 5 กิจกรรมประกอบไปดวยการพลาธิการขาเขา (Inbound Logistics) การผลิตหรือการปฏิบัติการ (Operation) การพลาธิการขาออก (Outbound Logistics) การตลาดและการขาย (Marketing and Sales)และการใหบริการลูกคา (Customer Services) กิจกรรมหลักขางตนจะตองทํางานประสานกันตามลําดับข้ันตอนท่ีเหมาะสม และมีการสงตอไปกับยงักิจกรรมถัดไปพรอมกับการเพิ่มคุณคาท่ีเปนผลลัพธของแตละกจิกรรม ลักษณะของการสงตอภาระงานอันทรง คุณคานี้ มีความสัมพันธกันเปนหวงโซท่ีขาดจากกนัไมได และมักจะขาดในจุดท่ีออนแอท่ีสุด ซ่ึงในปจจุบันเปนศาสตรความรูใหมท่ีอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวยบริหารจัดการ หวงโซเหลานี้เปนท่ีรูจักกนัดีวา การจัดการโซอุปทาน(Supply Chain Management ; SCM) กิจกรรมหลักขางตนจะทํางานประสานงานกันไดดี จนกอใหเกิดคุณคาไดนั้น จะตองอาศัยกิจกรรมสนับสนุนท้ัง 4 กิจกรรม ซึ่งไดแกโครงสรางองคกร (Firm Infrastructure)ไดแก ระบบบัญชี ระบบการเงิน การบริหารจัดการ การจัดการทรัพยากรมนุษย (Human Resource Management) การพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Development)และการจัดหา (Procurement) นอกจากกิจกรรมสนับสนุนจะทําหนาท่ีสนับสนุนกิจกรรมหลักแลว กิจกรรมสนับสนุนยังจะตองทําหนาท่ีสนับสนุนซ่ึงกันและกันอีกดวย

ภาพท่ี 3 แบบจําลองหวงโซคุณคา

Page 35: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

6

ภาพท่ี 4 ภาพแสดงการใช IT ในการจัดการโซอุปทาน

ดังนัน้ระบบสารสนเทศ จึงกลายมาเปนองคประกอบหนึ่งในหวงโซคุณคาในสวนของการพัฒนาดานเทคโนโลยี ท้ังนี้องคกรธุรกิจจะตองมีการพฒันาระบบสารสนเทศท่ีเหมาะสมกับ การวางแผนดาํเนินงาน ตัดสินใจและควบคุม โดยจะตองทําหนาท่ีสนับสนุนใหแกทุก ๆ องคประ กอบของหวงโซคุณคานี้ดวย และหากมีการพัฒนาระบบสารสนเทศท่ีสามารถสนับสนุนทุก ๆ กิจกรรมไดแลว ภายในองคกรก็จะประกอบไปดวยระบบสารสนเทศยอย ๆ จํานวนมาก ซ่ึงไดแก

- ระบบสารสนเทศทางพลาธิการ (Logistics Information System) - ระบบสารสนเทศทางการผลิต (Manufacturing Information System) - ระบบสารสนเทศทางการตลาด (Marketing Information System) - ระบบสารสนเทศดานการบริการลูกคา (Customer services Information System) - ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (Management Information System) - ระบบสารสนเทศทางการเงิน (Financial Information System) - ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (Accounting Information System) - ระบบสารสนเทศดานการจัดการทรัพยากรมนุษย (Human Resource Information System) - ระบบสารสนเทศดานการวิจัยพัฒนา (Research and Development Information System) - ระบบสารสนเทศทางดานการจัดซ้ือจัดหา (Procurement and Purchasing Information System ) ท่ีรูจักกันดีก็คือ e-Procurement and e-Purchasing ท่ีรัฐบาลกําลังผลักดันใหหนวยงานตาง ๆ ใชเพื่อปองกันการคอรัปช่ันในวงการราชการ)

หากมีการนาํระบบสารสนเทศยอย ๆ เหลานี้มาเขียนแบบจําลองหวงโซคุณคา ก็จะไดแผนภาพแสดงหวงโซคุณคาของระบบสารสนเทศ (Information System Value Chain) ไดเชนกัน

Page 36: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

7

1.5 ระบบธุรกิจการเกษตรและระบบยอยธุรกิจเกษตร ระบบธุรกิจการเกษตร หมายถึง “ ความสัมพันธท่ีสลับซับซอนของปจจัย (Factors) ตาง ๆ และแนวทางของลักษณะความสัมพันธท่ีจะทําใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีตองการตามโครงสรางธุรกิจการเกษตร”

ระบบยอยธุรกิจเกษตร ไดมีนักปราชญและนักวิชาการท่ีสําคัญท้ังของไทยและตางประเทศไดแบงระบบยอยธุรกิจเกษตรของประเทศไทยได ดังนี ้ Davis, Goldberg and Roy ไดแบงระบบยอยธุรกิจเกษตรออกเปน 4 ระบบยอย คือ

ระบบยอยธุรกิจการเกษตรของปจจัยการผลิตสินคาเกษตร 1. 2. ระบบยอยธุรกิจการเกษตรของการทําฟารมหรือการผลิตสินคาเกษตร 3. ระบบยอยธุรกิจการเกษตรของการแปรรูปสินคาเกษตร 4. ระบบยอยธุรกิจการเกษตรของการจําหนายสินคาเกษตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดแบงระบบยอยธุรกิจเกษตรออกเปน 7 ระบบยอย คือ 1. ระบบยอยปจจัยการผลิตสินคาเกษตร 2. ระบบยอยการผลิตสินคาเกษตร 3. ระบบยอยการตลาดหรือการจัดหาสินคาเกษตร

4. ระบบยอยการแปรรูปสินคาเกษตร 5. ระบบยอยการจัดจําหนายสินคาเกษตร 6. ระบบยอยการสงออกสินคาเกษตร 7. ระบบยอยสินเช่ือเกษตร

Henry B. Arthur, James F. Houck and George L. Beckfotd ไดแบงระบบธุรกิจเกษตรเปน 10 ระบบยอยคือ ระบบยอยเอกชน 5 สวน และระบบยอยรัฐบาล 5 สวน ดังนี้

1. ระบบยอยเอกชน 5 สวน คือ 1.1 ระบบยอยปจจัยสินคาเกษตร 1.2 ระบบยอยการผลิตสินคาเกษตร 1.3 ระบบยอยสินเช่ือเพื่อการเกษตร 1.4 ระบบยอยแปรรูปสินคาเกษตร 1.5 ระบบยอยการจัดจําหนายสินคาเกษตร

2. ระบบยอยรัฐบาล 5 สวน คือ 1.1 ระบบยอยสงเสริมการเกษตร 1.2 ระบบยอยการวิจัยการเกษตร

Page 37: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

8

1.3 ระบบยอยเก่ียวกับกฎระเบียบและขอบังคับการเกษตร 1.4 ระบบยอยการศึกษาการเกษตร 1.5 ระบบยอยการพัฒนาการเกษตร เชนการวิจัยศึกษาตาง ๆ นาํมาพัฒนาโดยรวม

โครงสรางธุรกิจการเกษตร

จากความหมายธุรกิจเกษตรแลว จะเหน็วาธุรกิจเกษตรเปนขบวนการทางธุรกิจท่ีเกีย่วของกับการเกษตรและท่ีไมใชการเกษตร เชน การผลิตปจจัยการผลิตทางการเกษตร เชน เคร่ืองมือทุนแรง ปุย ยาปราบศัตรูพืช ยารักษาโรค ฯลฯ ท่ีใชในฟารมผลิตพืชหรือผลิตสัตวเทานั้น ตองอาศัยเทคโนโลยีทางวิศวกรรมเขามาเกี่ยวของ นอกจากนั้นแลวการทําธุรกิจในยุคสมัยใหมท่ีมีการแขงขันแบบไรพรมแดน เทคโนโลยีระบบสารสนเทศมียิ่งมีความจาํเปนมาก ๆ ในการสรางความไดเปรียบในการแขงขัน ธุรกิจเกษตรจึงมีความจําเปนตองเขาไปเก่ียวพันกันหลาย ๆ ฝาย และการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายไดนัน้ ตองดําเนินงานกันเปนระบบ การมองธุรกิจเกษตรจึงเปนการมองความสัมพันธระหวางกิจกรรมตาง ๆ ท้ังหมดตามความหมายของธุรกิจเกษตรนั่นเอง

ภาพท่ี 5 ภาพโครงสรางธุรกิจเกษตร

ผูจําหนายปจจยัการผลิตสินคา

ผูผลิตสินคาเกษตรหรือ

ผูแปรรูป ผูเก็บรักษา

ผูจําหนายสินคาเกษตรและผลิตผลพลอยได

ผูบริโภค ผูสงสินคาออก

โรงงานผลิตปจจัยการผลิต ปจจัยการผลิตสินคาเกษตร

Page 38: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

9

1.6 ความสําคัญของธุรกิจเกษตร ธุรกิจเกษตรนับวามีความสําคัญกับสังคมมาก ไมวาจะเปนธุรกิจท่ีมีขนาดเล็กหรือขนาดใหญ เพราะวาประชาชนสวนใหญของประเทศไทยเรานั้นประกอบอาชีพทางดานการเกษตร ซ่ึงยอมมีการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีแตกตางกันตามบทบาทของตนเอง ตั้งแตองคการระดับทองถ่ิน(ไรนา)จนถึงขนาดองคการใหญ และองคการธุรกิจท่ีทําการคาระหวางประเทศ ซ่ึงสามารถสรุปบทบาทและความสําคัญได ดังนี ้ 1.5.1 บําบัดหรือสนองความตองการของมวลมนุษย 1.5.2 กอใหเกดิการวาจางแรงงาน 1.5.3 กอใหเกดิการแบงงานกันทํา 1.5.4 กอใหเกดิการแขงขัน 1.5.5 กอใหเกดิรายได และภาษีอากร 1.5.6 กอใหเกดิการใชทรัพยากรอยางมีคุณคา 1.5.7 สรางความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยี

1.5.8 ชวยยกระดับคาครองชีพของประชาชนใหสูงข้ึน

ซ่ึงความสําคญัของธุรกิจเกษตรดงักลาว มีอิทธิพลท่ีจะกอใหเกิดคุณคาทางเศรษฐกิจและสังคม นัน่ก็คอื ถาคนมีฐานะทางเศรษฐกิจ มีความอยูดกิีนดี สังคมก็จะดีดวย

2. วัตถุประสงคของการดําเนินธุรกิจ (Business Goals) ผูประกอบธุรกิจยอมมีวัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจของตนเองโดย ท่ัวไปวัตถุประสงค

จะแบงเปน 2 ลักษณะคือ 2.1 วัตถุประสงคหลัก โดยทั่วไปผูประกอบธุรกิจจะมีวตัถุประสงคเพื่อใหไดผลกําไรตอบ

แทน 2.2 วัตถุประสงครองหรือวัตถุประสงคอ่ืน ๆ ผูประกอบธุรกิจจะต้ังวตัถุประสงครองไว

เชน - เพื่อใหบริการสังคม เชน ไฟฟา ประปา โทรศัพท ฯลฯ - เพื่อรักษามาตรฐานการผลิตไว เชน รถยีห่องโรสลอย เปนตน - เพื่อรักษาสวนแบงตลาดไว เชน การลดราคา การโฆษณาตลอดท้ังปเปนตน - เพื่อเผยแพรช่ือเสียงใหเปนท่ีรูจัก - เพื่อตองการเปนผูนําในวงการธุรกิจ - เพื่อรักษาช่ือเสียงของยี่หอ ตราสินคาเชนโทรทัศน โซนี่ รถยนตอีซูซุ เปนตน - เพื่อกอใหเกิดความอยูรอดและการเจริญเติบโตของธุรกิจในอนาคต

Page 39: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

10

3. ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจในปจจบัุนนั้น ไดมีการดําเนินกันอยางมากมาย การแบงประเภทของธุรกิจก็แบงตาม

ลักษณะของกจิกรรมท่ีจะเรียกกนั ซ่ึงสามารถจําแนกไดโดยท่ัวไป คือ 3.1 ธุรกิจการเกษตร( Agriculture ) คือธุรกิจท่ีทําการผลิตดานเกษตรกรรม ผูท่ีประกอบธุรกิจทางดานนี้ไดแก ผูมีอาชีพการทํานา ทําไร ทําสวน ทําไร ประมง ปศุสัตว ปาไม

3.2 ธุรกิจเหมืองแร(Mineral ) ไดแกธุรกิจการทําเหมือแร การขุดเจาะ รวมถึงการนําเอาทรัพยากรตาง ๆ มาใช และรวมถึง ถานหิน หินน้ํามัน หนิออน

3.3 ธุรกิจอุตสาหกรรม( Manufacturing ) คือธุรกิจท่ีกอใหเกดิการผลิต สินคาประเภทตาง ๆ โดยกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงขนาด รูป ราง ของวัตถุดิบ และกอใหเกดิมูลคาเพิ่ม หรือหมายถึง ธุรกจิการผลิตสินคาและเคร่ืองอุปโภคท่ัวไปแบงแยกไดดังน้ี 3.3.1 อุตสาหกรรมในครัวเรือน เปนอุตสาหกรรมขนาดเล็กใชแรงงานของสมาชิกในครอบครัวในชวงเวลาวางจากการประกอบอาชีพหลัก โดยใชวัตถุดิบในทองถ่ินนั้น วิธีการผลิต จึงเปนแบบโบราณ ไดแก อุตสาหกรรมทอผา อุตสาหกรรมทําเคร่ืองเขิน อุตสาหกรรมทํารม อุตสาหกรรมเคร่ืองจักสาน เปนตน 3.3.2 อุตสาหกรรมในโรงงาน หมายถึง ธุรกิจซ่ึงผูผลิตทําการผลิตสินคาจากโรงงานมีความแตกตางจากอุตสาหกรรมในครัวเรือน คือ มีโรงงานเปนหลักแหลง มีการจางแรงงานจากแหลงบุคคลภายนอก มีกระบวนการผลิต มีเคร่ืองมือเคร่ืองจักรท่ีทันสมัย ซ่ึงสามารถผลิตสินคาไดทีละมาก ๆ อันไดแกโรงงานประเภทตาง ๆ เชนโรงงานผลิตอาหารกระปองสําเร็จรูป โรงงานผลิตเส้ือผาสําเร็จรูป เปนตน 3.4 ธุรกิจกอสราง(Construction) เปนธุรกิจท่ีนําเอาสินคาสําเร็จรูปจากธุรกิจอ่ืน ๆ ซ่ึงเปนผลผลิตจากอุตสาหกรรมท่ีกลาวถึงขางตนมาใชในการกอสราง ไดแก ธุรกิจการสรางอาคาร ท่ีอยูอาศัย สถานศึกษา โรงพยาบาล ถนน สะพาน เข่ือน โรงงาน 3.5 ธุรกิจเก่ียวกับการพาณชิย( Commercial ) คือ ธุรกิจท่ีเปนชองทางในการกระจายสินคาจากผูผลิตอุตสาหกรรมตาง ๆ ไปสูผูบริโภคทําใหประชาชนท่ัวไปหาซ้ือสินคาตาง ๆ ไดสะดวกตามปริมาณและเวลาท่ีตองการ โดยมีผูคาสงชวยนาํผลผลิตไปยังผูคาปลีกและผูคาปลีก ท่ีนําไปจําหนายตอแกผูบริโภค 3.6 ธุรกิจการเงิน( Finance ) ธุรกิจการเงิน เปนธุรกิจประเภททีใ่หความชวยเหลือดานการเงิน เชน การใหกูยืม ท้ังนี้เนื่องจากผูผลิตจําเปนตองมีแหลงเงินเพื่อการลงทุน และถือไดวาเปนธุรกิจท่ีจําเปนอยางยิ่งในการสนับสนุน และอํานวยความสะดวกแกธุรกิจประเภทอ่ืน ๆ ไดแก ธนาคารประเภทตาง ๆ บริษัทการเงิน บริษัทประกันภยั เปนตน

Page 40: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

11

3.7 ธุรกิจการบริการ(Services) คือธุรกิจท่ีทําหนาท่ีในการคอยใหบริการกับคน หรือองคการ อ่ืน ๆ เชน อูซอมรถ คลินิก การรับขนสง โรงแรม 3.8 ธุรกิจอ่ืน ๆ ไดแกธุรกจิท่ีนอกเหนือไปจากท่ีไดกลาวมาแลวขางตน เชน ผูประกอบอาชีพอิสระตาง ๆ เชน ครู แพทย เภสัช วิศวกร สถาปตย ชางฝมือดานตาง ๆ เปนตน

4. ลักษณะของธุรกิจเกษตร การดําเนนิธุรกิจเปนกิจกรรมที่ตองทําตอเนื่อง มีจดุมุงหมายสําคัญท่ีจะขาดเสียมิได

คือความตองการผล “กําไร” จากการประกอบการ หนวยงานท่ีประกอบการอยางเดยีวกันกับหนวยงานธุรกจิท่ีขาดความมุงหวังหรือ“กําไร” หนวยงานนั้นก็ไมจัดเปนธุรกิจ เชน โรงเรียนของรัฐบาล สวนโรงเรียนราษฎรจัดเปนหนวยธุรกิจ แตเปนการจัดกจิกรรมใหบริการดานการเรียนการสอนอยางเดียวกันกับโรงเรียนของรัฐ ซ่ึงโรงเรียนของรัฐบาลเพียงแตมุงหวังเพือ่จัดใหประชาชนไดมีความรู มีการศึกษา และไมตองการกําไรจากการนี้ซ่ึงก็ไมจัดเปนธุรกิจ

5. ปจจัยพ้ืนฐานปจจัยท่ีสําคัญในการทําธุรกิจเกษตร ในการจดัการธุรกิจเกษตร ปจจัยท่ีสําคัญท่ีมีอิทธิพลตอความสําเร็จของการทําธุรกิจเกษตร

ไดนั้น ผูทําธุรกิจเกษตรจะตองศึกษาและใหความสนใจในดานปจจัยพื้นฐานท่ีสําคญัในเร่ืองตาง ๆ ตอไปนี ้

5.1 ปจจัยภายในองคการธุรกิจ (Internal Factors) เปนปจจัยท่ีธุรกิจดาํเนินการจัดหาและรวบรวมมา สามารถควบคุมและบริหารการใชปจจัยเหลานี้ได ปจจยัภายในประกอบดวย ทรัพยากรบุคคล เงิน วัตถุดบิ เคร่ืองจักร การจัดการ

5.1.1 ทรัพยากรบุคคล (Man) เปนปจจัยท่ีมีความสําคัญและเปนหัวใจท่ีสรางและดําเนินกิจกรรมของธุรกิจ คนในท่ีนีห้มายความรวมถึง ผูประกอบการ ตลอดจนแรงงานท้ังหลาย ในการกําหนดหนาท่ีตาง ๆ เพื่อใหคนของธุรกิจทํางานไดอยางเต็มกําลังและมีประสิทธิภาพ 5.1.2 เงิน (Money) หมายถึงเงินทุนของธุรกิจ ซ่ึงอาจไดมา 2 ลักษณะ คือ เงินทุนหรือเงินท่ีเกดิจากการลงทุนของเจาของกิจการ และเงินทุนท่ีไดจากภายนอกกิจการ เชน การขายหุน การกูยืมมาจากสถาบันการเงินตาง ๆ

5.1.3 วัตถุดิบ (Material) หมายถึง วัตถุดบิและวัสดุส่ิงของตาง ๆ ท่ีจะนํามาใชในกระบวนการผลิต ซ่ึงเปนปจจัยสําคัญของการผลิต โดยเฉพาะในการผลิตสินคา คุณภาพของสินคาจะดหีรือไมข้ึนอยูกับวัตถุดบิท่ีใชดวย และคาใชจายเก่ียวกับวัตถุดิบเปนตนทุนโดยตรงของการผลิต

Page 41: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

12

5.1.4 การจัดการ ( Management ) เปนการจัดแบงงานภายในองคการออกเปนกลุม ๆ พรอมท้ังกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบและอํานาจหนาท่ีของแตละกลุมไวอยางแนนอน โครงสรางขององคการ ไดรับการจัดทําข้ึนเพื่อเปนเคร่ืองมือในการดาํเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงคของการประกอบการ จึงมีลักษณะท่ีจะสามารถเปล่ียนแปลงไปไดตามสภาวะแวดลอม การจัดองคการจึงมิใชเปนกจิกรรมที่กระทําเพยีงคร้ังเดียว เม่ือธุรกิจมีขนาดใหญข้ึนกิจกรรมตาง ๆ ก็จะตองมีการเปล่ียนแปลง ผูประกอบการจะตองปรับปรุงโครงสรางขององคการใหมีประสิทธิภาพอยูเสมอ 5.1.5 เคร่ืองจักร (Machine) หมายถึง ทรัพยสินถาวรท่ีใชในการผลิต หรือใหบริการไดแก เคร่ืองจกัร เคร่ืองใชอุปกรณตาง ๆ ซ่ึงเปนปจจยัท่ีสําคัญอีกอยางหนึ่งของการผลิต เพราะเคร่ืองจักรเปนแรงงานท่ีจะชวยใหกระบวนการผลิต ดําเนินไปอยางตอเนื่องจนครบตามข้ันตอน

5.2 ปจจัยภายนอกองคการธุรกิจ (External Factors) เปนอิทธิพลจากสิ่งแวดลอมภายนอกองคการธุรกิจท่ีมีผลกระทบตอการดําเนินงาน เปนปจจยัท่ีไมอยูนิ่ง มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ซ่ึงการเปล่ียนแปลงแตละคร้ังจะมีผลตอองคการธุรกิจ และไมสามารถควบคุมปจจยัเหลานี้ได นอกจากจะปรับตัวใหเขากับสภาพการณเทานัน้ ปจจยัภายนอกท่ีสําคัญไดแก 5.2.1 การตลาด (Market) ถาธุรกิจสามารถหาตลาด รักษาตลาดและสามารถขยายตลาดออกไปไดมากข้ึน ยอมหมายความถึงอนาคตท่ีดีของธุรกิจดวย 5.2.2 การแขงขันทางธุรกิจ เปนปจจยัท่ีมีผลตอความสําเร็จของธุรกิจ ลักษณะของการแขงขัน อาจเปนการแขงขันของธุรกิจประเภทเดียวกันหรือไมก็ได ในบางคร้ังการทําธุรกิจแตละชนิดก็สามารถมีผลกระทบกันได เชน ธุรกิจผลิตรถยนตอาจมีผลตอการดําเนินธุรกิจผูผลิตรถยนตยี่หออ่ืน ๆ ได 5.2.3 ผูบริโภค จะมีผลโดยตรงตอธุรกิจ เชนรสนิยมของผูบริโภค จํานวนผูบริโภค ระดับการศึกษาและรายได

6. สภาพแวดลอมของธรุกิจเกษตร หมายถึง สภาวการณตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นและสงผลกระทบท้ังทางตรงและทางออมตอการดําเนินงานของธุรกิจทางการเกษตร เราสามารถแบงสภาวะแวดลอมออกได 2 ลักษณะคือ 6.1 สภาวะแวดลอมท่ีควบคมุได 6.2 สภาวะแวดลอมท่ีไมสามรถควบคุมได

Page 42: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

13

องคการ ธุรกิจ

สภาวะแวดลอมท่ีควบคุมได

เทคโนโลยี การแขงขัน

การเมืองและกฎหมาย

ทางเศ

รษฐกิ

สังคม

บุคลากร

การจัดการ

วัตถุประสงค

เวลา เครื่องจกัร

วัตถุดิ

เงินทุน

ภาพท่ี 6 สภาวะแวดลอมทางธุรกิจเกษตร

สภาวะแวดลอมท่ีไมสามารถควบคุมได

6.1 สภาวะแวดลอมท่ีควบคมุได คือ สภาวะแวดลอมภายในทุกชนิดท่ีเกี่ยวของกับการดําเนินงานภายใน ท่ีมีผลกระทบโดยตรงตอการการดําเนนิธุรกิจเกษตรซ่ึงมีดังน้ี 6.1.1 วัตถุประสงคของธุรกิจ คือเปาหมายในการดําเนินธุรกิจ ผูประกอบการหรือตัวเกษตรกรเอง ในการกําหนดกลยุทธทางการตลาด ตองใหสอดคลองเปนแนวทางเดยีงกับเปาหมายธุรกิจของตนเอง การดําเนินธุรกิจเกษตรผูประกอบการจะตองกําหนดวตัถุประสงคไว ท้ังระยะส้ันและระยะยาว โดยมีวัตถุประสงค เพื่อกําไร ใหบริการแกผูบริโภค หรือชุมชนและสังคม ซ่ึงตองมีแนวทางท่ีชัดเจน 6.1.2 ทรัพยากรของธุรกิจเกษตร คือ ปจจัยท่ีสําคัญในการดําเนนิงาน ผูประกอบการสามารถนํามาใชพิจารณาในการดําเนนิการ เพื่อแกไขปญหาในทางดําเนินงานทางธุรกิจเกษตรได ดังนี ้

Page 43: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

14

1) บุคลากร ซ่ึงเปนปจจยัพื้นฐานท่ีสําคัญตอธุรกิจ ถาธุรกิจใดไดบุคลากรท่ีมีคุณภาพ ตรงกับงานและบุคคลนั้นมีความซ่ือสัตย ขยันอดทน ก็สามารถนําธุรกิจบรรลุเปาหมายหรือวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูประกอบการควรคัดเลือกบุคลากรท่ีมีความเหมาะสม 2) เงินทุน เงินทุนทําใหธุรกิจมีความม่ันคงทางการเงิน เพราะมีความคลองตัว การลงทุนเพ่ือประโยชนทางธุรกิจเกษตร ผูประกอบการตองพิจารณาใหคุมคาวาสมเหตุสมผลหรือไม การพจิารณาหาแหลงเงินมาลงทุนทางธุรกิจจากสถาบันการเงิน หรือไมใชสถาบันทางการเงิน ผูประกอบการตองพจิารณาอยางละเอียดถ่ีถวนใหถูกตอง และวินัยทางการเงินผูประกอบการตองยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติอยางเครงครัด 3) วัตถุดิบ ในการดําเนนิธุรกิจดานอุตสาหกรรมเกษตรหรืออุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ผูประกอบการหรือผูบริหารตองเปนผูท่ีมีความสามารถจัดหาวัตถุดิบท่ีมีคุณภาพ และมีปริมาณเพียงพออยางตอเนื่อง ก็จะทําใหการใชวตัถุดิบมีคุณภาพ สามารถเพ่ิมรายได ลดคาใชจายซ่ึงมีผลกระทบตอการทํากําไรขององคการ 4) เคร่ืองจักร การทําธุรกิจสมัยใหมที่มีการแขงขันกันอยางรุนแรง ผูประกอบการ

ท่ีตองการเปนผูนําทางการตลาดหรือรักษาสวนแบงของตลาดเอาไว การมีเคร่ืองจักรเคร่ืองมือท่ีทันสมัย ทันเหตุการณ ก็จะทําใหสามารถแขงขันกับคูแขงขันไดด ี 5) เวลา การใชเวลาใหเกิดประโยชนสูงสุดในการบริหารจัดการทางธุรกิจเกษตรนัน้ ธุรกิจทางการเกษตรเปนเร่ืองที่เกี่ยวของกับธรรมชาติ ตองมีการตัดสินใจท่ีรวดเร็วตอสภาพการท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา ผูประกอบการตองม่ันศึกษาวิเคราะหขอมูลขาวสาร จะทําใหสามารถแขงขันกับคูแขงขันได เพราะสวนหนึง่ก็เปนการบริหารเวลาอยางมีประสิทธิภาพนั่นเอง 6.1.3 การจัดการ เปนปจจยัท่ีมีความสําคัญตอองคการธุรกิจเกษตร ถาองคการธุรกิจเกษตรสามารถคัดเลือกบุคคลท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมกับงาน ก็จะทําใหธุรกิจนั้นประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายขององคการ

6.2 สภาวะแวดลอมท่ีไมสามารถควบคุมได 6.2.1 สภาวะแวดลอมทางการเมืองและกฎหมาย

การเมือง หมายถึงระบบการเมืองไทย ซ่ึงประกอบดวยระบบยอยตาง ๆ เชน ขาราชการการเมือง สมาชิกสภาผูแทน พรรคการเมือง กลุมผลประโยชน ส่ือมวลชน และประชาชนระบบยอยของระบบการเมืองดังกลาว มีผลตอการกําหนดนโยบายท่ีจะสงเสริมหรือสนับสนุนในเร่ืองตาง ๆ เชนการผลิต การจําหนาย และดานบริการทางการเกษตร นักการเมืองในระบอบประชาธิปไตยมีสวนสําคัญใหเกิดข้ึนได ยอมสงผลกระทบการทํากําไรและขาดทุนของธุรกิจเกษตร

Page 44: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

15

0กฎหมาย หมายถึงกฎหมายทางธุรกิจ พ.ร.บ. ตาง ๆ ที่ประกาศออกใช ธุรกิจจําเปนตองปฏิบัติตามยอมมีผลตอการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจ ผลตอกําไรของธุรกิจ ตัวอยาง เชน พ.ร.บ. ควบคุมอาหารสัตว, พ.ร.บ. สหกรณ 2542, พ.ร.บ. วัตถุอันตราย, พ.ร.บ. คุมครองพันธุพืช 2542, มาตรฐานงานฟารม, พ.ร.บ. คุมครองผูบริโภค, พ.ร.บ. คาแรงงานข้ันตํ่า, กฎหมายเกีย่วกับภาษีมูลคาเพิ่ม, กฎหมายปองกันการผูกขาดหรือกฎระเบียบขอบังคับท่ีมีเพื่อพิทัผลประโยชนของผูบริโภคไมใหถูกเอารัดเอาเปรียบ หรือกฎหมายการรักษาส่ิงแว

กษ

ดลอม ฯลฯ 6.2.2 สภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ องคการธุรกิจเกษตรท่ีจะตองดําเนินธุรกจิใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว ควรจะศึกษาถึงสภาวะเศรษฐกิจในปจจุบันและอนาคตอันใกล เพื่อการเตรียมตัวและการปรับตัวขององคการธุรกิจตอระบบเศรษฐกิจท่ีเปล่ียนแปลงอยูเสมอ หาไมแลวการปรับตัวอาจจะไมทันตอเหตกุารณ และสงผลเสียหายตอการดําเนนิงานในระบบรวม สรุปไดวา แมระบบเศรษฐกิจมักจะมีผลกระทบอยางมากตอการดําเนินธุรกิจบางคร้ังก็ยากแกการคาดการณ บอยคร้ังมีการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วในเร่ืองของราคาท่ีเพิ่มข้ึน รูปแบบของผลิตภัณฑ ลักษณะของอดออม อัตราวางงานและการขาดแคลนพลังงาน นักธุรกิจจะตองติดตามการเปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกิจอยางใกลชิด เพื่อการปรับตัวในโอกาสและเวลาท่ีเหมาะสม 6.2.3 สภาวะแวดลอมสังคมและวัฒนธรรม ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ คือ ธุรกิจจะตองคํานึงถึงการเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ท้ังนี้เพื่อประโยชนในการปรับตัว เพื่อความอยูรอด เชน การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอมทางนิเวศนตอโรงงานอุตสาหกรรม อุปนิสัยการใชสอยรถยนตและการบริโภค เชน ความนิยมในการซื้อของในหางสรรพสินคาและซุปเปอรมาเก็ต เปนตน 6.2.4 สภาวะแวดลอมทางเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงและการพฒันาทางเทคโนโลยี มีผลกระทบตอธุรกิจอยางมาก เชน การนําเอาเทคโนโลยีทางการผลิตมาเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต ทั้งในดานของปริมาณสินคา คุณภาพสินคา การออกแบบหรือการนําเทคโนโลยีทางการสื่อสารที่ทันสมัย เทคโนโลยีการประมวล ผลขอมูลและการจัดหาขอมูลทางธุรกิจ จะชวยใหธุรกิจไดขอมูลท่ีจําเปนอยางรวดเร็ว มีผลตอการดําเนินงาน ปจจุบันจะเหน็ไดวามีวิชาการทํานายเทคโนโลยี ซ่ึงจะสอนใหทราบวาภายในระยะเวลาหนึง่เทคโนโลยีจะเปล่ียนแปลงไปอยางไรและในทิศทางใด เพื่อท่ีนักธุรกิจจะไดสนองตอบและปรับตัวได

Page 45: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

16

6.2.5 ส่ิงแวดลอมระหวางประเทศ การจัดการธุรกิจเกษตรยุคใหม ปจจัยแวดลอมระหวางประเทศก็มีผลตอการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจตัวอยางเชน นักธุรกิจชาวไทยตองการขยายกิจการไปยังตางประเทศ การประกอบกจิการคาในตางประเทศ จําเปนอยางยิ่งท่ีธุรกิจเหลานัน้จะตองเขาใจระบบการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศท่ีจะไปลงทุน

7. หนาท่ีและความรับผิดชอบของธรุกิจเกษตร 7.1 ความรับผิดชอบตอลูกคาหรือผูบริโภค คือ การใหบริการลูกคาใหดีท่ีสุด ซ่ึงไดแก 7.1.1 หนาท่ีจดัซ้ือสินคา การจัดซ้ืออยางมีความรับผิดชอบตอลูกคา คือ การจัดซ้ือ

สินคาท่ีลูกคาตองการมาเสนอขายในระดบัราคาและเวลาท่ีตองการ 7.1.2 หนาท่ีในการผลิตและจําหนายสินคา หนาท่ีทําการผลิตและการจําหนายนี้ เปนหนาท่ีท่ีตองอาศัยความรูความสามารถอยางยิ่ง นกัธุรกิจจะตองตัดสินใจเลือกท่ีจะทําการผลิต หรือจําหนายสินคาใดท่ีลูกคาตองการ ท้ังใหผลตอบแทนตอผูลงทุนสูงและความเส่ียงภัยนอยดวย

7.1.3 หนาท่ีในการจัดการดานการเงิน นกัธุรกิจจําเปนตองวางแผนการจัดหาเงินทุนท่ีมีคาใชจายหรือตนทุนตํ่าท่ีสุดมาใชในการบริหารและดาํเนินงาน เพื่อใหตนทุนสินคาท่ีผลิตไดมีราคาตํ่าท่ีสุด 7.2 หนาท่ีปฏบิัติตามกฎระเบียบของรัฐ คือจัดทําบัญชีตามท่ีกฎหมายกําหนดซ่ึงจะตองจัดยืน่แสดงตอกรมสรรพากรเพ่ือประเมินและชําระภาษี

7.3 หนาท่ีรับผิดชอบตอเจาของเงินทุน ผูบริหารธุรกิจจึงมีหนาท่ีเปนผูประสานงานประโยชนโดยการจัดสรรงบประมาณใหเกดิความเปนธรรม ท้ังแกลูกคา ลูกจาง บุคคลท่ีเกี่ยวของ และสังคมโดยอยูในกรอบขอบเขตท่ีรัฐกําหนดให

7.4 หนาท่ีรับผิดชอบตอลูกจาง คือการบริหารงานบุคคล เน่ืองจากการประกอบธุรกิจนั้น ธุรกิจยังตองรับผิดชอบตอลูกจางหรือพนกังานของบริษทัเองอีกดวย เชน การจายคาตอบแทน แรงงานอยางเปนธรรม สวัสดิการพัฒนาบุคคล เปนตน 7.5 หนาท่ีรับผิดชอบตอสังคม ธุรกิจท่ีดียอมบริหารงานโดยเคารพและปฏิบัติตาม ผูประกอบธุรกิจจะตองมีความซ่ือสัตยในการปฏิบัติหนาท่ีของตนตอสังคม เชน ในเร่ืองการผลิตสินคาตองไมปลอมปนหรือผลิตสินคาท่ีดอยคุณภาพออกจําหนาย ในดานการโฆษณาไมทําใหผูซ้ือเกิดความเขาใจผิดและซ้ือสินคาไปเพราะความรูเทาไมถึงการณ หรือไมกักตุนสินคาเพื่อใหเกิดการขาดแคลนและฉวยโอกาสข้ึนราคาในท่ีสุด

Page 46: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

17

สรุป

การจัดการธุรกิจเกษตร (Agribusiness Management ) หมายถึง “การดาํเนินงานท้ังหลายใน ดานท่ีเกีย่วกับการผลิตการจัดจําหนายปจจยัการผลิตสินคาเกษตร กจิกรรมระดับไรนาการเก็บรักษา การแปรรูปและการจัดจําหนายสินคาเกษตร ตลอดจนผลิตผลพลอยไดจากสินคาเกษตร” การจัดการธุรกิจเกษตรในยุคใหมท่ีมีการแขงขันกันอยางรุนแรง นักธุรกิจหรือตัวเกษตรกรเองตองมีความเขาใจระบบธุรกิจเกษตรท่ีมีความสัมพันธสลับซับซอนของปจจัย (Factors) ตาง ๆ ตามโครงสรางธุรกิจการเกษตร จึงจะทําใหการพัฒนาองคการของเราไปสูเปาหมายท่ีตองการได

ความสําคัญของธุรกิจเกษตร ทําใหสนองความตองการของมวลมนุษย ชวยแกปญหาการวางงานกระจายแรงงาน ชวยแบงงานกันทํา ทําใหเกิดการแขงขัน ทําใหรัฐบาลมีรายไดจากการเก็บภาษีอากร กอใหเกิดการใชทรัพยากรอยางมีคุณคา สรางความเจริญกาวหนาทางดานเทคโนโลยีและชวยยกระดับคาครองชีพของประชาชนใหสูงข้ึน นําไปสูการพัฒนาประเทศในท่ีสุด การทําธุรกิจเกษตรไปสูเปาหมายตามท่ีตองการไดนัน้ เกษตรกรจําเปนตองศึกษาถึงปจจัยภายใน- ภายนอก และสภาวะแวดลอมภายใน-ภายนอกท่ีเกีย่วของ ท่ีมีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจเกษตร รวมถึงตองศึกษาสภาพแวดลอมท่ีเกี่ยวของทางธุรกิจซ่ึงจะมีอิทธิพลและมีผลกระทบท้ังตรงทางออมตอการทําธุรกิจดวย

****************************

Page 47: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

18

แบบฝกหัด หนวยท่ี 1 เร่ือง ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. การบริหารหรือการจัดการท่ีเปนท้ังศาสตรและศิลป เพื่อการบรรลุเปาหมายขององคการ นักศึกษาเขาใจอยางไรอธิบาย ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. การดําเนินธุรกิจเกษตรใหบรรลุเปาหมายไดนั้น มีปจจัยและสภาวะแวดลอมใดท่ีเกี่ยวของบาง อธิบาย ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

Page 48: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

19

3. การจัดการธุรกิจเกษตรไมใชมีจุดมุงหมายเพยีงเพื่อผลกําไรเทานั้น ควรจะตองรับผิดชอบอะไรบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. ในจังหวดัของทานการประกอบอาชีพธุรกิจเกษตร มีบทบาทและความสําคัญอยางไร อธิบาย ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

*****************************

Page 49: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

20

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 1 ความรูท่ัวไปเกีย่วกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเหน็วาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว1. ธุรกิจเกษตร หมายถึง

ก. การผลิตสินคาเกษตรในประเทศ และ การคาสินคาเกษตรระหวางประเทศดวย ข. การดําเนินกิจกรรม ในดานผลิต การจัดจําหนายและการบริการ ค. การดําเนินกิจกรรม ในดานผลิต การจัดจําหนาย ง. การผลิต การจัดจําหนายปจจัยการผลิต สินคาเกษตร กิจกรรมระดบัไรนา การ เก็บรักษา การแปรรูปและการจัด จําหนายสินคาเกษตร ตลอดจนผลิตผล พลอยไดจากสินคาเกษตร

2. การนําเอาคําวาการบริหารและการจัดการมาใชกับขอใด ก. การจัดการใชสําหรับภาคเอกชน ข. การบริหารใชสําหรับภาครัฐเทาน้ัน ค. สามารถนํามาใชไดท้ังสอง ง. แลวแตความเหมาะสมท่ีจํานํามาใช 3. ขอใดกลาวไวถูกตอง เกี่ยวกับการบริหาร

ก. เปนการใชกลยุทธท้ังศาสตรและศิลป เพื่อบรรลุเปาหมายขององคการ ข. เปนการกําหนดบทบาทหนาท่ีทํางาน เพื่อบรรลุเปาหมายขององคการ ค. เปนการจัดโครงสรางการทํางานเพ่ือ บรรลุเปาหมายขององคการ ง. เปนการจัดคนและเครื่องจักรเพ่ือบรรล ุ

4. ความสัมพันธที่สลับซับซอนของปจจัย(Factors) ตาง ๆ และแนวทางของลักษณะความสัมพันธที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตองการตามโครงสรางธุรกิจการเกษตร เปนความหมาย ของขอใด

ก. การบริหารองคการ ข. โครงสรางธุรกิจเกษตร ค. ระบบธุรกิจเกษตร ง. วิถีการตลาดสินคาเกษตร

5. หวงโซคุณคา มีความสําคัญเกี่ยวของกับขอใดมากท่ีสุด ใชคําตอบขอ 4 6. e-Procurement and e-Purchasing คืออะไร

ก. ระบบการตลาด ข. ระบบสารสนเทศ ค. ระบบการเก็บภาษี ง. ระบบการขนสงสินคา

7. ขอใดไมใชอิทธิพลดานความสําคัญของธุรกิจเกษตร ท่ีมีตอการกินดีอยูดี ก. การจางแรงงาน ข. การใชวัตถุดิบอยางมีประสิทธิภาพ ค. เกิดการแขงขัน ง. ยกระดับคาครองชีพ

เปาหมายขององคการ

Page 50: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

21

ตอบคําถามขอท่ี 8-11 15. องคการใดที่งุมงาม มีการแขงขันนอย ก. ธนาคาร การแบงประเภทของธุรกิจ ดังนี ้ข. หางสรรพสินคา ก. ปาไม ค. รานขายมือถือ ข. แปรรูป ง. การไพฟาฝายผลิต ค. กระจายสินคา

16. สภาวะแวดลอมธุรกิจ ท่ีสงผลกระทบตอธุรกิจท้ังทางตรงและทางออม แบงเปน 2 ลักษณะอยางไร

ง. การประกนัภัย 8. ดานการเงิน 9. ดานพาณิชย

ก. ปจจยัภายในและภายนอกของ 10. ดานอุตสาหกรรม องคการธุรกิจ 11. ดานการเกษตร ข. ควบคุมไดและควบคุมไมได 12. ขอใดจัดไดวา เปนองคการท่ีมีลักษณะ

แตกตางกัน ค. ผลกระทบทางตรงและทางออม ง. หนวยงานท่ีควบคุมและหนวยงานท่ี ก. บริษัทโตโยตาจํากดั(มหาชน) ไมควบคุม ข. ธนาคารกรุงไทย(มหาชน)

17. การศึกษารูปแบบของผลิตภัณฑ ลักษณะของอดออม อัตราวางงานเปนส่ิงแวดลอมใด

ค. โรงเรียนของรัฐ ง. โรงเรียนเอกชน

ก. ทางการเมือง 13. ปจจัยภายในท่ีมีผลตอความสําเร็จขององคการมากท่ีสุด คือ ข. ระหวางประเทศ

ค. ส่ิงทางเศรษฐกิจ ก. คน ง. วัฒนธรรม ข. ตลาด

18. ขอใดไมใช หนาท่ีและความรับผดิชอบในการดําเนนิงานของธุรกิจ

ค. วัตถุดิบ ง. ผูบริโภค

ก. ความรับผิดชอบตอลูกคา 14. ปจจัยภายนอกท่ีมีผลตอความสําเร็จขององคการมากท่ีสุด คือ ข. ความรับผิดชอบตอสังคม

ค. ความรับผิดชอบตอรัฐบาล ก. คน ง. ความรับผิดชอบตอลูกจาง ข. ผูบริโภค ค. วัตถุดิบ ง. ตลาด

Page 51: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

22

19. หนาท่ีรับผิดชอบตอสังคม ท่ีธุรกิจควรทํามากท่ีสุด คือ

ก. การบริการลูกคาใหดีท่ีสุดตลอดเวลา

ข. ผลิตสินคาและบริการท่ีมีคุณภาพมา สนองความตองการอยางเพียงพอ ค. การจายจางแรงงานอยางเปนยุติธรรม

ง. การจัดทําบัญชีตามเสียภาษีท่ีกฎหมาย กําหนด 20. หนาท่ีของธุรกิจ ในการจัดซ้ือสินคาท่ี

ตองรับผิดชอบตอลูกคา คือ

ก. การจัดซ้ือสินคาตองการมาเสนอขาย ในระดับราคาและเวลาท่ีตองการ ข. การจัดซ้ือสินคาท่ีลูกคาตองการมา เสนอขายในระดับราคาท่ีตองการ และการบริการหลังการขายท่ียอด เยี่ยม ค. การจัดซ้ือสินคาท่ีลูกคาตองการมาทํา การผลิต และจําหนายท้ังใน-นอก ประเทศ ง. การจัดซ้ือสินคาท่ีลูกคาตองการมา บริการ รวมถึงการแปรรูปสินคาตาม ความตองการของลูกคาดวย

********************

Page 52: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

23

ใบงานท่ี 1 หนวยท่ี 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธุรกจิเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร

**********************************

เร่ือง ปจจัยและสภาพแวดลอมท่ีมีผลกระทบตอการทําธุรกิจ

จุดประสงคการเรียนรู 1. บอกปจจยัท่ีสําคัญของการดําเนินธุรกจิเกษตรได 2. อธิบายถึงสภาวะแวดลอมท่ีมีผลกระทบตอการทําธุรกิจได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รับฟงคนอ่ืน เปนผูนําและผูตามท่ีด ี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินยัในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวชิาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเร่ืองท่ีเกี่ยวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 2. กรณีตัวอยางธุรกิจดานการเกษตร การเลี้ยงโคเนื้อของฟารมแหงหน่ึง 3. เอกสารประกอบการสอนวชิาการจัดการธุรกิจเกษตร

ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน 1. ใหผูเรียนแบงกลุม 4-5 คน/กลุม รับกรณีตัวอยางธรุกิจการเลี้ยงโคเน้ือของฟารมแหงหนึ่ง ชวยกัน

สรุปถึงปจจัยสาํคัญ ท่ีมีอิทธิพลตอการทําธุรกจิเกษตร และใหอธิบายถึงสภาวะแวดลอมท่ีมีผลกระทบทางตรงทางออมตอการทําธุรกิจเกษตรในจังหวัดนั้น วามีอะไรบาง ใหเวลา 60 นาที

2. สรุปรายงานนําเสนอหนาช้ันเรียน 3. ประเมินผล ผลงาน ดานการเรียนรูและคุณธรรมและจรยิธรรมตามแบบประเมิน

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเก่ียวกับการบริหารจัดการท่ัวไป

******************************

Page 53: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

24

กรณีตัวอยางธุรกิจเกษตร บรรทัดฟารมโคเนื้อ

************************************* นายรุงโรจน สุดขีด เปนคนหนุมรุนใหมไฟแรงอายุ 34 ป จบการศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแหงหนึ่งทางภาคใตฝงทะเลอันดามัน ครอบครัวมี ฐานะทางการเงินคอนขางดี มีสภาพคลองทางการเงินสูง มีความประสงคจะลงทุนจะประกอบอาชีพท่ีตนเองใฝฝนมานานตั้งแตยังเปนนกัศึกษาอยูในวทิยาลัยฯ ความฝนนั่นก็ คือ อยากจะเปนเจาของธุรกิจเกษตร มีฟารมเล้ียงโคเนื้อแบบครบวงจร อีกอยางตอนนี้รัฐบาลไดมีนโยบายโครงการโค 1 ลานตัว ท่ีจะสงเสริมใหเกษตรกรเล้ียง เพื่อเปนการสรางงานสรางอาชีพใหกับเกษตรกรท่ัวไป อีกท้ังทําใหประชาชนจะมีอาหารที่มีโปรตีนสูงไวบริโภค ซ่ึงตอนน้ีตนเองมีพืน้ท่ีท่ีไดรับจากมรดกจากพอแมยกให1,000 ไรในจังหวดัระนอง เปนพื้นท่ีวางเปลาเปนเนินไมสูงมากนักสลับกันไปตลอดท้ังแปลง ซ่ึงเหมาะท่ีจะทําฟารมโคเนื้อเปนอยางยิง่ ในฐานะท่ีนกัศึกษามีความรูในเนื้อหาหนวยท่ี 1 มาแลว นักศึกษาจงใหคําปรึกษาแนะนําในเรื่อง ความสําคัญของปจจัยพื้นฐานและส่ิงแวดลอมท่ีมีผลกระทบท้ังทางตรงและทางออม วาจะประสบผลสําเร็จในการทําฟารมเล้ียงโคเนื้อแบบครบวงจร หรือไม ใหเหตุผล

***************************

Page 54: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

25

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 1 ความรูท่ัวไปเกีย่วกับธุรกิจเกษตรและระบบธุรกิจเกษตร

******************

ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตอบ ค ง ก ค ก ข ข ง ค ข ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ตอบ ก ง ก ง ง ข ค ค ข ก

*********************************

Page 55: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 10 เร่ือง การจดัการธุรกิจขนาดยอม

****************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ

1. บอกความหมายของธุรกิจขนาดยอมไดถูกตอง 2. บอกความสาํคัญของการการดําเนินธุรกิจขนาดยอมได 3. อธิบายถึงขั้นตอนในการจัดต้ังธุรกิจขนาดยอมได

สาระสําคัญ ธุรกิจขนาดยอม คือ ธุรกิจท่ีมีจํานวนพนักงานไมมาก มีตนทุนในการผลิตตํ่าประมาณ 10 –20 ลาน

บาท และเปนธุรกิจท่ีดําเนินงานอิสระ มีความคลองตัว แหลงวัตถุดิบใกลโรงงาน ผลผลติและกําไรไดอยางจํากัด

ประเภทของธุรกิจขนาดยอม โดยท่ัวไปแบงออกเปน 1. ธรุกิจอุตสาหกรรม 2. ธุรกิจพาณิชยกรรม 3. ธุรกิจบริการ

ธุรกิจขนาดยอม มีลักษณะโดยท่ัวไป คือ 1. เครื่องจักร เครื่องมือใชเทคโนโลยไีมสูง 2. ใชเงินลงทุนนอย 3. ผูเปนเจาของธุรกิจขนาดยอมสามารถใชฝมือท่ีมีอยูไดอยางเต็มท่ี 4. มีความคลองตัวในการบริหารธุรกิจ 5. ตลาดอยูท่ัวไปในภูมิภาค

ความสําคัญของธุรกิจขนาดยอม มีสวนชวยให 1. การกระจายการพัฒนาไปสูสวนภูมภิาค 2. ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ 3. ชวยใหประชากรในประเทศมีงานทํา 4. พัฒนาความสามารถของผูประกอบธุรกิจ 5. กอใหเกิดการระดมเงินทุน

Page 56: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

252

องคประกอบของธุรกิจขนาดยอม ประกอบดวย 1. คน 2. เงิน 3. เคร่ืองมือเคร่ืองจักร 4. วัตถุดิบ 5. การจัดการ 6. การตลาด 7. ขวัญและกําลังใจ ปจจัยท่ีมีผลตอความสําเร็จของการประกอบธุรกิจขนาดยอม 1. ต่ืนตัวอยูเสมอในการรับความเปล่ียนแปลงของสภาพการเมืองเศรษฐกิจและสังคม 2. มีการวางแผนและวิเคราะหการดําเนินธุรกิจอยูตลอดเวลา 3. มีความสามารถในการบริหารสมาชิกภายในธุรกิจที่ดําเนินการ 4. มีการศึกษาความรูใหมอยูเสมอในเรื่องที่เก่ียวกับธุรกิจท่ีดําเนินการอยู ปญหาการดําเนินธุรกิจขนาดยอม 1. เกิดอุทกภัย และวาตภัย คือ 2. ไมศึกษาและไมปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐ 3. ปญหาทางดานสุขภาพ

4. ขาดจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ 5. การบริหารงานนั้นขาดคณุภาพ 6. การไมรักษาสิ่งแวดลอมภายในหรือรอบ ๆ บริเวณท่ีประกอบธุรกิจขนาดยอม 7. ผูประกอบการเฉ่ือยชาในการประกอบธุรกิจ 8. ทาํเลท่ีต้ังของธุรกิจไมเหมาะสม ปจจัยท่ีทําใหประสบผลสําเร็จในการบริหารธุรกิจ

1. การเกิดโอกาสทางธุรกิจ 2. ความสามารถในการจัดการ 3. ปจจัยทางดานบุคคล 4. การไดฝกอบรมและมีประสบการณ 5. วิธีการบริหารธุรกิจที่ทันสมัย 6. ควบคุมอยางรอบคอบ

Page 57: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

253

เน้ือหา

1. ความหมายและความสําคัญของธุรกิจขนาดยอม 1.1 ความหมายของธุรกิจขนาดยอม ในการใหความหมายของธุรกิจขนาดยอมนั้น ไมมีจํากัดความท่ีชัดเจนแนนอน ดังนัน้ความหมายจึงมีความแตกตางกันไปตามความคิดเห็นของแตละบุคคล แตละองคการท่ีรับผิดชอบ ซ่ึงสามารถพิจารณาไดดังรายละเอียดตอไปนี้ 1.1.1 การประชุมนักบัญชีท่ัวประเทศคร้ังท่ี 10 /2530 คณะกรรมการไดใหความหมายไวดังตอไปนี้ ธุรกิจขนาดยอม คือธุรกิจขนาดยอมซ่ึงมีความหมาย รวมถึงการประกอบธุรกิจเกษตรกรรม , การใหบริการ, พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรม 1.1.2 ประเทศญ่ีปุนใหความหมายไววา ธุรกิจขนาดยอม คือ กิจการผลิตเหมืองแรและการขนสงท่ีมีการจางงานไมเกิน 300 คนหรือมีทุนไมเกนิ 50 ลานเยน กิจการคาหรือการใหบริการท่ีมีการจางงานไมเกิน 50 คนหรือมีทุนไมเกนิ 10 ลานเยน 1.1.3 ประเทศบังคลาเทศใหความหมายไววา ธุรกิจขนาดยอม คือ กิจการอุตสาหกรรมท่ีทรัพยสินถาวรไมเกิน 25 แลค ( ประมาณ 6 ลานบาท ) 1.1.4 ประเทศมาเลเซียใหความหมายไววา ธุรกิจขนาดยอม คือ กิจการอุตสาหกรรมท่ีมีการลงทุนในที่ดิน อาคาร โรงงาน เคร่ืองจักรและอุปกรณประมาณ 250,000 เหรียญมาเลเซียหรือประมาณ 2 ลานบาทโดยไมคํานึงถึงการจางแรงงาน 1.1.5 ประเทศอินเดียใหความหมายไววา ธุรกิจขนาดยอม คือ กิจการอุตสาหกรรมท่ีมีการลงทุนไมเกิน 750,000 รูปหรือประมาณ 1.9 ลานบาท โดยคํานึงถึงขนาดการจางงานถือวาเปนอุตสาหกรรมขนาดยอม 1.1.6 กองทุนประกันสินเช่ืออุตสาหกรรม ใหความหมายดังตอไปนี ้ ธุรกิจขนาดยอม คือ ธุรกิจท่ีมีทรัพยสินถาวรรวมกนัไมเกิน 10 ลานบาท ในวนัท่ียืน่ขอสินเช่ือ หรือเปนธุรกิจท่ีขอกูเงินทุนจากธนาคารแหงประเทศไทย หรือบริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยรายหน่ึงตองอยูในวงเงินข้ันตํ่า 200,000 บาทและไมเกิน 5,000,000 บาท 1.1.7 สํานักงานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดยอม กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมใหความหมายไวดังตอไปนี ้ธุรกิจขนาดยอม คือ อุตสาหกรรมท่ีมีเงินทุนจดทะเบียนหรือทรัพยสินถาวรไมเกิน 10 ลานบาท

Page 58: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

254

1.1.8 กองทุนประกันสินเช่ืออุตสาหกรรมขนาดยอม ใหความหมายไวดังตอไปนี ้ ธุรกิจขนาดยอม คือ เปนกิจการท่ีมีทรัพยสินถาวรรวมกนัไมเกิน 10 ลานบาท ณ วันท่ีขอยื่นสินเช่ือ และขอกูเงินจากธนาคารพาณิชยหรือบริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยรายหนึ่งไมเกินวงเงินสินเช่ือรวมกนัข้ันตํ่า 2 แสนบาท และข้ันสูงไมเกิน 5 ลานบาท กรณีท่ีประกอบการอยูแลววงเงินดังกลาวใหรวมถึงสินเช่ือท่ีมีอยูเดิมแลว 1.1.9 คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ใหความหมายไวดังตอไปนี ้ ธุรกิจขนาดยอม คือ อุตสาหกรรมขนาดยอมจะตองมีเงินลงทุน 2 –20 ลานบาทและมีคนงานระหวาง 50 – 150 คน 1.1.10 กรมแรงงานใหความหมายไววา ธุรกิจขนาดยอม คือ อุตสาหกรรมจะตองมีคนงานนอยกวา 149 คน 1.1.11 สถาบันวจิัยเพือ่การพัฒนาแหงประเทศไทย (TDRI) ใหความหมายไวดงัตอไปนี ้ธุรกิจขนาดยอม คือธุรกิจท่ีมีคนงานระหวาง 10 – 49 คน และมีทรัพยสินถาวรสุทธิระหวาง 1 – 10 ลานบาท

1.1.12 นิยาม SMEs ตามกฎกระทรวง กําหนดจํานวนการจางงานและมูลคาสินทรัพยถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม พ.ศ. 2545

ประเภท ขนาดยอม ขนาดกลาง

จํานวน (คน)

สินทรัพยถาวร (ลานบาท)

จํานวน (คน)

สินทรัพยถาวร (ลานบาท)

กิจการการผลิต

ไมเกิน 50 ไมเกิน 50 51-200 เกินกวา 50 - 200

กิจการบริการ ไมเกิน 50 ไมเกิน 50 51-200 เกินกวา 50 - 200

กิจการคาสง ไมเกิน 25 ไมเกิน 50 26-50 เกินกวา 50 - 100

กิจการคาปลีก ไมเกิน 15 ไมเกิน 30 16-30 เกินกวา 30 - 60

ท่ีมา : กฎกระทรวง กําหนดจํานวนการจางงานและมูลคาสินทรัพยถาวรของวิสาหกิจขนาด

กลางและขนาดยอม พ.ศ. 2545

Page 59: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

255

จากความหมายของบุคคลตาง ๆ องคการและตางประเทศ ไดใหความหมายเกี่ยวกบัธุรกิจขนาดยอมไวพอสรุปไดดังนี้ สรุป ธุรกิจขนาดยอม คือ “ธุรกิจท่ีมีจํานวนพนักงานไมมาก มีตนทนุในการผลิตต่าํประมาณ 10 – 20 ลานบาท และเปนธุรกิจท่ีดําเนินงานอิสระ มีความคลองตัว แหลงวัตถุดิบใกลโรงงาน ผลผลิตและกําไรไดอยางจํากัด”

ภาพท่ี 43 แฟรนไชสกาแฟสดบลูเมาทเทนคอฟฟ ถือวาเปนธุรกิจขนาดเล็กและธุรกิจขนาดยอม

ธุรกิจขนาดเล็ก อาจจะเปนเจาของรานกาแฟสดเพียงคนเดียว ทําดวยตัวเองหรือจางพนักงานเพียงคนเดียว

2. ประเภทของธุรกิจขนาดยอม ธุรกิจการเกษตรเปนธุรกิจท่ีทําการผลิตดานเกษตรกรรม ผูท่ีประกอบธุรกิจทางดานนี้ไดแก ผูมีอาชีพ การทํานา ทําไร ทําสวน ทําการประมง ปศุสัตว และปาไม ซ่ึงการพัฒนาอาชีพทางการเกษตรที่มีขนาดเล็กของเกษตรกรโดยทั่วไป เพื่อเปนธุรกิจขนาดยอมสามารถประกอบเปนธุรกจิ ท่ีเปนหลากหลาย เชน โรงงานแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเปนอุตสาหกรรมขนาดเล็กในทองถ่ิน การทําธุรกิจทําหนาท่ีเปนคนกลางในทองถ่ินเพื่อรวบรวมผลผลิตจากเกษตรกร การทําธุรกิจดานบริการการทองเท่ียวเชิงนิเวศ หรือทํารีสอรทดานการเกษตรเพ่ือบริการแกนักทองเท่ียว ฯลฯ ยอมกระทําไดธุรกิจขนาดยอมมีอยูมากมายหลายประเภท ซึ่งเราสามารถจําแนกประเภทของธุรกิจขนาดยอมไดกวาง ๆ 3 ประเภท ดังรายละเอียดตอไปนี้

Page 60: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

256

2.1 ธุรกิจอุตสาหกรรม คือธุรกิจท่ีมีท้ังขนาดเล็กและขนาดใหญ โดยมีการนําเอาวัตถุดบิเขาสูโรงงานเพื่อแปรรูปเปนสินคาตามท่ีตองการ ถาหากวาเปนธุรกจิขนาดใหญกจ็ะมีการนําเอาเทคโนโลยีเขามาใชในการผลิต ซ่ึงตองอาศัยเงินทุนจํานวนมาก จํานวนการผลิตท่ีมีปริมาณสูง ในขณะเดยีวกนัประเภทสวนประกอบในการผลิตท่ีเปนวัตถุดิบ อุปกรณตาง ๆ จําเปนตองมีการส่ังซ้ือจากธุรกิจขนาดยอม ดังนั้นธุรกิจขนาดยอมท่ีมีการผลิตท่ีเปนอิสระ มีโอกาสผลิตสินคาใหกบัผูผลิตรายอ่ืน ๆ มากท่ีสุด เชน โรงงานประกอบรถจกัรยานยนตตองอาศัยนอตจากโรงงานขนาดยอม โรงงานผลิตตูเย็นและตูแชตองซ้ือโครงตูพลาสติก และโครงโลหะมาจากโรงงานอุตสาหกรรมอ่ืน เปนตน 2.2 ธุรกิจพาณิชยกรรม คือธุรกิจท่ีเกี่ยวของกับการคา ไมวาจะเปนพวกพอคาคนกลางท่ีอยูในชวงของการจัดจําหนายสินคาไปยังผูบริโภค หรือพวกพอคาปลีกและสงท่ีขายสินคาใหกับผูบริโภค เชน หางสรรพสินคา รานคาสหกรณและรานขายของชําตาง ๆ เปนตน 2.3 ธุรกิจบริการ คือธุรกิจท่ีมีการเสนอการบริการท่ีมีความแตกตางกันไปแตละประเภท ชางซอมมอเตอรไซด ชางซอมอุปกรณไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และชางกอสราง เปนตน ท่ีมีท้ังภาครัฐและเอกชน สินคาประเภทบริการเราถือวาเปนส่ิงท่ีจับตองไมได และไมสามารถนํากลับคืนมาได ในการใหบริการราคาสินคาบริการจะข้ึนอยูกับมูลคาของส่ิงของท่ีใชในการบริการนั้น ลักษณะของธุรกิจประเภทนี้มักเปนธุรกจิขนาดเล็ก มีการลงทุนนอย มีผูดําเนินการธุรกิจเพยีงคนเดียว เชน รานซอมมอเตอรไซด รานซอมอุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิกส รานซอมนาฬิกา และรานซอมกุญแจ เปนตน

3. ลักษณะโดยทั่วไปของธุรกิจขนาดยอม ลักษณะของธุรกิจขนาดยอมเราสามารถสรุปไดดังรายละเอียดตอไปนี ้ 3.1 เคร่ืองจักร เคร่ืองมือใชเทคโนโลยีไมสูง ผูประกอบการธุรกิจขนาดยอมท่ีเปดทํากจิการจะใชเคร่ืองจักร เคร่ืองมือในระดับตนถึงระดับกลาง ไมจาํเปนตองใชเคร่ืองจักรท่ีใชเทคโนโลยีสูง ทําใหไมตองเสียเงินมากในการจัดซ้ือเคร่ืองมือ 3.2 ใชเงนิลงทุนนอย เนื่องจากธุรกจิขนาดยอมนัน้ สามารถดําเนินการไดกวาง เพราะประกอบดวยธุรกิจทางอุตสาหกรรม พาณชิยกรรม และเกษตรกรรมรวมถึงการบริการตาง ๆ เพราะฉะนัน้จะทําใหเกดิการลงทุนนอยในบางธุรกจิ ซ่ึงจะเห็นไดวา ธุรกิจขนาดยอมอาจจะเปนการใชแรงงานของสมาชิกภายในครัวเรือนหรือพีน่องกนั ซ่ึงจะเกดิผลเสีย คือ ผูประกอบธุรกจิจะตองทํางานหนกั อาจจะทําหนาท่ีผูบริการจนกระท่ังถึงเปนแรงงานเอง แตการประกอบธุรกจิขนาดยอมบางประเภทก็มีผลด ี คือ ผูเปนเจาของหรือธุรกิจภายในครอบครัว สามารถแกไขปญหาไดอยางรวดเร็วและฉับไว

Page 61: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

257

3.3 ผูเปนเจาของธุรกิจขนาดยอมสามารถใชฝมือท่ีมีอยูไดอยางเต็มท่ี ในธุรกิจบริการบางประเภท ธุรกิจขนาดยอมสามารถบริการไดดีกวาธุรกิจขนาดใหญ เพราะธุรกิจขนาดยอมนั้น ผูประกอบการไดรับผลประโยชนตอบแทนสวนตัวมาก ฉะนั้นการไดรับผลประโยชนตอบแทนไดอยางเต็มท่ีทําใหผูประกอบการมีขวัญและกําลังใจในการบริการดี 3.4 มีความคลองตัวในการบริหารธุรกิจ เนื่องจากเปนธุรกิจขนาดเล็ก ทําใหหนวยงานหรือแผนกตาง ๆ ภายในองคการมีนอย ทําใหไมยุงยากในการประสานงานและแบงหนาท่ีกันดําเนินงานภายในบริษัท ทําใหการดําเนินงานบางอยางสามารถลัดข้ันตอนทําใหเกิดความคลองตัวในการดําเนินงาน สงผลใหการบริหารงานภายในองคการประสบผลสําเร็จมีกําไรมาก 3.5 ตลาดอยูท่ัวไปในภูมิภาค การประกอบธุรกิจขนาดยอมสามารถดําเนินการไดท่ัวไปทุก ๆ พื้นที่ในภูมิภาค แลวแตความเหมาะสมและความตองการของประชากรในชุมชนนัน้ ๆ เชน ธุรกิจท่ีเกี่ยวกับการเกษตรจะอยูในพ้ืนท่ีตางจังหวัดและไกลออกไป เปนตน

4. ความสําคัญของธุรกิจขนาดยอม จากท่ีกลาวมาตอนตนแลววา ธุรกิจขนาดใหญบางชนิดตองอาศัยวัตถุดิบหรือช้ินสวนบางตัวจากผูประกอบการธุรกิจขนาดยอม โดยท่ีบริษัทใหญไมตองเสียเงินตราในการนําเขาอุปกรณบางประเภทท่ีผลิตจากเมืองนอก การท่ีบริษัทใหญชวยซ้ือสินคาบริษัทนอยนั้น จะทําใหเงินตราหมุนเวยีนอยูภายในประเทศสงผลใหเศรษฐกิจดี ซ่ึงบทบาทของธุรกิจขนาดยอมมีดังตอไปนี ้

ภาพท่ี 44 "ริน" ผูนาํธุรกิจขนมหวานไทยของฉะเชงิเทรา เร่ิมกิจการมาตั้งแต พ.ศ.2517 จากสูตรขนมท่ีคุณยายทําใหลูกหลานรับประทานกันในครอบครัวและแจกจายญาติมิตรพฒันามาเปนธุรกิจขนาดยอม

ผลิตและจําหนายขนมหวานของดีประจําจังหวัดฉะเชิงเทราในปจจุบนั

Page 62: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

258

4.1 การกระจายการพฒันาไปสูสวนภูมิภาค การกระจายทางเศรษฐกจิไปสูสวนภูมิภาคไดอยางรวดเร็วทําใหเศรษฐกิจในภูมิภาคดีข้ึน ประชาชนไมตองเดินทางเขามาหางานในกรุงเทพ สามารถทํางานอยูในพืน้ท่ีท่ีมีธุรกิจขนาดยอมเกดิข้ึน ทําใหประหยดัรายจายไมตองเสียเงินคาเชาบานหรือที่พกัอาศัย การทีป่ระชาชนไดทํางานอยูในเขตภูมิลําเนาของตัวเองทําใหสุขภาพจติดี ครอบครัวมีความอบอุน ปญหาหรือยาเสพติดท่ีเกดิแกเยาวชนและมลภาวะทีเ่ปนพิษตาง ๆ ลดลง 4.2 ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ การนําเคร่ืองจักรในระบบการผลิตในธุรกิจขนาดยอมมาใชนั้น เปนการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ การใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพนั้นจะกอใหเกดิกําไรมากข้ึน 4.3 ชวยใหประชากรในประเทศมีงานทํา การดําเนนิธุรกิจยอมเกิดข้ึนมากทําใหประชากรภายในประเทศมีงานทําไมเปนภาระของรัฐบาล การท่ีมีเงินมาหมุนเวยีนผานประชากรสงผลใหเศรษฐกิจโดยรวมดีข้ึน ซ่ึงเปนกลยุทธของรัฐบาลทุกประเทศ โดยเฉพาะประเทศท่ีกําลังพัฒนากําลังดําเนินการอยูแลว 4.4 พัฒนาความสามารถของผูประกอบธุรกิจ คือ การประกอบธุรกิจขนาดยอมเปนการพัฒนาบุคลากรของประเทศชาติใหมีความเขมแข็งข้ึน เปนบุคคลท่ีมีคุณภาพสามารถดําเนินการประกอบธุรกจิและการแกไขปญหาตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ บุคลากรของประเทศใดมีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงมาก ๆ ก็จะทําใหประเทศนั้นไดเปรียบประเทศเพือ่นบาน เพราะการประกอบธุรกิจใด ๆ ก็แลวแต จะมีข้ันตอนตั้งแตการนําวัตถุดิบเขาจนกระท่ังผลิตเปนสินคาออกมา หลังจากท่ีผลิตสินคาออกมาแลวจะตองมีการจําหนายไดดวย ฉะนั้นผูท่ีจะดําเนินการครบวงจรดังกลาวได จะตองเปนนักบริหารและนกัจัดการท่ีมีฝมือดีพอสมควร 4.5 กอใหเกิดการระดมเงินทุน ในการทําธุรกิจหรือกิจการใด ๆ ก็แลวแต รัฐบาลพยายามท่ีจะสนับสนุนการประกอบกิจกรรมตาง ๆ อยูแลว ดังจะเห็นไดจากการใหการสนับสนุนในการระดมเงินทุนหรือการชวยเหลือจากสถาบันการเงินตาง ๆ ดังจะเห็นไดจากธุรกิจบางประเภทจะมีการถือหุนของพนักงานหรือประชาชนโดยท่ัวไป ตลอดจนรัฐบาลไดใหการชวยเหลือดานตาง ๆ เชน ภาษแีละการจัดพื้นท่ีสําหรับจัดต้ังโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน

Page 63: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

259

5. องคประกอบของธุรกิจขนาดยอม ในการดําเนนิกิจการธุรกิจขนาดยอมข้ึนมานั้น ไมวาจะเปนธุรกจิทางการเกษตร อุตสาหกรรม และบริการนัน้ จะมีองคประกอบหลายประการ ซ่ึงองคประกอบตาง ๆ ในการดําเนนิการธุรกิจขนาดยอมนั้นมีองคประกอบดังรายละเอียดตอไปนี้ 5.1 คน ถือวาเปนทรัพยากรท่ีสําคัญท่ีสุดในการจัดตั้งสถานประกอบการ เพราะในการดําเนินธุรกิจทุกอยาง คนตองเปนหลักในการท่ีจะทําใหเกิดธุรกจิและการบริการ แมวาจะมีเคร่ืองจักรกล ท่ีทันสมัยหรือเทคโนโลยีสูงเพียงใดก็ตองอาศัยคนในการควบคุม หรือแมจะผลิตสินคาหรือบริการ ท่ีมีคุณภาพสูงและไดมาตรฐานเพียงใดก็ตาม ก็ตองอาศัยสมองคนในการดําเนินการโฆษณาและขายสินคาออกโดยการวางแผนใหไดกําไรมากท่ีสุด 5.2 เงิน เงินถือเปนส่ิงท่ียอมรับกันในท่ัวโลกวามีความสําคัญ การจะดําเนินกิจกรรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือธุรกิจขนาดยอมนอกจากจะมีคนเปนหลักแลว เงินเปนส่ิงท่ีสําคัญในการจูงใจใหคนมีความกระตือรือรน ขยันทํางาน เชนการใหเงินแกพนักงานในการทํางานลวงเวลา การใหสวัสดิการตาง ๆ เปนตน 5.3 เคร่ืองมือเคร่ืองจักร ในบางคร้ังการผลิตสินคาใหมีคุณภาพและไดจํานวนมาก ๆ จะอาศัยเฉพาะแรงงานของคนไมได จําเปนจะตองอาศัยเคร่ืองจักรในการผลิต เพราะการผลิตจากฝมือคนจะไดมาตรฐานท่ีไมเทากัน แตการผลิตโดยเคร่ืองจักรแลวจะไดมาตรฐานเทาเทียมกนั 5.4 วัตถุดิบ ถือไดวามีความสําคัญตอคุณภาพของสินคา เพราะสินคาจะคุณภาพดีองคประกอบอันหนึ่งก็คือจะตองไดวัตถุดบิท่ีดี การจัดต้ังธุรกิจขนาดยอมนั้นมักจะต้ังโรงงานหรือบริษัทใกลแหลงวัตถุดิบ เพราะจะทําใหประหยดัคาใชจายในการขนสงวัตถุดิบเขาโรงงาน 5.5 การจัดการ มีความสําคัญมากการผลิตสินคาประเภทเดียวกัน คุณภาพสินคาเทา ๆ กัน แตตนทุนการผลิตอาจจะแตกตางกัน เพราะการบริหารการจัดการในการเพิ่มผลผลิต หรือใชหลักการบริหารสมัยใหมมาใชในการผลิตแทนระบบการผลิตสินคาแบบเดิม ๆ 5.6 การตลาด ตลาดถือไดวาเปนสวนของผูบริโภคสินคาที่ผลิตออกมา เราจะมีวิธีการดําเนินการ

อยางไรจึงจะทําใหสินคาขายออก ประชาชนนิยม เทคนคิในการทําการตลาดน้ันมีมากมายหลายวธีิ ซ่ึงจะไดศึกษาตอไป แตการตลาดจะดําเนินการประสบผลสําเร็จเพียงใดนั้น ส่ิงท่ีสําคัญก็คือสินคาตองมีคุณภาพและเปนท่ีตองการของประชาชน ฉะนั้นในการบริหารหรือจดัการในธุรกจิขนาดยอมนัน้จะมีฝายการตลาดซ่ึงบริษัทหรือโรงงานจะตองมีงบประมาณในการประชาสัมพันธ โฆษณา ตามแผนการตลาดท่ีกําหนด

Page 64: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

260

5.7 ขวัญและกําลังใจ นักบริหารและนกัจัดการเก่ียวกับธุรกิจขนาดยอมนั้น จะตองหมั่นสังเกตดูพนักงานภายในโรงงานและบริษัทวามีความตองการส่ิงใด ถาความตองการของพนักงานเปนส่ิงท่ีโรงงานหรือบริษัทจัดหาไดแลวทําใหการเพิ่มผลผลิตภายในบริษัทมากข้ึน และเปนท่ีตองการของพนักงานภายในบริษัทหรือธุรกิจขนาดยอม ก็ควรท่ีจะดําเนินการใหเพือ่ใหเกดิขวัญและกําลังใจดใีนการปฏิบัติงาน

6. ขอดี - ขอเสียของการดําเนินธุรกิจขนาดยอม การดําเนนิการธุรกิจขนาดยอมนั้น เปนการสงเสริมอุตสาหกรรมภายในประเทศ ซ่ึงสงผลใหประชากรในพืน้ท่ีมีงานทํา เศรษฐกิจของชุมชนในเขตธุรกิจขนาดยอมดีข้ึน ซ่ึงการเกิดธุรกิจขนาดยอมนั้นจะมีขอดีและขอเสียดังตอไปนี ้

ขอดีของธุรกิจขนาดยอม ขอเสียของธุรกิจขนาดยอม 1. สามารถดําเนินการจัดต้ังไดงาย 2. สามารถตัดสินใจและส่ังการไดอยางรวดเร็ว ทันเหตุการณ 3. การบริหารการจัดการมีความคลองตัวสูง 4. ผูบริหารใกลชิดและเปนกันเองกับพนักงาน 5. ลงทุนกิจการใชเงินนอย 6. สามารถสรางความประทับใจในการบริการลูกคาไดอยางเต็มท่ีและเปนกันเอง 7. รัฐบาลใหการสนับสนุนในการดําเนินการจัดต้ังธุรกิจขนาดยอม

1. มีการลาออกของพนักงานบอยทําใหตองสอนงานใหมอยูเรือ่ย 2. การระดมเงินทุนทําไดยาก ไมเหมือนบริษัทขนาดใหญ 3. มักเสียเปรียบบริษัทใหญในการซ้ือสินคาหรือบริการ 4. ระบบการเงินการบัญชี ไมเปนระบบ การจัดการภายในบริษัทหรือโรงงาน เชน - การบริหารการผลิต - การบริหารการเงิน การบัญชี - การบริหารบุคลากร - การบริหารงบประมาณตาง ๆ - การบริหารวสัดุตาง ๆ

Page 65: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

261

7. คุณสมบติัของผูประกอบการทางธุรกิจขนาดยอม ในการประกอบธุรกิจขนาดยอมนั้น ผูดําเนินการจะตองบริหารธุรกิจนั้นดวยตัวเอง จะตองมีทักษะความชํานาญ ความรูความสามารถ มีบุคลิกลักษณะสวนตัวในการดําเนินกิจการจึงจะทําใหกิจการธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดยอมประสบผลสําเร็จ ซ่ึงคุณลักษณะของผูประกอบการธุรกิจขนาดยอมนั้น ควรจะมีคุณสมบัติดังรายละเอียดตอไปนี ้ 7.1 ชอบความเปนอิสระในการดําเนินการทางธุรกิจนั้น ๆ 7.2 รักในธุรกิจนั้น ๆ เปนนกัคิดคน ริเร่ิมและพัฒนาธุรกิจท่ีชอบใหดข้ึีนเร่ือย ๆ ตามลําดับ 7.3 มีความต้ังใจในการที่จะดําเนินการและขยายธุรกิจใหเติบโตข้ึน 7.4 มีความพรอมท้ังทางรางกายและจิตใจ และการเส่ียงตอการลงทุนดาํเนินธุรกิจ 7.5 มีความม่ันใจในผลสําเร็จของธุรกิจท่ีตนเองดําเนินการ 7.6 มีความรักและผูกพันกับธุรกิจท่ีตนเองกระทําอยู

8. ปจจัยท่ีมผีลตอความสําเร็จของการประกอบธรุกิจขนาดยอม มีรายละเอียดดังตอไปนี้

8.1 ตื่นตัวอยูเสมอในการรับความเปล่ียนแปลงของสภาพการเมืองเศรษฐกิจและสังคม 8.2 มีการวางแผนและวิเคราะหการดําเนนิธุรกิจอยูตลอดเวลา 8.3 มีความสามารถในการบริหารสมาชิกภายในธุรกจิท่ีดาํเนินการ 8.4 มีการศึกษาความรูใหมอยูเสมอในเร่ืองที่เกี่ยวกับธุรกจิท่ีดําเนนิการอยู

9. บุคลิกลักษณะของผูประกอบการธุรกิจขนาดยอมที่ดี มีบุคลิกภาพและลักษณะ

ดังรายละเอียดตอไปนี ้ 9.1 มีความม่ันใจในตัวเองในการดําเนินธุรกิจท่ีกระทํา 9.2 มีความคิดดี 9.3 มีวิสัยทัศนในการประกอบธุรกิจ 9.4 มีมนุษยสัมพันธดีกับบุคคลท่ัวไป 9.5 มีทักษะในการติดตอส่ือสารท่ีดี 9.6 มีความรูและเขาใจในธุรกิจนั้น ๆ อยางจริง 9.7 มีความสามารถในการบริหารและการตัดสินใจ

Page 66: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

262

10. ปญหาการดําเนินธุรกิจขนาดยอม การดําเนนิการธุรกิจขนาดยอมไมประสบผลสําเร็จเกิดความลมเหลวในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมนั้น มักมีสาเหตุมาจากปญหาตาง ๆ ดังรายละเอียดตอไปนี้ 10.1 เกิดอุทกภัย และวาตะภัย คือ ในบางคร้ังการทําธุรกิจอาจตองเผชิญกับปญหาภัยพิบัตทิางธรรมชาติ ซ่ึงเปนส่ิงท่ีเราไมสามารถไปควบคุมหรือกําหนดปองกันได 10.2 ไมศึกษาและไมปฏิบัตติามกฎระเบียบของรัฐ หลีกเล่ียงการเสียภาษี และไมปฏิบัติตามนโยบายของรัฐ

10.3 ปญหาทางดานสุขภาพ ซ่ึงเปนปญหาสวนตัวของผูประกอบธุรกจิขนาดยอมทําใหการดูแลธุรกิจไมท่ัวถึง

10.4 ขาดจรรยาบรรณในการประกอบธุรกจิ การดําเนนิธุรกิจอยางไมซ่ือสัตย เอาเปรียบลูกคาและผูประกอบอาชีพสาขาเดียวกัน ทําใหเกิดผลโดยตรงกับธุรกิจ 10.5 การบริหารงานนั้นขาดคุณภาพ ไมใชระบบการบริหารงานแบบใหมหรือระบบการบริหารแบบเพิม่ผลผลิตมาใช 10.6 การไมรักษาส่ิงแวดลอมภายในหรือรอบ ๆ บริเวณท่ีประกอบธุรกจิขนาดยอม สงผลใหเกดิมลภาวะทางรอบชุมชน เม่ือเปนมาก ๆไมแกไขบางคร้ังทางภาครัฐบาลอาจใหหยุดหรือปดกจิการ 10.7 ผูประกอบการเฉ่ือยชาในการประกอบธุรกิจทําใหการบริหารงานลาชา สงงานไมตามกําหนด ไมกลาตัดสินใจในการดําเนนิงาน ทําใหธุรกจินั้น ๆ เกิดความลมเหลวและเสียหายได 10.8 ทําเลที่ตั้งของธุรกิจไมเหมาะสม เชน อยูไกลชุมชนเกินไป ไกลแหลงวัตถุดิบทําใหตองเสียรายจาย คาขนสงวัตถุดบิสูง

11. ขั้นตอนในการวางแผนเปดกิจการธุรกิจขนาดยอม การเปดดําเนินธุรกิจขนาดยอมใหไดผลนั้น จะตองปฏิบัตติิดตอกันตามข้ันตอน 14 ข้ันตอนดังนี ้ 11.1 ผลตอบแทนท่ีคิดวาจะไดรับ 11.2 สํารวจตลาดท่ีจะไปลงทุน 11.3 สินทรัพยท่ีจะนํามาใชในกจิการ 11.4 การคาดการณลวงหนาในการแสวงหาเงินทุนและกาํไร 11.5 ศึกษาทําเลท่ีตั้งของกิจการ

Page 67: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

263

11.6 การจัดราน 11.7 เลือกรูปแบบ 11.8 วางแผนเกี่ยวกับตัวสินคาในทุกดาน 11.9 คาดการณ คาใชจายลวงหนา 11.10 หาจุดคุมทุน 11.11 นโยบายขายเช่ือ 11.12 ความเสี่ยงท่ีคาดวาจะไดรับ 11.13 ตั้งนโยบายการบริหารงานบุคคล 11.14 วางระบบบัญชี

12. การวางแผนการตลาด มาใชกับธุรกิจขนาดยอม มีดังนี ้12.1 ศึกษาเกีย่วกับลูกคา 12.2 ศึกษาเกีย่วกับคูแขงขันรายสําคัญ 12.3 ศึกษาเกีย่วกับการจัดจาํหนายสินคา 12.4 ศึกษาเกีย่วกับแหลงซ้ือปจจัยการผลิต

13. ปจจัยเฉพาะเกี่ยวกับตําแหนงท่ีต้ัง 13.1 ทาง – ออกของตําแหนงท่ีตั้ง 13.2 ท่ีจอดรถ 13.3 การวิเคราะหเสนทางจราจร 13.4 จํานวนพาหนะในเสนทางจราจร 13.5 แนวโนมของประชากรและกิจกรรมของธุรกิจ 13.6 คาใชจายในการซ้ือหรือการเชาและคาโฆษณา 13.7 สถานท่ีหรือธุรกิจสําคัญท่ีอยูใกล

Page 68: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

264

14. ปจจัยเกี่ยวกับแหลงสนับสนุนในการเลือกทําเลท่ีต้ัง 14.1 ธนาคาร 14.2 สมาคมการคา 14.3 หอการคา 14.4 นิคมอุตสาหกรรม 14.5 หนวยงานรัฐบาล 14.6 ผูคาสงหรือผูผลิตท่ีเกี่ยวของ 14.7 แหลงอ่ืน ๆ

15. ความสําคัญของทําเลท่ีต้ังท่ีมีตอธุรกิจขนาดยอม 15.1 ทําเลที่ตั้งท่ีดี สามารถเขาถึงผูบริโภคไดมากเทาไร ยอมมีโอกาสสรางกําไรใหธุรกิจมาก

เทานั้น 15.2 ทําเลที่ตั้งอาคารสํานักงานหรือโรงงานท่ีดี จะอํานวยความสะดวกใหธุรกจิสามารถ

ประกอบการใหบรรลุผลสําเร็จไดดีดวย 15.3 ทําเลที่ตั้งและตําแหนงท่ีตั้งท่ีธุรกิจเลือก จะมีผลกระทบตอกระบวนการในการผลิตดวย 15.4 ทําเลที่ตั้งท่ีดี มีผลตอพฤติกรรมของบุคลากรในแงของความพึงพอใจในการทํางาน

วัฒนธรรมและทัศนคติตองาน 15.5 ส่ิงที่เกิดข้ึนในอนาคต เชน ความแออัดของธุรกิจ ปญหามลพิษปญหาทางสังคมตาง ๆ

เปนส่ิงท่ีกระทบตอการดําเนนิงานของธุรกิจในอนาคตดวย

16. ปจจัยท่ีทําใหประสบผลสําเร็จในการบริหารธุรกิจขนาดยอม การบริหารธุรกิจขนาดยอม

ท่ีประสบผลสําเร็จจะประกอบไปดวยปจจยัสําคัญ 6 ประการคือ 16.1 การเกิดโอกาสทางธุรกิจ 16.2 ความสามารถในการจดัการ 16.3 ปจจัยทางดานบุคคล 16.4 การไดฝกอบรมและมีประสบการณ 16.5 วิธีการบริหารธุรกิจท่ีทันสมัย 16.6 ควบคุมอยางรอบคอบ

Page 69: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

265

สรุป แผนการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของประเทศไทย (พ.ศ.2545 - 2549)

เปนแผนยุทธศาสตรในระดบัแผนประสานงาน เพื่อใชเปนแผนแมบทสําหรับการสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของประเทศไทย ในระยะเดยีวกันกับแผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเปนแผนท่ีมุงหวังใหหนวยงานปฏิบัติท่ีเกี่ยวของ สามารถนําไปแปลงจากมาตรการลงสูแผน ปฏิบัติการ โดยยุทธศาสตรของแผนกําหนดข้ึนจากการวเิคราะหจุดออนจุดแข็งของตัวแปรภายในหรือตัวแปรท่ีควบคุมได และตัวแปรภายนอกท่ีระบุถึงขอจํากัดหรือภัยคุกคามและโอกาส นอกจากนีย้ังไดนําแนวทางการพัฒนาประเทศจากแผนพฒันาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 9 เจตนารมยของพระราชบัญญัติ สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม พ.ศ. 2543 รวมท้ังนโยบายของรัฐบาลและการประมวล ขอคิดเห็นจากผูมีสวนรวมดําเนินการ ตลอดจนการทบทวนจากแผนการพัฒนาและการสงเสริมอ่ืนท่ีเกี่ยวของและจากผลงานศึกษาวิจยัในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

นโยบายการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของประเทศ (พ.ศ. 2545-2549 ) - การพัฒนาใหวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม มีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจโดยรวม

สามารถเปนกลไกหลักในการสนับสนุนใหเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเติบโตไดอยางมีเสถียร ภาพและยั่งยืน โดยใหความสําคัญในลําดับสูงกับวิสาหกิจระดับลางและระดับกลาง

- การเพิ่มประสิทธิภาพของวิสาหกจิขนาดกลางและขนาดยอม และยกระดับขีดความ สามารถในการแขงขัน โดยมุงเนนการปรับโครงสรางภาคการผลิต ภาคการคาและภาคบริการเพือ่ สรางศักยภาพของสินคาและบริการโดยรวม และสินคาและบริการสงออกเปาหมายรวมท้ังการพัฒนาคุณภาพคน เทคโนโลยี และการบริหารจดัการท่ีดี เพื่อยกระดับสินคาและบริการสงออกไปสู ตลาดในระดับท่ีสูงข้ึน

- การพัฒนาใหวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมเปนแกนหลักของเศรษฐกิจ ท่ีสามารถ สรางความเขมแข็งใหกับเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจชุมชน มีบทบาทสําคัญตอการสรางงานและรายไดใหกับสังคมและทองถ่ิน โดยการเช่ือมโยงยุทธศาสตรการสงเสริมเพื่อใหเกิดการพัฒนาและยกระดับวิสาหกิจท่ีตอเนื่องจากระดับลางหรือระดับพื้นฐานไปสูระดับท่ีสูงข้ึน และใหสามารถกาวสูระดับสากลไดในท่ีสุด

**********************************

Page 70: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

266

แบบฝกหัด หนวยท่ี 10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. การประกอบธุรกิจขนาดยอมนับวามีความสําคัญในทางเศรษฐกิจมากในปจจุบัน อาชีพเกษตรเปนอาชีพหนึ่งท่ีมีความสําคัญเชนกัน การทําธุรกิจเกษตรขนาดยอมจะสงผลกระทบทางเศรษฐกิจท่ีสําคัญในดานใดบาง อธิบายใหมาพอเขาใจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ธุรกิจขนาดยอม มีลักษณะโดยท่ัวไปอยางไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 71: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

267

3. การประกอบอาชีพธุรกิจขนาดยอม มีขอดี-ขอเสีย อะไรบาง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การประกอบธุรกิจขนาดยอมท่ีไมประสบผลสําเร็จนั้น เนื่องมาจากสาเหตุหรือปญหาอะไรบาง ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

***************************

Page 72: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

268

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเห็นวาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว1. ธุรกิจขนาดยอม หมายถึง

ก. ทุน 5-10 ลานบาท มีอิสระ ใกลแหลง วัตถุดิบ ผลผลิตและไดกําไรอยางไมจํากัด ข. ทุน 10-20 ลานบาท มีอิสระ ใกลแหลง วัตถุดิบ ผลผลิตและกําไรไดอยางจํากัด ค. ทุน 5-10 ลานบาท มีการควบคุม แหลง วัตถุดิบกระจายท่ัวไป ผลผลิตและกําไร ไดอยางไมจํากัด ง. ทุน 10-20 ลานบาท มีการควบคุม แหลง วัตถุดิบกระจายท่ัวไป ผลผลิตและกําไร ไดอยางจํากัด

2. การประกอบธุรกิจขนาดยอม มีการดําเนินงานธุรกิจเกี่ยวกับประเภทใดบาง

ก. ธุรกิจอุตสาหกรรม ข. ธุรกิจพาณิชยกรรม ค. ธุรกิจการบริการ ง. ถูกทุกขอ

3. สินคาประเภทท่ีเราถือวาเปนส่ิงท่ีจับตองไมได และไมสามารถนํากลับคืนมาได เปนการประกอบธุรกิจประเภทใด

ก. ธุรกิจอุตสาหกรรม ข. ธุรกิจพาณิชยกรรม ค. ธุรกิจการบริการ ง. ถูกทุกขอ

4. การทําธุรกิจทองเท่ียวเชิงนิเวศเยี่ยมชมสวนเกษตร เปนการประกอบธุรกิจประเภทใด

ก. ธุรกิจอุตสาหกรรม ข. ธุรกิจพาณิชยกรรม ค. ธุรกิจการบริการ ง. ธุรกิจการทําเหมืองแร

5. ขอใดไมใชลกัษณะของธุรกจิขนาดยอม ก. มีความคลองตัวในการบริหารธุรกิจ ข. ตลาดสินคาอยูตางประเทศ ค. ใชงบประมาณลงทุนนอย ง. ใชเทคโนโลยีระดับตน-กลางไมสูง

6. ความสําคัญของการประกอบธุรกิจขนาดยอม ชวยสงผลใหประชากรในประเทศมีงานทํา ทีเ่ปนเชนนี้ก็เพราะ

ก. ประเทศชาติสามารถประหยัดคาใชจาย ข. ใชทรัพยากรอยางมีประสทิธิภาพ ค. ไมเปนภาระของรัฐบาล ง. กอใหเกิดการระดมทุน

7. การกระจายการพัฒนาไปสวนภูมภิาค เปนความสําคัญในการสงเสริมธุรกิจขนาดยอมดานใด

ก. ประเทศชาติสามารถประหยัดคาใชจาย ข. ใชทรัพยากรอยางมีประสทิธิภาพ ค. ไมเปนภาระของรัฐบาล ง. กอใหเกิดการระดมทุน

Page 73: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

269

8. ขอใดคือ ความสําคัญของธุรกิจขนาดยอมท่ีมีตอสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ

ก. เปนแหลงนันทนาการ ข. เปนแหลงพัฒนาคน ค. เปนแหลงจางงาน ง. เปนแหลงพัฒนาความรู

9. องคประกอบของธุรกิจขนาดยอมใดท่ีสําคัญท่ีสุด

ก. คน ข. เงิน ค. วัตถุดิบ ง. การตลาด

10. ขอเสียของการดําเนินธุรกิจขนาดยอม คือ ก. พนักงานลาออกบอย ข. ระดมทุนไดยาก ค. เสียเปรียบบริษัทใหญในการซื้อสินคา ง. ถูกทุกขอ

11. ขอดีของการทําธุรกิจขนาดยอม ก. พนักงานลาออกบอย ข. ตัดสินใจไดรวดเร็ว ทันเหตุการณ ค. มีระบบบัญชีที่เปนระบบ ง. ไดเปรียบในการซื้อสินคาเพราะอยูใกล แหลงผลิต

12. การเปดกิจการธุรกิจขนาดยอมใหไดผล ตองปฏิบัติตามข้ันตอนใดบาง

ก. ผลตอบแทนท่ีไดรับ สํารวจตลาด ข. สินทรัพยที่จะลงทุน การคาดการณ ค. ศึกษาทําเล การจัดราน เลือกรูปแบบ ง. ถูกทุกขอ

13. ขอใดไมใชธุรกิจขนาดยอม ก. โรงงานกล่ันน้ํามันไทยออยจํากดั ข. โรงงานเหมืองดินขาว เซรามิก ค. อูซอมต๋ีใหญบริการ 24 ช่ัวโมง ง. รานแตงผมกษมา

14. ปญหาใดท่ีจะเปนอุปสรรคตอการบริหารงานของผูประกอบธุรกิจขนาดยอม

ก. ไมศึกษาระเบียบของรัฐ ข. ดานสุขภาพของผูประกอบการ ค. จรรยาบรรณและการบริหารงานขาด คุณภาพ ง. ถูกทุกขอ

15. ขอใดเปนความจริงท่ีสุด ก. ธุรกิจขนาดยอมผลิตสินคาไดปริมาณ นอยแตคุณภาพสูงและประหยดักวา ข. ธุรกิจขนาดยอมสามารถพัฒนาตนเอง เปนธุรกิจขนาดใหญได ค. ธุรกิจขนาดยอมประสบผลสําเร็จ มากกวาธุรกิจขนาดใหญ ง. ธุรกิจขนาดยอมมีระบบการ บริหารงานท่ี ชัดเจนนาเช่ือถือมี ความกาวหนา

***************

Page 74: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

270

ใบงานท่ี 10

หนวยท่ี 10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม ********************************

เร่ือง การดําเนินธุรกิจขนาดยอมดานการเกษตร จุดประสงคการเรียนรู

1. นักศึกษาสามารถวางแผนการดําเนินกจิกรรมธุรกิจขนาดยอมทางดานการเกษตรได 2. สามารถสรุปขอดี-ขอเสียของธุรกิจขนาดยอมได

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. ตัวอยางธุรกิจเกษตร 2. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 3. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 10 4. กระดาษ A4 กลุมละ 3 แผน

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รับฟงคนอ่ืน เปนผูนําและผูตามท่ีด ี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินยัในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวชิาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเร่ืองท่ีเกี่ยวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. ตัวอยางธุรกิจเกษตร 2. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 3. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 10 4. กระดาษ A4 กลุมละ 3 แผน

ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน 1. แบงกลุมผูเรียน 3-4 ใหวางแผนการทําธุรกิจเกษตรขนาดยอมมากลุมละ 1 ธุรกิจ กรอบการวางแผนธุรกิจเกษตรใหดูตามข้ันตอนในการวางแผนเปดกิจการธุรกิจขนาดยอมตามเอกสารการสอนหนวยท่ี 10

Page 75: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

271

2. ใหผูเรียนสรุปขอดีและขอเสียของธุรกิจเกษตรนั้นมา 3. ใหเวลา 2 ช่ัวโมง 4. สรุปรายงานหนาช้ันเรียน 5. สงครูผูสอน 6. ประเมินผล

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเกีย่วกับการบริหารจัดการท่ัวไป

*************************

Page 76: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

272

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 10 การจัดการธุรกิจขนาดยอม

***********************************

ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ตอบ ข ง ง ค ข ค ก ค ก ค

ขอ 11 12 13 14 15

ตอบ ข ง ก ง ข

*************************************

Page 77: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 11 เร่ือง การวิเคราะหกรณีตัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร

**********************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1.1 วิเคราะหกรณีตวัอยางทางดานธุรกิจเกษตรได 1.2 ตัดสินใจเลือกรูปแบบธุรกิจเกษตรท่ีเหมาะสมกับตนเองในอนาคตได

สาระสําคัญ

การศึกษากรณตีัวอยางธุรกิจเกษตร ทําใหผูเรียนสามารถวิเคราะหแนวทางการดําเนนิธุรกิจท่ีประสบความสําเร็จ นํามาบูรณาการความคิดในการตัดสินใจหรือเลือกทําธุรกิจเกษตรไดดี ไมมีความเส่ียงในอนาคต

การวิเคราะหกรณีตัวอยาง มีวิธีการดังนี ้1. การวิเคราะหทางดานการตลาด

2. การวิเคราะหทางดานการผลิต 3. การวิเคราะหทางดานการจัดการ 4. การวิเคราะหทางดานสังคมและส่ิงแวดลอม 5. การวิเคราะหทางดานการเงิน 6. ปญหาในการวิเคราะหโครงการทางธุรกิจการเกษตร

เน้ือหา 1. กรณีตัวอยางการจัดการธุรกิจเกษตร การทําฟารมแบบผสมผสาน

ผูจัดการฟารม นายอาวุธ อักษรนิตย พื้นท่ีดําเนินการ ช่ือเอกชน นายทองแดง ศรีพุม ท่ีตั้งฟารม หมู 2 บานไร ตาํบลไผลอม อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พื้นท่ีจัดทําฟารม จํานวน 25 ไร

Page 78: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

274

กรณีตัวอยางการจัดการธุรกิจเกษตร การทําฟารมแบบผสมผสาน

ขอมูลพ้ืนฐานฟารม 1. ชื่อผูจัดการฟารม นายอาวุธ อักษรนติย 2. ชื่อผูใหการสนับสนุนพื้นท่ีดําเนินการ ช่ือเอกชน นายทองแดง ศรีพุม 3. สถานท่ีตั้งฟารม หมู 2 บานไร ตําบลไผลอม อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยธุยา 4. มีพื้นท่ีจัดทําฟารม จํานวน 25 ไร 5. สภาพของดนิ ลักษณะเปนดินเหนียว จํานวน 25 ไร 6. สภาพพืน้ท่ี ลักษณะเปนท่ีราบ จํานวน 25 ไร 7. แหลงน้ํา น้ําธรรมชาติสามารถใชได จํานวน 25 ไร น้าํชลประทานสามารถใชได จํานวน 25 ไร สระนํ้า / บอน้ําในไรนา จํานวน 1 งาน 8. แรงงานท่ีสามารถทํางานในฟารมไดเต็มท ี่ ชาย 3 คน หญิง - คน 9. แรงงานจางในฟารม ไมมี 10. สถานท่ีตั้งฟารม หางจากชุมชน 0.5 กิโลเมตร 11. เร่ิมดําเนินการเมื่อป ี พ.ศ. 2549

รูปแบบฟารม พื้นที่ จํานวน 25 ไร กิจกรรม

1. การทํานา - นาป จํานวน 20 ไร 2. ปลูกตะไคร 2 ไร 3. การเล้ียงปลา -ปลานิล 1 ไร จํานวน 7,000 ตัว 4. ปลูกมะละกอ 2 ไร

เหตุผลในการกําหนดกิจกรรม

1. ดานสภาพพื้นท่ี - เกษตรกรในพ้ืนท่ีสวนใหญประกอบอาชีพการเกษตรเปนอาชีพหลัก - สภาพดนิเปนดินเหนียวและตกตะกอนมีความอุดมสมบูรณของดินสูงเหมาะแกการปลูกขาวและทําการเกษตร - ฟารมต้ังอยูในเขตชลประทาน / มีแหลงน้ําธรรมชาติตลอดท้ังป

นายอาวุธ อักษรนิตย นวส. 6ว/ผูจัดการฟารม

Page 79: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

275

2. ดานวิชาการ - เพื่อตองการผลิตขาวท่ีปลอดภัยจากสารพิษ - เกษตรกรสวนใหญท่ีทํานาเนนการใชปุยเคมีและการใชสารเคมีกันมากทําใหสภาพดนิ เส่ือมโทรม - แนะนําวธีิการทํานาและการปลูกพืช แบบปลอดภยัจากสารพิษโดยใชสารสกัดชีวภาพมาแทนสารเคมี และการใชปุยเคมีลง เพื่อลดตนทุนการผลิต - เลิกเผาฟางและหมักฟางเพื่อเพ่ิมอินทรียวัตถุในดิน 3. ดานผลตอบแทนและการลงทุน - เกษตรกรสามารถลดตนทุนในการผลิต - มีรายไดจากการขายผลผลิตเพิ่มข้ึน - มีรายไดเสริมเปนรายวนั / รายสัปดาห / รายป - ผลผลิตท่ีไดปลอดภัยจากสารพิษ - สภาพดนิมีความอุดมสมบูรณมากข้ึนไมเส่ือมโทรม 4. ดานความตองการของชมุชน - เปนจดุสาธิตและถายทอดความรูเทคโนโลยีในการผลิต - เปนตัวอยางในการผลิตพืชท่ีปลอดภัยจากสารพิษ - เปนสถานที่เรียนรูและฝกปฏิบัติจริงใหกับเกษตรกรในชุมชน 5. ดานอ่ืน ๆ - เปนจดุสาธิตการตลาดและการแปรรูปผลผลิต - เปนสถานที่เรียนรูเร่ืองเศรษฐกิจพอเพยีงตามแนวทางพระราชดําริ และนโยบายแกไขปญหาความยากจนของรัฐบาล

Page 80: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

276

งบประมาณฟารม (พืช) ป พ.ศ. 2549 นาป พืช ขาว ( สุพรรณบุรี 1 ) จํานวน 20 ไร

ผลผลิตตอไร 700 กิโลกรัม ผลผลิตท้ังหมด 14,000 กิโลกรัม

รายการ ปริมาณ( หนวย ) ราคา/หนวย( บาท ) มูลคา ( บาท )

รายได 14,000 กิโลกรัม 8.00 112,000

รายจาย คาเตรียมดิน( ทําเอง/ คาจาง ) ส.ค. 20 ไร 400 8,000

คานํ้ามันเช้ือเพลิง ส.ค.. – พ.ย. 20 ไร 350 7,000

คาจางปลูก ส.ค. 20 ไร 40 800

คาปุยเคมี ส.ค. 800 กิโลกรัม 10 8,000

คาปุยอินทรีย ส.ค. – พ.ย. 20 ไร 150 3,000

คาสารปองกันกําจัดศัตรูพืช 20 ไร 300 6,000

คาจางกําจัดศัตรูพืช ก.ย และ พ.ย. ( 2 ครั้ง ) 20 ไร 50 2,000 (2 ครั้ง)

คาเก็บเก่ียว ธ.ค. 20 ไร 400 8,000

คาขนสง ธ.ค. 20 ไร 100 2,000

คาอื่นๆ(ตัดพันธุปน,ปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ) ต.ค. – พ.ย.

20 ไร 500 10,000

รวมรายจาย - - 60,000

(รายได 112,000 บาท - รายจาย 60,000 บาท ) = กําไร 52,000 บาท

Page 81: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

277

งบประมาณฟารม (พืช) ป พ.ศ. 2549 ตะไคร

พืช ตะไคร จํานวน 2 ไร

ผลผลิตตอไร 6,400 กิโลกรัม ผลผลิตท้ังหมด 12,800 กิโลกรัม

รายการ ปริมาณ( หนวย ) ราคา/หนวย( บาท ) มูลคา ( บาท )

รายได 12,800 กิโลกรัม 3.00 38,400

รายจาย คาเตรียมดิน( จาง ) เม.ย. 2 ไร 500 1,000

คานํ้ามันเช้ือเพลิง เม.ย – ธ.ค. 2 ไร 900 1,800

คาเมล็ดพันธุ เม.ย. 2 ไร 320 640

คาจางปลูก เม.ย. 2 ไร 300 600

คาปุยเคมี พ.ค. 2 ไร 600 1,200

คาปุยอินทรีย เม.ย. 2 ไร 300 600

คาสารปองกันกําจัดศัตรูพืช - - -

คาจางกําจัดศัตรูพืช - - -

คาเก็บเก่ียว ส.ค. 2 ไร 300 600

คาขนสง - - -

คาอื่นๆ เม.ย. - ธ.ค. 2 ไร 780 1,560

รวมรายจาย - - 8,000

( รายได 38,400 บาท - รายจาย 8,000 บาท ) = กําไร 30,400 บาท

Page 82: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

278

งบประมาณฟารม (พืช) ป พ.ศ. 2549 มะละกอ พืช มะละกอ จํานวน 2 ไร

ผลผลิตตอไร 7,000 กิโลกรัม ผลผลิตท้ังหมด 14,000 กิโลกรัม

รายการ ปริมาณ( หนวย ) ราคา/หนวย( บาท ) มูลคา ( บาท )

รายได 14,000 กิโลกรัม 3.00 42,000

รายจาย คาเตรียมดิน( ทําเอง ) เม.ย. - - -

คานํ้ามันเช้ือเพลิง เม.ย – ธ.ค. 2 ไร 1,000 2,000

คาเมล็ดพันธุ เม.ย. 2 ไร 500 1,000

คาจางปลูก เม.ย. 2 ไร 200 400

คาปุยเคมี เม.ย. 2 ไร 600 1,200

คาปุยอินทรีย เม.ย. 2 ไร 600 1,200

คาสารปองกันกําจัดศัตรูพืช ก.ย. และ พ.ย 2 ไร 600 1,200

คาจางกําจัดศัตรูพืช ก.ย และ พ.ย. ( 2 ครั้ง ) 2 ไร 500 1,000

คาเก็บเก่ียว ก.ค. 50 2 ไร 500 1,000

รวมรายจาย - - 9,000

( รายได 42,000 บาท - รายจาย 9,000 บาท ) = กําไร 33,000 บาท

Page 83: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

279

งบประมาณฟารม (สัตว) ป พ.ศ. 2549

ชนิดสัตว ปลานิล จํานวน 7,000 ตัว

ผลผลิตตอไร - (หนวย) ผลผลิตท้ังหมด 1,750 กิโลกรัม

รายการ ปริมาณ( หนวย ) ราคา/หนวย( บาท ) มูลคา ( บาท )

รายได 1,7500 กิโลกรัม 25 43,750

รายจาย คาบอเลี้ยงปลา - - -

คาพันธุสัตว พ.ค. 7,000 ตัว 0.20 1,400

คาอาหารสัตว พ.ค. 20 กระสอบ 250 5,000

คายาเคมี มิ.ย. - - 200

คาวัคซีน - - -

คาจับสัตวสงขาย ม.ค. 2550 - - 500

คาขนสง ม.ค. 2550 - - 500

คาอื่นๆ ม.ค. 2550 - - 400

รวมรายจาย - - 8,000

( รายได 43,750 บาท - รายจาย 8,000 บาท ) = กําไร 35,750 บาท

Page 84: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

280

แบบสรุปขอเสนอกิจกรรมและงบประมาณโครงการหนึง่ตําบลหนึ่งฟารม ป 2549 ตําบลไผลอม อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ผูจัดการฟารม นายอาวุธ อักษรนิตย ตําแหนง นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 6ว ผูใหการสนับสนุนพื้นท่ีดําเนินการ นายทองแดง ศรีพุม รวม 25 ไร

ประเภทก/กิจกรรม

พื้นท่ี (ไร) งบประมาณ (บาท)

ระยะเวลาดําเนินการ

(ส.ค. - ธ.ค. 49)

ผลตอบแทน (บาท) หมายเหตุ

1. ทํานา - นาป

20 60,000 ส.ค. - ธ.ค. 49 112,000 ผลิตเมล็ดพันธุ

2. พืชผัก - ตะไคร

2 8,000 เม.ย. - ธ.ค. 49 38,400 -

3. เล้ียงปลา - ปลานิล

1 8,000 เม.ย. - ธ.ค. 49 43,750 เล้ียงในรองสวน

4. ไมผล - มะละกอ

2 9,000 เม.ย. - ก.ค. 50 42,000 ปลูกคันสวน,รองสวน

เตรียมดิน 5 10,000 เม.ย. 49 - -

ปายแปลง - 5,000 เม.ย. 49 - -

คาใชจายท่ีสามารถใชดําเนนิการฟารมในระยะยาว

กิจกรรมการเกษตร ชนิด/ประเภทคาใชจาย พื้นท่ี รายละเอียดงบประมาณ

ดําเนินการ ระยะเวลา ดําเนินการ

หมายเหตุ

- คาเตรียมดิน ขุดเปนรองสวน

คาแรงงาน 5 ไร 10,000 บาท เม.ย. 49 -

- ปายแปลง วัสดุและคาแรงงาน - 5,000 บาท มิ.ย. 49 -

รวม - 15,000 บาท - -

Page 85: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

281

รายการ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายจาย กิจกรรม..ทํานา กิจกรรม..เล้ียงปลา กิจกรรม..ปลูกผักสวนครัว กิจกรรม..ปลูกไมผล กิจกรรม...เตรียมดิน กิจกรรม..ปายแปลง

60,000

8,000 8,000 9,000

10,000 5,000

60,000

8,000 8,000

10,000 - -

60,000

8,000 8,000

10,000 - -

60,000

8,000 8,000 9,000

- -

60,000

8,000 8,000

10,000 - -

60,000

8,000 8,000

10,000 - -

60,000

8,000 8,000 9,000

- -

60,000

8,000 8,000

10,000 - -

60,000

8,000 8,000

10,000 - -

60,000

8,000 12,000

5,000 - -

รวมรายจาย 100,000 86,000 86,000 85,000 86,000 86,000 85,000 86,000 86,000 85,000

รายได กิจกรรม..ทํานา กิจกรรมเล้ียงปลา กิจกรรม..ปลูกผักสวนครัว กิจกรรม..ปลูกไมผล

112,000

43,750 38,400

-

112,000

43,750 38,400 42,000

112,000

43,750 38,400 42,000

112,000

43,750 38,400

-

112,000

43,750 38,400 42,000

112,000

43,750 38,400 42,000

112,000

43,750 38,400

-

112,000

43,750 38,400 42,000

112,000

43,750 38,400 42,000

96,000 25,000 16,000

-

รวมรายได 194,150 198,350 198,350 194,150 198,350 198,350 194,150 198,350 198,350 146,000

94,150 112,350 112,350 109,150 112,350 112,350 109,150

112,350 112,350 61,000 กําไร

กําไรสะสม 94,150 206,500 317,850 426,000 537,350 648,700 756,850 868,200 979,550 667,000

หมายเหตุ จุดคุมทุนในปท่ี

1

แบบวิเคราะหผลตอบแทนฟารม

Page 86: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

282

ตารางกระแสเงินสด

เดือน

กิจกรรม มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค.

รวม

(บาท)

1. กิจกรรมปลูกขาว (นาป)

- รายได - - - - - - - - - - - 112,000 112,000

- รายจาย - - - - - - - 15,500 9,000 12,500 6,000 17,000 60,000

2. กิจกรรมปลูกไมผล (มะละกอ)

- รายได - - - - - - - - - - - - -

- รายจาย - - - 2,600 200 200 200 200 500 200 200 200 4,500

3. กิจกรรมปลูกพืชผัก (ตะไคร)

- รายได - - - - - - 7,000 - - - 6,500 - 13,500

- รายจาย - - - 3,340 200 200 200 1,200 200 200 200 200 5,940

4. กิจกรรมเล้ียงปลา (ปลานิล)

- รายได - - - - - - - - - - - 43,750 43,750

- รายจาย - - - 2,100 500 500 500 500 500 500 1,000 1,900 8,000

ตารางเปรียบเทียบ รายได - รายจาย และกําไรในการปลูกพืช และประมง

กิจกรรมปลูกตะไคร

กิจกรรมปลูกมะละกอ

กิจกรรมปลูกขาว (นาป)

รายการ กิจกรรมเล้ียง

ปลานิล

1. ผลผลิต (กก./ไร) 700 6,400 7,000 1,750

2. ราคา (บาท/กก.) 8.00 3.00 3.00 25

3. รายได (บาท) (1) x (2) 5,600 19,200 21,000 43,750

4. คาใชจายผันแปร (บาท/ไร) 3,000 4,000 4,500 8,000

5. กําไรขั้นตน (บาท/ไร) (3) - (4) 2,600 15,200 16,500 35,750

6. ผลผลิตท่ีคุมกับการลงทุน (4) / (2) 325 กก. 1,333 กก 1,500 กก. 320 กก.

7. ราคาท่ีคุมกับการลงทุน (4) / (1) 4.28 บาท 0.62 บาท 0.64 บาท 4.57 บาท

8. อัตราสวนรายไดตอรายจาย ((3) / (4) 1.87 4.80 4.67 5.47

หมายเหตุ 1 ไร เทากับ 400 ตารางวา 1 ไร เทากับ 1,600 ตารางเมตร

Page 87: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

283

2. การวิเคราะหโครงการธุรกิจเกษตร เม่ือทําการระบุหรือกําหนดโครงการท่ีจะลงทุน การเร่ิมลงมือปฏิบัติการวิเคราะหตองทําการวางแผนกอนวามีประเดน็อะไรบางท่ีตองทําการวิเคราะห ในแตละประเด็นมีขอมูลอะไรบางท่ีตองการใชและวิธีการรวบรวมขอมูลทําอยางไร โดยมีข้ันตอนในการวิเคราะหดังนี้

การวางแผนการวิเคราะหโครงการ ปรับปรุง หรือ ยุต ิ

2.1 การวิเคราะหทางดานการตลาด ผลการวิเคราะหจะใหคําตอบวา

• โครงการจะสามารถนําสินคาเขาสูตลาดไดหรือไม • สามารถเขาสูกลุมลูกคาเปาหมายไดหรือไม • ตลาดมีความม่ันคงและยัง่ยืนเพียงใด

ขอมูลท่ีจําเปนตอการวิเคราะหตลาด ไดแก 2.1.1 ขอมูลเกี่ยวกับโครงสรางตลาด : มีโครงสรางตลาดเปนแบบใด จํานวนลูกคาท่ีคาดหวังขนาดตลาด ความยากงายในการเจาะตลาด ความยั่งยืนของผลิตภัณฑในตลาด เปนตน 2.1.2 ขอมูลเกี่ยวกับการแขงขัน : จํานวนราย ขนาดการผลิต และสวนครองตลาดของคูแขงขัน อุปทานและแนวโนม การนําเขาและแนวโนม อุปสงคและแนวโนม สินคาทดแทน ภาวะการแขงขันในประเทศ ในอนภุูมิภาค และระดับโลกของการคาเสรีตามเง่ือนไข WTO

การวิเคราะหทางดานการตลาด ปรับปรุง หรือ ยุต ิ การวิเคราะหทางดานการผลิต ปรับปรุง หรือ ยุต ิ การวิเคราะหทางดานการจดัการ ปรับปรุง หรือ ยุต ิ การวิเคราะหทางดานสังคมและส่ิงแวดลอม ปรับปรุง หรือ ยุต ิ การวิเคราะหทางดานการเงิน ปรับปรุง หรือ ยุต ิ การจัดทํารายงานโครงการ เพื่อเสนอหาแหลงเงินทุน

Page 88: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

284

2.1.3 ขอมูลเกี่ยวกับสวนประสมการตลาด (Marketing Mix) ไดแก

• ผลิตภัณฑ (Product) ผลิตภัณฑหลัก ผลิตภัณฑรองและผลิตผลพลอยได การออกแบบผลิตภัณฑ ลักษณะเดนของผลิตภณัฑ การจดัทําสวนประสมผลิตภัณฑ (Product Mix) ตราสินคา (Branding) การบรรจุภัณฑ(Packaging) มาตรฐานสินคา

• ราคา (Price) การกําหนดราคา แตละระดับ(ขายสง ขายปลีก) การใหเครดิตทางการคา การเรียกเก็บเงินคาสินคา การใหสวนลด

• การจัดจําหนายหรือการกระจายสินคา (Place) การเลือกชองทางจําหนาย(ผาน/ไมผานตัวแทน) การขนสง การสงมอบ จุดวางขาย คลังสินคา

• การสงเสริมการตลาด(Promotion) พฤติกรรมผูบริโภคและแนวโนมของการเปล่ียนแปลง การโฆษณา การขายโดยพนักงาน การสงเสริมการขาย การประชาสัมพันธ การขายตรง

2.2 การวิเคราะหทางดานการผลิต ผลการวิเคราะหจะใหคําตอบวา

• โครงการจะสามารถดําเนินการผลิตไดอยางราบร่ืน หรือไม?

• มีการเลือกใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมแลว และสามารถรองรับการเปล่ียนแปลงทจะเกิดข้ึนได

• ตนทุนการผลิตสามารถแขงขันหรือตํ่ากวาคูแขงขันแลว ขอมูลท่ีจําเปนตอการวิเคราะหการผลิต ไดแก

2.2.1 การเลือกรูปแบบและกรรมวิธีการดาํเนินการผลิตท่ีเหมาะสม : ความรวดเร็วในการเปล่ียนแปลง ความยืดหยุนในการปรับเปล่ียนเทคนิค การไดมาซ่ึงผูเช่ียวชาญในการพัฒนาการผลิต 2.2.2 ขนาดการผลิตหรือกําลังการผลิต : ปริมาณการผลิตอยูในระดบัท่ีเกินจดุคุมทุน และในระยะยาวควรพิจารณา ขนาดการผลิตท่ีประหยดั (Economy of Scale) 2.2.3 การกําหนดทําเลที่ตั้ง (Location) และกําหนดการวงแผนผังโรงงาน (Plant Layout) 2.2.4 การจัดหาปจจยัการผลิต (Procurement) : คุณสมบัติ และคุณภาพเหมาะสม ราคายุติธรรม รวบรวมไดในเวลาท่ีตองการ การจัดระบบของคงคลัง 2.2.5 การจัดการการกําจัดของเสียจากขบวนการผลิต

Page 89: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

285

2.3 การวิเคราะหทางดานการจัดการ ผลการวิเคราะหจะใหคําตอบวา

• โครงการจะสามารถจัดการทรัพยากรมนษุยไดอยางมีประสิทธิภาพในการทํางานหรือไม

• โครงการมีคุณภาพในการจัดการองคกร หรือไม ขอมูลท่ีจําเปนตอการวิเคราะหการจัดการ ไดแก ระบบการทํางาน โครงสราง

องคกรและการจัดการภายในขอบเขตและหนาท่ีในการทํางาน การฝกอบรมบุคลากร การจัดการผลตอบแทนและสวัสดิการพนักงาน

2.4 การวิเคราะหทางดานสังคมและสิ่งแวดลอม ผลการวิเคราะหจะใหคําตอบวา โครงการจะสามารถนํามาซ่ึงส่ิงแวดลอมท่ีดีตอสังคม การมีมาตรฐานการครองชีพท่ีดีข้ึน หรือไม

ขอมูลท่ีจําเปนตอการวิเคราะห ไดแก การสรางโอกาสการมีงานทํา การดํารงไวซ่ึงวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การเคล่ือนยายแรงงาน การควบคุมการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ การควบคุมสถานการณดานมลพษิ

2.5 การวิเคราะหทางดานการเงิน ผลการวิเคราะหจะใหคําตอบวา โครงการจะสามารถ สรางความคุมคาในการลงทุนเพียงใด ขอมูลท่ีจําเปนตอการวิเคราะห ไดแก การประมาณการเงินลงทุนโครงการ การคาดคะเนรายไดและรายจายจากการดําเนินโครงการ และการจัดทํางบประมาณงบการเงินประเภทตาง ๆ ความสัมพันธระหวางงบประมาณตาง ๆ

2.6 ปญหาในการวิเคราะหโครงการทางธุรกิจการเกษตร ในการวิเคราะหโครงการทางธุรกิจการเกษตรนั้น มีปญหาท่ีเปนขอควรพิจารณาหลายประการท่ีมีผลใหผลการวิเคราะหไมเปนท่ีนาเช่ือถือ หรือไมสามารถในไปปฏิบัติตามโครงการได ปญหาเหลานี้ ไดแก 2.6.1 ผูศึกษาโครงการ จะตองมีคุณสมบัติพรอมท้ังทางดานความรูและประสบการณ ตองมีความสามารถในการเลือกใชเทคนิคท่ีมีความเหมาะสม ตอการวิเคราะหโครงการนั้น ตองไมมีอคติในการศกึษาและวิเคราะหขอมูล มีความถูกตองท้ังในดานขอมูลและการกําหนดเง่ือนไข-ขอสมมติ-คาประมาณการตาง ๆ ท่ีนํามาใชในการวิเคราะห และท่ีสําคัญอยางยิ่ง คือตองมีจริยธรรมตอการศึกษาโครงการอยางแทจริง

Page 90: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

286

2.6.2 ความลึกซ้ึงในมุมมองของผูเกี่ยวของกับโครงการ นอกจากผูศึกษาโครงการแลว ผูเกี่ยวของอ่ืน คือ เจาของโครงการและสถาบันการเงินท่ีสนับสนุนเงินกูยืม มักจะมีจุดยนืของมุมมองท่ีแตกตางกันไป เชน เจาของโครงการมักจะมองในแงดี (Optimistic) ในโครงการท่ีคิดจะลงทุน แตในขณะท่ีสถาบันการเงินจะมองในแงราย (Pessimistic) ในโครงการท่ียื่นขอการสนับสนุนเงินกู คือ จะมีมุมมองท่ีครอบคลุมถึงสถานการณแหงความเส่ียงและความไมแนนอน เขามาเกี่ยวของดวยเสมอ 2.6.3 ขอมูลขาวสาร มีความถูกตองเช่ือถือไดครบถวน และเปนขอมูลที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหอยางแทจริง มีการรวบรวมขอมูลท่ีถูกตองตามหลักการโดยปราศจากอคติ 2.6.4 ประเภทของโครงการท่ีจะลงทุน และลักษณะเฉพาะของโครงการ เปนส่ิงท่ีทําใหตองตระหนกัเสมอวาหลักการ ข้ันตอน และเคร่ืองมือท่ีใชในการวิเคราะหทุกโครงการแมวาจะเปนแบบเดียวกัน แตตองมีการประยกุตหรือเลือกใชใหเหมาะสมกับประเภทและลักษณะของโครงการท่ีจะวิเคราะหในแตละโครงการ 2.6.5 สภาพแวดลอมของโครงการ ท้ังสภาพแวดลอมภายในและสภาพแวดลอมภายนอกของโครงการ โดยเฉพาะสภาพแวดลอมภายนอกนั้นมีความม่ันคงเพียงใด หากมีความแปรปรวนสูงยอมทําใหโครงการนั้นมีความออนไหวมากข้ึน การวเิคราะหท่ีไดกระทําเสร็จไปแลว จึงมีความจําเปนท่ีจะตองมีการทบทวนเปนอยางยิ่ง

สรุป จากการศึกษาเร่ืองกรณีตัวอยางธุรกิจเกษตร ทําใหผูเรียนสามารถศึกษาและวิเคราะหหรือกําหนดโครงการที่จะลงทุน การเร่ิมลงมือวิเคราะห ตองทําการวางแผนกอนวามีประเด็นอะไรบางท่ีตองทําการวิเคราะห ในแตละประเด็นมีขอมูลอะไรบางท่ีตองการใชและวิธีการรวบรวมขอมูลทําอยางไร ในท่ีนี้การวิเคราะหกรณีตัวอยาง ไดใชวิธีการวิเคราะหทางดานการตลาด การวิเคราะหทางดานการผลิต การวิเคราะหทางดานการจัดการ. การวิเคราะหทางดานสังคมและสิ่งแวดลอม การวิเคราะหทางดานการเงิน ปญหาในการวิเคราะห โครงการทางธุรกิจการเกษตรเปนการศึกษากระบวนการผลิต ต้ังแตการกําหนดวัตถุประสงค กําหนดกิจกรรมตาง ๆ ใหสอดคลองกับวัตถุประสงค การวางแผนการผลิต การวางแผนและงบประ มาณฟารมดานการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว กิจกรรมการทําฟารมแบบผสมผสาน ซึ่งรวมถึงการทําธุรกิจ เกษตรแบบทฤษฎีใหม หรือแนวทางการจัดการธุรกิจเกษตรภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง ของในหลวง นํามาบูรณาการทางความคิดในการตัดสินใจเลือกทําธุรกิจเกษตรไดอยางดีและไมมีความเสี่ยงในอนาคต

**************************

Page 91: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

287

แบบฝกหัด หนวยท่ี 11 การวิเคราะหกรณีตัวอยางธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. การวิเคราะหกรณีตวัอยางธุรกิจเกษตร มีข้ันตอนในการวิเคราะหอยางไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ปญหาในการวิเคราะหโครงการทางธุรกิจการเกษตร ท่ีมีผลใหผลการวิเคราะหไมเปนท่ีนาเช่ือถือ มีอะไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………….…… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

*************************************

Page 92: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

288

ใบงานท่ี 11 หนวยท่ี 11 เร่ือง การวิเคราะหกรณีตัวอยางทางดานธุรกิจเกษตร

******************************** เร่ือง การวิเคราะหกรณีตวัอยางทางดานธุรกิจเกษตร

จุดประสงคการเรียนรู 1. เพื่อใหผูเรียนสามารถนําเอามาเปนแนวทางในการจัดการธุรกิจเกษตรได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รับฟงคนอ่ืน เปนผูนําและผูตามท่ีด ี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินยัในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวชิาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเร่ืองท่ีเกี่ยวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 2. ตัวอยางองคการธุรกิจเกษตร 3. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 4. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 11 5. คอมพิวเตอร, เคร่ืองฉายทึบแสง

ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน 1. ใหผูเรียนมารับใบงานท่ี 11 ทํางานใหเสร็จภายใน 1 ช่ัวโมง 2. ใหคนหาองคการธุรกิจเกษตรรูปแบบองคการใดกไ็ด โดยใหสรุปและวิเคราะห ดงันี้ 2.1 สรุปกิจกรรมการดําเนนิงานท่ีองคการน้ันทํามาท้ังหมด วามีอะไรบางตามตัวอยางท่ีเรียนในหนวยท่ี 11 2.2 ใชวิธีการวิเคราะหท่ีเรียนมาแลว คือการวิเคราะหทางดานการตลาด การวิเคราะหทางดานการผลิต การวิเคราะหทางดานการจัดการ การวเิคราะหทางดานสังคมและส่ิงแวดลอมและการวิเคราะหทางดานการเงิน 3. นําผลงานมาเสนอหนาช้ันเรียน

Page 93: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

289

4. สงรายงาน ตามรูปแบบรายงานท่ีถูกตองสมบูรณ 5. ประเมินผล

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเกีย่วกับการบริหารจัดการท่ัวไป 4. ตัวอยางธุกจิเกษตร

******************************

Page 94: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 12 เร่ือง ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร

**********************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1. บอกปญหาและแนวทางการแกปญหาการจัดการธุรกิจเกษตรได

สาระสําคัญ ปญหาดานการจัดการธุรกิจเกษตรของประเทศไทยท่ีพบโดยท่ัวไป ท่ีพบมีดังนี ้1. ปญหาท่ัวไป

1.1 ปญหาเร่ืองหนี้สินภาคครัวเรือนของเกษตรกรในชนบทไทย 1.1.1 ดานเกษตรกร

1.1.2 ดานแหลงเงินทุน 1.1.3 ดานระบบการ

1.1.4 ดานระบบการตลาด 1.1.5 ดานระบบสังคม 1.1.6 ดานรัฐบาล

1.2. ปญหาระบบเกษตรแผนปจจุบันหรือเกษตรเคมี(Chemical Agriculture) 1.2.1 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม 12.2 ผลกระทบดานเศรษฐกจิ 1.2.3 ผลกระทบตอสุขภาพของเกษตรกรและผูบริโภค 1.2.4 ผลกระทบตอวิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถ่ิน

1.3 ปญหา GMO 2. การแกปญหาดานการจัดการธุรกิจเกษตรของประเทศไทย

2.1 มันฝรั่ง : ชูไทยเปนศูนยการผลิตเนนสงออกตลาดเอเชีย 2.2 หนี้สินเกษตรกรปญหาเร้ือรังท่ีตองเรงแกไข 2.3 ขายตรงชองทางจําหนายใหมของสินคาเกษตร 2.4 ธุรกิจขามชาติจอมบงการรัฐบาลตัวการฆาเกษตรกร 2.5 การปลูกพืชเชิงเดีย่วเส่ียงตอการขาดทุน

Page 95: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

291

เน้ือหา จากองคประกอบของเนื้อหาวิชาท่ีไดศึกษามาท้ัง 11 หนวยแลวนั้น ระบบธุรกิจการเกษตร

เปนระบบความสัมพันธท่ีสลับซับซอนของปจจัย(Factors) ตาง ๆ และแนวทางของลักษณะความสัมพันธท่ีจะทําใหบรรลุวัตถุประสงคท่ีตองการตามโครงสรางธุรกิจการเกษตร” จากแนวทางของ Henry B. Arthur, James F. Houck and George L. Beckfotd ไดแบงระบบธุรกิจเกษตรเปน 10 ระบบยอยคือ 1. ระบบยอยเอกชน 5 สวน 2. ระบบยอยรัฐบาล 5 สวน คือ

1. ระบบยอยเอกชน 5 สวน คือ 1.1 ระบบยอยปจจัยสินคาเกษตร 1.2 ระบบยอยการผลิตสินคาเกษตร 1.3 ระบบยอยสินเช่ือเพื่อการเกษตร 1.4 ระบบยอยแปรรูปสินคาเกษตร 1.5 ระบบยอยการจัดจําหนายสินคาเกษตร

2. ระบบยอยรัฐบาล 5 สวน คือ 1.1 ระบบยอยสงเสริมการเกษตร 1.2 ระบบยอยการวิจัยการเกษตร 1.3 ระบบยอยเก่ียวกับกฎระเบียบและขอบังคับการเกษตร 1.4 ระบบยอยการศึกษาการเกษตร 1.5 ระบบยอยการพัฒนาการเกษตรเชนการวิจัยศึกษาตาง ๆ นํามาพัฒนาโดยรวม

จากระบบยอยดังกลาว ไมวาปจจุบันและในอนาคตระบบยอยในภาคเอกชนและระบบยอยภาครัฐ ยอมพบปญหาท่ีแตกตางกัน ข้ึนอยูกับกาลเวลา ตามยุคสมัยของสังคมและระบบเศรษฐกิจของโลกท่ีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ซ่ึงมีผลกระทบตอปญหาโครงสรางของธุรกิจเกษตรแถบท้ังส้ิน ในท่ีนีท้างผูเรียบเรียงไดนําเอาปญหาท่ัวไปและแนวทางการแกปญหาท่ัวไป ซ่ึงยังไมครอบคลุมท้ังหมดนํามาใหผูเรียนไดศึกษาดังนี ้

1. ปญหาท่ัวไป 1.1 ปญหาเร่ืองหนี้สินภาคครัวเรือนของเกษตรกรในชนบทไทย

ซ่ึงนําเสนอโดย คุณวิทยา เจียรพันธ ซ่ึงไดกลาวถึงสาเหตุของการเปนหนี้ของพีน่องเกษตรกรไทยวา จริงๆ แลวมูลเหตุของการเปนหนีน้ั้นมีสาเหตุมาจากหลายดาน ประกอบดวย

Page 96: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

292

1.1.1 ดานเกษตรกร อันเนื่องมาจาก – ยากจนแตกาํเนิด – ลักษณะนิสัยสวนตัว – ระดับการศึกษา – ภาระทางครอบครัว – วิถีชีวิตและความเช่ือ – ความลมเหลวจากการลงทุน

1.1.2 ดานแหลงเงินทุน อันเนื่องมาจาก – การเขาถึงแหลงเงินทุนงาย – การเขาถึงแหลงเงินทุนในระบบไดยาก – ใชเงินกูไมตรงตามวัตถุประสงค – แหลงเงินทุนบางแหงขาดศีลธรรม

1.1.3 ดานระบบการผลิต อันเนื่องมาจาก – เนนผลิตเพือ่ขาย – ขาดการวางแผนจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ – ตนทุนการผลิตสูง – นิยมการผลิตพืชชนิดเดี่ยว – ระบบการผลิตพ่ึงพาธรรมชาติมาก – ระบบชลประทานไมท่ัวถึง

1.1.4 ดานระบบการตลาด อันเนื่องมาจาก

ภาพท่ี 46 การจัดการระบบการผลิตของเกษตรกรไทย

ภาพท่ี 45 วิถีชีวิตของเกษตรกรไทย

– ขาดความรูดานการตลาด – เขาไมถึงระบบการตลาด

1.1.5 ดานระบบสังคม อันเนือ่งมาจาก – ระบบทุนนยิมเขาสูชุมชน – การเปล่ียนระบบการผลิต – ระบบครอบครัวเปล่ียนสูครอบครัวเดี่ยว – คานิยมจัดงานประเพณ ี- กลัวเสียเปรียบผูอ่ืน

Page 97: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

293

1.1.6 ดานรัฐบาล อันเนื่องมาจาก – นโยบายการเมืองไมแนนอน – นําสถาบันการเงินเขาสูประชาชน – รัฐไมดูแลเรื่องปจจัยพืน้ฐานในการทําการเกษตร – รัฐสงเสริมใหกูเงิน โดยการนําโครงการรัฐมาสูชุมชน – ขาดการจัดการวางแผนโครงการอยางเปนระบบ – เจาหนาท่ีภาครัฐทําตัวคนละฝายกับชาวบาน

ความรุนแรงของปญหาท้ังหลายท้ังปวงนัน่แหละ คือมูลเหตุของการเปนหนีแ้ละหากใคร

ไมสามารถจัดการกับหนี้สินที่มีอยูได สุดทายก็จะลุกลามสูภาวะท่ีเรียกวาความยากจน ท่ีทุกรัฐบาลพยายามท่ีจะเขามาแกไขปญหา แตสุดทายก็ไมสามารถแกไขไดท้ังระบบ ปลอยปญหาเกิดข้ึนซํ้าแลวซํ้าเลา

ภาพท่ี 48 ผลกระทบตอการเปนหนีส้ินของเกษตรกรไทย

ภาพท่ี 47 การนํานโยบายมาใชสูประชาชนของภาครัฐ

Page 98: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

294

1.2. ปญหาระบบเกษตรในประเทศไทย : การเกษตรแผนปจจุบันหรือเกษตรเคมี(Chemical Agriculture) การเกษตรแผนปจจุบันเปนผลสืบเนื่องมาจากการปฏิวัตเิขียว ในราว ค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยใชความกาวหนาทางวิทยาศาสตรเกษตรและเทคโนโลยีมาใชในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคา เชน การใชพันธุพืชและพันธุสัตวท่ีใหผลผลิตสูง การใชเคร่ืองจกัรกลทางการเกษตรไถพรวนไดลึกมากขึ้นทดแทนแรงงานจากสัตว ทั้งนี้เพื่อใหสามารถผลิตไดในทุกชวงเวลาและมีผลผลิต อยางตอเนื่อง รวมถึงการใชสารเคมีทางการเกษตรจําพวกปุยเคมี สารเคมีกําจัดศัตรูพืชและฮอรโมน พืชสังเคราะห ฯลฯ โดยมีวตัถุประสงคเพื่อใหไดผลผลิตท่ีสูงข้ึนในการลงทุนท่ีเทาเดิมในระยะ เวลาเดิม เพื่อจะไดมีวัตถุดบิปอนใหกับโรงงานอุตสาหกรรมและเปนการประหยัดแรงงาน เนื่องจากแรงงานสวนใหญหล่ังไหลไปสูภาคอุตสาหกรรม ตามท่ีไดมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมกอนหนานี ้ การปฏิวัติเขียวไดกลายเปนนโยบายและแนวทางหลักของการพัฒนาประเทศสวนใหญในโลก นโยบายสงเสริมการทําการเกษตรรวมถึงเทคนิคการปลูกพืชและเล้ียงสัตว ไดถูกกําหนดใหใชแนวทางเดยีวกันจนกลายเปนระบบหลักของทุกประเทศ รวมถึงประเทศไทย เนือ่งจากแนวคิดในเร่ืองผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร ท่ีเนนความสามารถในการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตรเปนจํานวนมากมีผลตอบแทนสูงกับผูผลิต ไดกลายเปนแนวทางหลักในการเลือกรูปแบบการผลิตทางการเกษตร ผลของการทําการเกษตรแบบใชสารเคมีสังเคราะหกอใหเกิดปญหาตาง ๆ ตามมาอยางมากมายหลายประการดังตอไปนี ้

1.2.1 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม การทําเกษตรแผนใหมทําใหเกดิปญหาส่ิงแวดลอมและความเส่ือมโทรมของ

ทรัพยากรธรรมชาติตามมาท่ีเห็นไดชัดเจน ไดแก ปญหาการพังทลายของหนาดิน ดนิเส่ือมความอุดมสมบูรณ ปญหามลพิษในส่ิงแวดลอมและปญหาการระบาดของโรคและแมลง ตัวอยาง เชน จากการสํารวจในประเทศไทยพบวา ในพ้ืนท่ีลาดชันของจังหวดันานสวนใหญถูกชะลางพังทลายในอัตราท่ีมากกวา 16 ตันตอไรตอป ซ่ึงเปนอัตราสูงกวาท่ียอมใหมีไดถึง 20 เทา และท่ีจังหวัดเพชรบูรณพื้นที่ท่ีมีความลาดชัน 9% มีการสูญเสียหนาดินถึง 26 ตันตอไรตอป เกษตรกรรมแผนใหมท่ีมุงเนนเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดยการใชปุยเคมีเปนจํานวนมากและใชตดิตอกนัเปนระยะเวลานาน จะทําใหเกิดปญหาความเส่ือมโทรมของโครงสรางดินและดินขาดความอุดมสมบูรณ เนื่องจากการใชปุยเคมีไมใชการบํารุงดินแตเปนการอัดแรธาตุอาหารใหแกพืช

Page 99: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

295

การใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชทําใหเกิดปญหาสารพิษตกคางในส่ิงแวดลอม ท้ังนี้เนือ่งจากการใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชในแตละคร้ัง จะใชประโยชนไดเพยีง 25% ท่ีเหลืออีก 75% จะกระจายสะสมในดิน น้ํา และอากาศในส่ิงแวดลอม ท่ีสําคัญคือ คือ สารเคมีกําจัดศัตรูพืชไมไดทําลายเฉพาะศัตรูพืชเทานั้น แตยังทําลายแมลงและจุลินทรียท่ีเปนประโยชนในธรรมชาติอีกดวย ซ่ึงเปนการทําลายความสมดุลของระบบนิเวศในธรรมชาติ และผลที่ตามมา คือ การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชท่ีรุนแรงมากข้ึน ตัวอยาง เชน การระบาดของเพล้ียกระโดดสีน้ําตาลท่ีทําลายผลผลิตขางในประเทศไทย เม่ือป 2533-2534 ซ่ึงมีพื้นที่การแพรระบาดมากถึง 3.5 ลานไร การทําเกษตรแผนใหมไดนาํไปสูการปลูกพืชเชิงเดีย่ว และการขยายพืน้ท่ีทําการเกษตร ทําใหเกิดปญหาการบุกรุกพืน้ท่ีปาธรรมชาติ ทําใหเกิดการสูญเสียพื้นท่ีปาอันเปนทรัพยากรที่สําคัญในโลกและแหลงตนน้ําท่ีสําคัญลงดวย

1.2.2 ผลกระทบดานเศรษฐกิจ การทําเกษตรแผนใหมเปนการทําการเกษตรท่ีตองพ่ึงปจจยัภายนอก เพื่อนํามาเพิ่มผลผลิตใหไดเปนจํานวนมาก แตก็มิไดหมายความวาเกษตรกรจะประสบความสําเร็จทางเศรษฐกิจเสมอไป ในทางตรงกันขามกลับพบวาเกษตรกรท่ีทําการเกษตรแผนใหมจํานวนมากประสบปญหาภาวะขาดทุนและมีหนี้สิน เกิดความลมเหลวทางเศรษฐกิจ เนื่องมาจากตนทุนการผลิตท่ีสูงและราคาผลผลิตท่ีตกตํ่า ในประเทศไทยการพัฒนาการเกษตรแผนใหมกลับเปนการผลักดันใหเกษตรกรตองตกอยูภายใตการครอบงําของบริษัท เนื่องจากตองพึ่งพาปจจยัการผลิต และเทคโนโลยีตาง ๆ จากบริษัท ไมวาจะเปนเมล็ดพันธุ ปุย หรือสารเคมีกําจัดศัตรูพืช เปนการทําการเกษตรที่ถูกผูกขาดจากบริษัทขนาดใหญ ดังน้ันจะเหน็ไดวาการทําเกษตรแผนใหมเปนการสรางรายไดใหแกบริษัทเอกชนขนาดใหญมากกวาเกษตรกรท่ีแทจริง

1.2.3 ผลกระทบตอสุขภาพของเกษตรกรและผูบริโภค การใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชนอกจากจะสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมแลว ยังกอ ใหเกิดปญหาการไดรับสารพิษเขาสูรางกายของเกษตรกรผูใช และยังมีสารพิษตกคางในผลผลิตทางการเกษตรอีกดวย การใชสารเคมีทางการเกษตรนาน ๆ จนทําใหพืชผักมีพิษตกคางจํานวนมาก กอใหเกิดปญหาตอสุขภาพของผูบริโภค จากการตรวจพบสารพิษตกคางในผลผลิตทางการเกษตรของประเทศไทยพบวา ผลผลิตมีสารพิษตกคางอยูสูงจนในผลผลิตบางชนิดไมผานมาตรฐานมีผล กระทบตอการสงออกสินคาเกษตรของไทย นอกจากนี้การท่ีคนไทยบริโภคผลผลิตท่ีมีสารพิษ

Page 100: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

296

1.2.4 ผลกระทบตอวิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถ่ิน เกษตรกรรมแผนใหมทําใหเกิดความเปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตของเกษตรกรไทย ทําลายฐานการเกษตรแบบยงัชีพของเกษตรกร ทําลายระบบสังคมของชุมชน และมีผลตอการเปล่ียนแปลงความคิดท่ีมีตอภูมิปญญาพื้นบานของไทย ภูมิปญญาทองถ่ินถูกละเลย ดวยเขาใจวาเปนความเช่ือหรือวิธีการปฏิบัติท่ีไมทันสมัย ไมเปนวิทยาศาสตรและไมมีประสิทธิภาพ โดยลืมไปวาความรูและภูมิปญญาท่ีถูกถายทอดตอ ๆ กันมา ไดมาจากประสบการณของคนรุนกอนมานานหลายรุนท่ีอยูในพ้ืนท่ีทองถ่ินท่ีพวกเขาอาศัยอยู ซ่ึงความคิดนี้ไดรุนแรงมากข้ึนเม่ือเร่ิมเขาสูยุคปฏิวัติเขียว ความรูและแนวทางการพัฒนาการเกษตรจะถูกรวมไปอยูในสถาบันการเกษตรตาง ๆ ของรัฐ และบริษัทธุรกิจการเกษตรขนาดใหญ การพัฒนาและแกไขปญหาของเกษตรกรกลายเปนบทบาทของผูเช่ียวชาญทางการเกษตรจากหนวยงานของรัฐ หรือบริษัทการเกษตรท่ีเขาไปเปล่ียนแปลงความคิดและวิถีชีวิตของการทําการเกษตร โดยท่ีเกษตรกรกลายเปนเพยีงผูรับเทานั้นเอง ซ่ึงหากองคความรูท่ีไดรับนั้นไมถูกตอง ผูท่ีไดรับความเสียหายคือตัวของเกษตรกรเอง

1.3 ปญหา GMO กระทรวงพาณิชยกําลังแกปญหาการสงออก เรงการออกใบรับรอง non-GMOs จากหนวยงานราชการฯ กระทรวงพาณิชยยังไมมีทางชวยผูสงออกกรณใีบรับรอง non-GMOs แมรัฐบาลจะมีมติตรงกันแลววาใหใครรับผิดชอบ แตกย็ังไมคืบหนา ลาสุดพึ่งไดทางออกเบ้ืองตน กรมวิชาการเกษตรเตรียมรับรองพืชผักและผลไมบางชนิดปลอด GMOs ขณะท่ีสินคาอ่ืน ๆโยนใหเอกชนสุมตัวอยางนําไปวิเคราะหแทน เตรียมประกาศสินคาสําคัญเรงดวนท่ีเส่ียงตอ GMOs และกําชับออกใบรับรองเปนพิเศษ ขณะท่ีญ่ีปุนขีดเสนตายตองติดฉลาก non-GMOs การหามนําเขาสินคาท่ีเส่ียงตอ GMOs ของประเทศผูนําเขา ขณะน้ีก็มีซาอุดีอาระเบียท่ีหามนําเขาสินคาปลาทูนากระปองจากไทย เพราะไมมีใบรับรอง GMOs เนื่องจากใชวัตถุดิบคือน้ํามันท่ีทําจากถ่ัวเหลือง สวนสินคาตัวอ่ืน ๆ ยังไมไดรับรายงาน โดยกอนหนานี้ก็มีเพยีงปลาทูนากระปองที่ถูกเนเธอรแลนดหามนําเขา เพราะไมมีใบรับรอง GMOs เทานั้น นอกจากนีย้ังมีความกังวลถึงสินคาประเภทอาหารอ่ืน ๆ ท่ีไทยสงออกติดอันดับโลกจะถูกกดีกันไมใหนําเขาประเทศนัน้ เนื่องจากไมมีใบรับรอง เร่ือง GMOs ซ่ึงหวั่นเกรงวาจะกระทบเปาหมายสงออกปนี้เชนกนั

Page 101: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

297

สําหรับการสงออกสินคาอาหารของไทยในป 2543 คาดวาจะสงออกได 3.7 ลานตัน มูลคา 6,540 ลานเหรียญสหรัฐ(ประมาณ 2.5 แสนลานบาท) เพิ่มข้ึนท้ังปริมาณและมูลคารอยละ 6.6 และ 5 ตามลําดับ เนือ่งจากเศรษฐกิจของตลาดหลักขยายตัวทําใหมีความตองการสินคาอาหารเพ่ิมข้ึน แตก็มีปจจยัท่ีจะสงผลกระทบตอการขยายตัว เชน ปญหาการกีดกันทางการคาจากผูนําเขา การแขงขันรุนแรง รวมถึงกระแสการตอตานสินคา GMOs ท่ีมีแนวโนมทวีความรุนแรงมากข้ึน ซ่ึงในเร่ือง GMOs นี้ หากไมมีการดแูลใหเหมาะสม ก็อาจจะกระทบถึงการสงออกสินคาอาหารไมเปนไปตามเปาหมายได

2. การแกปญหา

2.1 มันฝร่ัง : ชูไทยเปนศูนยการผลิต เนนสงออกตลาดเอเชีย กระทรวงเกษตรและสหกรณมีแผนการสงเสริมการปลูกมันฝร่ังมาต้ังแตป 2540 ตามมติคณะรัฐมนตรี โดยเปนการปลูกทดแทนหอมหวัใหญ และกระเทียมท่ีมีปญหาผลผลิตลนตลาดและราคาตกตํ่าทําใหพืน้ท่ี การปลูกมันฝร่ังเพิ่มข้ึนเปน 43,900 ไรในป 2540 จากท่ีเคยมีพื้นท่ีปลูกมันฝรั่งเพียงไมกี่พันไร คาดวาในป 2543 พื้นที่ปลูกมันฝร่ังท้ังประเทศเทากับ 40,000-50,000 ไร และในป 2544 จะมีพืน้ท่ีปลูกมันฝร่ังเพิ่มข้ึนเปน 67,000 ไร คาดวาเม่ือไทยสามารถผลิตหัวพันธุมันฝรั่งไดเองอยางเพียงพอกับความตองการแลว มีความเปนไปไดสูงวาไทยจะกาวข้ึนไปเปนศูนยกลางผลิตมันฝร่ังของภูมิภาคนี ้ ปจจยัเกื้อหนุนใหเกษตรกรหนัมาปลูกมันฝร่ัง คือ ตนทุนตํ่ากวาการปลูกกระเทียมและหอมหัวใหญ โดยตนทุนการปลูกหอมหวัใหญและกระเทียมประมาณไรละ 15,000-18,000 บาท ขณะท่ีการปลูกมนัฝร่ังมีตนทุนประมาณไรละ 13,000-15,000 บาท หรือต่ํากวาเกือบรอยละ 17 และมีตลาดรองรับท่ีแนนอน เนื่องจากการปลูกมันฝร่ังเปนการสงเสริมของโรงงานแปรรูปซ่ึงมีการประกันราคารับซ้ือคืนประมาณกิโลกรัมละ 7.00-7.50 บาท

2.2 หนี้สินเกษตรกร ปญหาเร้ือรังที่ตองเรงแกไข ปญหาหนี้สินเกษตรกรเปนปญหาเร้ือรัง และนับวันปริมาณหนีไ้ดทับทวีเพิ่มพนูข้ึน

อยางนาวติก เกษตรกรมภีาระหนี้สินพอกพูนเพิ่มข้ึนทุกป บริษัทศูนยวิจัยกสิกรไทย จํากัด คาดวาในป 2541/42 นั้น เกษตรกรไทยแตละครัวเรือนจะมีหนีสิ้นเฉล่ียสูงถึงเกือบ 60,000 บาททีเดียว และคาดวาจํานวนครัวเรือนเกษตรกรท่ีเปนหนีน้าจะเพิม่ข้ึนเปนกวา 3 ลานครัวเรือน เนื่องจากในป 2541/42 เกษตรกรปญหาราคาสินคาเกษตรตกตํ่าเปนประวัติการณ นับวาปญหาในเร่ืองหนี้สินกลายเปนปญหาเร้ือรังของภาคเกษตรกรรม

Page 102: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

298

ผลผลิตไดรับความเสียหายอันเนื่องจากภาวะอากาศไมเอ้ืออํานวย หรือการเกิดภัยธรรมชาติ

รายไดจากการขายพืชผลทางการเกษตรเพิ่มข้ึนไมทันกับคาใชจายของเกษตรกร ทําใหตองยกยอดการชําระคืนหนี้ไปปเพาะปลูกถัดไป ผลท่ีตามมา คือภาระหนี้สินท่ีพอกพูนข้ึน

ปญหาทางการตลาด เนื่องจากเม่ือผลิตสินคาแลวขายไดไมคุมทุน หรือสินคามีคุณภาพไมตรงกับความตองการของตลาด

ขาดขอมูลขาวสารเกี่ยวกับความเคล่ือนไหวทางการตลาด เกษตรกรจึงไมมีการวางแผนการผลิตและการตลาดท่ีถูกตอง

เกษตรกรเองกมี็สวนในการทําใหภาระหนีสิ้นพอกพูนเพิม่ข้ึนดวย โดยรอยละ 30 ของเงินกูเกษตรกรนําไปใชจายในการอุปโภคบริโภค

รวมท้ังคาใชจายสําหรับกิจกรรมทางสังคมในทองถ่ิน ในสวนของปญหาหนี้สินท่ีเกิดจากรัฐบาล คือปญหาหนีท่ี้เกิดจากการที่เกษตรกรเขารวมกับโครงการสงเสริมของรัฐบาลแลว โครงการนั้นไมประสบผลสําเร็จและการบริหารงานลาชาของรัฐบาล ท้ังในเร่ืองของการประกาศนโยบายของสินคาเกษตรบางชนิด การชวยเหลือในเร่ืองปจจัยการผลิต โดยเฉพาะในเร่ืองปุยและเมล็ดพันธุ ยังสรางปญหาในเร่ืองความยากจน และปญหาสังคมอ่ืนๆ ติดตามมาอีกมากมาย โดยเฉพาะปญหาในเร่ืองการยายถ่ินหรือการอพยพแรงงานเขาสูเมือง ทําใหสังคมเมืองมีปญหาในเร่ืองความ แออัดของท่ีอยูอาศัย ปญหาการจราจร ปญหามลพิษ รวมทั้งปญหาดานสุขอนามัยและสุขภาพจิตดวย การแกไขปญหาในเร่ืองหนีสิ้นในภาคการเกษตร นั้นคงตองอาศัยท้ังมาตรการระยะส้ัน โดยการเรงเพิม่รายไดและลดรายจายใหกบัเกษตรกร รวมท้ังการแกปญหาลดความเส่ียงในการปลอยสินเช่ือทางการเกษตร โดยสนับสนนุการจัดต้ังกองทุนคํ้าประกนัความเส่ียงและการประกันภัยพืชผล สวนในระยะยาวนั้นควรเรงรัดในเร่ืองการจัดต้ังสภาการเกษตรแหงชาติ เพื่อใหเกษตรกรและเอกชนท่ีเกีย่วของเขามามีสวนรวมในเร่ืองนโยบาย และมีการประสานงานระหวางรัฐบาล เกษตรกรและเอกชนที่เกี่ยวของ รวมท้ังเรงรัดจดัต้ังตลาดซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา ซ่ึงจะชวยลดความเส่ียงในการดําเนินงานท้ังของเกษตรกรและเอกชนท่ีเกี่ยวของ โดยสามารถวางแผนการผลิตใหสอดคลองกับความตองการของตลาดไดอยางเหมาะสม

Page 103: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

299

2.3 ขายตรงชองทางจําหนายใหมของสินคาเกษตร ในแตละปสหกรณการเกษตรท่ัวประเทศ มีปริมาณสินคาเกษตรอยูในมือหลายชนิด โดยเฉพาะขาวอยูในมือสหกรณการเกษตรประมาณ 80% ของปริมาณขาวท่ีผลิตไดท่ัวประเทศ ทําใหในแตละป สหกรณการเกษตรตองพยายามหาทางในการจําหนาย ขาวจํานวนน้ีใหไดราคาดีท่ีสุด ผลักดันใหกรมสงเสริมสหกรณกระทรวงเกษตรและสหกรณพฒันาชองทางการจําหนายในลักษณะการขายตรง โดยอาศัยจุดแข็งของการขายตรงท่ีมีเครือขายจําหนายท่ีกวางขวางครอบคลุมท่ัวประเทศ แนวคิดนีเ้ร่ิมมาจากการที่มีการนําเอาสินคาผลิตภัณฑดอยคําไปจําหนายในลักษณะขายตรง เม่ือดําเนินการไดเพียงแค 1 เดือน ยอดจําหนายมากกวาการท่ีดอยคําจัดจําหนายเองถึง 2 ป

การจําหนายขาวสารบรรจุถุง การจําหนายสินคาเกษตรในระบบการขายตรงถึงมือผูบริโภคผานทางสมาชิกท่ีมีกระจายอยูท่ัวโลก นับวาเปนแนวทางใหมในการพัฒนาชองทางการจัดจําหนายสินคาเกษตรท่ีมีประสิทธิภาพอยางมาก โดยสินคาของสหกรณการเกษตรทีจ่ะมีการจาํหนายในลักษณะการขายตรง คือ นมผง น้ําผลไม ผลไมบรรจุกระปอง แยมล้ินจีแ่ละลําไย จะเหน็ไดวาการพัฒนาตลาดการจาํหนายสินคาเกษตรผานชองทางขายตรงน้ัน สามารถขจัดอุปสรรค ในเร่ืองการตลาดสินคาเกษตรไดหลายประการ ไมวาจะเปนปญหาในเร่ืองของพอคาคนกลาง ราคาท่ีเกษตรกรไดรับไมเปนธรรม และมีตลาดรองรับท่ีแนนอน ท้ังนี้ตองอาศัยการพัฒนาสหกรณการเกษตรใหแข็งแกรงไปพรอม ๆ กันดวย

2.4 ธุรกิจขามชาติ จอมบงการรัฐบาลตัวการฆาเกษตรกร นี่คือโอกาสสุดทายท่ีคนไทย โดยเฉพาะขาราชการกระทรวงเกษตรฯ ผูคิดโครงการและใชงบประมาณของแผนดิน สถาบันการศึกษาดานการเกษตรกรรมแหลงผลิตขาราชการปอนกระทรวงเกษตรฯ และผลิตบุคลากรออกสูวงการเกษตร สถาบันวิจัยทางการเกษตร นักพัฒนาและเกษตรกรไทยท้ังมวลจะไดผนึกกําลังอยางเปนเอกภาพ เพื่อปกปอง ปองกันและตอบโตกระแส การครอบงําท่ีมีพละกําลังมหาศาล ซ่ึงตอทอตามสายงานการครอบงําระดับโลก อยางดับบลิวทีโอ ทุกสวนตองถกกันใหตกวา จะเลือกแนวทางเกษตรที่จะตองพึ่งพาตางชาติอยางท่ีแลวมา จนเกดิปญหาตอระบบนิเวศและส่ิงแวดลอม เกษตรกรยากจนและลมตายลงเพราะสะสมสารเคมีไวในรางกาย หรือจะกลับตัวกลับใจรวมกันพลิกฟนภูมิปญญาของเราเอง ยืนอยูบนขาของตนเอง ตัดวงจรอุบาทวแหงผลประโยชนท่ี "พวกเหลือบ" ในกระทรวงเกษตรฯ ไดรวมกับบรรษทัขามชาติหากินรวมกัน หันมาทําการเกษตรแบบยั่งยืน เงินงบประมาณแผนดินถูกใชอยางมีประสิทธิภาพ ชีวิตเกษตรกรอยูอยางรมเย็นไมตองทุรนทุรายอยางท่ีเปนอยู

Page 104: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

300

หากสรุปวาควรเลือกเอาการเกษตรแบบสารเคมีแลว ควรจะเตรียมตัวเตรียมใจไดแลววานับแตทศวรรษใหมจากน้ีไปประเทศชาติของเรา จะตองประสบกับการครอบงําท่ีมัดแนนกวาท่ีผานมา ชาติอุตสาหกรรมจะลวงตับไตของทรัพยากรชีวภาพของชาติ และควบคุมกํากับบทบาท ของเกษตรกรไทยท่ัวทุกหวัระแหงดวยกฎหมายสิทธิบัตร นี่คือโอกาสสุดทาย และเปนเฮือกสุดทายกอนสูญเสียท้ังชาติ

2.5 การปลูกพืชเชงิเดี่ยวเสี่ยงตอการขาดทุน การทําการเกษตรระบบเกษตรเชิงเดี่ยว นอกจากจะถือวาเปนการเปดประตูประเทศใหกับสารเคมีกําจัดศัตรูพืช และเทคโนโลยีการเกษตรจากประเทศอุตสาหกรรม ประเทศไทยยังตองสูญเสียพื้นท่ีมหาศาลไปกับการชะลางพังทลายของดิน กอปรกับกระแสการปฏิวัติเขียวอันเปนการทําเกษตรกระแสหลักท่ีเปนการทําการเกษตร ท่ีมุงในการเพ่ิมผลผลิตใหสูง ซ่ึงจะตองพึ่งพาประเทศอุตสาหกรรมท่ีกุมการผลิตปุยและสารเคมี เปนการนําเอาประเทศไทยไปฝากชีวิตไวกับชาติตะวนัตก และตอมายังตองพึ่งพาเร่ืองพันธุกรรมจากรัฐบาลและบริษัทขามชาติท่ีกุมตลาดเมล็ดพันธุ ขาว มันสําปะหลัง และฝาย คือพืชช้ันนําอันเปนตัวแทนของพืชเชิงเดี่ยว และหากนําเอาราคาของพืชเหลานี้มาหักกลบกับ คาปุย ยาและสารเคมี ที่เกษตรกรตองลงทุนแลวจะเห็นวาเกษตรกร ผูปลูกพืชเหลาขาดทุนต้ังแตยงัไมลงมือไถหวานดวยซํ้า

2.6 ธุรกิจเกษตรป '42 : วิกฤตดานราคา…ปญหาการสงออก จะเห็นไดวาในชวง 5 เดอืนแรกของป 2542 ราคาสินคาเกษตรที่สําคัญไมวาจะเปนขาว มันสําปะหลังและยางพาราลดลงอยางตอเนื่อง จนกระท่ังรัฐบาลตองใชงบประมาณเปนจํานวนมหาศาลเขาแทรกแซงตลาดสินคาเกษตร เพื่อพยงุราคาไวไมใหตกตํ่ามากกวาท่ีเปนอยู อยางไรก็ตาม คาดวาราคาสินคาเกษตรตกต่ําในป 2542 ยังจะเปนปญหาใหญใหรัฐบาลแกไขตอไป นอกจากนี้ผลกระทบตอเนื่องจากปญหาราคาสินคาเกษตรตกตํ่า คือ ปญหาวิกฤตรายไดของเกษตรกรซ่ึงเปนคนสวนใหญของประเทศ คาดวาปญหาน้ีจะเปนปญหาใหญท่ีสรางแรงกดดันใหกับรัฐบาล เนื่องจากปญหานี้โยงใยไปถึงกําลังซ้ือของคนในชนบท ท่ีรัฐบาลหวังวาจะใหมีการจับจายใชสอยมากข้ึน เพื่อกระตุนใหเศรษฐกิจฟนตัว รวมท้ังปญหาแรงงานท่ีกลับคืนถ่ินท่ีหวังจะกลับเขาสูภาคเกษตรกรรม ทําใหแรงงานสวนนี้หนักลับเขามาในเมือง เพื่อแสวงหางานทําตอไป ซ่ึงอาจนําไปสูปญหาสังคมอ่ืน ๆ ตามมา ไมวาจะเปนปญหาความแออัดของชุมชนเมือง ปญหาอาชญากรรม เปนตน

Page 105: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

301

ความอยูรอดของภาคเกษตรกรรม คือ การเรงปรับโครงสรางการผลิตเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแขงขัน แมวาเร่ืองนีมี้การกลาวถึงมานานแลว ตลาดสงออกสินคาเกษตร ซ่ึงเปนสินคาข้ันปฐมนั้นถูกประเทศท่ีเปนคูแขงรายใหม คือเวียดนามและจีน รวมท้ังประเทศเพื่อนบานท่ีมีการผลิตสินคาประเภทเดยีวกัน อยางมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส แยงลูกคาไป โดยอาศัยความไดเปรียบในเร่ืองตนทุนท่ีต่ํากวา

เนนการพัฒนาในดานคุณภาพของสินคาใหเปนท่ียอมรับของตางประเทศ และการพัฒนาสินคาอุตสาหกรรมเกษตร ซ่ึงจะสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาและกอใหเกดิการจางงานเพิ่มข้ึนภายในประเทศ แทนท่ีจะเนนการสงออกสินคาเกษตรข้ันปฐมเชนในอดตี ในสวนของ "การจัดตั้งตลาดซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา" ซ่ึงก็เปนมาตรการท่ีตองดําเนินการอยางเรงดวน ปจจุบันอยูในข้ันตอนดําเนนิการจัดหาผูเช่ียวชาญจากตางประเทศเพื่อจดัจางเปนท่ีปรึกษาในการจัดต้ังตลาดซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนา โดยเฉพาะการจดัวางโครงสรางองคกร อัตรากําลังและระบบการซ้ือขาย รวมท้ังเรงสรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกร พอคาผูประกอบการและผูสงออก เพื่อใหผูท่ีเกี่ยวของไดเล็งเหน็ถึงความจําเปนในการปรับระบบการซ้ือขายในตลาดจริงกับตลาดซ้ือขายลวงหนา โดยเฉพาะการชี้ใหเห็นวาระบบการซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนานัน้ เปนเคร่ืองมือสําคัญในการประกันความเส่ียงจากความผันผวนของราคา และชวยในการวางแผนการผลิตและการคาใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน คาดวาสามารถจัดต้ังตลาดใหแลวเสร็จภายในป 2542 ดวย

2.7 แนวทางพัฒนาดานการจัดการธุรกิจเกษตร แบบฟารมอัจฉริยะ(PRECISION FARMING / SMART FARM )

ประเทศไทยยังเปนประเทศเกษตรกรรม ถึงแมปจจุบันสินคาอุตสาหกรรมจะกลายมาเปนสินคาหลักในการสงออกก็ตาม ในศาสตรที่จะทําใหเกษตรกรรมของศตวรรษท่ี 21 เปนอาชีพสุดแสนจะไฮเทคดวยการนําเทคโนโลยีผสมผสานตาง ๆ ทั้งคอมพิวเตอรอิเล็กทรอนิกส ไอที สื่อสาร เซ็นเซอร เทคโนโลยีชีวภาพ รวมท้ังนาโนเทคโนโลยี เขามาชวยในการทําให ไรนา ฟารมเกษตรทั้งหลาย กลายมาเปนออฟฟศไฮเทค ศาสตรดังกลาวซึ่งจะชวยทําใหฟารมธรรมดา ๆ กลายมาเปนฟารมอัจฉริยะ(Smart Farmหรือ Intelligent Farm) ไดรับการขนานนามวา Precision Agriculture

Precision Farming เปนท่ีนิยมกนัมากในประเทศสหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย และเร่ิมแพรหลายเขาไปในหลายประเทศ ท้ังยโุรป ญ่ีปุน แมกระท่ังประเทศเพื่อนบานของเราอยาง มาเลเซียก็มีการทําวิจัยทางดานนี้ หรือไกลออกไปอีกนดิอยางอินเดียก็ทดลองใชเทคโนโลยีนี้กันอยางกวางขวาง จึงมีความจาํเปนท่ีประเทศไทยจะตองเริ่มใหความสนใจในเร่ืองนีใ้หมากข้ึน เพราะเม่ือเทคโนโลยีเกษตรความแมนยําสูง ถูกนําไปใชเชิงพาณิชยเม่ือไหรประเทศไทยจะสูญเสีย

Page 106: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

302

ภาพท่ี 49 เกษตรกรรม อาจเปนอาชีพท่ีมีความสุขท่ีสุดในโลก สําหรับศตวรรษท่ี 21 แลว

เกษตรกรรม เทคโนโลย ีและ ส่ิงแวดลอม จะอาศัยและอยูรวมกันไดอยางกลมกลืนและพอเพียง Precision Farming ไดรับการนิยาม และต้ังความหมายตาง ๆ กันไป แมแตช่ือกย็ังถูกเรียกไดหลายช่ือ ตามแตจะเนนเทคโนโลยหีลักตัวไหน เชน

• Precision Farming (การทําฟารมดวยความแมนยําสูง) • Information-Intensive Agriculture (เกษตรท่ีเนนการใชสารสนเทศ) • Prescription Farming (การทําฟารมแบบมีสูตร) • Target Farming (การทําฟารมแบบมุงเปา) • Site Specific Crop Management (การจัดการผลผลิตแบบระบุพื้นที่) • Variable Rate Management (การใหปุยใหน้าํและจัดการพืน้ท่ีโดยปรับตามความเหมาะสม) • Variable Rate Technology –VRT (เทคโนโลยีจัดการพืน้ท่ีโดยปรับตามความเหมาะสม) • Farming by Soil (การทําฟารมโดยเนนคุณสมบัติของดินในแตละพ้ืนท่ียอย) • Grid Soil Sampling Agriculture, Grid Farming • Global Positioning Systems (GPS) Agriculture (การเกษตรท่ีใชระบบพิกัด) • Farming by the Inch, Farming by the Foot (การทําฟารมท่ีมีรายละเอียดระดับนิว้หรือฟุต)

งาย ๆ ก็คือ เกษตรกรรมความแมนยําสูง เปนกลยุทธในการทําการเกษตรท่ีเปนมิตรกบัส่ิงแวดลอม โดยเกษตรกรสามารถจะปรับการใชทรัพยากรใหสอดคลองกับสภาพของพื้นท่ียอย ๆ

Page 107: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

303

ภาพท่ี 50 เกษตรกรกําลังนัง่จิบไวนมองฟารมของพวกเขา เซ็นเซอรตาง ๆ ท่ีติดตัง้อยูในฟารม กําลังเก็บขอมูล ดิน น้ํา ฟา ฝน และตัดสินใจเปด-ปดนํ้า ใหปุย

หรือออกคําส่ังใหรถเก็บเก่ียวออกไปทํางานเอง

Page 108: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

304

อาชีพเกษตรกรที่เคยตองหลังสูฟาหนาสูดนิ กลับผันเปลี่ยนไปเปนหลังนวดสปาหนาดูจอ เทคโนโลยี Precision Farming กําลังจะทําใหอาชีพเกษตรกรรมกลายมาเปนอาชีพท่ีมีความสุขท่ีสุดในโลก เกษตรกรรมความแมนยําสูงตองประกอบดวยเร่ืองสําคัญ 3 เร่ืองคือ (1) สารสนเทศ (2) เทคโนโลยี (3) การบริหารจัดการ โดยต้ังอยูบนแนวคิดท่ีวาพืชพนัธุท่ีปลูก และสภาพลอมรอบ (ดิน น้ํา แสง อากาศ) ในไรนามีความแตกตางกนัในแตละบริเวณหรือพื้นท่ียอย ๆ ถึงแมจะอยูในไรเดียวกันก็ตาม สภาพลอมรอบท่ีแตกตางกนันี ้ มีผลใหการเกิดผลผลิตแตกตางกันได ดังนั้นจึงตองดูแลพื้นท่ีเหลานั้นแตกตางกนั ซ่ึงจะมีผลใหสรางผลผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพท่ีสุด ปญหาก็คือ เราจะรูไดอยางไรวาความแตกตางนั้นมีจริง แลวจะวดัอยางไร(ปจจุบันมีเทคโนโลยใีนการเก็บเกีย่วอัตโนมัติท่ีจะคํานวณปริมาณผลผลิตท่ีเก็บข้ึนมาได โดยบันทึกรวมกับตําแหนง GPS ทําใหทราบวาตําแหนงใดในไรมีผลผลิตแตกตางกันอยางไร) หรือเม่ือรูแลวเราจะนําเทคโนโลยมีาใชอยางไร รวมไปถึงจะบริหารจัดการอยางไร นี่คือโจทยของเกษตรกรรมความแมนยําสูง ซ่ึงจะนําประโยชนมาสูเกษตรกร เจาของฟารม ดังนี ้

• เกิดการลดตนทุน • การเกิดผลผลิตสูงสุด เกิดท้ังปริมาณและคุณภาพสูงสุด ท่ีเหมาะสมกบัสภาพพื้นทีแ่ตละ

สวนในไร • เกิดการใชทรัพยากรอยางคุมคา • รักษาสภาพแวดลอม ซ่ึงสามารถนําไปสูกระบวนการผลิตอาหารท่ีมีคุณภาพและปลอดภัย เกษตรกรรมความแมนยําสูง มีลักษณะเปนวงจรท่ีประกอบดวยข้ันตอนท้ังหมด 5 ข้ันตอน

ดวยกัน ไดแก 1. Data Collection เปนข้ันตอนการเก็บขอมูลของดิน น้ํา แสง ภูมิอากาศ (ซ่ึงมักจะหมายถึง

ภูมิอากาศ ในพื้นท่ีเล็ก ๆ ท่ีเรียกวา micro-climate) ผลผลิต เปนตน ดวยวิธีการและเทคโนโลยีตาง ๆ เชน เครือขายเซ็นเซอร สถานีตรวจวดัอากาศ ภาพถายดาวเทียม เคร่ืองสแกนสภาพดนิ เปนตน

2. Diagnostics เปนข้ันตอนในการวินจิฉัยขอมูล สราง กรองและเก็บขอมูลท่ีเปนประโยชนเขาสูฐานขอมูล ซ่ึงมักจะใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (GIS)

3. Analysis เปนข้ันตอนในการวิเคราะหขอมูล การทํานายผลผลิตเชิงพื้นท่ี รวมไปถึงการวางแผนจัดการ เชน เทคโนโลยี Crop Modeling ซ่ึงจะนําขอมูลตาง ๆ มาทําการโมเดลหาความสัมพันธกับผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได

Page 109: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

305

4. Precision Field Operations เปนข้ันตอนในการปฏิบัติการตามแผนท่ีวางไว เชน การหยอดปุยดวยรถขับเคล่ือนดวย GPS การใหน้ําแบบโปรแกรม การนําสงปุยหรือยาฆาแมลงดวยแค็ปซูลนาโน ซ่ึงสามารถควบคุมการปลดปลอยตามเง่ือนไขท่ีกําหนด เปนตน

5. Evaluation เปนข้ันตอนในการประเมินผลการปฏิบัติการ วามีประสิทธิภาพมากนอยเพียงใด คุมคาแกการลงทุนหรือไม โดยใชเทคโนโลยีดานการเงินและเศรษฐศาสตรอุตสาหกรรม

ภาพท่ี 51 การขาดแคลนน้ําจืดทําใหระบบการใหน้ําแกฟารมตองฉลาดมากขึ้น

เกษตรกรรมความแมนยําสูง หาใชการทําการเกษตรท่ีตองใชจักรกลหนกั หรือตองใชการลงทุนและการปฏิบตัิการขนาดใหญแตอยางใดไม หากแตเกษตรกรรมความแมนยาํสูงใชการวิเคราะหขอมูลอยางละเอียด เพื่อนําไปสูการตัดสินใจเพื่อทําการอยางหนึ่งอยางใดกับพื้นท่ีเกษตรกรรมใหไดประสิทธิภาพสงูสุด การทําเกษตรกรรมความแมนยําสูง จึงนาจะสอดคลองกับหลักของเศรษฐกิจพอเพียง เพราะมีการใชทรัพยากรอยางคุมคาและเกิดประโยชนสูงสุด เกษตรกรรมความแมนยําสูง เปนเร่ืองของการบริหารจัดการอยางฉลาดมากกวา แคเปนการใชไฮเทคในการแกปญหา เกษตรกรรมความแมนยําสูงจะมีประโยชนมากย่ิงข้ึนเปนทวคูีณ หากมีการทํากันเปนพื้นท่ีกวางขวาง แทนท่ีจะเปนฟารมหรือไรนาเจาเดยีว แตฟารมหรือไรนาท่ีอยูขางเคียงก็ทําดวย ยิ่งเปนภูมิภาคยิ่งดี เพราะสามารถนําขอมูลมาเช่ือมโยงกัน ทําใหสามารถที่จะเขาใจความเปล่ียนแปลงท่ีเกดิข้ึนในทองถ่ิน ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่ง ซ่ึงอาจนําไปสูการตัดสินใจเพ่ือปฏิบัติการส่ิงใดส่ิงหนึ่ง หรือเพ่ือแกปญหาบางอยาง กอนท่ีปญหานั้นจะลุกลามไปในบริเวณกวาง เชน หากฟารมเล้ียงไกแตละฟารมมีเซ็นเซอรตรวจไขหวัดนก หรือตรวจสัญญาณอันตรายอ่ืน ๆ เม่ือไดรับสัญญาณอันตรายก็สามารถสงตอขอมูลไปยังฟารมขางเคียง หรืออาจตรวจสอบขอมูล

Page 110: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

306

1. มีขอมูลท่ีบงช้ีวาสภาพลอมรอบ ๆ ในไรนา รวมท้ังผลผลิตท่ีไดมีความแตกตางกันแต ละพื้นท่ียอย ๆ ในไรนานั้นจริง ๆ หรือมีความแตกตางระหวางไรนาของเรากับไรนาขางเคียงในภูมิภาคเดียวกันอยางคอนขางชัดเจน 2. เม่ือเรามีความเช่ือวาความแตกตางนั้นมีจริงแลว เรายังจะตองสามารถระบุความแตกตางนั้น ตลอดจนคํานวณหาขอมูลเชิงปริมาณของความแตกตางนั้นใหได จริง ๆ แลวการไดมาซึ่งความแตกตางเหลานั้น อาจไมจําเปนตองใชเทคโนโลยีใหมที่วิเศษวิโสอะไร ภูมิปญญาชาวบานก็สามารถนาํมาสูขอมูลนั้นได เพียงแต เทคโนโลยีในการระบุพิกัดรวมไปถึงเทคโน โลยีประมวลผล จะชวยทําใหเขาถึงและเขาใจในปริมาณความแตกตางนั้นไดงายและดีขึ้น 3. เม่ือระบุความแตกตางในแงตาง ๆ ของพื้นท่ียอย ๆ ในฟารมและไรนาไดแลว เรายังตองมีความสามารถในการจัดการกับความแตกตางเหลานั้น เชน หากเราทราบวา วัชพืชมีการกระจายตัวในไรอยางไร การพนยาปราบวัชพืชก็ควรมีการกระจายตัวในรูปแบบเดียวกัน แทนท่ีจะใหเทา ๆ กันท้ังพื้นท่ี เกษตรกรรมความแมนยําสูง สามารถนาํไปประยุกตใชกับวิธีในการทําเกษตรกรรมไดทุก

แบบ ไมวาการเกษตรแบบนั้นจะมีการเก็บเก่ียวปละคร้ังหรือปละหลายคร้ัง ขนาดของฟารมหรือไรนาจะเล็กหรือใหญ ลักษณะของการเพาะปลูกจะเปนแบบชนิดเด่ียวหรือแบบผสมผสาน พันธุพืชจะเปนแบบธรรมชาติหรือแบบดัดแปรพันธุกรรม การใหน้ําจะเปนแบบตามธรรมชาติ หรือใชระบบรดน้ํา รวมท้ังปรัชญาของฟารมหรือไรนาท่ีกําหนดให เปนเกษตรอินทรียหรือ เกษตรเคมี เกษตรกรรมความแมนยําสูงจึงยึดหลักทางสายกลาง ที่ผันเปลี่ยนตนทุนหรือ input ใหเปนผลผลิตหรือ output ใหมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอมและความย่ังยืนแรงจูงใจหรือแรงผลักดัน ที่ทําใหประเทศไทยตองหันมาสนใจวิถีแหงเกษตรกรรมความแมนยําสูง

ในปจจุบันและอีกไมนานตอจากนี้ ก็คือ สภาพสิ่งแวดลอมที่เสื่อมถอยจากการเกษตรที่ขาดขอมูลความเช่ือมโยง ระหวางกิจกรรมในไรนากับสภาพแวดลอมที่ถูกกระทบ ราคาพืชผลทางการ เกษตรท่ีแปรเปลี่ยนตามปริมาณผลผลิต ซึ่งขาดความสามารถในการคาดการณลวงหนา สภาวะการกระจายตัวและพฤติกรรมของประชากรท่ีเปลี่ยนไป ทําใหแรงงานภาคการเกษตรขาดแคลนหรือขาดคุณภาพ รวมไปถึงสภาวะโลกรอนท่ีทําใหสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป จนภูมิปญญาชาวบานท่ีสืบทอดมาหลายชั่วคนสําหรับใชในการดํารงชีวิต และใชตัดสินใจในการดําเนินกิจกรรมในไรนา เร่ิมใชไมไดผลหรือมีความสุมเสี่ยงมากขึ้น เหลานี้ทําใหการทําการเกษตรในอนาคตขางหนา ตองวาง

Page 111: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

307

1. ความสามารถในการระบุตําแหนงในฟารมหรือไรนา 2. ความสามารถในการเก็บแปรผลและวิเคราะหขอมูลในระยะเวลาและมิติที่เหมาะสม

3. ความสามารถในการปรับแตงการใชทรัพยากรและตนทุนตาง ๆ รวมท้ังกิจกรรมทาง การเกษตรใหเหมาะสมกับแตละพื้นท่ียอย ๆ ที่พบความแตกตาง เทคโนโลยีเกษตรความแมนยําสูงจะตองมีความสามารถครบท้ัง 3 อยางครับจึงจะเรียกวาใชไดจริง และเปลี่ยนฟารมธรรมดาใหเปน Smart Farm ได

เทคโนโลยีท่ีจะนําเขามาใช ในการทําเกษตรกรรมความแมนยําสูง มีอะไรบาง

• Global Positioning System (GPS) เปนเทคโนโลยีในการระบุพิกัด หรือ ตําแหนงบนพื้นผิวโลก โดยใชกลุมของดาวเทียมจํานวน 24 ดวง ซึ่งโคจรรอบโลกในวงโคจร 6 วงท่ีความสูง 20,200 กิโลเมตรเหนือพื้นโลก เคร่ืองรับ GPS เชิงพาณิชยในปจจุบันมีความ สามารถในการระบุพิกัดไดแมนยําถึง 1-3 เมตร รวมไปถึงเทคโนโลยีรถไถควบคุมดวย GPS เพื่อพรวนดิน หยอดปุยและเก็บเก่ียว บริษัท John Deere ในสหรัฐอเมริกาไดจําหนายระบบรถแทร็คเตอรอัตโนมัติที่มีช่ือวา iGuide และAutoTrac ซึ่งมีระบบการบังคับการเลี้ยวของพวกมาลัย รวมทั้งอัลกอริทึมตาง ๆ ที่ทําใหรถแทรคเตอรสามารถว่ิงไปว่ิงกลับตลอดท้ังไร ตามแผนท่ีและคําสั่งท่ีระบุโดยสามารถหยอดปุยหรือยาฆาแมลง ใหมีความแตกตางในแตละพื้นท่ีไดตามโปรแกรมที่ระบุมา

ภาพท่ี 52 ระบบรถแทร็กเตอรขับเองดวยการนําทางจาก GPS ของบริษัท John Deere ประเทศสหรัฐอเมริกา

Page 112: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

308

• Geographic Information System(GIS)เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เปนเทคโนโลยีในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นท่ีแลวนํา มาแสดงผลในรูปแบบตาง ๆ โดยจุดขายของมันอยูที่ความสามารถในการเก็บขอมูลหลากหลายมิติที่มีความเก่ียวของกับพิกัดของพื้นท่ี แลวนํามาวิเคราะหและแสดงผลตามท่ีผูใชตองการ ในอดีตประเทศไทยมีการใชงาน GIS กันอยางกวางขวาง คนท่ัวไปสามารถเขาถึงระบบ GIS ไดโดยใชโปรแกรม Google Earth ถึงแมผูเช่ียวชาญดาน GIS จะบอกวา Google Earth เปนเพียงโปรแกรมแสดงผล(Visualization) เทานั้น ยังขาดความสามารถดาน processing ก็ตาม แตเช่ือวาอีกไมนานความสามารถดาน processing ขอมูลภูมิศาสตรจะเขาไปอยูในGoogle Earth แน ๆ ปรากฏวาตอนนี้Google Earth ไดกลับกลายมาเปนเคร่ืองมือสําคัญในทางวิทยาศาสตรไปแลว เราสามารถนําขอมูลเชิงพื้นท่ีตาง ๆ มาผนวกใชรวมกับ Google Earthได ทําใหตอนนีบ้ริษัท Google เองสนใจจะเพิ่มเติม ฟงกชันตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอการทํางานทางดานวิทยาศาสตรเขาไปในโปรแกรม เพราะ Google เช่ือวาการเติบโตของการใชงานโปรแกรม Google Earthในทางวิทยาศาสตร จะนํามาสูการขยายการใชประโยชน โดยคนท่ัวไปในท่ีสุด

ภาพท่ี 53 จาก Google Earth แสดงขอมูลโครงการท่ีมีชื่อวา Bio Mapping ซ่ึงมีการนําเอาเคร่ืองวัดอัตราการเตนของหัวใจและ GPS ไปติดท่ีคนแลวปลอยใหเดินไปในเมือง

• Remote Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรูระยะไกล เปนเคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บขอมูลพื้นที ่ โดยอาศัยคล่ืนแสงในชวงความยาวคล่ืนตาง ๆ และคล่ืนแมเหล็กไฟฟาในรูปแบบตาง ๆ เชน เรดาห ไมโครเวฟ วิทยุ เปนตน โดยอุปกรณรับรูเหลานัน้มักจะติดต้ังบนอากาศยาน หรือ ดาวเทียม เทคโนโลยี Remote Sensing เปนเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับการใชงานในพื้นท่ีกวาง ในปจจุบันเทคโนโลยี Remote Sensing มีราคาถูกลงมากและใชงานงายข้ึน เดี๋ยวนี้เจาของฟารมก็สามารถใชได ขอมูลดิบท่ีไดจาก Remote Sensing จะเปนสเปคตรา

Page 113: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

309

• Proximal Sensing หรือเทคโนโลยีการรับรูระยะใกล อาศัยเซ็นเซอรวัดขอมูลตาง ๆ ไดโดยตรงในจุดท่ีสนใจ เชน เซ็นเซอรตรวจอากาศ(Weather Station) เซ็นเซอรวัดดิน(Soil Sensor) เซ็นเซอรตรวจโรคพืช(Plant Disease Sensor) เซ็นเซอรตรวจวัดผลผลิต(Yield Monitoring Sensor) เซ็นเซอรเคมี(Chemical Sensor) เปนตน เซ็นเซอรเหลานี้สามารถท่ีจะนํามาวางเปนระบบเครือขายไรสาย(Wireless Sensor Network) โดยนําไปติดต้ังหรือปลอยในพื้นท่ีไรนา เพื่อเก็บขอมูลตาง ๆ เชนความช้ืนในดิน อุณหภูมิ ปริมาณแสง สารเคมี เปนตน ซึ่งเซ็นเซอรไรสายจิ๋วเหลานี้สามารถนําไปวางใหครอบคลุมพื้นท่ีฟารม เซ็นเซอรไรสายท่ีวงการอุตสาหกรรมเรียกกันวา“ฝุนฉลาด” (Smart Dust) เหลานี้สามารถคุยกันและสงผานขอมูลใหแกกันและกันได หากเราสอบถามขอมูลไปยังเซ็นเซอรที่อยูใกลที่สุดเพียงตัวเดียว ขอมูลท้ังหมดของเซ็นเซอรทุกตัวก็จะสามารถถายทอดมายังศูนยบัญชาการของฟารมไดทันที บริษัทเครือขายเซ็นเซอรใชเพื่อเก็บขอมูลเรียลไทมเทานั้น แตตอไปมันสามารถท่ีจะใชในการควบคุมการเปดปดวาลวน้ําโดยอัตโนมัติ เพื่อใหน้ําแกตนพืชในปริมาณท่ีเหมาะสม ซึ่งการควบคุมนี้ยังสามารถทําใหมีความสัมพันธกับขอมูลพยากรณอากาศในทองถิ่นดวยก็ได เชนหากทราบวาจะมีฝนตกวาลวน้ําจะปด เครือขายเซ็นเซอรเหลานั้นยังอาจใชเฝาระวังโรคพืช โดยตรวจจับโมเลกุลตัวบงช้ีบางชนิดท่ีสื่อวาพืชกําลังจะเปนโรคกอนท่ีจะลุกลามใหญโต หากนํามาใชกันอยางกวางขวาง มีการเช่ือมโยงขอมูลจากแตละฟารมมายังผูใหบริการน้ําอยางกรมชลประทาน ก็จะชวยใหการจัดการน้ําเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึง่ระบบ GIS จะชวยใหทราบวากรมชลประทานมีน้ําพอเพียงตลอดฤดูผลิตหรือไม

ภาพ 54 เซ็นเซอรตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้นของดนิท่ีใชพลังงานจากแสงอาทิตย สงขอมูลไป Server ดวยสัญญาณวิทยุ

Page 114: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

310

• Variable Rate Technology (VRT)หรือเทคโนโลยีการใหปุย/น้ํา/ยาฆาแมลง ตามสภาพความแตกตางของพ้ืนท่ี โดยมักจะใชรวมกับเทคโนโลย ีGPS เชน รถไถท่ีใหปุยแตกตางกันตามสภาพความอุดมสมบูรณของพ้ืนท่ี โดยอาจมีการทําแผนท่ีดิน(Soil Mapping) กอนหนานีด้วยเคร่ืองสแกนหนาดินท่ีติด GPS จากนั้นขอมูลสภาพดินจะถูกเก็บไวในแผนท่ี แลวสงใหรถไถท่ีหยอดปุย โดยรถหยอดปุยท่ีติด GPS จะรับขอมูลวา ณ ตําแหนงใด ควรใหปุย N, P และ K ในอัตราที่แตกตางกันอยางไร การใหยาฆาแมลงก็อาจจะโปรแกรมใหมีความแตกตางกันได ตามประวัติการระบาดของแมลง การใหน้ําก็สามารถใชเทคโนโลยีนี้ไดเชนกัน โดยอาจใชรวมกับเทคโนโลย ีProximal Sensing

• Crop Models and Decision Support System (DSS) เปนเทคโนโลยท่ีีบูรณาการเทคโนโลยีท้ังหมดท่ีกลาวมาขางตนเขาไวดวยกัน เพื่อใชในการตัดสินใจวาจะทําอะไรกับฟารมเม่ือไร อยางไร นอกจากนั้นเทคโนโลยีนี้ยังมีความสามารถในการทํานายดวยวาผลผลิตจะเปนอยางไรตอไป โดยอาศัยขอมูลจากอดีตวาหาก ดนิ น้ํา ฟา ฝน เปนอยางนี้ ผลผลิตของฟารมจะเปนอยางไร จริงๆ แลวในอดีตนั้นบรรพบุรุษของเราไดอาศัยส่ิงท่ีเรียกวาภูมิปญญาชาวบานมาตลอด หากแตดวยสภาพภมิูอากาศท่ีเปล่ียนแปลงไปไดทําใหวิธีการดังกลาวไมอาจใชไดผลอีกแลว ระบบ DSS นี้จะทําการรวบรวมขอมูลจากอดีตมาผสมกับขอมูลแบบ Real Time ท่ีอานไดในปจจุบัน และอาจผสมผสานกับขอมูลท่ีไดจากหนวยงานของรัฐ เพื่อเสนอใหเจาของฟารมทําการตัดสินใจอยางใดอยางหนึ่งกับฟารม เชน สถานีตรวจอากาศในฟารมอาจตรวจพบวาจะมีฝนตกอีก ท้ังขอมูลพยากรณอากาศท่ีดาวนโหลดมาก็บงบอกฝนตกหนักดวยระบบ DSS ก็จะทําการตัดการใหน้ํา โดยมีการแจงเตือนตอเจาของฟารมวาจะมีฝนตกหนักในไมชา เพื่อท่ีเจาของฟารมจะตัดสินใจเตรียมการเพื่อลดความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึน ระบบ DSS อาจจะฉลาดเพิ่มไปอีกข้ัน โดยอาจทํานายราคาพืชผลในปนี้หรือปตอไปได ภายใตสภาพอากาศท่ีเกิดข้ึน

สรุป ปญหาท่ีเกิดจากการจัดการธุรกิจเกษตรของเกษตรกรไทยโดยท่ัวไปสรุปไดดังนี ้1. ปญหาท่ัวไป

1.1 ปญหาเร่ืองหนี้สินภาคครัวเรือนของเกษตรกรในชนบทไทย 1.1.1 ดานเกษตรกร

1.1.2 ดานแหลงเงินทุน 1.1.3 ดานระบบการ

Page 115: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

311

1.1.4 ดานระบบการตลาด 1.1.5 ดานระบบสังคม 1.1.6 ดานรัฐบาล

1.2. ปญหาระบบเกษตรแผนปจจุบันหรือเกษตรเคมี(Chemical Agriculture) 1.2.1 ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม 12.2 ผลกระทบดานเศรษฐกจิ 1.2.3 ผลกระทบตอสุขภาพของเกษตรกรและผูบริโภค 1.2.4 ผลกระทบตอวิถีชีวิตและภูมิปญญาทองถ่ิน

1.3 ปญหา GMO 2. การแกปญหา

2.1 มันฝรั่ง : ชูไทยเปนศูนยการผลิตเนนสงออกตลาดเอเชีย 2.2 หนี้สินเกษตรกรปญหาเร้ือรังท่ีตองเรงแกไข 2.3 ขายตรงชองทางจําหนายใหมของสินคาเกษตร 2.4 ธุรกิจขามชาติจอมบงการรัฐบาลตัวการฆาเกษตรกร 2.5 การปลูกพชืเชิงเดี่ยวเส่ียงตอการขาดทุน 2.6 ธุรกิจเกษตรป '42 : วิกฤตดานราคา ปญหาการสงออก 2.7 แนวทางพัฒนาดานการจัดการธุรกิจเกษตรแบบฟารมอัจฉริยะ ประเทศพัฒนาแลวท้ังหลายตางก็กําลังขะมักเขมนกนัทําวิจยัในศาสตรท่ีจะทําให

เกษตรกรรมของศตวรรษท่ี 21 เปนอาชีพสุดแสนจะไฮเทค ดวยการนําเทคโนโลยผีสมผสานตาง ๆ ท้ังคอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกส ไอที ส่ือสาร เซ็นเซอร เทคโนโลยีชีวภาพ รวมท้ังนาโนเทคโนโลยี เขามาชวยในการทําใหไรนา ฟารมเกษตรท้ังหลาย กลายมาเปนออฟฟศไฮเทค ศาสตรดังกลาวซ่ึงจะชวยทําใหฟารมธรรมดา ๆ กลายมาเปนฟารมอัจฉริยะ (Smart Farm หรือ Intelligent Farm) ไดรับการขนานนามวา Precision Agriculture

*********************************************

Page 116: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

312

แบบฝกหัด หนวยท่ี 12 ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. ปญหาท่ัวไป ท่ีเกี่ยวกับเร่ืองหนี้สินของเกษตรกรสวนใหญ มาจากสาเหตุใดบาง ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. ปญหาระบบเกษตรแผนปจจุบันหรือเกษตรเคมีจะสงผลกระทบอยางไรบาง ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 3. ปญหา GMO สงผลกระทบตอประเทศไทยเราอยางไร .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

Page 117: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

313

4. ตามท่ีเรียนมาแลวเรามีแนวทางการแกปญหาดานการจัดการธุรกิจเกษตรอยางไรบาง ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 5. ฟารมอัจฉริยะคืออะไร ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

***************************************

Page 118: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

314

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 12 ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร

วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ******************************************************************************คําสั่ง จงตอบคําถามและอธิบายมาพอเขาใจ1. ปญหาดานการจัดการธุรกิจเกษตรท่ีพบโดยท่ัวไปมีอะไรบาง ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 2. จงบอกแนวทางการแกปญหาการจัดการธุรกิจเกษตรมาพอเขาใจ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

***************************

Page 119: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

315

ใบงานท่ี 12

หนวยท่ี 12 เร่ืองปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร ********************************

เร่ือง ปญหาและแนวทางแกไขระบบธุรกิจเกษตร

จุดประสงคการเรียนรู 1. สามารถวิเคราะหปญหาท่ีเกิดจากการจัดการธุรกิจการเกษตรได 2 สามารถบอกแนวทางการแกปญหาจัดการธุรกิจการเกษตรได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รบัฟงคนอื่น เปนผูนําและผูตามท่ีดี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินัยในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวิชาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเรื่องท่ีเกี่ยวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 2. ตัวอยางองคการธุรกิจเกษตร 3. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 4. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 12

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ใหผูเรียนแบงกลุม 4-5 คน/สงตัวแทนมารับใบงานท่ี 12 และตัวอยางธุรกิจเกษตรท่ีครูมอบหมาย

ไปทําการวิเคราะหหาปญหาและวางแนวทางการแกปญหา 2. ดําเนินการทํางานใหเสร็จภายใน 1 ช่ัวโมง 3. สงตัวแทนนําผลงานมาเสนอหนาช้ันเรียน 4. สงรายงาน ตามรูปแบบรายงานท่ีถูกตองสมบูรณ 5. ประเมินผล

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเก่ียวกับการบริหารจัดการท่ัวไป และตัวอยางธุรกิจเกษตร

******************************

Page 120: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 2

เร่ือง รูปแบบธุรกิจเกษตรของไทย ************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากการเรียนจบเนื้อหาหนวยนีแ้ลว ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายถึงรูปแบบการดําเนินงานขององคการธุรกิจเกษตรท่ีมีอยูในประเทศไทยได

- กิจการเจาของคนเดียว (Sold Proprietorship) - กิจการหางหุนสวน (Partnership)

- กิจการบริษัทจํากดั (Limited Company) - รัฐวิสาหกจิ (State Enterprise) - กิจการสหกรณจํากัด (Co-Operative) - กิจการแฟรนไชส (Franchise)

2. อธิบายถึงขอดี- ขอเสีย การดําเนินงานของธุรกิจแตละรูปแบบองคการตาง ๆ ได

สาระสําคัญ การดําเนินธุรกิจทางดานการเกษตรของประเทศไทย ปจจุบันมีรูปแบบการดําเนินธุรกิจ

หลากหลายรูปแบบ หลายประเภท เพื่อใหผูประกอบการธุรกิจเกษตรตัดสินใจเลือก ท้ังนี้ยอมข้ึน ลักษณะของกิจการคา ความเหมาะสม ความรู ความสามารถ เงินทุน และสถานการณทางเศรษฐกิจในขณะน้ัน รูปแบบในการดําเนนิธุรกิจท่ีนิยมใชกันสวนใหญในประเทศไทย มีอยูดวยกัน 6 รูปแบบ คือ

1. กิจการเจาของคนเดียว (Sold Proprietorship) 2. กิจการหางหุนสวน (Partnership) 3. กิจการบริษัทจํากัด (Limited Company) 4. รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) 5. กิจการสหกรณ (Co-Operative) 6. กิจการแฟรนไชส (Franchise)

Page 121: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

27

เน้ือหา การที่จะตัดสินใจเลือกดําเนินธุรกิจการคาในรูปแบบใดนั้น ผูประกอบการจะตองคํานึงถึง

องคประกอบท่ีสําคัญหลายประการดวยกัน เชน ลักษณะของกิจการคา เงินทุน ความรูความสามารถในการดําเนินธุรกิจเปนตน ทั้งนี้ เพื่อใหการประกอบธุรกิจนั้นประสบผลสําเร็จ นาํมาซึง่ผลประโยชนและกําไรสูงสุด

รูปแบบของธุรกิจเกษตรจําแนกไดดังนี้ 1. กิจการเจาของคนเดียว (Sold Proprietorship) 2. กิจการหางหุนสวน (Partnership) 3. กิจการบริษัทจํากัด (Limited Company) 4. รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) 5. กิจการสหกรณ (Co-Operative) 6. กิจการแฟรนไชส (Franchise)

1. กิจการเจาของคนเดียว (Sold Proprietorship) กิจการเจาของคนเดียว (Sole Proprietorship) การดําเนินธุรกิจประเภทนี้ เปนธุรกิจที่มีมาเปนเวลาชานานและแพรหลายท่ีสุดในประเทศไทย โดยเฉพาะธุรกิจการคาปลีกและการคาสง ธุรกิจการใหบริการและธุรกิจการเกษตรที่เปนกิจการขนาดเล็ก การดําเนินงานกระทําไดงายเพราะมีบุคคลเพียงคนเดียวเปนเจาของ การตัดสินใจดําเนินงานมีความคลองตัว กิจการเจาของคนเดียวจึงเปนประเภทและชนิดของธุรกิจท่ีผูบริโภคคุนเคย และใกลชิดมากท่ีสุดจนถือเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวัน เปนกิจการท่ีผูลงทุนและรับผิดชอบในการทํางานแตเพียงผูเดียว การดําเนินงาน ไมสลับซับซอน มีความคลองตัวในการดําเนินงาน เพราะผูลงทุนสามารถตัดสินใจ บริการดวยตนเอง และไดรับกําไรแดผูเดียว อีกท้ังมีกฎหมายควบคุมการทํางานนอย เปนกิจการขนาดเล็กและมีจํานวนมากท่ีสุดในประเทศไทย ไดแก ธุรกิจการคาปลีก บนตึก แถวริมถนน หาบเรแผงลอย ฯลฯ เปนตน

ภาพท่ี 7 ธุรกิจแบบเจาของคนเดียว การเล้ียงแกะและการทําสวนปาลมน้ํามัน

Page 122: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

28

1.1 ขอดีและขอเสียของกิจการเจาของคนเดียว มีดังนี ้

ขอด ี ขอเสีย

1. จัดต้ังไดงาย 1. เงินทุนจํากดั ขยายกิจการไดยากเพราะเส่ียง 2. มีอิสระในการดําเนินงาน ตอการลงทุน 3. รักษาความลับของกิจการได 2. มีความรับผิดชอบไมจํากดั 4. กฎระเบียบและขอบังคับมีนอย 3. ความผิดพลาดเกิดข้ึนไดงาย 5. ผลกําไรไดรับแตเพียงผูเดยีว 4. กรณีเจ็บปวยหรือเสียชีวิตจะมีผลทําใหการ 6. การเลิกกิจการกระทําไดงาย ดําเนินงานขาดความตอเนื่อง 7. มีความใกลชิดและใหบริการแกลูกคาได 5. ขาดความเช่ือถือหรือขาดหลักทรัพยคํ้า ดีกวาธุรกจิรูปแบบอ่ืน ประกัน ทําใหหาแหลงเงินทุนไดยาก 8. สามารถตัดสินใจไดรวดเร็วทันตอเหตุการณ 6. ความเจริญกาวหนาของธุรกิจข้ึนอยูกับ

ความสามารถของเจาของกิจการ 7. โอกาสความกาวหนาของพนักงานมีจํากดั เจาของกิจการจะควบคุมการดําเนินงาน ทุกอยางดวยตนเอง 8. เจาของขาดความสามารถและประสบการณ ในการทํางาน

2. กิจการแบบหางหุนสวน (Partnership) หางหุนสวน หมายถึง การดาํเนินธุรกิจโดยการรวมกันของกลุมบุคคลต้ังแต 2 คนข้ึนไปตกลงท่ีจะดําเนินธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงคท่ีจะแบงผลกําไรจากการดาํเนินงาน การจัดต้ังหางหุนสวนเปนการประกอบการที่มีบุคคลตั้งแต 2 คนข้ึนไป ทําสัญญาตกลงกันเพื่อกระทํากิจการรวมกันดวยการแบงปนผลกําไรจากการดําเนินธุรกิจนั้น การจัดต้ังหางหุนสวน กระทําไดงาย โดยเฉพาะหางหุนสวนสามัญซ่ึงไมตองจดทะเบียน เพยีงแตไปยื่นขอจดทะเบียนพาณิชยภายใน 30 วันนับวันเร่ิมตนกิจการ ซึ่งจะตองมีคําวา“หางหุนสวน”หรือ“หางหุนสวนสามัญ” นําหนาช่ือหางเสมอ สวนหางหุนสวนจํากดัจะตองจดทะเบียนเสมอ

2.1 ลักษณะสําคัญของหางหุนสวน มี 4 ประการ คือ 2.1.1 มีสัญญาระหวางบุคคลต้ังแต 2 คนข้ึนไป สัญญาจะทําดวยวาจาก็ไดซ่ึงกฎหมายมิไดบังคับใหทําเปนหนังสือ แตในทางปฏิบัตสัิญญามักจัดทําเปนลายลักษณอักษร

Page 123: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

29

2.1.2 มีการตกลงรวมทุน คูสัญญาจะตองมีส่ิงหนึ่งส่ิงใดมาลงทุน ไดแก เงินสดหรือทรัพย เชน เคร่ืองจักร สํานักงาน ท่ีดนิ ฯลฯ ตลอดจนแรงงาน เปนตน 2.1.3 การกระทํากิจกรรมรวมกัน ผูเปนหุนสวนจะตองดําเนินธุรกิจที่จัดต้ังขึ้นรวมกัน 2.1.4 มีวัตถุประสงคแบงปนผลกําไรจากการรวมทําธุรกิจ

ภาพท่ี 8 หางหุนสวนสามัญผลิตภัณฑอาหารแมเล็ก สินคาสุดยอดหนึ่งตาํบล หนึ่งผลิตภัณฑ 2547

ประเภทผลิตภัณฑ : เคร่ืองดื่มระดับดาว :

2.2 ประเภทของหางหุนสวน ตามกฎหมายแพงและพาณิชย หางหุนสวนแบงออกได 2 ประเภท คือ 2.2.1 หางหุนสวนสามัญ (Ordinary Partnership) หมายถึง หางหุนสวนท่ีผูลงทุนเขาหุนทุกคนตองรับผิดในหนี้สินท้ังปวงของหางหุนสวนรวมกันโดยไมจาํกัดจํานวน หางหุนสวนสามัญจะจดทะเบียนหรือไมก็ได หากไมจดทะเบียนจะมีสภาพเปนหางหุนสวนสามัญ แตถาจดทะเบียนก็จะมีสภาพเปนนติบุิคคล ซ่ึงเรียกวา “หางหุนสวนสามัญนิตบิุคคล” (Registered Ordinary Partnership) ประกอบช่ือหางเสมอไป หางหุนสวนสามัญไมจดทะเบียนกฎหมายไมถือวาเปนนติิบุคคล แตหางหุนสวนสามัญจดทะเบียนถือวาเปนบุคคลตามกฎหมายหรือเรียกวา “นิติบุคคล” และเรียกช่ือเปนหางหุนสวนสามัญนิติบุคคล นิติบุคคล คือ บุคคลตามกฎหมาย การกระทําใด ๆ ของนิติบุคคลมีขึ้นไดโดยผานตัวแทน เชนผูจัดการเปนตัวแทนของนิติบุคคล ซ่ึงเพื่อกระทําการใดตองรับผิดชอบในการกระทํานั้น เชนการชําระหนี้สิน 2.2.2 หางหุนสวนจํากัด (Limited Partnership)หมายถึง หางหุนสวนท่ีผูประกอบการจะตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคลเสมอไป และจะตองใชคําวา“หางหุนสวนจํากัด” ประกอบช่ือหางเสมอ

Page 124: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

30

หางหุนสวนจํากัด ประกอบดวยหุนสวน 2 ประเภท คือ 1) หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด หมายถึง หุนสวนท่ีรับผิดในหน้ีสินของหางเพยีงไมเกนิจํานวนท่ีลงทุนในหางหุนสวนนั้น 2) หุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผดิ หมายถึง หุนสวนท่ีจะตองรับผิดในหนี้สินของหางโดยไมมีจํานวนจํากัด หุนสวนประเภทน้ีจึงมีสิทธิท่ีจะจดัการหรือบริหารงาน

หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล (ตองจดทะเบียน)

หางหุนสวนสามัญ หางหุนสวนสามัญ (ไมตองจดทะเบียน) หางหุนสวน

หางหุนสวนประเภทจํากัด ความรับผิด

หางหุนสวนจํากดั (ตองจดทะเบียน) หุนสวนประเภทไมจํากัด ความรับผิด

แผนผัง แสดงรูปแบบธุรกิจประเภทหางหุนสวน

2.3 ขอแตกตางระหวางหางหุนสวนสามัญและหางหุนสวนจํากัด

หางหุนสวนสามัญ หางหุนสวนจํากัด 1. 1. ไมตองจดทะเบียนหางหุนสวน ตองจดทะเบียนหางหุนสวน 2. 2. มีสภาพเปนบุคคลธรรมดา มีสภาพเปนนติิบุคคล 3. 3. เปนหุนสวนไมจํากัดความรับผิดเพียง

ประเภทเดียว มีหุนสวน 2 ประเภท คือ หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด และหุนสวนไมจํากัดความรับผิด

4. 4. หุนสวนทุกคนสามารถเปนผูจัดการได ผูจัดการจะมาจากหุนสวนประเภทไมจํากดัความรับผิด

5. 5. โอนหุนไดยาก โอนหุนไดงาย 6. 6. ความขัดแยงมีมาก ความขัดแยงมีนอย 7. 7. อายุของกิจการมีความตอเนือ่งนอยกวา อายุของกิจการมีความตอเนือ่งมากกวา

Page 125: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

31

ภาพท่ี 9 หางหุนสวนจํากัดเกิดแกวสมุนไพรไทยผลิตภณัฑไวน-สาโท เชน ไวนล้ินจ่ี ไวนกระชายดาํ ไวนลูกหมอน สาโท(OTOP)*

2.4 ขอดีของกิจการหางหุนสวน 2.4.1 กอตั้งงาย การกอต้ังธุรกิจประเภทหางหุนสวน จะจดทะเบียนหรือไมก็ได ผูเปนหุนสวนจะมีสัญญาท่ีไมเปนลายลักษณอักษรก็ได เวนแตผูเปนหุนสวนมีความประสงคจะขอจดทะเบียนก็สามารถกระทําได 2.4.2 เปนการรวบรวมความรูความสามารถ การดําเนินงานของกิจการหางหุนสวนเปนการรวบรวมบุคคลท่ีมีความรูความสามารถไวดวยกนั เชน ความรูดานการบริหาร ความรูดานการผลิตความรูดานการตลาด ฯลฯ ดังนัน้กิจการหางหุนสวน จึงเปนศูนยรวมของกลุมบุคคลท่ีจะตองชวยกนัคิดชวยกันทํา ตามความรูความสามารถของตน เพื่อท่ีจะทําใหกจิการประสบความสําเร็จและยังเปนผลดีตอเศรษฐกิจโดยรวม 2.4.3 มีแหลงเงินทุน การประกอบการของหางหุนสวน สามารถหาแหลงเงินทุนไดจากแหลงตาง ๆ มากกวาธุรกิจเจาของคนเดียว เพราะการทํางานรวมกนัหลายคน ทําใหกจิการไดรับความเช่ือถือจากบุคคลท่ัวไป ดังน้ันการระดมทุนจึงทําไดสะดวก ซ่ึงมีผลตอธุรกิจในการขยายกจิการตอไป 2.4.4 ความเชือ่ถือของบุคคลภายนอก กิจการหางหุนสวน เปนธุรกิจท่ีนําเอาบุคคลท่ีมีความรูความสามารถมาทํางานรวมกนั มีการแบงงานกนัทําตามความถนัดและความสามารถของตนซ่ึงมีความรับผิดชอบ ดังนั้นกิจการหางหุนสวนจึงเปนท่ีเช่ือถือ หรือมีเครดิตตอบุคคลภายนอกซ่ึงใหความมัน่ใจท่ีจะดําเนนิธุรกิจดวย 2.4.5 การกระจายความเสียหาย การดําเนนิธุรกิจในรูปหางหุนสวน หากประสบกบัการขาดทุน หุนสวนแตละคนจะตองรับผิดตอหนี้สินของธุรกิจดวยการกระจายความเส่ียง กิจการหางหุนสวนจะลดความสูญเสียที่หุนสวนคนใดคนหน่ึงตองรับผิดชอบได ภาระความรับผิดจึงไมตกอยูกับบุคคลเพียงคนเดยีว

Page 126: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

32

2.5 ขอเสียของกิจการหางหุนสวน 2.5.1 ปญหาความขัดแยง การดําเนินงานในรูปหางหุนสวน เปนการรวมบุคคลหลาย ๆ

คนเขาไวดวยกัน การทํางานบางคร้ังอาจจะมีความคิดเห็นไมตรงกนั ทําใหเกดิความขัดแยงเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือการทํางานได 2.5.2 ความรับผิดในหน้ีสินไมจํากัด ผูเปนหุนสวนแตละคนจะตองรับผิดตอหนี้สินไมจํากัดจํานวน เจาหนี้สามารถเรียกรองใหเอาทรัพยสินสวนตัวของหุนสวนชําระหนี้ได โดยเฉพาะหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิด หากการดําเนินงานเกิดความผิดพลาดธุรกิจประสบความลมเหลว หุนสวนไมจํากัดความรับผิดจะตองรวมรับผิดโดยไมจํากดัจํานวน 2.5.3 อายุการดําเนินงานจํากัด อายุของการดําเนินธุรกจิประเภทนี้ ข้ึนอยูกับผูเปนหุนสวนแตละคน หากผูเปนหุนสวนคนใดคนหน่ึงเสียชีวติหรือถอนตัวออกไป ดวยการขายหุน ลมละลายหรือไรความสามารถ ธุรกิจนั้นจะตองลมเลิกไป ยกเวนกรณหีุนสวนเดิมรับซ้ือหุนเอาไว ดังนั้นอายุของการดําเนนิงานของหางหุนสวนจึงจํากัด สําหรับหุนสวนประเภทไมจาํกัดความรับผิดจะไมมีผลที่จะทําใหกจิการตองลมเลิกไป 2.5.4 การถอนหุนทําไดยาก ผูเปนหุนสวนไดนําทรัพยมาลงทุน เชน เงินสด ท่ีดนิสํานักงาน ฯลฯ ทรัพยสินเหลานั้นผูเปนเจาของไมอาจจะถอนทุนเหลานั้นข้ึนมาทันที ตามท่ีตนตองการได จงึมีลักษณะขาดความคลองตัว เพราะทรัพยสินดังกลาวถูกนําไปใชหมุนเวยีนในการดําเนินธุรกิจ กิจการจึงไมสามารถนําทรัพยสินมาจายคืนแกผูถือหุนไดทันที

2.6 การจัดตัง้กิจการประเภทกิจการเจาของคนเดยีวและหางหุนสวน การจัดต้ังกิจการประเภทบุคคลเดียว มีรูปแบบในการดําเนินธุรกจิท่ีสามารถแบงได

ตามลักษณะของกิจการ คือ 2.6.1 ประเภทท่ีไมขอจดทะเบียนกจิการ เรียกวาหางหุนสวนสามัญ(ไมจดทะเบียน) 2.6.2 ประเภทท่ีขอจดทะเบียนกิจการ เรียกวาหางหุนสวนสามัญนิติบุคคล

กิจการประเภทบุคคลคนเดียวท่ีไมขอจดทะเบยีนกิจการ หรือหางหุนสวนสามัญ(ไมจดทะเบียน)ธุรกิจท่ีมีบุคคลคนเดียวเปนผูลงทุน และเปนเจาของกิจการโดยลําพังคนเดยีวรับผิดชอบในทรัพยสินและหน้ีสินท่ีเกดิจากธุรกิจ การบริหารการจัดการตางข้ึนอยูกับบุคคลคนเดียว เรียกวาหางหุนสวนสามัญ (ไมจดทะเบียนกิจการ)

Page 127: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

33

2.7 กิจการท่ีไดรับยกเวนไมตองจดทะเบียนพาณิชย - การคาเร การคาแผงลอย - พาณิชยกจิ เพื่อบํารุงศาสนาหรือเพ่ือการกุศล - พาณิชยกจิของนิติบุคคลซ่ึงไดมี พระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งข้ึน - พาณิชยกจิของกระทรวง ทบวง กรม - พาณิชยกจิของมูลนิธิ สมาคม สหกรณ - พาณิชยกจิของหางหุนสวนสามัญนิติบุคคล หางหุนสวนจาํกัดและบริษัทจํากดั ท่ีจดทะเบียนในประเทศไทย - กลุมเกษตรกรซ่ึงไดจดทะเบียนตามประกาศคณะปฏิวตัิฉบับท่ี 141

2.8 ขั้นตอนการจัดตั้งหางหุนสวนสามัญไมจดทะเบียน ขอคํารองจดทะเบียนกับสํานักบริการจดทะเบียน กรมทะเบียนการคา กระทรวง

พาณิชย ปฏิบัติเชนเดยีวกับบุคคลธรรมดา ธุรกิจเจาของคนเดียวเหมาะสําหรับผูประกอบการท่ีจะเริ่มธุรกิจใหม เพราะเม่ือดําเนินธุรกิจไปไหชวงหน่ึงกจ็ะทราบความเปนไปในธุรกิจท่ีทําอยู จึงคอยเปล่ียนแปลงรูปแบบของธุรกิจ เพื่อใหสอดคลองกับกิจการท่ีขยายตัว กิจการประเภทบุคคลคนเดียวท่ีจดทะเบียนกจิการธุรกิจท่ีมีบุคคลคนเดียวเปนผูลงทุน และเปนเจาของกิจการท่ีเขาขายกิจการในลักษณะตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณชิย พ.ศ. 2499 ท่ีกําหนดใหตองจดทะเบียน เจาของกิจการตองยื่นขอจดทะเบียนพาณิชยภายใน 30 วันนับแตวันท่ีไดเร่ิมประกอบกิจการ มีสถานภาพเปนนิติบุคคล เรียกวา “หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล ”

การจัดต้ังหางหุนสวนสามัญนิติบุคคลนั้นทําได ซึ่งธุรกิจนั้นตองไมขัดตอกฎหมายและศีลธรรม การบริหารหางหุนสวนสามัญนิติบุคคลนั้น การดําเนินงานอยางเต็มท่ีตามวัตถุประสงคและตามสัญญาของหาง อาทิเชนเร่ืองการรับผิดชอบในกําไรขาดทุน หนี้สิน หรือนิติกรรม หรือสัญญาใด ๆ ยอมผูกมัดผูเปนเจาของกิจการโดยที่ไมสามารถท่ีจะปฏิเสธได

2.9 กิจการท่ีตองจดทะเบียนพาณิชย - การทําโรงสีขาว และการทําโรงเลื่อยท่ีใชเคร่ืองจักร

- การขายสินคาไมวาอยางใด ๆ อยางเดียวหรือหลายอยาง คิดรวมท้ังสิ้นในวันหนึ่งขายไดเปนเงินต้ังแต 20 บาทขึ้นไป หรือมีสินคาดังกลาวไวเพื่อขายมีคารวมทั้งสิ้นเปนเงินต้ังแต 500 บาทขึ้นไป - นายหนาหรือตัวแทนคาตาง ซึ่งทําการเกี่ยวกับสินคาไมวาอยางใด ๆ อยางเดียว หรือหลายอยางก็ตาม และสินคานั้นมีคารวมทั้งสิ้นในวันหนึ่งวันใดเปนเงินต้ังแต 20 บาทขึ้นไป

Page 128: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

34

ระยะเวลาท่ีตองจดทะเบียนพาณิชยและคาธรรมเนียม 2.10 เจาของกิจการมีหนาท่ีตองยื่นขอจดทะเบียนพาณิชยภายใน 30 วันนับแตวันท่ีไดเร่ิม

ประกอบกิจการ เจาของกิจการใดฝาฝนตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 บาท และปรับตอเนื่องอีกวันละไมเกิน 100 บาทจนกวาจะไดจดทะเบียนการจดทะเบียนพาณิชย ตองเสียคาธรรมเนียม 50 บาท

2.11 การเลิกกิจการ หางหุนสวนสามัญนิตบุิคคลสามารถเลิกกิจการตามสัญญาท่ีกําหนดไว เชนไดมีการกําหนดระยะเวลาในการทํางานและเม่ือครบกําหนดตามเวลาแลวก็ตองเลิกไป หรือเจาของกิจการเสียชีวิต ลมละลาย หรือไรความสามารถ สามารถทําการเลิกได หรือศาลส่ังตามคําขอของเจาของกิจการใหยกเลิกเนื่องจากขาดทุนมาตลอด

ในกรณีท่ีมีการเลิกกิจการหางหุนสวนสามัญนิติบุคคลนั้นตองทําการชําระหนีด้ังนี ้1. ชําระหนีแ้กบุคคลภายนอกเปนอันดับแรก 2. ชําระหนี้เงนิกูเงินทดรองและคาใชจายท่ีขอยืมมาใช

3. กิจการบรษิัทจํากัด (Limited Company) บริษัทจํากัด คือ กิจการท่ีกอต้ังดวยการแบงทุนออกเปนหุนแตละหุนมีมูลคาเทา ๆ กัน

ผูถือหุนแตละคนตางรับผิดจาํกัด เพยีงไมเกินจํานวนเงินท่ียังสงใชไมครบตามมูลคาของหุนที่ตนถืออยู ผูถือหุนจาํนวนมากมีสิทธิในการบริหารงาน บริษัทแบงออกเปน 2 ประเภท คือ บริษัทจํากัดและบริษัทมหาชน (จํากัด)

3.1 ลักษณะสําคญัของบริษทัจํากัด 3.1.1 มีผูถือหุนไมนอยกวา 7 คน แตไมเกิน 100 คน 3.1.2 มูลคาหุนไมต่ํากวาหุนละ 5 บาท ซ่ึงจะตองชําระเงินคาหุนในคร้ังแรกกอน จดทะเบียนต้ังบริษัท ไมนอยกวารอยละ 25 ของมูลคาหุน

Page 129: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

35

3.1.3 มีคําวา“บริษัท” นําหนาช่ือและตอทายดวยคําวา “จํากัด” 3.1.4 การบริหารกิจการเปนหนาท่ีของกรรมการบริษัท 3.1.5 ท่ีประชุมผูถือหุนเปนเพียงผูแตงต้ังหรือถอดถอนกรรมการบริษัท ตลอดจนกําหนดนโยบายและเงินปนผล 3.1.6 บริษัทจะออกเอกสารใหกับผูถือหุน คือใบหุน

3.2 การจัดตัง้บริษัทจํากัด การจัดต้ังบริษัทจํากัด ผูประกอบการจะตองดําเนินการตามข้ันตอนของกฎหมายดังตอไปนี ้ 3.2.1 มีผูริเร่ิมกอต้ังบริษัทต้ัง 7 คนข้ึนไป เขาช่ือกันทําหนังสือบริคณหสนธิแลวนําไปจดทะเบียนตอนายทะเบียนบริษัท หนังสือบริคณหสนธิ คือ หนังสือแสดงรายละเอียดเก่ียวกับการจัดต้ังบริษัทโดยลงลายมือช่ือของผูริเร่ิมกอการทุกคน ซ่ึงตองมีพยานลงลายมือช่ือรับรองจํานวน 2 คน แลวนําไปจดทะเบียน การจัดทําหนังสือบริคณหสนธิจะตองทําอยางนอย 2 ฉบับ มีรายละเอียดดังตอไปนี ้

ช่ือกิจการมีคําวา“บริษัท” นําหนาช่ือและตอทายดวยคําวา “จํากัด”เสมอ 1) 2) ท่ีตั้งของบริษัท 3) วัตถุประสงของบริษัท 4) ถอยคําท่ีแสดงวาความรับผิดชอบของผูถือหุนจะมีจาํกัด 5) จํานวนทุนหรือหุนท่ีจดทะเบียนตลอดจนมูลคาของหุน

ช่ือ สํานัก อาชีพและลายมือช่ือของผูกอการพรอมจํานวนหุนท่ีแตละคนจองไว

ภาพท่ี 10 บริษัท ผลิตภัณฑอาหารเชฟชอย จํากัด

6)

Page 130: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

36

3.2.2 เม่ือนายทะเบียนบริษทัไดรับจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิแลว ผูเร่ิมกอการจัดต้ังบริษัทตองดําเนินการใหมีผูเขาช่ือซ้ือหุน หรือจองหุนจนครบจํานวนตามท่ีจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิไว และหามมิใหมีการชี้ชวนหรือโฆษณาใหมาซ้ือหุนโดยเดด็ขาด เพราะกฎหมายหามไว 3.2.3 หุนทุนจะตองมีผูแสดงความจํานงขอซ้ือจนครบเสียกอน จึงจะไปขอจดทะเบียนต้ังบริษัทได 3.2.4 ผูเร่ิมกอการเรียกประชมุบรรดาผูท่ีซ้ือหุนเพื่อประชุมจัดต้ังบริษทั โดยกําหนดขอบังคับของบริษัท การใหสัตยาบันแกสัญญาตาง ๆ การกําหนดจํานวนหุนแตละประเภท และแตงต้ังกรรมการบริษัท 3.2.5 ผูเร่ิมกอการจะตองมอบกิจการท้ังปวงใหกับกรรมการดําเนินงานตอไป สวนผูเร่ิมกอการจะหมดหนาท่ีไป 3.2.6 กรรมการบริษัทจัดการเรียกเงนิคาหุนจากผูเร่ิมกอการ และผูซ้ือหุนโดยใหชําระเงินคาหุนอยางนอยรอยละ 25 ของมูลคาหุนจนครบทุกหุน 3.2.7 กรรมการของบริษัทตองไปขอจดทะเบียนบริษัทภายใน 3 เดือนนับแตวันประชุมต้ังบริษัท เม่ือนายทะเบียนไดตรวจสอบความถูกตองตามกฎหมายแลว กจ็ะออกใบสําคัญการจดทะเบียนบริษัทใหไวเปนหลักฐาน บริษัทก็จะมีสภาพเปนนิติบุคคลตามกฎหมายต้ังแตนี้เปนตนไป 3.3 การเลิกบริษัท สาเหตุท่ีจะทําใหบริษัทตองเลิกกิจการมีดังตอไปนี ้ 3.3.1 มีมติพิเศษของผูถือหุนทุนใหเลิกกจิการ 3.2.2 ขอบังคับของบริษัทไดกําหนดกรณท่ีีจะเลิกกิจการไว 3.2.3 เม่ือครบกําหนดเวลาตามระบุไวในหนังสือบริคณหสนธิ 3.2.4 หากบริษัทไดจดัต้ังข้ึนเพื่อทํากจิการใด ๆ เม่ือบรรลุวัตถุประสงคแลวบริษัทตองเลิกไป 3.2.5 ถูกเพิกถอนออกจากทะเบียนบริษทั เนื่องจากวตัถุประสงคในการดําเนนิงานขัดตอหรือไมปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมายในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง ซ่ึงนายทะเบียนมีอํานาจส่ังเพิกถอนได 3.2.6 ถูกศาลส่ังใหลมละลาย 3.2.7 ถูกศาลส่ังใหเลิกกจิการ

Page 131: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

37

3.4 ขอดีของบริษัทจํากัด 3.4.1 ผูถือหุนมีความรับผิดจาํกัด เพยีงไมเกินมูลคาหุนท่ีตนคางชําระ 3.4.2 มีการกระจายความเส่ียง กิจการบริษทัจํากัดเปนกิจการท่ีกระจายความเส่ียงไปยังผูถือหุน เนือ่งจากทุนของบริษัทมาจากการถือหุนของบุคคลท่ัวไป ดังนั้นความเส่ียงอันเกดิจากการขาดทุนจึงกระจายไปยังผูถือหุนทุกคน 3.4.3 สามารถระดมทุนไดมาก ดวยการขายหุนใหแกผูสนใจภายใตกฎหมายกําหนด 3.4.4 เนื่องจากเปนกจิการขนาดใหญ จึงเปนท่ีรวมของบุคคลท่ีมีความรูความสามารถเขามาบริหารงาน ทําใหการทํางานมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังสามารถวาจางบุคคลภายนอกซ่ึงเปนมืออาชีพท่ีมีประสิทธิภาพเขาบริหารงานได 3.4.5 หุนของกิจการสามารถเปล่ียนมือได ดวยการโอนหรือขายหุนใหกับบุคคลอ่ืนไดตามท่ีกฎหมายกําหนด 3.4.6 การดําเนินกิจการมีความมั่นคงและมีความตอเนื่อง เม่ือผูถือหุนคนเกาไดโอนหรือขายหุนไป ผูถือหุนรายใหมเขามารับชวงตอ ทําใหกิจการไมตองหยุดชะงักเหมือนกิจการหางหุนสวน

3.5 ขอเสียของบริษัทจํากัด 3.5.1 มีกฎหมายควบคุมท่ีเครงครัด กิจการบริษัทจํากัดเปนธุรกิจอยูภายใตกฎหมายท่ีจะตองปฏิบัติ เพื่อเปนการควบคุมการดําเนินงานของบริษัทใหเปนไปตามวัตถุประสงค และเปนประโยชนตอผูเกี่ยวของ เชน ผูถือหุนและประชาชนใหมากท่ีสุด 3.5.2 การบริหารงานขาดความคลองตัว เนื่องจากกจิการประเภทนี้สวนมากจะเปนธุรกิจขนาดใหญ มีพนักงานจํานวนมากทําใหขาดความสัมพันธระหวางผูบริหารและพนักงาน บางคร้ังมีผลทําใหการบริหารงานไมคลองตัวเทาท่ีควร 3.5.3 เสียคาใชจายในการดาํเนินงานสูง เพราะการจดัต้ังบริษัทจํากัดมีพิธีการมากมาย มีความยุงยากมากกวาการจัดต้ังธุรกิจรูปแบบอ่ืน จึงทําใหเสียเวลาและคาใชจายสูง 3.5.4 การบริหารงานขาดประสิทธิภาพ กรณีท่ีกจิการวาจางบุคคลภายนอกมาบริหารงาน ถาหากบุคคลเหลานี้ไมมีความรูเกี่ยวกับสภาพหรือปญหาภายในองคกรดพีอ อาจจะทําใหเกดิปญหาเกีย่วกับการบริหารงานได 3.5.5 เจาของกิจการหรือผูถือหุนรายยอย แตละคนไมมีโอกาสบริหารงานดวยตนเองเหมือนธุรกิจรูปแบบอ่ืน หากไมพอใจการดําเนินงานของคณะผูบริหาร ผูถือหุนรายยอยจะทําไดโดยการขายหุน

Page 132: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

38

ภาพท่ี 11 บริษัทไทยลักซ เอ็นเตอรไพรส ( มหาชน )ประกอบธุรกิจผลิตและจําหนายอาหารสัตวน้ําจํากัด

บริษัทมหาชน(จํากัด) (Public Company) บริษัทมหาชน(จํากัด) : บมจ. ตามมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน(จํากดั) พ.ศ. 2535 ใหบทนิยามตอไปนี้ “บริษัทมหาชน (จํากัด) คือ บริษัทประเภทซ่ึงต้ังข้ึนดวยความประสงคท่ีจะเสนอขายหุนตอประชาชน โดยผูถือหุนมีความรับผิดจํากดัไมเกนิจํานวนคาหุนท่ีตองชําระ และบริษัทดังกลาวไดระบุความประสงคเชนนั้นไวในหนังสือบริคณหสนธิ” จากบทนยิามดังกลาว อาจกําหนดองคประกอบของบริษัทมหาชน(จํากัด) ดังนี ้ 1. เปนบริษัทประเภทซ่ึงแบงทุนออกเปนหุนละเทา ๆ กนั เสนอขายหรือโฆษณาขายตอประชาชนได ตามมาตรา 50 ของพระราชบัญญัติดังกลาวท่ีบัญญัติไววา หุนของบริษัทแตละหุนตองมีมูลคาเทากันและมีมูลคาไมต่ํากวา 5 บาท ถากรณบีริษัทมหาชน(จํากัด) ท่ีจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ มูลคาหุนท่ีตราไว (Par Value)หุนละ 10 บาท เสนอขายประชาชน 2. ผูถือหุนมีความรับผิดจํากดัไมเกนิจํานวนเงินคาหุนท่ีตองชําระ เชนนาย ก ซ้ือหุนบริษัทแหงหนึง่หุนละ 10 บาท รวมเปนเงินท้ังส้ิน 2,000 บาท หากบริษัทดังกลาวเลิกกิจการ นาย ก ตองรับผิดชอบหนีสิ้นท่ีบริษัทคางชําระเพยีง 2,000 บาทเทานัน้ 3. บริษัทมีความประสงคที่เสนอขายหุนตอประชาชนได โดยระบุความประสงคในหนังสือบริคณหสนธิ ท้ังนี้เพื่อระดมทุนจากประชาชนโดยการเสนอขายหุนเปนการท่ัวไป จะมีผูถือหุนเปนจํานวนเทาใดก็ไดแตอยางตํ่าจะตองมี 15 คนข้ึนไป (ซ่ึง 15 คนนี้เปนชุดเดียวกับผูเร่ิมจัดต้ังบริษัท) อัตราสวนการถือหุนรายใหญจะถือคนเดียวในอัตรารอยละเทาใดก็ไดกฎหมายไมไดจํากดั

Page 133: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

39

หมายเหตุ กรณีบริษัทมหาชน(จํากดั) ท่ีจะนําหุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ ตองมีผูถือหุนสามัญรายยอยอยางนอย 600 ราย (ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยฯและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535)

4. กิจการแบบรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) เปนองคการธุรกิจท่ีมีหนวยงานของรัฐหรือหนวยงานธุรกิจท่ีรัฐเปนเจาของ รวมท้ังบริษัทหรือหางหุนสวนนิตบุิคคลท่ีองคการของรัฐบาลมีทุนรวมอยูดวยเกินกวารอยละ 50 รัฐวิสาหกิจในประเทศไทยแบงออกไดเปน 3 ประเภทดังนี ้ 4.1 กิจการท่ีเปนนติิบุคคล เชนองคการโทรศัพทแหงประเทศไทย การทาเรือแหงประเทศไทย การรถไฟแหงประเทศไทย ฯลฯ 4.2 กิจการท่ีม ิไดเปนนิติบคุคล มีหนวยราชการใชทุนดาํเนินงานท้ังหมดเปนของรัฐ เชนโรงงานยาสูบ สํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล ฯลฯ 4.3 กิจการธนาคาร แบงเปน 4.3.1 ธนาคารท่ีรัฐบาลถือหุนเกินรอยละ 50 เชน ธนาคารกรุงไทย จํากัด 4.3.2 ธนาคารท่ีจัดต้ังโดยพระราชบัญญัติเอกเทศ เชน ธนาคารแหงประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห ฯลฯ

รัฐวิสาหกิจแบงออกได 6 ประเภทตามขอมูลของกรมบญัชีกลาง ประเภทท่ีหารายไดใหรัฐ 1.

1.1 โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง 1.2 สํานักงานสลากินแบงรัฐบาล 2. ประเภทท่ีเปนสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

2.1 ประเภทท่ีเปนสาธารณปูโภค การไฟฟาฝายผลิต การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค

ภาพท่ี 12 โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค

2.2 ประเภทท่ีสาธารณูปการ การทางพิเศษแหงประเทศไทย การทาอากาศยานแหงประเทศไทย

Page 134: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

40

การทาเรือแหงประเทศไทย การรถไฟแหงประเทศไทย องคการขนสงมวลชนกรุงเทพฯ องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย การสื่อสารแหงประเทศไทย องคการสื่อสารมวลชนแหงประเทศไทย

บริษัทวิทยุการบินแหงประเทศไทย การเคหะแหงชาติ

การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รัฐวิสาหกิจ 2 ประเภทนี้นํารายไดสงเขาคลังในป 2540 เปนจํานวนเงิน 32,438 ลานบาท และจางพนักงาน 199,505 คน 3. ประเภทท่ีตั้งข้ึนเพ่ือดําเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐ

3.1 สถาบันการเงิน ธนาคารกรุงไทย จํากัด

ธนาคารออมสนิ ธนาคารอาคารสงเคราะห ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ สํานักงานธนานุเคราะห

สถาบันการเงินเหลานี้นํารายไดสงเขาคลังในป 2540 เปนเงิน 2,490 ลานบาท และจางพนักงาน 41,573 คน

3.2 อนุรักษและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ

ภาพท่ี 13 ธนาคารออมสิน สํานักงานใหญธนาคารออมสิน

การปโตรเลียมแหงประเทศไทย องคการเหมืองแรในทะเล องคการอุตสาหกรรมปาไม องคการเหลานี้นํารายไดสงเขาคลังในป 2540 เปนเงิน 3,500 ลานบาท และจางพนักงาน 5,853 คน

3.3 เกษตรกรรมและพาณิชยกรรม องคการสงเสริมกิจการโคนม องคการสวนยาง องคการตลาดเพื่อเกษตรกร องคการสะพานปลา องคการอุตสาหกรรมหองเย็น องคการตลาด องคการคลังสินคา บริษัท ไมอัดไทย จํากัด โรงพิมพตํารวจ กรมตํารวจ โรงงานไพ กรมสรรพสามิต องคการสุรา กรมสรรพสามิต องคการเภสัชกรรม องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จํากัด

Page 135: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

41

บริษัท การบินไทย จํากัด บริษัท ขนสง จํากัด บริษัท อูกรุงเทพ จํากัด บริษัท ลําพูนจงัหวัดพาณิชย จํากัด บริษัท จังหวัดสุรินทร จํากัด บริษัท ปราจีนบุรีจังหวัดพาณิชย จํากัด

บริษัทท้ัง 20 นี้นํารายไดสงเขาคลังในป 2540 เปนเงิน 2,495 ลานบาท และจางพนักงาน 36,736 คน 3.4 ประเภทสงเสริม

การทองเที่ยวแหงประเทศไทยการกีฬาแหงประเทศไทย องคการสวนสัตว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง หนวยงานเหลานี้นํารายไดสงคลังในป 2540 เปนจํานวน 8,486 ลานบาท และจางพนักงาน 2,255 คน 4. ประเภทท่ีตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเดิมเพ่ือความมั่นคงของประเทศ

องคการผลิตอาหารสําเร็จรูป องคการแกว องคการทอผา องคการแบตเตอร่ี องคการฟอกหนังองคการ 5 แหงนี้ นํารายไดสงเขาคลังในป 2540 เปนจํานวนเงิน 5.9 ลานบาท และจางพนักงาน 2,328 คน

5. ประเภทท่ีตั้งข้ึน หรือไดมาดวยเหตุผลอื่น โรงงานน้ําตาลกรมโรงงานอุตสาหกรรม บริษัทสหโรงแรมไทยและการทองเที่ยวจํากัด สองหนวยงานนี้ องคการ 5 แหงนี้ นํารายไดสงเขาคลังในป 2540 เปนจํานวนเงิน 15.3 ลานบาท จางพนักงาน 596 คน

6. รัฐวิสาหกิจอื่น ๆ ท่ีมิไดจัดประเภทไว บริษัทบางจากปโตรเลียมจํากัด(มหาชน) องคการรถไฟฟามหานคร สถาบันการบินพลเรือน องคการสวนพฤกษศาสตร บริษัทปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียมจํากัด บริษัทปตท.สผ อินเตอรเนช่ันแนลจํากัด บริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ําภาคตะวันออก จํากัด ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย ธนาคารแหงประเทศไทย บริษัททาอากาศสากลกรุงเทพแหงใหม จํากัด องคการจัดการน้ําเสีย องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ องคการบริหารสินเช่ืออสังหาริมทรัพย รัฐวิสาหกิจประเภทที่ 6 นี้ นํารายไดเขาคลังในป 2540 เปนจํานวนเงิน 14,843 ลานบาท และ

จางพนักงาน 6,923 คน รัฐวิสาหกิจท้ัง 72 แหง มีทรัพยสิน 957,527 ลานบาท มีกําไร 10,051 ลานบาท และ นํารายไดสงเขาคลัง 14,843 ลานบาท

Page 136: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

42

5. กิจการแบบสหกรณจํากัด (Co-Operative) สหกรณ คือ องคกรธุรกิจท่ีมีกลุมบุคคลซ่ึงมีอาชีพ มีความสนใจและความตองการคลายคลึงกันมารวมตัวกัน ทําหนาท่ีในธุรกิจเพื่อชวยเหลือสมาชิก โดยมีจุดมุงหมายจะรักษาและสงเสริมผลประโยชนของสมาชิกใหดีข้ึน 5.1 ความหมายของสหกรณ สหกรณ หมายถึง การกระทํารวมกันเพื่อประกอบธุรกจิตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไว วัตถุประสงคของสหกรณ คือ การปรับปรุงมาตรฐานความเปนอยูของสมาชิกสหกรณใหดีข้ึน และใหความชวยเหลือซ่ึงกันและกันในทางเศรษฐกิจ เพื่อปองกันมิใหมีการเอารัดเอาเปรียบสมาชิกของการทําธุรกิจโดยคนกลาง การดําเนินงานของสหกรณไมมีวตัถุประสงคเพื่อหากาํไรแบงปนกนั แตเปนการเสริมสรางความสามัคคีและความตองการที่จะชวยเหลือสมาชิกเปนสําคัญ

ภาพท่ี 14 สหกรณวัดจันทร ไมจํากัดสินใช

สหกรณการเกษตรแหงแรก ภาพท่ี 15 สหกรณการเกษตรทายาง

5.2 ประวัติของสหกรณ กิจการสหกรณเกดิข้ึนต้ังแตป ค.ศ. 1530 กอนการปฏิวตัิอุตสาหกรรม ซ่ึงมีผูรวมจัดตั้งบริษัทประกันไฟ เพื่อรวมกนัรับผิดชอบและแบงเบาภาระเม่ือเกิดอัคคีภัยในกรุงลอนดอนและกรุงปารีส นอกจากนี้ยังมีกิจการท่ีมีลักษณะคลายคลึงกับสหกรณเกิดข้ึนในรูปของสหกรณผูบริโภค ตลอดจนเกดิรานสหกรณท่ีถือเปนความพยายามในการจัดต้ังสหกรณประสบผลสําเร็จ ณ เมืองรอชเดล ประเทศอังกฤษ มีผูรวมทุนกอตัง้จํานวน 28 คน ดวยการขายสินคาท่ีจําเปนแกคาครองชีพใหกับสมาชิก สวนกิจการสหกรณในประเทศไทย มีการเร่ิมตนอยางเปนทางการเม่ือวันท่ี 26 กุมภาพันธ 2459 กิจการสหกรณท่ีจดทะเบียนแหงแรก คือ “สหกรณวัดจันทรไมจํากัดสินใช”

Page 137: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

43

5.3 ลักษณะสําคัญของสหกรณ กิจการสหกรณจะตองมีบุคคลตั้งแต 10 คนข้ึนไป รวมกําลังและรวมทุนจัดต้ังธุรกิจตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไวอยางเดียวกัน เพื่อแกไขปญหาความเดือดรอนทางเศรษฐกิจและสังคมในหมูสมาชิกท่ีดําเนนิธุรกิจรวมกนั โดยถือหลักความสมัครใจ หลักประชาธิปไตย หลักความยุติธรรม หลักการศึกษา การชวยเหลือตนเองและการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน กิจการสหกรณซ่ึงมีการจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย มีลักษณะสําคัญดังนี้ 5.3.1 เปนองคกรธุรกิจ 5.3.2 เกิดการรวมตัว การรวมทุนของบุคคลต้ังแต 10 คนข้ึนไป 5.3.3 มีวัตถุประสงคในการดําเนินธุรกิจอยางแนนอน 5.3.4 มีการจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย กิจการสหกรณเปนของสมาชิก เพราะสมาชิกเปนผูรวมกําลังจดัต้ังข้ึนเพื่อประโยชนของสมาชิก รัฐบาลมีสวนใหคําแนะนําชวยเหลือเทานั้น เนือ่งจากประชาชนยังขาดความรูความเขาใจเกีย่วกับกจิการสหกรณ

5.4 รูปแบบของสหกรณ กิจการสหกรณมีหลายรูปแบบแตกตางกันไปตามลักษณะของการกอต้ังและการดําเนินงาน คือ 5.4.1 สหกรณธนกิจ ไดแก สหกรณท่ีสมาชิกรวมกนัจัดต้ังข้ึน เพื่อสงเสริมการออมเงินในหมูสมาชิก เพื่อใหสมาชิกไดกูยืมเงินไปเปนคาใชจายหรือใชในการประกอบอาชีพ ซ่ึงจะตองเสียดอกเบ้ียในอัตราท่ีต่ํา เชน สหกรณการเกษตร เปนตน

5.4.2 สหกรณการขาย เปนสหกรณท่ีมีบทบาทชวยเหลือสมาชิก ในการรวบรวมและขายผลผลิตแทนสมาชิก ไดแกเกษตรกร สหกรณจะมีอํานาจการตอรองเพ่ือใหขายสินคาไดในราคาท่ีสูงข้ึน

5.4.3 สหกรณพัฒนาท่ีดิน เปนสหกรณที่ทําหนาท่ีจัดหาท่ีดินใหกับสมาชิก ดวยราคายุติธรรม เพื่อใหสมาชิกมีที่ดินทํามาหากินและมีที่อยูอาศัยดวยวิธีการเชาซื้อ เชน สหกรณนิคม

5.4.4 สหกรณผูบริโภค เปนสหกรณท่ีทําหนาท่ีจัดหาสินคานานาชนิดมาขายใหกับสมาชิก สวนใหญเปนสินคาท่ีใชในชีวิตประจําวนั เชน สหกรณกรุงเทพ สหกรณพัฒนา เปนตน

Page 138: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

44

5.4.5 สหกรณบริการ ไดแก สหกรณท่ีอํานวยความสะดวกใหแกสมาชิก ดวยการใหบริการตาง ๆ เชน สหกรณผูขับรถแท็กซ่ี สหกรณเคหสถาน สหกรณไฟฟา ฯลฯ

5.5 คุณสมบัตขิองสมาชิก คุณสมบัติของสมาชิกสหกรณ โดยท่ัวไปมีดงัตอไปนี ้5.5.1 บรรลุนิติภาวะ 5.5.2 มีความซ่ือสัตย 5.5.3 ไมเปนบุคคลทุพพลภาพ

ไมเปนบุคคลลมละลายหรือมีหนี้สินลนพนตัว 5.5.4 การดําเนนิงานของสหกรณมุงท่ีจะทําธุรกิจกับสมาชิกเปนสําคัญ มีการซ้ือขาย การ

จัดหา และการใหบริการแกสมาชิก ธุรกิจของสหกรณจะตองไมดําเนนิการเพื่อแสวงหาผลกําไร แตพยายามใหความรูในการประกอบอาชีพ เชน ใหคําแนะนําสมาชิกเก่ียวกับแหลงเงินกู การใชจาย การวางแผนการทํางาน ฯลฯ สําหรับการบริหารงานของสหกรณ สมาชิกแตละคนมีสิทธิออกเสียง 1 เสียงเทาเทียมกัน ไมวาสมาชิกจะถือหุนมากนอยเพยีงใดก็ตาม เพราะสหกรณยึดถือหลักความเสมอภาคและความยุติธรรมเปนเกณฑ เพือ่มิใหสมาชิกเอารัดเอาเปรียบซ่ึงกันและกนั กิจการ สหกรณจะแบงปนผลกําไรหรือเงินเฉล่ียคืนใหกับสมาชิก ตามขนาดของธุรกิจท่ีทํากับสหกรณนอกเหนือจากเงินปนผล

5.6 ประโยชนของสหกรณ สหกรณแตละประเภทมีประโยชนตอสมาชิก เชน สมาชิกสหกรณออมทรัพยไดรับประโยชนจากการสะสมหรือออมเงินแลวยังสรางนิสัยประหยดั เพื่อนาํเงินนั้นมาลงทุนกับสหกรณ นอกจากนี้สมาชิกยังไดรับประโยชนจากการขอกูยืมเงินจากสหกรณ สวนสมาชิกของสหกรณการเกษตรจะไดรับประโยชนจากการกูยืมเงินเพื่อการลงทุน การจัดหาวัตถุดิบมาจําหนายในราคาถูก และการขายผลผลิตแทนเกษตรกร

5.7 ขอแตกตางระหวางสหกรณกับองคกรธุรกิจอ่ืน กิจการสหกรณมีความแตกตางจากองคกรธุรกิจอ่ืน ๆ หลายประการคือ 5.7.1 จุดประสงค กจิการสหกรณมีจุดประสงคท่ีจะชวยเหลือสมาชิก โดยไมหวังผลกําไรตอบแทน แตธุรกิจประเภทอ่ืนมุงหวงัผลกําไรจากการลงทุน

5.7.2 การดําเนินงาน สมาชิกสหกรณมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งคณะกรรมการเพ่ือควบคุมการดําเนินงานของสหกรณ โดยสมาชิก 1 คนมีสิทธิออกเสียงเพียง 1 เสียง สวนกิจการหางหุนสวนหรือบริษัทจํากดั ผูถือหุนมีสิทธิในการออกเสียงตามสวนของหุนท่ีแตละคนถืออยู

Page 139: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

45

5.7.3 บริการ กิจการสหกรณจะใหการศึกษาแกสมาชิกในรูปแบบตาง ๆ เชน ใหการอบรม การสัมมนา ฯลฯ เพือ่ใหสมาชิกมีความรูความเขาใจเกีย่วกับกจิการสหกรณ

5.7.4 สิทธิของสมาชิก คณะกรรมการสหกรณตองมาจากสมาชิก สวนองคกรธุรกิจอ่ืนอาจจะมาจากบุคคลภายนอกก็ได

5.7.5 ผลตอบแทน สมาชิกสหกรณไดรับผลตอบแทนจากดอกเบ้ียของเงินลงทุนซื้อหุน ขณะเดียวกันกย็ังไดรับเงินปนผลเฉล่ียคืนจากการทําธุรกจิกับสหกรณ กิจการสหกรณไดรับการพฒันาใหมีความเจริญกาวหนาตามลําดับ สําหรับประเทศไทยมีกจิการสหกรณจํานวนมาก เชน สหกรณออมทรัพย สหกรณการเกษตร สหกรณผูเล้ียงสุกร สหกรณประมง ฯลฯ สหกรณเหลานีไ้ดรับการควบคุมและการสนับสนุนจากหนวยงานของรัฐอยางใกลชิด คือ กรมสงเสริมสหกรณ นอกจากนีย้งัมีสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยทําหนาท่ีเปนศูนยกลางประสานงานท้ังในและตางประเทศ

5.8 สรุปขอเปรียบเทียบความแตกตางระหวางสหกรณ และหางหุนสวนบริษัท

ลักษณะ สหกรณจํากัด หางหุนสวนบริษัทจํากัด 1. วัตถุประสงค 1. เพื่อชวยเหลือสมาชิก 1. เพื่อการคากบับุคคลภาย 2. ลักษณะงานรวมกนั 2. มุงรวมคน นอกหากําไร 3. หุนและมูลคาหุน 3. ราคาคงท่ี 2. มุงรวมทุน 4. การควบคุมและการออก 4. ตามแบบประชาธิปไตย 1 3. ราคาเปล่ียนแปลงตามฐานะ เสียง คน 1 เสียงแทนกนัไมได กิจการ

ออกเสียงตามจํานวนหุน 5. การแบงกําไร 5. แบงตามมากนอยท่ีทําธุรกิจ 4. 5. แบงตามจํานวนหุนท่ีถือคือ กับสหกรณ ถือมากไดเงินปนผลมาก

6. กิจการแบบแฟรนไชส (Franchise) กิจการแบบแฟรนไชสเปนธุรกิจท่ีทันสมัยในยคุปจจุบัน ซ่ึงหลาย ๆ คนคุนเคยและรูจักกันดี โดยเฉพาะบุคคลท่ีกําลังหาชองทางธุรกิจท่ีจะลงทุน ธุรกิจกิจการแฟรนไชสจงึเปนธุรกิจแบบสัมปทานท่ีมีวธีิการจําหนายแบบคาปลีกและคาสง ไดแกอุตสาหกรรมรถยนต กิจการอุตสาหกรรม น้ํามัน ปจจุบันกิจการประเภทนี้ไดรับความนิยมกนัแพรหลายในรูปของการคาปลีก เชน รานขายสินคาสะดวกซ้ือ บริการท่ีพักอาศัย รานขายอาหาร ฯลฯ

Page 140: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

46

6.1 ความหมายและประวัติของธุรกิจแฟรนไชส ความหมาย นักการตลาด ถือสถาบันธุรกิจเรียกธุรกจิแฟรนไชสวา เปนธุรกิจสัมปทานหรือธุรกิจสําเร็จรูป ซ่ึงมีความหมายโดยสรุปดังนี้ ธุรกิจแฟรนไชส คือความสัมพันธระหวางกลุมคน 2 กลุมหรือมากกวา ซ่ึงมีบทบาทและหนาท่ีรับผิดชอบตางกัน แตจะสงเสริมซ่ึงกันและกันในเชิงธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงคจะกระจายสินคาหรือบริการไปสูผูบริโภคไดอยางมีประสิทธิภาพ ธุรกิจแฟรนไชส อีกความหมายหนึ่ง คือ “แผนการจําหนายซ่ึงเจาของธุรกิจแตละคนดําเนินงานโดยเปนเสมือนหนวยหน่ึงของบริษัทลูกโซ(Chain Store) ขนาดใหญ ภายใตขอตกลงรวมกันเก่ียวกับเง่ือนไขตาง ๆ ซึ่งมักระบุไวในสัญญา การดําเนินงานทุกดานเปนมาตรฐานเดียวกัน แมแตอุปกรณและการวางผังรานจะเปนรูปแบบเดยีวกัน เจาของหรือผูใหสัมปทานใหสิทธิในการจําหนายสินคาหรือบริการ แกผูจําหนายเอกชนหรือผูรับสัมปทาน นอกจากนี้การกําหนดพื้นท่ีจะเปนผูกําหนดตามแบบแผน การใชตรายี่หอท่ีโฆษณากันท่ัวประเทศ และวิธีการของธุรกิจท่ีเปนเจาของสัมปทาน” จากความหมายดังกลาวขางตนจะเนนใหเหน็บทบาทหนาท่ีท่ีตางกัน แตมีการสงเสริมซ่ึงกันและกัน โดยมีเปาหมายเดียวกัน คือการขายสินคาใหกับผูบริโภคและมีผลกําไรจากการดําเนินงานนั้น การท่ีธุรกิจแหงหนึ่งซ่ึงเรียกวาผูใหสัมปทาน (Franchisors) ใหสิทธิในการผลิตและจําหนายสินคาและบริการชนดิเดียวกนั หรืออนุญาตใหใชช่ือหรือยี่หอของสินคาของตนแกธุรกจิอ่ืน ๆ ซ่ึงเรียกวาผูรับสัมปทาน (Franchisee) เพื่อผลิตหรือจําหนายสินคาใหบริการในเขตทองท่ีใดทองท่ีหนึ่งท่ีหางจากผูใหสัมปทาน โดยผูท่ีรับสัมปทานเปนเจาของธุรกิจของตน และตองรับผิดชอบในการดําเนินงานเอง แตจะไดรับความชวยเหลือจากผูใหสัมปทาน เกี่ยวกับเทคนิคในการผลิต วิธีการบริหารธุรกิจ โดยชวยจัดอบรมพนักงาน แนะนําเทคนิคการผลิต สวนผสมของวัตถุดิบท่ีจะใหสินคามีมาตรฐานเดียวกนั หรือการชวยเหลือดานเคร่ืองมือเคร่ืองใช การใหคําปรึกษาในการบริหารงาน การไดรับแบบฟอรมตาง ๆ เพื่อใชประกอบการดาํเนินงาน

6.2 ประวัติของธุรกิจแฟรนไชส ธุรกิจแฟรนไชสมีจุดกําเนิดในราวป ค.ศ. 1850 ประเทศสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเปนวธีิการหนึ่งของผูผลิตหรือผูจําหนาย ในฐานะท่ีเปนผูใหสัมปทานเก่ียวกับการจัดจําหนายสินคา การสรางภาพลักษณ ตลอดจนการสรางช่ือเสียงของบริษัทแม พรอมกับการสรางธุรกิจระบบสัมปทาน ท่ีดําเนินการโดยผูรับสัมปทาน วิธีนี้จะทําใหผูผลิตหรือผูจําหนายสามารถรักษาธุรกิจท่ีคัดเลือกไวใหอยูภายใตการควบคุมดูแล และปฏิบัติตนภายใตเง่ือนไขท่ีบริษัทแมหรือกิจการท่ีใหสัมปทาน

Page 141: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

47

ธุรกิจแฟรนไชสในประเทศไทยไดแพรเขามาเม่ือประมาณ 20 ปท่ีผานมา ธุรกิจแฟรนไชส เร่ิมเปนท่ีรูจักและเปนท่ีสนใจในหมูนักธุรกิจชาวไทย คือ กิจการแมคโดนัลดมีสาขาแรกในอัมรินทรพลาซา นอกจากนี้ยังไดรับการตอนรับเปนอยางดียิ่งจากผูบริโภค สําหรับประเทศไทยมีนักธุรกิจไทยบางคน ไดนําธุรกิจแฟรนไชสจากตางประเทศเขามาประกอบการ แตคําวา“แฟรนไชส” สําหรับคนไทยในระยะแรกยังไมรูจักและเขาใจความหมายไดดพีอ ยกเวนนักธุรกจิไทยท่ีเดนิทางติดตอกับตางประเทศบอย ๆ ซ่ึงจะเปนผูท่ีมีโอกาสดีในการขยายธุรกิจของแฟรนไชสจากตาง ประเทศเขามาจนประสบความสําเร็จ ในปจจุบันธุรกิจแฟรนไชสซ่ึงเปนท่ีรูจักกนัดใีนหมูนักธุรกจิ และผูบริโภคคนไทย คือ กจิการเซเวน-อีเลฟเวน เปนกจิการรานสะดวกซ้ือ (Convenient Store) นับเปนกจิการที่ประสบความสําเร็จ และเปนแฟรนไชสรายแรก ๆ จากตางประเทศที่ขยายกจิการขยายสาขาดวยระบบแฟรนไชส บริษัทซีพี เซเวน อีเลฟเวนฯ เปนผูไดรับสิทธิจากตางประเทศ ในระยะแรกไดจําหนายประเภทอาหารจานดวน (Fast Food) เปนธุรกิจท่ีมีตลาดกวางขวาง เพราะลูกคามีทุกเพศทุกวยั ธุรกิจประเภทนี้กระทําไดคอนขางงายและการลงทุนตอหนวยตํ่า ทําใหการขยายสาขาและการครองตลาดเปนไปอยางรวดเร็ว ขณะเดยีวกันนกัธุรกิจท่ีสนใจมีโอกาสเขารวมลงทุนในระบบนี้งาย การขยายกจิการสามารถหาทําเลที่ตั้งไดตามริมถนนใหญ ตรอก และซอยที่เปนแหลงชุมชน การดําเนินธุรกิจแฟรนไชส จึงเปนกลยุทธทางธุรกิจท่ีมีประสิทธิภาพในการใช เพือ่ขยายธุรกิจสําหรับเจาของกิจการที่มีความรู และประสบความสําเร็จในระดับหนึ่งแตขาดแคลนทุนทรัพยสามารถขยายธุรกิจในรูปแบบท่ีตนเองทํามาและประสบความสําเร็จโดยรวมกับบุคคลอ่ืน เจาของกิจการนีเ้รียกวา“แฟรนไชซอส” (Franchisors) ขณะเดียวกันธุรกิจแฟรนไชสก็เปนวถีิทางหนึ่ง ท่ีจะชวยใหบุคคลท่ัวไปที่มีความตองการจะเปนเจาของธุรกิจ สามารถเปนเจาของกจิการไดตามความตองการของตน และประสบความสําเร็จในการดาํเนินงานไดงายกวาการเปนผูประกอบการอิสระ ผูท่ีเขารวมลงทุนหรือผูขอรับสัมปทานเรียกวา“แฟรนไชซี” (Franchisee) ปจจุบันธุรกิจ

Page 142: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

48

6.3 ประเภทของธุรกิจแฟรนไชส ธุรกิจแฟรนไชสหรือธุรกิจแบบสัมปทานมี 2 ประเภท คือ 6.3.1 ธุรกิจแฟรนไชสหรือแบบสัมปทานที่ใชสินคาและชื่อการคา (Product and Name Franchising) เปนธุรกิจท่ีมีรูปแบบเกิดข้ึนในชวงปลายศตวรรษท่ี 19 ซ่ึงประกอบดวยการจําหนายสินคาท่ีผูรับสัมปทานหรือแฟรนไชสซี ตกลงจะจําหนายสินคาหรือผลิตภัณฑใดผลิตภณัฑหนึ่ง ตวัแทนจําหนายหรือผูรับสัมปทานหรือแฟรนไชสซี จะไดรับช่ือการคา เคร่ืองหมายการคา หรือสินคาจากผูผลิตหรือผูจําหนายหรือผูใหสัมปทานหรือแฟรนไชสซอส โดยจะถือเสมือนหนึ่งวาเปนผูจําหนายโดยอาศยัผลิตภัณฑ ธุรกจิประเภทนี้ ไดแกตวัแทนจาํหนายน้ําอัดลมโคคา-โคลา สถานีบริการน้ํามันเชลล ตัวแทนจําหนายรถยนตฟอรด ฯลฯ ดังนั้นธุรกิจประเภทนี้ จึงเปนวิธีการท่ีผูผลิตสินคาใหสิทธ์ิบุคคลอ่ืนในการขายสินคาท่ีผลิตข้ึนโดยผูใหสัมปทาน รวมท้ังการใหสิทธิในการใชเคร่ืองหมายการคาของผูผลิตอีกดวย

ภาพท่ี 16 น้าํอัดลมโคคา-โคลา ธุรกิจแฟรนไชส ท่ีใชสินคาและชื่อการคา

Page 143: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

49

6.3.2 ธุรกิจแฟรนไชสหรือแบบสัมปทานท่ีใชรูปแบบทางธุรกิจ (Business Format Franchising) เปนธุรกิจท่ีใหสิทธิแกบุคคลอ่ืนในการดําเนินธุรกิจ เพื่อขายสินคาหรือบริการโดยใชเคร่ืองหมายการคาของผูใหสัมปทานหรือแฟรนไชส ส่ิงสําคัญของการดําเนินธุรกิจประเภทนี้ ท่ีแตกตางจากประเภทแรก คือ การใชระบบการดําเนินธุรกิจของผูใหสัมปทานท่ีประสบความสําเร็จธุรกิจประเภทนี้ ไดแกกจิการของแมคโดนัลด พิซซาฮัท เคเอฟซี เซเวน-อีเลฟเวน ฯลฯ การดําเนินงานของธุรกิจแบบนี้จะถูกกําหนดลักษณะ โดยความสัมพันธระหวางผูใหสัมปทานหรือ แฟรนไชสซอสและผูรับสัมปทานหรือแฟรนไชสซี การขายสินคาและบริการ การใชเคร่ืองหมายการคารวมกัน นอกจากนี้ยังรวมแนวคิดทางธุรกิจท้ังหมดไวดวยกัน คือ กลยุทธและแผนการตลาด มาตรฐานการปฏิบัติงาน การควบคุมคุณภาพ เปนตน

ภาพท่ี 17 เคเอฟซี เปนธุรกิจ แฟรนไชส ท่ีใชรูปแบบทางธุรกิจ

6.4 ขอดีขอเสียโดยท่ัวไปของธุรกิจแฟรนไชส ความสําเร็จของแฟรนไชสของธุรกิจประเภทตาง ๆ ในปจจุบันเปนส่ิงแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของระบบแฟรนไชสท่ีชวยใหธุรกิจท่ีมีจดุเร่ิมตนจากรานคาขนาดเล็กมีเงินทุนจํากดั สามารถเจริญเติบโต ขยายสาขาออกไปไดท้ังในระดับประเทศและระดับโลก ท่ีเปนเชนนี้เพราะระบบแฟรนไชสเปนระบบเชิงกลยุทธ ซ่ึงใหขอดีเปนความไดเปรียบทางธุรกิจเหนอืวิธีการขยายและดําเนินธุรกิจในแบบเดิม นอกจากนี้ธุรกิจระบบแฟรนไชสยังเปนระบบท่ีนําเอาขอดีของธุรกิจขนาดใหญและเล็กมารวมกนั คือในดานภาพลักษณท่ีเหมือนธุรกิจขนาดใหญ จากการรวมตัวของผูรับสัมปทานภายใตเคร่ืองหมายการคาเดยีวกัน การดําเนินงานของธุรกิจจะมีความยดืหยุนไดดีเหมือนธุรกิจขนาดยอย ท้ังนี้เพราะแตละคนเปนองคกรท่ีมีการตัดสินใจไดดวยตนเอง คลายกับองคกรหรือบริษัทขนาดใหญ ในปจจุบันท่ีใชนโยบายในลักษณะการกระจายอํานาจเพ่ิมมากข้ึน นอกจากนี้ระบบแฟรนไชสยังเปนระบบท่ีชวยลดปญหาการดําเนินงานทางธุรกิจ โดยเฉพาะปญหาหลักท่ีเปนส่ิงขัดขวางการเจริญเติบโต หรือการขยายตัวของธุรกิจท่ีประสบกันอยูท่ัวไป คือ การ

Page 144: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

50

ถึงแมธุรกิจหลายประเภทจะประสบความสําเร็จโดยอาศัยกลยุทธแฟรนไชส แตกมี็ธุรกิจจํานวนมากท้ังในและตางประเทศท่ีประสบความลมเหลว ท้ังนี้เนื่องจากผูบริหารในธรุกิจเหลานั้นไมไดเขาใจขอเสียท่ีมีอยูในระบบแฟรนไชส แตกลับหลงใหลกับขอดีของระบบท่ีมักเกิดข้ึนในระยะแรก เชน การขยายตัวอยางรวดเร็ว โดยมิไดใชเงินทุนจํานวนมากของตนเอง เงินคาสิทธิท่ีไดรับมาจากผูรับสัมปทาน รวมท้ังช่ือเสียงของกิจการ ในทางตรงกันขามหากผูบริหารไมไดใสใจกับการพัฒนาระบบงาน การควบคุมภาพและใหการสนบัสนุนอยางเพยีงพอแลว ก็อาจจะประสบปญหาได

สรุปขอด-ีขอเสียของธุรกิจแบบสัมปทานท่ีมีตอผูใหสัมปทาน (Franchisors) 6.5

ขอด ี ขอเสีย 1. เปนการกระจายภาระดานการลงทุนจากผูให 1. สูญเสียการควบคุม ในกรณีท่ีผูรับสัมปทาน สัมปทานไปยังผูรับสัมปทานหลาย ๆ ราย ลงทุนเอง ผูใหสัมปทานไมสามารถออก 2. เปนเจาของกิจการท่ีมีภาพลักษณท่ีดีมีสาขา คําส่ังใหปฏิบัติตามได จะทําไดเพียงให หลายแหงท่ัวประเทศหรือท่ัวโลก คําแนะนํา 3. กิจการขยายตัวไดอยางรวดเร็ว โดยมีผูรับ อาจเกิดความขัดแยงของสองฝาย เนื่องจากมี 2. สัมปทานชวยสนับสนนุการขยายธุรกิจ พื้นฐานความรู-ประสบการณท่ีตางกัน ปจจัย 4. ศักยภาพการแขงขันเพิ่ม จากการมีอํานาจ ท่ีชวยลดความขัดแยง คือ การรักษา ตอรองในการซ้ือสินคาหรือวัตถุดิบจากผูผลิต ความสัมพันธท่ีดีของ 2 ฝาย 5. มีสวนแบงรายไดจากผูรับสัมปทานหลายทาง 3. หากผูรับสัมปทานไมประสบความสําเร็จใน เชน คาสิทธิแรกเขา คาสิทธิตอเนื่อง การดําเนินธุรกิจหรือเกิดความขัดแยงอาจท

ใหเสียช่ือเสียงไป คาธรรมเนียมการตลาด เปนตน 4. อาจเกิดการสูญเสียความลับในการทําธุรกจิ 6. สรางภาพลักษณไดเหมือนธุรกิจขนาดใหญ 5. ดวยการมีเคร่ืองหมายการคาท่ีเหมือนกนัทุก

สาขาท่ัวประเทศ หรือท่ัวโลก 7. ระบบแฟรนไชสมีความยืดหยุนในการนํามาใช สูง ไมวาจะเปนกจิการขนาดเล็กหรือใหญ

ในกรณีท่ีเกดิปญหาความขัดแยงของ 2 ฝายอาจเกิดการแยกตัวไปจากระบบของผูรับสัมปทาน ซ่ึงจะนําไปสูคูแขงทางการตลาดได เชน กรณีของพิซซาฮัท กับเดอะ พซิซาคอมปะนี เปนตน

Page 145: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

51

6.6 คุณสมบัตขิองผูรับสัมปทานท่ีประสบความสําเร็จ 6.6.1 มีความเชื่อม่ันในตนเอง หมายถึง ความเช่ือม่ันในตนเองท่ีเปนพลัง เพื่อจะกอใหเกิดความคิดท่ีมุงม่ันเพื่อความสําเร็จของการทํางาน โดยการเช่ือม่ันในตนเองท่ีเหมาะสม จะตองรูจักการยอมรับ ความคิดเห็นของผูอ่ืนอยางมีเหตุผล รูแพรูชนะ กลาเผชิญกบัส่ิงท่ีคิดและทําเพื่อบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดไว 6.6.2 เรียนรูตลอดเวลา จากคุณสมบัติของการมีความเช่ือม่ันในตนเอง ยอมสงผลใหบุคคลนั้นตองการศึกษาและเรียนรูอยูตลอดเวลา ดวยความกลาที่จะเผชิญกับสถานการณและกลาท่ีจะเรียนรูสิ่งใหม ๆ จึงกลายเปนนิสัยประจําตัวของคุณสมบัติผูรับสัมปทานท่ีจะประสบความสําเร็จ

6.6.3 ทํางานหนักดวยตนเอง เพราะธุรกจิ คืองานท่ีหนักและการทํางานหนัก คือ รากฐานสําคัญของความสําเร็จ ดังนั้นการจะเปนเจาของธุรกิจจึงตองทํางานหนักและยาวนานดวยตนเอง ไมใชเพียงแคนําเงินมาลงทุนเทานัน้ 6.6.4 มีมนุษยสัมพันธ เพราะการดําเนินธุรกิจหรือการเปนเจาของกิจการในระบบ แฟรนไชส คือ การเปนผูรับสัมปทานจะตองเกี่ยวของกับผูคนฝายตาง ๆ เปนจาํนวนมาก ท้ังในเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับการบริหารหรือการจัดการกับพนักงานของตน สวนผูใหสัมปทานตองสรางความสัมพันธกับลูกคา ผูผลิตสินคาและบุคคลท่ัวไป การมีมนุษยสัมพนัธจึงเปนเร่ืองสําคัญอยางหลีกเล่ียงไมได 6.6.5 ความสามารถในการขาย เปาหมายของธุรกิจ คือการทํากําไร คือ การสรางรายไดใหมากกวาคาใชจาย ดังนั้นการสรางรายไดของกจิการ คือการขายของผูใหสัมปทานและผูรับสัมปทาน 6.6.6 ความอดทน ไมวาจะเปนผูประกอบการในฐานะใด ตางมีแรงกดดันตาง ๆ ท่ีจะทําใหเกดิภาวะความเครียดมากบางนอยบางในเร่ืองท่ีตางกัน ผูรับสัมปทานมีความลําบากอยูท่ีการปฏิบัติงานอันเขมงวด การควบคุมจากผูใหสัมปทาน ขาดความเปนอิสระในการบริหารงาน ผูท่ีประสงคจะเปนเจาของธุรกิจ จึงตองมีความอดทนตอภาวะความเครียด ปญหาและสถานการณตาง ๆ ไดเปนอยางดี พรอมท่ีจะเผชิญและอดทนเพ่ือแกปญหาใหลุลวงไป 6.6.7 การรับนโยบายจากผูอ่ืนไปปฏิบตัิ การเขาไปทําธุรกิจในระบบแฟรนไชสเปนการเขารวมอยูในธุรกิจท่ีมีผูปฏิบัติอยูแลว คือ ผูใหสัมปทาน และมีความเชื่อม่ันวาแฟรนไชสเปนระบบท่ีดี ซ่ึงสงผลตอความสําเร็จในธุรกิจ จึงเสียคาใชจายตาง ๆ เกี่ยวกับคาสิทธิเพื่อใหไดมาซ่ึงความรูและวิธีดําเนินพรอมรับนโยบายมาปฏิบัติเพื่อใหอยูในมาตรฐานตาง ๆ ท่ีผูใหสัมปทานกําหนด

Page 146: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

52

สรุป การตัดสินใจเลือกรูปแบบการดําเนินธุรกจิมีความสําคัญ ผูประกอบการจะตองเลือกรูปแบบของกจิการใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจ ขนาดของการลงทุน ขนาดของตลาด สินคาของตน โอกาสทางธุรกิจและความตองการของตนเอง ธุรกิจภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจการคาสง การคาปลีก และธุรกจิบริการประเภทตาง ๆ สามารถเลือกรูปแบบการดําเนินธุรกิจหรือประเภทองคการธุรกิจท่ีเปนได ท้ังกิจการเจาของคนเดียว กิจการหางหุนสวน กิจการบริษัทจํากัด กิจการมหาชน กิจการสหกรณ หรือกจิการสัมปทานแฟรนไชสซ่ึงกําลังไดรับความนิยมอยางแพรหลายในปจจุบัน แตละประเภทของการประกอบการมีท้ังขอดี-ขอเสียในการดําเนินธุรกิจตางกัน ผูประกอบการจึงจําเปนตองศึกษาใหถองแท กอนท่ีจะตัดสินใจเลือกประเภทองคการธุรกิจท่ีเหมาะสมกบัธุรกิจของตน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคขององคการ และการดําเนนิงานใหเกดิประสิทธิภาพสูงสุด

***********************************

Page 147: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

53

แบบฝกหัด หนวยท่ี 2 รูปแบบของธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูในการเลือกรูปแบบขององคธุรกิจท่ีเหมาะสมกับตนเอง ****************************************************************************** 1. การดําเนินธุรกิจรูปแบบเจาของคนเดียว ปจจุบันมีความสําคัญตอประเทศไทยเราเองอยางไร .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. หางหุนสวนมีอยูกี่ประเภท อะไรบาง ยกตัวอยางเปรียบเทียบขอด-ีขอเสีย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

ธุรกิจรูปแบบบริษัทจํากดั มีรูปแบบโครงสรางการบริหารองคการอยางไร อธิบาย 3. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 148: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

54

4. จงเปรียบเทียบความแตกตางระหวางองคการรูปแบบบริษัทจํากัดกับสหกรณจํากัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. รัฐวิสาหกจิ มีบทบาทและความสําคัญตอประเทศไทยของเราอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ธุรกิจแบบแฟรนไชสคืออะไร มีความสําคัญตอเศรษฐกิจของประเทศไทยเราอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 149: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

55

7. ถานักศึกษาประกอบอาชีพใดอาชีพหนึง่ จะพิจารณาเลือกรูปแบบองคการใด ท่ีคิดวามีความเหมาะสมสําหรับตนเองที่สุด และจงบอกถึงผล ขอดี-ขอเสียท่ีคิดวาจะเกิดข้ึนมาดวย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

*************************************

Page 150: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

56

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 2 รูปแบบขององคการธุรกิจ วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเหน็วาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว

1. องคการธุรกิจรูปแบบใด ท่ีจัดตั้งและเลิกกิจการไดงาย

ก. บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด ข. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ค. รานมิตรเกษตร ง. ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั

2. ขอดีของกจิการเจาของคนเดียว ก. มีคนชวยทํางาน ข. มีกฎหมายควบคุมมาก ค. ลดการเส่ียงในธุรกิจ ง. มีความใกลชิดกับผูบริโภค

3. องคการธุรกิจรูปแบบใด มีผูรวมลงทุนตั้งแตสองคนข้ึนไป

ก. สหกรณ ข. บริษัทจํากดั ค. หางหุนสวน ง. กิจการเจาของคนเดียว

4. หางหุนสวนนิติบุคคล ตางจากหางหุนสวนสามัญอยางไร

ก. ความรับผิดชอบ ข. การเสียภาษี ค. สภาพทางกฎหมาย ง. การมีตัวแทนในการจัดการหางได

5. ความแตกตางของหางหุนสวนนิติบุคคลและหางหุนสวนจํากัด

ก. ประเภทของผูถือหุน ข. การเสียภาษีใหกับรัฐบาล ค. กฎหมายในการควบคุมกํากับดแูล ง. การจดทะเบียนในการจดัต้ัง

6. หุนสวนประเภทใด ท่ีมีหนาท่ีในการจัดการหางหุนสวนจํากดั ได

ก. ประเภทจํากัดความรับผิดชอบ ข. ประเภทไมจํากัดความรับผิดชอบ ค. ประเภทหุนบุริมสิทธ์ิ ง. ประเภทหุนสามัญ

7. ธุรกิจท่ีมีผูถือหุนต้ังแต 7 คนขึ้นไป เปนรูปแบบองคการ ใด

ก. กิจการเจาของคนเดียว ข. หางหุนสวนจํากัด ค. บริษัทจํากดั ง. รัฐวิสาหกจิ

8. การแบงทุนออกเปนหุนและมีมูลคาหุนเทากัน จดัเปนกิจการรูปแบบองคการ ใด

ก. บริษัทจํากดั ข. หางหุนสวนจํากัด ค. หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล ง. รัฐวิสาหกจิ

Page 151: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

57

9. รัฐวิสาหกิจท่ีดําเนินธุรกิจประเภทผูกขาด 14. รูปแบบกจิการใด ท่ีสามารถขยายธุรกิจไดรวดเร็ว ก. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย

ข. ธนาคารกรุงไทย(มหาชน) ก. กิจการเจาของคนเดียว ค. โรงงานยาสูบ ข. แฟรนไชส ง. องคการฟอกหนัง ค. หางหุนสวน

10. ดวยเหตุผลใด รัฐถึงตองเขาดําเนินงานกิจการไฟฟา ประปา ไปรษณีย

ง. สหกรณจํากัด 15. องคการธุรกิจรูปแบบใดท่ีดูภาพลักษณขององคการดี เหมือนกับธุรกิจขนาดใหญ ก. เพื่อหารายไดเขารัฐ

ข. เพื่อความม่ันคงของประเทศชาติ ก. แฟรนไชส ค. เพื่องายตอการบริหารจัดการ ข. สหกรณจํากัด ง. เพื่อบริการประชาชน ค. บริษัทมหาชนจํากัด

11. สหกรณถือกําเนิดข้ึนในประเทศใด เปนแหงแรกของโลก

ง. บริษัทจํากดั 16. กรณีบริษทัมหาชน (จํากัด) ท่ีจะนําหุนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ ตองมีผูถือหุนสามัญรายยอยอยางนอยกี่ราย

ก. อังกฤษ ข. อเมริกา ค. ญี่ปุน ก. 300 ข. 400 ง. ไทย ค. 500 ง. 600

12. กิจการสหกรณ แหงแรกของไทยเราอยูในจังหวดัใด ตอบขอคําถามรูปแบบองคการธุรกิจ ขอ 17-20

ก. หางหุนสวนจํากัด ก. เชียงใหม ข. สหกรณจํากัด ข. พษิณุโลก ค. บริษัทมหาชนจํากัด ค. กรุงเทพมหานคร ง. กิจการเจาของคนเดียว ง. นครศรีธรรมราช หางหุนสวนกฎหมายบงัคับตองจด 17. 13. ปจจุบันองคการธุรกิจรูปแบบใดท่ีไดรับ

ความนิยมสูงสุด ทะเบียน เปดโอกาสใหประชาชนถือหุนได 18. ก. กิจการเจาของคนเดียว ถือเอาคนสําคัญกวาทุน 19. ข. แฟรนไชส พนักงานมีโอกาสความกาวหนานอยมาก 20. ค. หางหุนสวน

**************************ง. บริษัทจํากดั

Page 152: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

58

ใบงานท่ี 2 หนวยท่ี 2 รูปแบบธุรกิจเกษตร

********************************* เร่ือง เลือกรูปแบบองคการธุรกิจ

จุดประสงคการเรียนรู 1. บอกเหตุผลการเลือกธรุกิจท่ีเหมาะสมกับตนเองได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รบัฟงคนอื่น เปนผูนําและผูตามท่ีดี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินัยในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวิชาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเรื่องท่ีเกี่ยวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 2. เอกสารประกอบการสอน

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ใหผูเรียนเลอืกอาชีพธุรกิจเกษตรของตนเองท่ีจะทําในอนาคต จะเลือกรูปแบบองคการใด บรรยายใน

กระดาษ A4 โดยบรรยายบอกถึง ทําธุรกิจอะไร ขนาดธุรกิจท่ีจะทํา เงินลงทุน จํานวนคนท่ีทํางานในองคการ ตลาดขายผลผลิต

2. บอกเหตุผลเปรียบเทียบ ขอดี-ขอเสีย ทําไมถึงเลือกรูปแบบองคการน้ัน 3. สรุปรายงานนําเสนอหนาช้ันเรียน 4. ใชเวลา 40 นาที 5. ประเมินผล

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเก่ียวกับการบริหารจัดการท่ัวไป

****************************

Page 153: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

59

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 2 รูปแบบธุรกิจ

****************************

ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตอบ ค ง ค ง ก ข ค ก ค ง ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ตอบ ก ข ข ข ก ง ก ค ข ง

**************************************

Page 154: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 3 เร่ือง หนาที่พ้ืนฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร

**********************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1. บอกความหมายของกระบวนการบริหารธุรกิจได 2. อธิบายกระบวนการบริหารธุรกิจและความสําคัญของกระบวนการบริหารธุรกิจได

3. อธิบายถึงการนําเอาเทคนคิตาง ๆ ท่ีใชในการวางแผน การจัดองคการ การนําและการควบคุมได

สาระสําคัญ กระบวนการจัดการธุรกิจ (Management process )หมายถึง การดําเนินการตามข้ันตอนตาง ๆ ตั้งแตการวางแผน การจัดการองคการ การนํา การควบคุมงาน โดยการนําทรัพยากรท่ีมีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อใหธุรกิจบรรลุวัตถุประสงค เปนหนาท่ีท่ีผูบริหารทุกคนตองปฏิบัติ กระบวนการจัดการธุรกิจ มี 4 ข้ันตอน คือ 1. การวางแผน(Planning) 2. การจัดองคการ(Organizing) 3. การนํา(Leading ) 4. การควบคุม( Controlling ) เทคนิคตาง ๆ ในการจัดการ เทคนิคท่ีนิยมนํามาใชในการบริหารจัดการธุรกิจ ไดแก 1. เทคนิคท่ีใชในการวางแผน 2. เทคนิคท่ีใชในการจดัองคการ 3. เทคนิคในการนําหรือการจูงใจ 4. เทคนิคการควบคุมงาน

การจัดการธุรกิจเกษตรเพ่ือใหไดผลสัมฤทธ์ิและมีประสิทธิภาพตามปาหมายที่ตองการของเกษตรกรหรือนักธุรกิจ จะตองเรียนรูจักการใชกระบวนการจัดการและเรียนรูการใชเทคนิคตาง ๆ ท่ีมีอยางมากมาย เชน การเรียนรูเทคนิคการวางแผน การจัดองคการ การนําหรือการจูงใจ และเทคนิคการควบคุมงาน จะทําใหงานในองคสามารถพัฒนาไดอยางตอเนื่องอยางม่ันคงและยั่งยืน

Page 155: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

61

เน้ือหา 1. กระบวนการในการบริหารจัดการธุรกิจ ความหมายกระบวนการในการบริหารจัดการธุรกิจ กระบวนการในการบริหารจดัการธุรกิจ หมายถึงการดาํเนินการตามขั้นตอนตาง ๆ ตั้งแตการวางแผน การจัดการองคการ การจัดบุคคลเขาทํางาน การอํานวยการ การควบคุมงาน โดยการนําทรัพยากรทีมี่อยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ใหธุรกจิบรรลุวัตถุประสงค

ภาพท่ี 18 การประชุมวางแผน ซ่ึงเปนสวนหนึ่งในกระบวนการในการบริหารจัดการ หนาท่ีของการบริหารจัดการ( Functions of management )หรือกระบวนการของการบริหารจัดการธุรกิจ (Management process ) เปนหนาท่ีพื้นฐาน 4 ประการท่ีนิยมในปจจุบันคือ POLC ซ่ึงประกอบดวย 1. การวางแผน(Planning) 2. การจัดองคการ(Organizing) 3. การนํา (Leading ) 4. การควบคุม(Controlling ) ทรัพยากรขององคการ( Dessler. 1998:679 ) ท่ีผูบริหารสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ มักเปนผูท่ีปฏิบัติงานตามหนาท่ีของการบริหารจัดการหรือใชกระบวนการของการบริหารจัดการ เปนหนาท่ีท่ีผูบริหารทุกคนตองปฏิบัติเพื่อใหภารกิจท้ังหลายสําเร็จตามท่ีตองการซ่ึงมี 4 ข้ันตอน คือ 1. การวางแผน(Planning) 2. การจัดองคการ(Organizing) 3. การนํา(Leading ) 4. การควบคุม(Controlling )

Page 156: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

62

ภาพท่ี 19 รูปแบบวงจรบริหารแบบ PDCA เปนกระบวนการบริหารงานแบบงาย ๆ ท่ีนํามาใชในการทํางานและชีวิตประจําวัน

1.1 การวางแผน (Planning) เปนข้ันตอนในการกําหนดวัตถุประสงคและพิจารณาถึงวิธีการปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุวตัถุ ประสงคนั้น ดังนั้นผูบริหารจึงตองตัดสินใจวาองคการธุรกิจมีวัตถุประสงคใดในอนาคต และตองดําเนินการอยางไรเพ่ือใหบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคนั้น 1.1.1 การวางแผน คือกระบวนการในการตัดสินใจลวงหนา จะทําอะไร อยางใด มีการเลือกวัตถุประสงค นโยบาย โครงการและแนวทางปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงคนั้น (Kast and - Rosenzweng) ความหมายการวางแผนท่ีไดกลาวมาแลว พอสรุปลักษณะของการวางแผนไดดังนี ้ - การวางแผนเปนการกําหนดวิธีการกระทําไวลวงหนา - การวางแผนเปนการตัดสินใจลวงหนาเกี่ยวกับงานท่ีตองกําหนดในอนาคต - การวางแผนเปนการเลือกหาแนวทางท่ีดีท่ีสุดในการปฏิบัติงาน - การวางแผนมุงผลสําเร็จในอนาคต - การพยากรณสถานการณในอนาคต - การประเมินแนวทางปฏิบัติงานท่ีวางไว - การติดตอส่ือสารในกระบวนการของการวางแผนเปนไปอยางท่ัวถึง ความสําคัญของการวางแผน ชวยใหผูบริหารหรือเจาของกิจการสามารถทํางานไดทันกับเวลาและโอกาสตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ชวยลดการเส่ียงภัยและคาใชจายตาง ๆ ท่ีไมจําเปน

Page 157: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

63

1.1.2 ความสําคัญของการวางแผน ท่ีไดกลาวมาแลวขางตนพอสรุปไดดังนี ้ 1) ชวยใหสามารถระบุเปาหมายผลสําเร็จ ซ่ึงจะชวยใหผูบริหารหรือเจาของกิจการทราบถึงส่ิงท่ีตองการทําใหสําเร็จ 2) ชวยในการกําหนดและระบุหนวยงานท่ีรับผิดชอบ จะตองทําใหเหน็ชัดเจนวาใครตองทําอะไร ดวยเหตุผลใด แลวตองทําเม่ือใด 3) ชวยใหกิจการมีนโยบายที่ชัดเจน ท่ีเปนเคร่ืองช้ีนําใหคนในหนวยงานตัดสินใจและรับผิดชอบแกไขปญหาในหนาท่ีของงาน 4) เปนการคาดคะเนปญหาหรือผลกระทบท่ีอาจจะเกิดข้ึนในอนาคต และทําการปองกันแกไขปญหานั้น ๆ กอนท่ีจะเกดิความเสียหาย 5) ชวยใหผูบริหารสามารถใชวิธีการควบคุมท่ีคลองตัวเหมาะสม 1.1.3 ประเภทของแผน (Plan) แผนสามารถแบงออกไดเปนหลายประเภท ข้ึนอยูท่ีหลักการท่ีใชแบงอาจแบงออกไดเปน 4 ประเภท 1) แผนแบงตามระยะเวลา เนื่องจากการวางแผนเปนเร่ืองเกี่ยวกับอนาคตจะวดัควรใชเวลาซ่ึงอาจแบงเปน 2 ประเภท ไดแก (1) แผนระยะสั้น เปนการประมาณเหตุการณลวงหนาสําหรับกิจกรรมเฉพาะอยาง เชน แผนการ วิธีปฏิบัติ งบประมาณ จําเปนตองไดผลระยะเวลาอันใกล (2) แผนระยะยาว เปนการพยากรณทิศทางของเหตุการณท่ีสําคัญท่ีสุด และมีผลกระทบตอแนวโนมของสถานะภาพขององคการในอนาคต เปนแนวทางเพ่ือชวยใหผูบริหารระดับสูงในการอํานวยการและประสานกิจกรรมตาง ๆ อันเกี่ยวเนื่องกัน 2) แผนแบงตามลักษณะการใชประเภทของแผนแบงออกไดเปน 2 ประเภท (1) แผนท่ีใชประจํา เปนแผนงานชนิดหนึง่ท่ีวางไวเพื่อสะดวกตอการปฏิบัติงานประจํา เชน นโยบาย วิธีปฏิบัต ิมาตรฐาน (2) แผนท่ีใชคร้ังเดียว เนื่องจากแผนท่ีใชประจํามีจุดออน ไมอาจจะใชไดเหมาะสมทุกสถานการณได จึงไดมีการจัดทําแผนท่ีใชคร้ังเดียวเพื่อเปนแนวสําหรับปฏิบัติงาน ในเคหะสถานหรือเฉพาะกิจ แผนท่ีจะเลิกเมื่องานเสร็จส้ิน เชนงบประมาณ แผนงานและโครงการ 3) แผนตามลําดับขององคการทุกระดับ จําเปนตองมีการวางแผนซ่ึงอาจแบงได 2 ประเภท คือ แผนหลักและแผนยอยหรือตามหนาท่ีเฉพาะอยาง - แผนหลัก หมายถึงแผนหลักขององคการผูบริหารจะกําหนดวัตถุประสงคไวกวาง ๆ และเปนแนวทางในการดําเนินการ

Page 158: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

64

- แผนยอยหรือแผนตามหนาท่ี แผนประเภทนี้มักจะจัดทําข้ันตอนตามลักษณะหนาท่ีงานตามที่จําแนกไวในองคการนั้น ๆ ซ่ึงภายในองคการหนึ่ง ๆ อาจมีแผนยอยหลาย ๆ แผน เชน แผนการผลิต แผนการตลาด 4) แผนในการบริหาร เพื่อประโยชนในการบริหาร มักจะมีการวางแผนไวในรูปลักษณะตาง ๆ 7 ประการดังนี ้

(1) วัตถุประสงค (2) มาตรฐาน (3) งบประมาณ (4) แผนการ (5) นโยบาย (6) วิธีการปฏิบัติงาน (7) วิธีการ

ภาพท่ี 20 แผนในรูปแบบนโยบาย นโยบายพักชําระหนี้เกษตรกร

1.1.4 ขั้นตอนการวางแผน ข้ันตอนหรือกระบวนการวางแผน ไดมีนกับริหารและนักวิชาการไดแบงไวตางกันในแงของรายละเอียด แตท่ีมีลักษณะใหญ ๆ เหมือนกนัดังนี้ 1) พิจารณาถึงสภาพแวดลอม คือพิจารณาความตองการ(need) หรือปญหา (Problem)ท่ีอาศัยการประสม ซ่ึงจําเปนตองทําการวางแผน 2) กําหนดวัตถุประสงค (Objecting)และเปาหมาย (Goal) 3) กําหนดทางเลือก (Alternative) และพจิารณาทางเลือกตัดสินใจเลือกทางท่ีดีท่ีสุด 4) จัดทําโครงการเม่ือตัดสินใจเลือกทางแลว ก็นําเอาทางเลือกนั้นมาจดัทํา โครงการ ซ่ึงจะเขียนโครงการ(Logical Frame Work )หรือรูปแบบอ่ืนกไ็ด 5) เสนอเพื่อขออนุมัติจากผูบริหาร เม่ือจดัทําแผนงานแลวก็เสนอแผนไปยังผูบริหารเพื่อขออนุมัติ 6) ดําเนนิการตามโครงการหลังจากไดรับอนุมัติแลว เพือ่นําแผนนัน้มาปฏิบัติท่ีไดรับจัดทําไว 7) ประเมินผลโครงการ เม่ือไดนําแผนปฏิบัติแลวก็จะทําการประเมินผล เพื่อใหทราบวาแผนนั้นบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายมากนอยเพยีงไร

Page 159: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

65

1.1.5 ประโยชนของการวางแผน 1) ชวยในการวิเคราะหหาโอกาสตาง ๆ หรือคนหาปญหาท่ีอาจมีในอนาคต 2) ชวยในการปรับปรุงใหกระบวนการตดัสินใจท่ีมีคุณภาพดีข้ึน 3) ชวยกําหนดทิศทางและวตัถุประสงคในอนาคต 4) ชวยเปนส่ือหรือเคร่ืองมือสําหรับการเปล่ียนแปลงตาง ๆ ท่ีจะใหมีโอกาสสําเร็จผลดวยดี 5) ชวยประกันหรือชวยใหม่ันใจความอยูรอดขององคการ

1.2 การจัดองคการ (Organizing) เปนขั้นตอนในการจัดบุคคลและทรัพยากรที่ใชในการทํางาน เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายในการทํางานนั้น หรือเปนการแบงงานและจัดสรรทรัพยากรสําหรับงานเพื่อใหงานเหลานั้นสําเร็จ 1.2.1 ความหมายของการจัดองคการ หมายถึงการกําหนดโครงสรางขององคการ ในลักษณะท่ีทําใหความสัมพันธระหวาง งาน คน เคร่ืองจกัร อุปกรณและทรัพยากรตาง ๆ ขององคการเปนไปอยางเหมาะสม จนสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่วางไวได

1.2.2 ความสําคัญของการจัดองคการ 1) แสดงใหเห็นถึงกระแสการไหลของงานและทราบขอบเขตของงาน 2) เปนกรอบที่ชวยเช่ือมโยงขั้นตอนการวางแผนไปสูขั้นตอนความการควบคุม 3) ชวยในการจัดวางชองทางเพื่อการติดตอสื่อสารและการตัดสินใจ 4) ปองกันการทํางานซ้ําซอนและขจัดขอขัดแยงในหนาท่ีงาน 5) ชวยประสานงานโดยกําหนดเขตและกลุมงานท่ีสัมพันธอยูในสวนงานเดียวกัน 6) ลดความสับสนตาง ๆใหกับคนในองคการในดานการปฏิบัติงานเดียว

1.2.4 โครงสรางขององคการ โดยทั่วไปโครงสรางพื้นฐานมีอยู 3 รูปแบบ 1) โครงสรางแบบหนวยงานหลัก (Line Organization Structure) 2) โครงสรางแบบหนวยงานหลักและหนวยงานท่ีปรึกษา(Line and Staff Organization) 3) โครงสรางองคการแบบหนาท่ีงานเฉพาะ(Functionalized Organization Structure)

1) โครงสราง แบบหนวยงานหลัก (Line Organization Structure ) หมายถึง โครงสรางท่ีมีสายการบังคับบัญชาโดยตรงจากผูบังคับบัญชาสูงสุดลงมายังผูใตบังคับบัญชาระดับตาง ๆ มักเรียกโครงสรางแบบนี้ คือโครงสรางแบบทหาร อํานาจหนาท่ีลดหล่ันจากเบ้ืองลางขององคการ โครงสรางแบบนี้เหมาะสําหรับธุรกิจรานคาเล็ก ๆ และขนาดกลางไมใหญเกนิไปนกั

Page 160: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

66

ขอดี ของโครงสรางแบบหนวยงานหลัก

1. มีลักษณะเปนพื้นฐานไมยุงยาก 2. กําหนดอํานาจหนาท่ี ความรับผิดชอบแตละตําแหนงไวชัดเจน 3. จัดใหคนงานรับผิดชอบตอหัวหนาเพยีงคนเดียว 4. สงเสริมการมีระเบียบวินยั ติดตามการปฏิบัติงานไดงาย 5. เกิดความรวดเร็ว มีระเบียบในการตัดสินปญหาตาง ๆ

ขอเสีย ของโครงสรางแบบหนวยงานหลัก 1. ปญหาดานการประสานงาน 2. ไมสงเสริมใหคนมีความริเร่ิม 3. ผูควบคุม หรือหัวหนางานตองรูงานหลาย ๆ ดาน

4. ผูบริหารระดับสูงควบคุม และส่ังงานปลีกยอยมากเกินไป 2) โครงสรางแบบหนวยงานหลักและหนวยงานท่ีปรึกษา (Line and Staff Organization) หมายถึง องคการท่ีจัดใหมีท้ังหนวยหลักและหนวยงานที่ปรึกษารวมกัน เปนการผสมกันระหวางบุคคลที่ทําหนาท่ี จาํเปนและใชบุคคลท่ีมีความรู ความชํานาญ ประสบการณ เฉพาะดานเขามาชวยเสริมในองคการ ทําหนาท่ีแนะนําใหคําปรึกษาในดานตาง ๆ เชน ดานการบัญชี ดานการจําหนาย ดานงบประมาณ ฯลฯ โครงสรางแบบผสมนี้เปนโครงสรางท่ีเหมาะสมกับสถานการณเศรษฐกิจและสภาพปจจุบัน เพราะปจจุบันวิทยาการและเทคนิคตาง ๆ ไดเจริญรุดหนา องคการจึงมีความจําเปนท่ีจะตองใชผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเขามาชวย ทําใหมีการตดัสินใจท่ีดีและติดตอส่ือสารท่ีรวดเร็วข้ึน

ภาพท่ี 21 แผนภูมิแสดงโครงสรางแบบหนวยหลัก

ผูจัดการ

แผนกขาย แผนกการเงิน แผนกผลิต แผนกพัสดแุละจําหนาย

หัวหนาขนสง หัวหนาคนงาน หัวหนาคนงานผลิต หัวหนาคนงานหีบหอ

Page 161: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

67

ผูอํานวยการ

รองผูอํานวยการฝายผลิต

รองผูอํานวยการ ฝายขาย

รองผูอํานวยการ ฝายการเงิน

หัวหนา วิศวกรโรงงาน กองการ ฝายบัญชี ฝายการเงิน

ฝายงานบุคคล ผูจัดการภาค ฝายวิจยัตลาด

ภาพท่ี 22 แผนภูมิแสดงโครงสรางแบบหนวยหลักและหนวยงานท่ีปรึกษา

ขอดี ของโครงสรางแบบหนวยงานหลักและหนวยงานท่ีปรึกษา 1. แกปญหาดานวิทยาการ และชวยแบงเบาภาระหนาท่ีงานหลัก 2. อํานาจในการส่ังการยืดหยุนได โดยผูเช่ียวชาญเฉพาะดานจะเสนอแนะนโยบายหรือการ

ปฏิบัติงานท่ีควรปรับปรุงใหดีข้ึนประธานกรรมการ 3. มีการแบงงานกันทํา คืองานประจําเปนของฝายหนวยงานหลัก งานวิทยาการหรืองาน

บุคคลท่ีใหคําปรึกษาและแนะนํา

ขอเสีย ของโครงสรางองคการแบบหนวยงานหลักและหนวยงานท่ีปรึกษา 1. คาใชจายเพิม่มากข้ึน 2. ฝายใหคําปรึกษาอาจปฏิบติัหนาท่ีเปนหนวยงานหลักดวย เกิดความซ้ําซอนและขัดแยงกันได 3. ทําใหการตดัสินใจของผูบริหารชาและเสียเวลานาน เพราะตองคอยใหหนวยงานที่

ปรึกษาแนะนําและเสนอแนะกอน 4. เปนการแบงแยกระหวางพวกท่ีมีความรู กับพวกไมมีความรูซ่ึงเปนผลเสียแกองคการทํา

ใหบุคคลในองคการเกิดการแตกแยกและมีพรรคพวกของตนในแตละกลุม

Page 162: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

68

3) โครงสรางองคการแบบหนาท่ีงานเฉพาะ (Functionalized Organization Structure )เปนการจัดแบงหนวยงานออกไปตามลักษณะของงานแตละชนิดท่ีปฏิบัติอยู โดยมอบอํานาจหนาท่ีใหแตละหนวยงานเฉพาะมีอํานาจหนาท่ีเชนเดียวกับหนวยงานหลัก โครงสรางองคการแบบนี้ทําใหแตละหนวยงานมีผูเชี่ยวชาญประจาํอยูในหนวยงาน และมีอํานาจส่ังการไดดวย แตโครงสรางแบบนี้ไมเปนท่ีนยิมมากนัก ดังแผนภูมิดังนี ้

ขอด ี ของโครงสรางแบบหนาท่ีงานเฉพาะ 1. มีการใชประโยชนจากพนักงานไดสูงสุด 2. งานในหนวยงานเฉพาะรวดเร็วข้ึน เพราะมีอํานาจหนาท่ีพรอม 3. ทําใหแตละหนวยงานมีความรับผิดชอบพรอมท่ีจะใหตรวจสอบไดดีข้ึน

ขอเสีย ของโครงสรางแบบหนาท่ีงานเฉพาะ 1. ทําใหสายบังคับบัญชาขาดตอนไป 2. ทําใหมีเอกภาพในการบังคับบัญชานอยไป 3. ทําใหมีลักษณะการรวมอํานาจสูงสุดไวท่ีสวนกลางเพียงท่ีเดีย่ว 4. การจัดองคการมีลักษณะซับซอนมากข้ึน ยุงยากมากข้ึน

1.3 การนํา (Leading ) 1.3.1 การนํา (Leading ) เปนข้ันตอนในการกระตุนใหเกิดความกระตือรือรน และ

ชักนําความพยายามของพนักงานในองคการใหบรรลุเปาหมายองคการ ซ่ึงจะเกีย่วของกับการใชความพยายามของผูจัดการหรือผูบริหาร ท่ีจะกระตุนใหพนักงานมีศักยภาพในการทํางานใหสูงข้ึน ดังนั้นการนําจะชวยใหงานบรรลุผลสําเร็จ เสริมสรางขวัญและจูงใจผูใตบังคับบัญชา การนําจะประกอบดวยดังนี ้

ภาพท่ี 23 แผนภูมิโครงสรางองคการแบบหนาท่ีงานเฉพาะ

ผูอํานวยการฝายผลิต

ผูจัดการฝายควบคุมการผลิต ผูจัดการโรงงาน ผูจัดการฝายบัญชี

หัวหนางาน หัวหนางาน

Page 163: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

69

1) การติดตอส่ือสาร และอธิบายวัตถุประสงคใหแกผูใตบังคับบัญชาทราบ 2) การมอบหมายมาตรฐานการปฏิบัติงานตาง ๆ 3) การใหคําแนะนําและคําท่ีปรึกษาแกผูใตบังคับบัญชา ใหสอดคลอง กับมาตรฐานของการปฏิบัติงาน 4) การใหรางวัลแกผูใตบังคับบัญชา บนพื้นฐานของผลการปฏิบัติงาน 5) การยกยองสรรเสริญและตําหนิติเตียนอยางยุติธรรม และถูกตองเหมาะสม 6) การจัดหาสภาพแวดลอมมากระตุนการจูงใจ โดยการติดตอส่ือสารเพ่ือสํารวจความตองการและสถานการณการเปล่ียนแปลง 7) การทบทวนและการปรับวิธีการภาวะความเปนผูนํา เม่ือสถานการณเปล่ียนแปลงและผลลัพธของการควบคุมไมเปนไปตามท่ีกําหนด 8) การติดตอส่ือสารโดยท่ัวทุกแหง ในกระบวนการของภาวะความเปนผูนํา 1.3.2 ทฤษฎีการจูงใจ โดยการ การใหรางวัลและการลงโทษ ยังคงเปนทฤษฎีท่ีใช การจูงใจอยางมาก ซ่ึงทฤษฎีนี้ไดถูกนํามาใชในหลายศตวรรษจนถึงปจจุบัน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) การใหรางวัลหรือหัวผักกาด(Rewardหรือcarrots )เปนผลตอบแทนทางบวก ( เปนท่ีพอใจ) จากการปฏิบัตงิานบุคคลหรือการใหการจงูใจดวยเงิน ในรูปของการจายคาตอบแทนหรือโบนัส แมวาเงินไมใชส่ิงจูงใจประการเดียวแตก็ยงัเปนปจจยัสําคัญ นอกจากการใหรางวัลในรูปของตัวเงินแลว อาจใชวิธีการเพิ่มคาจาง การเลื่อนตําแหนง การใชระบบคุณธรรมและการใหโบนัสสําหรับผูบริหารซึ่งอาจใชไมไดในการพิจารณาแตละคน

2) ทฤษฎีไมเรียว ( Penalties หรือ stick ) เปนแรงใจท่ีอยูในรูปของความกลัว

เชน กลัวตกงาน กลัวขาดรายได การลดโบนัส การลดตําแหนง และการลงโทษอ่ืน ๆ ซ่ึงก็เปนส่ิงจูงใจท่ีสําคัญเชนกัน

1.3.3 กระบวนการจูงใจ ( The motivation process ) เร่ิมตนดวย 1) การรับรูความตองการ เกดิจากการมีความตองการ( Need ) ซ่ึงเปนการรับรู

ของตัวบุคคล(พนักงาน) ท่ีไมสมหวัง 2) การพิจารณาวิธีท่ีจะสนองความพึงพอใจ เกีย่วกับความตองการทีท่าทาย

คาตอบแทนท่ีสูงข้ึน และการยอมรับจากกลุมงาน 3) การมีพฤตกิรรมใหบรรลุเปาหมาย เปนการตอบสนองความพึงพอใจและ

ตามดวยมีพฤติกรรมใหบรรลุเปาหมาย 4) การประเมินรางวัล สามารถกระตุนดวยการใหรางวัล

Page 164: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

70

การรับรูความ

การพิจารณาวธีิท่ีจะสนองความพึงพอใจ

การมีพฤติกรรมใหบรรลุเปาหมาย

การประเมินรางวัล

1.3.4 ทฤษฎีแรงจูงใจ แนวคิดการจูงใจในปจจุบันทีน่ิยมใช 1) ทฤษฎีความตองการ เชนจะสํารวจความตองการภายในท่ีเปนส่ิงเราบุคคลใหปฏิบัต ิ (1) ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว (Maslow’s hierarchy of needs) เปนทฤษฎีท่ีเมื่อไดรับการตอบสนองในระดับหน่ึงแลว มนุษยก็จะมีความตองการในระดับสูงข้ึน

(2) ทฤษฎีการจูงใจ ERG ของ Alderfer คลายกับของมาสโลว เหลือเพียง 3 ประเภทคือ

1. ความตองการของรางกาย

2. ความตองการความม่ังคงหรือความปลอดภัย

3. ความตองการความผูกพันหรือการยอมรับ

4. ความตองการการยกยอง

5. ความตองการความสําเร็จในชีวิต

ภาพท่ี 25 มาสโลวเจาของทฤษฎีลําดับขั้นความตองการ

ภาพท่ี 24 พ้ืนฐานของการจูงใจ

ความตองการในการอยูรอด( Existence needs (E) )

ความตองการความสัมพันธ ( Related needs (R) )

ความตองการความความเจริญกาวหนา(Growth needs (G) ) 3.

2.

1.

Page 165: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

71

(3) ทฤษฎี 2 ปจจัยของ Herberg ดังรายละเอียดดังนี้ ก. ปจจยัการจงูใจหรือตัวจูงใจเปนปจจยัความตองการภายใน ในการ

สรางความพึงพอใจในการทาํงาน เชน ความกาวหนาในความสําเร็จ การยกยอง ข. ปจจัยการธํารงรักษาหรือสุขภาพอนามยั เปนปจจัยภายนอก เพื่อ

ปองกันไมใหพนักงานไมใหเกิดความไมพึงพอใจในการทํางาน เชน นโยบายบริษทั การบังคับบัญชา ความม่ันคงในงาน คาตอบแทน สภาพการทํางาน (4) ทฤษฎีความตองการท่ีแสวงหาของ McClelland ซ่ึงมีรูปแบบการจูงใจ บนพื้นฐาน 3 ประการ คือ ก. ความตองการความผูกพัน ข. ความตองการอํานาจ ค. ความตองการความสําเร็จ 2) ทฤษฎีความคาดหวัง ( Expectancy theory ) (1) ทฤษฎีความคาดหวังในการจูงใจของ Vroom จะมีความซับซอนกวาของ Maslow และ Herberg เช่ือวาบุคคลจะไดรับการกระตุนใหกระทําส่ิงซ่ึงสามารถบรรลุเปาหมาย ซ่ึงเปนการจูงใจของบุคคลซ่ึงมีตอส่ิงซ่ึงมีคุณคาในผลลัพธ จากการใชความพยายาม(อาจเปนดานลบหรือดานบวก) ทฤษฎี Vroom เปนไปตามสมการ อํานาจ = คุณคาความพอใจในผลลัพธ X ความคาดหวัง (2) ทฤษฎีความคาดหวังในการจูงใจของ Porter and Lawler เปนการระบุวาความพยายาม (จุดแข็งของการจูงใจและพลังงานท่ีใช) ข้ึนกับมูลคาของรางวัลบวกกับพลังงานของบุคคล และความนาจะเปนของการไดรับรางวัล 3) ทฤษฎีความเสมอภาค ( Equity theory ) เปนทฤษฎีการจูงใจ โดยถือเกณฑความคิดท่ีวา บุคคลตองการความยตุิธรรมเม่ือเปรียบเทียบกับบุคคลอ่ืน เปนทฤษฎีของ J.S Adams ท่ีวาบุคคลมีความตองการทีจ่ะแสวงหาคุณคา และแสวงหาความยุตธิรรมระหวางนายจางและพนักงาน 4) ทฤษฎีเสริมแรง (Reinforcement theory)หรือการปรับพฤติกรรม เปนทฤษฎี

ท่ีระบุวาผลลัพธของพฤติกรรมในปจจุบันของบุคคล ไดรับอิทธิพลจากพฤติกรรมในอนาคต หมายถึงพฤตกิรรมของคน ซ่ึงเกิดจากการเรียนรูจากประสบการณในอดีต Skinner เช่ือวาพฤติกรรมของมนุษยเปล่ียนแปลงไปเน่ืองมาจากแรงจูงใจ ทฤษฎีเสริมแรงมี 4 วิธีคือ (1) การเสริมแรงดานบวก เปนการเกดิผลลัพธท่ีมีคุณคา เชนการใหรางวัลตอบแทนเพ่ือใหเกิดพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนา

Page 166: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

72

(2) การเรียนรูดวยการหลีกเล่ียงหรือการเสริมแรงดานลบ เชนการตําหนิวาทํางานลาชา การหลีกเล่ียงปญหาจึงหลีกเล่ียงพฤติกรรมท่ีไมใหเกิดปญหา

ภาพท่ี 26 ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ มอบรางวัลจรรยาบรรณดเีดน หอการคาไทย ประจําป 2550 ใหแก นายสาระ ลํ่าซํา นายกสมาคมประกันชีวิตไทย

(3) การทําใหหมดไป เชนการเลิกรางวัลเพื่อจุดมุงหมายในการยับยั้งพฤติกรรมอยางหนึ่งอยางใดในอนาคต (4) การลงโทษเปนการปรับพฤติกรรมภายใตเง่ือนไขท่ีวา ผลท่ีตามมาจะชวยลดพฤติกรรมดานลบ จะชวยยับยั้งพฤติกรรมเน่ืองจากไดผลลัพธท่ีไมพึงพอใจ 1.3.5 เทคนิคการจูงใจ การศึกษาทฤษฎีแรงจูงใจไมมีคําตอบท่ีดีท่ีสุด เพียงคําตอบเดียว เทคนิคการจูงใจท่ีสําคัญประกอบดวย (รายละเอียดอยูท่ีเทคนิคการนํา)

1) เงิน 2) การมีสวนรวม 3) คุณภาพชีวติในการทํางาน

1.4 การควบคุม ( Controlling ) ไดมีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของการควบคุมงานไวหลากหลายความหมาย ดงัจะไดยกตัวอยางมาพอสังเขปดังนี ้ Henri Fayol ไดใหความหมายวา การควบคุมประกอบดวยการตรวจสอบดูวา ทุกส่ิงท่ีเกิดขึ้นสอดคลองกับแผนงาน คําส่ังและการกําหนดไวหรือไม ท้ังนี้ผูบริหารจะไดคนพบจดุออนและขอผิดพลาดเพื่อนํามาแกไขและปองกนัไมใหเกดิอีก การควบคุมเกี่ยวของกับทุกส่ิงไมวาจะเปนส่ิงของ คนหรือการกระทํา (อางถึงใน ฉายศิลป เช่ียวชาญพิพฒัน ,2527 ) จุมพล หนิมพานิช (2528 ) เห็นวาการควบคุมงานคือกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อใหดําเนินไปในขอบเขตท่ีกําหนดเพ่ือบรรลุเปาหมายท่ีตั้งไว (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช, 228 , 305 )

Page 167: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

73

จากความหมายไดกลาวมาท้ังหมด จะเห็นไดวาการควบคุมงานมีจดุมุงหมายหลักก็เพื่อใหการทํางานมุงไปสูเปาหมาย หรือเปนไปตามมาตรฐานท่ีไดกําหนดไวในชวงของการวางแผน และหากพบวาในขั้นตอนของการปฏิบัติงานใดที่จะเปนอุปสรรคหรือปญหา ก็จะตองเขาไปแกไขตามความจําเปน เพื่อไมใหเปนอุปสรรคหรือปญหาสืบไป 1.4.1 แนวความคิดในการควบคุมงาน การที่องคการใดมีกระบวนการในการควบคุม ยอมหมายถึงวาองคการนั้นยอมรับขอเท็จจริงที่วา การตัดสินใจท่ีจะกําหนดเปาหมายกอนการปฏิบัติงานนั้น อาจจะมีความคลาดเคลื่อนและการติดตอสื่อสารในองคการยังมิไดมีความสมบูรณเพียงพอ ที่จะทําใหผูปฏิบัติงานสามารถเขาใจทุกอยางได การบริหารในปจจุบัน ผูบริหารตองมอบหมายงานสวนใหญใหผูอื่นปฏิบัติ และลักษณะงานมีความซับซอนมากข้ึน ส่ิงตาง ๆ ท่ีกลาวมานี้ทําใหกระบวนการควบคุมงานเปนส่ิงจําเปน มีผลทําใหการปฏิบัติงานไมเปนไปตามแผนที่ไดวางไว 1.4.2 วัตถุประสงคของการควบคุมงาน

1) การควบคุมงานมีไวเพื่อบังคับใหผลงานเขามาตรฐาน 2) การควบคุมมีไวเพื่อปองกันรักษาทรัพยสินขององคการ

3) การควบคุมมีไวเพื่อใหคุณภาพของการทํางานไดมาตรฐาน 4) การควบคุมจะมีไวเพื่อใหมีการกําจัดขอบเขตของผูปฏิบัติงานตาง ๆ โดยท่ีมิ

ตองอนุมัติจากผูบริหารช้ันสูงอีกคร้ังหนึ่ง 5) การควบคุมจะมีไวเพื่อใชวัดงานตาง ๆ ที่กําลังปฏิบัติอยู 6) การควบคุมจะมีไวเพื่อใชประกอบในการวางแผน และกําหนดแผนการ

ปฏิบัติงานตาง ๆ 7) การควบคุมจะมีไวเพื่อชวยผูบริหารช้ันสูงสามารถจัดใหเกิดความสมดุลใน

ระหวางแผนงานตาง ๆ 8) การควบคุมจะจัดทําขึ้นเพื่อกระตุนเตือน หรือจูงใจตัวบุคคลในองคการ

ภาพที่ 27 การควบคุมการเดินรถของรถไฟฟาแตละขบวน จะถูกดวยระบบคอมพิวเตอรที่ออกแบบมาเฉพาะ

Page 168: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

74

1.4.3 ความสําคัญของการควบคุมงาน ผูบริหารที่มีความสามารถในการวางแผนที่ดี จัดองคการไดดี และการนําเปนผูกระตุนชักจูงใจหรืออํานวยการส่ังการไดดนีั้น ผลลัพธท่ีสําคัญท่ีสุด คือ ผลสําเร็จของงานตามที่ตนไดคาดหวังไว การควบคุมยงัเปนหนาท่ีกระบวนสุดทายในกระบวนการจัดการ และจะเช่ือมโยงเขากับข้ันตอนแรกของกระบวนการจัดการ คือการวางแผนเพ่ือการปฏิบัติงานในรอบใหมของวัฏจักรอีกคร้ังหนึ่ง ซ่ึงการควบคุมนี้เองจะชวยเปนเคร่ืองมือช้ีใหเห็นถึงจุดท่ีควรปรับปรุงแกไข ทบทวนแผนปฏิบัติงานหรือปรับปรุงเปาหมายการทํางานตาง ๆ ข้ึนใหม เพื่อใหการทํางานในรอบใหมท่ีจะเกิดข้ึนนัน้มีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน

1.4.4 ชนิดของการควบคุมงาน 1) การควบคุมเพื่อปองกัน การควบคุมชนิดนี้เกิดข้ึนในระหวางการปฏิบัติงาน

เพื่อการปองกนัการปรับตัวกอนส้ินสุดระยะการควบคุม เปนการคนหาและกําหนดวธีิปองกันไมใหเกิดผลการปฏิบัติงานท่ีไมพึงปรารถนาเกิดขึน้ 2) การควบคุมเพื่อการแกไข การควบคุมชนิดนี้เกิดข้ึนหลังจากปฏิบัติงานส้ินสุดลง การควบคุมชนิดนี้อาจจะเกดิข้ึนเนื่องจากผูบริหาร ตองการตรวจสอบผลการดําเนินงานเพื่อพิจารณาวาในระยะท่ีผานมา ผลการปฏิบัติงานเปนอยางไร

1.4.5 ประเภทของการควบคุมงาน 1) การควบคุมงานดานปริมาณงาน 2) การควบคุมทางดานคุณภาพของงาน 3) การควบคุมทางดานเวลาในการทํางาน 4) การควบคุมดานตนทุนหรือคาใชจาย

1.4.6 กระบวนการควบคุมงาน การควบคุมงานประกอบไปดวยลําดบัข้ันตอนท่ีสําคัญดังตอไปนีคื้อ 1) กําหนดเปาหมายของการควบคุมงานใหชัดเจนแนนอน กลาวคือจะตองระบุมีวัตถุประสงคหลักเปนอยางไร มีวตัถุประสงครองเปนอยางไร มีปริมาณมากนอยเพยีงไรกําหนดแลวเสร็จเม่ือใด เพื่อใหสามารถใชวัตถุประสงคท่ีกําหนดข้ึน เปนเคร่ืองมือแนะนําในการดําเนินงานหรือวางแผนปฏิบัติการไดอยางถูกตอง ซ่ึงจะเปนประโยชนในการควบคุมผูปฏิบัติงานและควบคุมวธีิการปฏิบัติงานตาง ๆ ดวย 2) กําหนดเกณฑควบคุมงานและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน เกณฑควบคุมงานนั้นหมายถึงมาตรฐานของงาน สถิติขอเท็จจริง ขาวสารและอัตราสวนตาง ๆ ท่ีจะพึงใช

Page 169: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

75

สาํหรับมาตรฐาน (Standard)นั้น สามารถอธิบายไดวา คือกฎที่เปนท่ียอมรับกัน (Accepted Rule ) กฎที่สรางขึ้นมา( Established Rule)หรืออาจจะเปนรูปแบบ(Mode)ที่กําหนดขึ้นมาจากอํานาจหนาท่ี (Authority ) หรือประเพณี (Custom) หรืออีกในหนึ่งมาตรฐานเปนเคร่ืองมือชนิดหนึ่งที่สรางขึ้นมาเพื่อชวยในการควบคุม การวัด การเปรียบเทียบ การตรวจสอบในผลงานการปฏิบัติงานและวิธีดําเนินงาน

โดยทั่วไปแลวจุดประสงคของการกําหนดมาตรฐาน มีดังตอไปนี้คือ (1) เพื่ออธิบายลักษณะผลิตผล (Products) กระบวนการ( Process) และกิจกรรมซ่ึงเปนส่ิงจําเปนตอการควบคุม (2) เพื่อกําหนดความแนนอนของงานหรือกําหนดเปาหมาย เพื่อความกาวหนาในการดําเนินงาน (3) เพื่อสรางความกลมกลืนเปนรูปแบบเดียวกันของผลผลิต กระบวนการและวิธีการในการผลิต (4) เพื่อสงเสริมและวิจัยเร่ืองการควบคุม การปรับปรุงและการประสานงานในการบริหารใหดีย่ิงขึ้น (5) เพื่อสงเสริมความเขาใจท่ีดีตอกันระหวางหัวหนากับผูปฏิบัติงาน (6) เพื่อลดการขัดแยงในการทํางาน เพราะการขาดมาตรฐานท่ีจะทําใหไมสามารถพิจารณาตัดสินไดวา งานท่ีตองการจะวัดหรือประเมินผลนั้นมีสวนดีหรือสวนดอยอยางไร (7) เพื่อลดคาใชจายและควบคุมคาใชจาย (8) เพื่อใหการวัดการเปรียบเทียบ เกิดประสิทธิผลในทุก ๆ ขั้นตอนของการทํางาน (9) เพื่ออาํนวยความสะดวกในการทํางาน (10) เพื่อสรางและดํารงไวซึ่งความแนนอนในการวางแผน (11) เพื่ออํานวยความสะดวกในการบันทึกรายงาน (12) เพื่อแสดงระดับของการปฏิบัติงาน รวมท้ังการพิจารณาในดานความรวดเร็ว ความถูกตอง ประสิทธิภาพและความประหยัด สําหรับมาตรฐานของงานน้ันโดยท่ัวไปก็คือ แบบหรือเกณฑที่จะใชเปรียบ เทียบผลงาน และในบรรดามาตรฐานของงานท่ีพบเห็นกันมากท่ีสุดโดยท่ัวไปก็คือ แผนงานนั่นเอง มาตรฐานของงานจะเปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญท่ีจะใชเปรียบเทียบหรือวัดผลการปฏิบัติงาน หรือวัดผลงานเพื่อหาความแตกตาง อุปสรรค หรือขอขัดของเพื่อพิจารณาปรับปรุงแกไขตอไป

Page 170: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

76

การเปรียบเทียบผลงานกับมาตรฐาน การนําผลการปฏิบัติงานมาเปรียบเทียบกับมาตรฐานท่ีกําหนดนั้น การประเมินผล การปฏิบัติงาน (Job Evaluation ) และการวัดผลงาน ( JOB measurement) เปนปจจัยท่ีมีความสําคัญมาก กลาวคือในการควบคุมงานทางดานการบริหารงานองคการนั้น มีคําท่ีใชในการประเมินผลงาน ที่มีความใกลเคียงกันอยู 3 คําคือ คําวา Measurement, Appraisal คําวา Measurement นั้นหมายถึงการวัดผลงานเม่ือเปรียบเทียบกับมาตรฐานท่ีกําหนดไว โดยมีหลักเกณฑแนนอนวามีผลงานอยางไร การเปรียบเทียบนี้มุงเนนถึงเม่ือไดทํางานเสร็จสิ้นโดยตลอดแลว หรืออาจจะเปนการทํางานท่ีสําเร็จเปนชวง ๆ ก็ได สําหรับคําวา Appraisal หมายความถึงการตีคา การตีราคาการปฏิบัติงาน ในระหวางที่งานนั้นอยูระหวางการปฏิบัติอยู มีวิธีการตีคาหรือใหคะแนนเพื่อปรับระดับของงาน มีความยืดหยุนมากกวาการวัดผลงานแบบ Measurement แตอยางไรก็ดี ทั้งสองแบบตางก็มีหลักเกณฑที่แนนอนประกอบการใชดุลพินิจ สวนคําวา Evaluation นั้น เปนการประเมินคาของงานบุคคลหนึ่งบุคคลใดหรือกลุมบุคคล ซึ่งไดปฏิบัติงานเพื่อประโยชนในการจัดอันดับการทํางานในองคการ วาควรจะจัดแยกระดับใหอยูในระดับขั้นอยางไร ผลการปฏิบัติงานเปนอยางไร ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทํางานเปนอยางไร ซึ่งการประเมินงานนี้เปนเคร่ืองมืออยางหนึ่งที่จะชวยในการกําหนดอัตราคาจาง แรงงาน และเงินเดือนของพนักงานในองคการ สําหรับคําวาการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Job Evaluation) สามารถใหความหมายไดวา หมายถึงการวิเคราะหและอธิบายลักษณะของงานวางานช้ินใดมีความสัมพันธกับเวลาและคาใชจายอยางไร ผลงานถึงมาตรฐานท่ีกําหนดไวหรือไม ซึ่งในการควบคุมนั้นผูควบคุมงานมีความจําเปนท่ีจะตองประเมินผลงานวางานนั้น ไดดําเนินไปตามแผนงานหรือนโยบายท่ีกําหนดไวหรือไม และมีผลงานสมกับท่ีต้ังเปาหมายไวหรือไมอยางไร ดังนั้นวิธีการประเมินผลงานจึงมีความจําเปนท่ีจะตองถูกนํามาใชในการควบคุมงานดวย เพราะการประเมินผลงานจะแสดงใหทราบถึงผลงาน ความกาวหนา ความลมเหลว งานท่ีปฏิบัติอยูวาเปนอยางไร อันจะเปนประโยชนในการที่จะวางแผน หรือหาวิธีแกไขอุปสรรคและขอบกพรองตาง ๆ ตอไปได

1.4.7 หลักการเกี่ยวของกับการควบคุมงาน ในการควบคุมงานเพ่ือใหเกิดความแนใจวาผลการปฏิบัติงานสอดคลองกับแผนงาน

หรือมาตรฐานท่ีต้ังไว ควรจะดําเนินตามหลักการดังตอไปนี้ 1) หลักวาดวยความรับผิดชอบขององคการ(Organization Responsibility) 2) หลักความตองการขององคการ(Organization Needs) 2) หลักของความเหมาะสมซ่ึงตรงกับความจําเปน 4) หลักของความประหยัด (Economical) 5) หลักของความยืดหยุน(Flexible)

Page 171: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

77

6) หลักของการทันเวลาและแมนตรง (Timelines and Accuracy) 7) หลักของความควบคุมตามความสําคัญ (Control by Importance) 8) หลักการเปนท่ียอมรับได (Acceptability) 9) หลักของการมีความชัดเจน 10) หลักการคํานึงถึงพนักงาน (Thinking about Employee) 11) หลักของการมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (Effective and Efficiency) 12) หลักการมองอนาคต (Forward Looking)

1.4.8 ประโยชนของการควบคุมงาน แบงไดเปน 2 ประการคือ ประโยชนในดานตัวบุคคล และประโยชนในดานงาน ดังนี้คือ

1) ประโยชนดานตัวบุคคล (1) ทําใหทราบวาผูใตบังคับบัญชาทํางานไดผลมากนอยเพียงใด มีความ สามารถมากนอยเพียงใด (2) เปนการฝกฝนและสรางผูใตบังคับบัญชาไวเปนหวัหนางาน

(3) เปนแนวทางในการพิจารณาใหบําเหน็จตอบแทนความดีความชอบในการทํางาน

(4) เปนการบํารุงขวัญผูใตบังคับบัญชา (5) ชวยลดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน (6) เปนเคร่ืองกระตุนใหเกิดความกาวหนาในการทํางาน (7) ฝกฝนผูใตบังคับบัญชาโดยใหปฏิบัติงานจริง

2) ประโยชนทางดานงาน 1) ไดตรวจสอบดูวางานท่ีทํานั้นเปนไปตามแผนท่ีกําหนดหรือไม (2) ไดทราบวางานไดกาวหนาไปแลวมากนอยเพยีงไร (3) ไดทราบวามีการแกไขอุปสรรคหรือขอขัดของตาง ๆ หรือไม (4) ไดทราบวามีการใชวิธีการปฏิบัติงานอยางไรเปนวิธีท่ีดีท่ีสุดแลวหรือไม (5) ไดตรวจสอบดูวางานนั้นไดผลตามมาตรฐานที่กําหนดไวหรือไม อยางไร (6) ไดทราบวามีการใชทรัพยากรตาง ๆ ท่ีมีอยูสําหรับการปฏิบัติงานนั้น

อยางมีประสิทธิภาพหรือไม (7) เปนการชวยใหเกิดการประหยดัท้ังเวลา เงินและแรงงาน ซ่ึงเปน

ทรัพยากรที่สําคัญในการปฏิบัติงาน

Page 172: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

78

2. เทคนิคตาง ๆ ในการจัดการ กระบวนการจดัการ ท่ีเร่ิมต้ังแตการวางแผนไปจนกระท่ังถึงการควบคุมงานนั้น

ลวนแลวแตมีเทคนิคของการปฏิบัติงานในแตละหนาท่ีท้ังส้ิน ท้ังนี้เนือ่งจากเทคนิคในการจดัการนั้นมีอยูมากมายหลากหลาย และมีการพฒันาไปอยางตอเนื่อง ดังนี ้

2.1 เทคนิคที่ใชในการวางแผน การวางแผนแบงออกไดเปนหลายระดับกลาวคือ การวางแผนในระดับสูง ซ่ึงโดยมากจะเปนการวางแผนในระยะยาว และมักเปนแผนงานเชิงกลยุทธขององคการ การวางแผนในระดับ กลางของการจัดการ จะเปนการวางแผนท่ีเปนระยะปานกลางขององคการ หรือแผนงานโครงการตาง ๆ เปนสวนใหญ และการวางแผนในระดับตน สวนใหญจะเปนแผนระยะส้ัน และเปนแผนดําเนินงานหรือแผนงานตามหนาท่ีเปนสวนมาก ดังนั้นเทคนิคท่ีมีสามารถนํามาใชในการวางแผนจึงมีมากมาย ขอนํามายกตัวอยางพอสังเขปเปนบางเทคนิคดังตอไปนี ้

2.1.1 เทคนิคในการวางแผนกลยุทธ แผนกลยุทธเปนแผนซ่ึงครอบคลุมกิจกรรมท้ังหมดขององคการ เนื่องจากแผนกลยุทธมีลักษณะซับซอน ดงันั้นจึงเปนเร่ืองท่ีดีตองกระทําการวางแผนอยูในระดับผูบริหารระดับสูงขององคการ ท้ังนี้เพื่อประโยชนในการประสานแผนไดอยางมีประสิทธิภาพ หัวใจท่ีสําคัญของการวางแผนกลยุทธ คือการกําหนดเปาหมายขององคการและกิจกรรมท่ีจําเปนตอการบรรลุวัตถุประสงคขององคการ ท้ังนี้โดยการกําหนดการใชทรัพยากรและการกระจายทรัพยากรภายในองคการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวดวย ในการวางแผนกลยุทธขององคกรนั้น ผูบริหารสามารถใชเทคนิคการวิเคราะหสภาวะแวดลอมท้ังภายในและภายนอกองคการ หรือการวิเคราะหกําหนดแผนกลยุทธขององคการได ซ่ึงการวิเคราะหจะเปนเคร่ืองมือในการวิเคราะหสถานการณ ซ่ึงจะชวยใหผูบริหารสามารถกําหนดจุดแข็งและจุดออนจากส่ิงแวดลอมภายในองคการ ตลอดจนสามารถแสวงหาโอกาสและสํารวจอุปสรรคจากส่ิงแวดลอมภายนอกองคการ ตลอดจนผลกระทบท่ีมีศักยภาพจากปจจยัตาง ๆ เหลานี้ท่ีมีตอการทํางานขององคการ หรือเปนวิธีการท่ีจะชวยผูบริหารในการกําหนดจุดแข็งขององคการ จุดออนขององคการ โอกาสจากส่ิงแวดลอมภายนอก และอุปสรรคจากส่ิงแวดลอมภายนอก การวิเคราะหองคประกอบแตละอยางดังกลาว จะทําใหผูบริหารเกิดความเขาใจถึงองคประกอบแตละปจจัยท่ีจะมีอิทธิพลตอการทํางานขององคการ กลาวคือจุดแข็งจะสามารถใชใหเปนประโยชนท่ีจะทําใหองคการบรรลุเปาหมายได ในขณะท่ีจุดออนเปนสวนท่ีจะตองมีการนําไปแกไข โอกาสจะเปนเร่ืองขอไดเปรียบตาง ๆ ขององคการท่ีจะสามารถฉกฉวยนํามาใชใหเปนประโยชน อันจะชวยใหองคการบรรลุเปาหมาย และอุปสรรคจะเปนปญหาตัวขัดขวางมิให

Page 173: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

79

1) การประเมินสภาวะแวดลอมภายในองคการ เปนการวเิคราะหและประเมินศักยภาพและสมรรถภาพขององคการ โดยสํารวจจุดแข็งและจุดออนขององคการอยางรอบคอบ โดยเฉพาะอยางยิ่งจะตองสํารวจทรัพยากรภายในขององคการ ซ่ึงสามารถสํารวจไดจากแหลงขอมูลในระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการขององคการ นอกจากนี้ยังสํารวจขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงขอมูลเพิม่เติมจากแหลงขอมูลอ่ืน ๆ ไดอีก ตลอดจนการสํารวจการทํางานในอดีตท่ีผานมาขององคการ โดยนําขอมูลทั้งหมดท่ีไดมาวิเคราะหในขอบเขตของวัตถุประสงควา องคการมีทรัพยากรตาง ๆ เหมาะสมแกการบรรลุวัตถุประสงคหรือไม ทั้งนี้โดยเนนการหาประโยชนจากจุดแข็งขององคการและแกไขจุดออนขององคการ นอกจากนี้ยังทําใหเกิดความเขาใจในสถานการณ และผลการดําเนินงานของกลยุทธท่ีกําหนดข้ึนจากในอดีต 2) การประเมินสภาวะแวดลอมภายนอกองคการ เปนการประเมินถึงสิ่งแวดลอม ภายนอก อันประกอบไปดวยส่ิงแวดลอมในเชิงมหาภาคหรือส่ิงแวดลอมท่ัวไป ส่ิงแวดลอมในเชิงจุลภาคหรือส่ิงแวดลอมเกี่ยวกับงาน ซ่ึงจะชวยใหผูบริหารสามารถคนหาโอกาสและอุปสรรคในการดําเนนิงานขององคการได การประเมินส่ิงแวดลอมภายนอกดังกลาวนี้ สามารถคนหาขอมูลไดจากแหลงขอมูลตาง ๆ ภายนอกดังนี้ คือ ส่ิงพิมพตาง ๆ การสํารวจตลาด รายงานประจําปตาง ๆ การวิเคราะหคูแขงขัน ท้ังนีใ้นการพจิารณาถึงขอมูลเหลานี้ก็เพื่อคนหาความไดเปรียบเสียเปรียบขององคการ ทําใหทราบถึงโอกาสตาง ๆ ท่ีองคการจะสามารถฉกฉวยมาใชประโยชนในการดําเนินกิจกรรมเพื่อแสวงหาประโยชนใหกับองคการได

Page 174: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

80

ตัวอยางการวิเคราะห SWOT ธุรกิจฟารมสุกร

จุดแข็ง จุดออน

1. ตองใชเงินลงทุนสูงในการกอสรางโรงเรือน 1. ไมตองลงทุนดานพอพนัธุ แมพันธุ อาหาร ยา และคารักษาจากสัตวบาล สัตวแพทยและ 2. แบบมาตรฐาน คาออกแบบผังโรงงาน 2. สินคามีคุณภาพตามมาตรฐานการเล้ียง แนนอน เพราะข้ันตอนตาง ๆ กําหนดโดย ผูเช่ียวชาญของบริษัท 3. มีตลาดแนนอน

โอกาส อุปสรรค

1. ปริมาณความตองการบริโภคสุกร ยังมีสูง 1. กระแสการบริโภคอาหารมังสวิรัต และชีว กวาความสามารถในการผลิตสุกรท่ัวประเทศ จิต อาจทําใหความตองการบริโภคเนื้อสัตว ลดลงไปบาง

ผลท่ีไดจากการประเมินดังกลาวนี้ ผูบริหารสามารถนําขอมูลดังกลาวมากําหนดเปนแผนกลยุทธตอไป ผสมผสานขอมูลเกี่ยวกับภาวะแวดลอมภายในและภายนอกเขาดวยกนั และใชเปนเคร่ืองกําหนดกิจกรรมขององคการ ในการวางแผนกลยุทธนั้น สามารถสรุปถึงหลักการท่ีสําคัญในการวางแผนดังนี ้ 1) มุงใหประโยชนจากจุดแข็งขององคการอยางเต็มท่ี 2) พยายามแกไขขอบกพรองหรือจุดออนขององคการ 3) แสวงหาผลประโยชนจากความไดเปรียบขององคกร 4) ตองคํานึงถึงขอเสียเปรียบ ขอจํากัดหรืออุปสรรคขององคการในการวางแผนดวย 2.1.2 เทคนิคในการจัดการโดยยึดวัตถุประสงค การจัดการโดยยึดวัตถุประสงค เปนเทคนิค วิธีการในการบริหารงานซ่ึงจะชวยใหการปฏิบัตหินาท่ีในงานการจัดการ กระทําไดโดยสะดวกและเปนไปโดยธรรมชาติ กลไกท่ีสําคัญ คือ การรวมเอาหนาท่ีในการวางแผน และการควบคุมท่ีเกี่ยวของระหวางกันของผูบริหารกับผูปฏิบัติงานเขาไวดวยกัน 1) ความหมายของการจัดการโดยยึดวัตถุประสงค คือกระบวนการท่ีผูปฏิบัติงาน

ไดรวมกนัพิจารณากําหนดวตัถุประสงคของงาน โดยมีการกําหนดขอบเขตท่ีตองรับผิดชอบในรูป

Page 175: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

81

2) ลักษณะของการจัดการโดยยึดวัตถุประสงค คือเปนการตกลงรวมกนัระหวางผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชาในส่ิงตาง ๆ ตอไปน้ี (1) วัตถุประสงคของผลงานของผูใตบังคับบัญชาภายในระยะเวลาท่ีกําหนด (2) แผนงานท่ีซ่ึงจะตองชวยกันทําใหเสร็จ (3) มาตรฐานที่ใชสําหรับวดัความสําเร็จของผลงาน (4) ข้ันตอนวธีิการติดตามทบทวนดูผลสําเร็จตาง ๆ ตามวิธีการจัดการโดยยึดวตัถุประสงคนี้ มีจุดเดนท่ีสําคัญก็คือจะมีการรวมวางแผนและรวมควบคุมระหวางผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชา ซ่ึงเทากับเปนการเปดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชาไดมีสวนรวมในการบริหารนั้นเอง ซ่ึงจะเกดิผลดีกับท้ังสองฝาย คือผูใตบังคับ บัญชาก็จะยอมรับบทบาทในการปฏิบัติของตนเองอยางเต็มท่ี และมีการควบคุมการปฏิบัติงานดวยตนเอง และฝายผูบังคับบัญชาก็จะคอยทําหนาท่ีใหการสนับสนุนชวยเหลือไปดวย 3) กระบวนการจัดการโดยยดึวัตถุประสงค ประกอบดวยข้ันตอนตาง ๆ ดังนี้ (1) ใหผูบังคับบัญชาเสนอวัตถุประสงค ซ่ึงจะเปนเปาหมายผลงานข้ึนมา โดยการกําหนดวัตถุประสงคนั้นมีแนวทางในการกําหนดดังนี ้ - มุงสนใจท่ีงานหลักท่ีมีความสําคัญ ซ่ึงจะกอใหเกิดผลสําเร็จกับงานได สูงสุด - พัฒนาวัตถุประสงคโดยใชวิธีการใหมีสวนรวมระหวางผูบังคับบัญชา กับผูใตบังคับบัญชา - พัฒนาวัตถุประสงคใหสนับสนุนและสอดคลองกับวัตถุประสงคระดับสูง - พัฒนาวัตถุประสงคท่ีมีลักษณะเกี่ยวเนือ่งถึงกัน และสอดคลองเขากัน ไดกับสวนงานตาง ๆ ขององคการ - พัฒนาวัตถุประสงคใหมีความชัดเจน และมุงผลสําเร็จท่ีจะสามารถจูง ใจคนไดเปนอยางดี - พัฒนาวัตถุประสงคใหมีความทาทายความสามารถ และมีโอกาสที่จะ ทําไดสําเร็จตองไมกอใหเกดิความกังวล - พัฒนาวัตถุประสงคใหสามารถวัดผลเปนเชิงปริมาณได และพยายาม ใหงานทุกอยางสามารถวัดผลได

Page 176: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

82

- ควรจะตองยดึถือเปนหลักวา งานทุกอยางตองมีการกําหนดถึงเง่ือนไข ดานเวลาท่ีงานจะตองแลวเสร็จ - วัตถุประสงคท่ีกําหนดจะตองไดรับความเห็นชอบ และสนับสนุนจาก ผูบริหารในทุกระดับท่ีเกี่ยวของ - วัตถุประสงคที่กําหนด จะตองมีระบบท่ีจะสามารถรายงานความคืบหนา หรือผลสําเร็จออกมาใหเห็นไดดวย (2) การพจิารณากําหนดวัตถุประสงค ตองกระทํารวมกนัระหวางผูบังคับ บัญชาและผูใตบังคับบัญชา (3) ตองมีการติดตามการทํางานและทบทวนเปาหมายท่ีกําหนดไวเปนครั้งคราว (4) ตองมีการประเมินผล เม่ือสิ้นกําหนดระยะเวลาในการทํางานท่ีกําหนดไว

3) ปจจัยท่ีมีผลตอความสําเร็จตอการจัดการโดยยดึวัตถุประสงค มีดังตอไปนี ้ (1) ขึ้นอยูกับการสนับสนุนของฝายบริหาร หากฝายบริหารใหการสนับสนุนอยาแทจริง และเขามามีสวนรวมกับการบริหารตามวิธีนี้ ก็จะชวยใหมีการนําวิธีการนี้ไปใชปฏิบัติโดยท่ัวไปในระบบตาง ๆ ขององคการ (2) จะตองพยายามระบุวัตถุประสงคใหชัดเจน กลาวคือผลงานตาง ๆ จะตองสามารถระบุออกมาเปนผลงานท่ีสามารถวัดได ตองมีการกําหนดเวลาใหชัดเจนเปนท่ีเขาใจไดงาย นอกจากนี้ยังตองเปนเปาหมายท่ีทาทายความสําเร็จอีกดวย (3) จะตองมีการรวมกันปรึกษาหารือโดยไมขาดชวง ระหวางผูบริหารกับผูปฏิบัติงาน ท้ังนี้เพราะการจัดการโดยยดึวัตถุประสงคนั้น จําเปนตองมีการปรึกษาหารือกันเกี่ยวกับงานท่ีทําไดตามท่ีกําหนดไว หากมีการละเลยไมกระทําตามข้ันตอนก็จะทําใหวิธีการบริหารงานของผูบังคับบัญชายอนกลับไป เปนแบบการควบคุมท่ีลงลึกไปสูกิจกรรมการทํางานในรายละเอียดอีก (4) จะตองมีความศรัทธาในตัวบุคคล หรือมีความเช่ือม่ันในความสามารถของผูใตบังคับบัญชา รวมท้ังจะตองสนับสนุนใหเกิดความคิดริเร่ิมสรางสรรค ตลอดจนการถายทอดประสบการณ เพื่อสนับสนุนผูใตบังคับบัญชาใหกาวหนามากข้ึน และสามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง (5) องคกรจะตองมีสภาพเง่ือนไขท่ีเอ้ือตอการจัดการ โดยยึดวัตถุประสงคใหใชไดผลดังนี้คือ - โครงสรางองคการจะตองมีการจัดระบบไวชัดเจน มีการระบุ ขอบเขตความรับผิดชอบของหนวยงานยอยไวชัดเจนดวย

Page 177: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

83

- ความพรอมของผูบริหารในการกระจายอํานาจหนาท่ีและความ รับผิดชอบ รวมท้ังการใหอิสระแกลูกนอง ในการทํางานท่ีไดรับ มอบหมายดวยตนเองได - บรรยากาศขององคการ ตองมีการรวมมือกันระหวางฝายจัดการของ แตละหนาท่ีงานเปนอยางด ี - ผูบริหารจะตองมีความสามารถ และใหความสนใจในเร่ืองการ ติดตอส่ือสาร และประสานงานกับผูใตบังคับบัญชาอยางตอเนื่อง - มีการจัดระบบการายงานผลการปฏิบัติงานท่ีดี ท่ีสามารถใหขอมูล ท่ีถูกตองทันตอเวลาและความตองการทีจ่ะใช 2.1.3 เทคนิคท่ีใชในการตัดสินใจทางธุรกิจ การตัดสินใจมีความสําคัญอยางยิ่งในกระบวนการจัดการ เพราะเกีย่วของกับการเลือกแนวทางในการปฏิบัติจากแนวทางตาง ๆ ซ่ึงจะมีอยูหลายแนวทาง อันเปนจดุสําคัญอยางยิ่งในการวางแผน ความสามารถในการตัดสินใจ เปนคุณลักษณะท่ีจะบงบอกถึงความสําเร็จของฝายบริหารอีกดวย เทคนิคท่ีใชในการตัดสินใจท่ีใชกันโดยท่ัวไปนัน้ อาจสามารถสรุปไดดังนี ้ 1) ตามทฤษฎีทางจิตวิทยา คือการตัดสินใจท่ีใชคานยิมและความพอใจสวนตัวเปนเคร่ืองวัด เทคนิคนี้จะใชกับปญหาท่ีอยูภายใตสถานการณท่ีไมเกี่ยวของกับเศรษฐกิจโดยตรง 2) สัญชาตญาณ เปนเทคนิคการตัดสินใจทีข้ึ่นอยูกับความรูสึกภายในของ ผูตัดสินใจท่ีมีตอสถานการณ เปนการตัดสินใจท่ีไมมีเหตุผลและไมมีแบบแผน เทคนิคการตัดสินใจโดยใชสัญชาตญาณในบางคร้ัง อาจประสบผลสําเร็จไดแตกอ็าจผิดพลาดไดเชนกนั 3) ประสบการณ เปนการตัดสินใจท่ีข้ึนอยูกับการมองปญหาโดยใชประสบการณ ซ่ึงอาจทําใหพิจารณาปญหาไดท้ังในวงแคบหรือวงกวาง ข้ึนอยูกับประสบการณท่ีบุคคลมีอยู การตัดสินใจโดยใชประสบการณมักจะเปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไป แตอยางไรก็ตามประสบการณในอดีต ก็ไมอาจเปนหลักประกันถึงความสําเร็จในอนาคตไดเสมอไป เนื่องจากสถานการณยอมมีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลาท่ีเปล่ียนไป ดังนัน้ผูบริหารอาจใชประสบการณในการตัดสินใจได แตก็ไมควรใหน้ําหนกัท่ีประสบการณเพยีงอยางเดยีว 4) ตามผูบังบัญชา เปนการตัดสินใจท่ียึดตามแนวทางหรือลอกเลียนความคิดของผูบังคับบัญชา วิธีการนีไ้มยุงยากเพราะเปนการตัดสินใจตามท่ีผูอ่ืนไดตัดสินใจไวแลว การตัดสินใจดวยวิธีนี้ มักจะเปนลักษณะของการตัดสินใจท่ีไดมีการกําหนดไวลวงหนาแลว 5) การทดลอง เปนการทดลองถึงทางเลือกตาง ๆ เพื่อใหทราบถึงผล และพิจารณาตดัสินใจจากผลของทางเลือกท่ีไดทําการทดลองแลวเห็นวาใหผลลัพธท่ีดีท่ีสุด

Page 178: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

84

6) การวจิัยและวิเคราะห เปนเทคนิคทีมีประสิทธิผลสูงสุดในการพจิารณาตัดสินใจเลือกทางเลือกหลาย ๆ ทาง การวิเคราะห จะเปนการแยกปญหาออกเปนสวนประกอบยอย ๆ แลวทําการศึกษาถึงสวนประกอบแตละสวนอยางละเอียด เพื่อทําการตัดสินใจในแตละสวนและนําผลของการตัดสินใจท่ีไดมาประมวลและเช่ือมโยงเขาดวยกนั สรุปเปนผลการตัดสินใจในปญหานั้น ๆ วิธีการนี้เปนการมองถึงปญหาอยางละเอียดลึกซ้ึงและมองเฉพาะจดุ การวจิัย เปนการใชเคร่ืองมือทางคณิตศาสตรมาชวยในการตัดสินใจ วิธีการนี้ จะคํานึงถึงวตัถุประสงคของการแกปญหาและขอจํากดัในการแกปญหาดวย นอกจากนี้ยังเปนวิธีการท่ีพัฒนาใหมีความใกลเคียงกับสภาพความเปนจริงมากยิ่งข้ึน ปญหาตาง ๆ จะถูกนํามาสรางเปนแบบจําลองทางคณิตศาสตร หรือกําหนดข้ึนใหอยูในรูปของสัญลักษณทางคณติศาสตรหรือ สมการ ซ่ึงรูปแบบหรือแบบจําลองดังกลาวจะมีการกําหนดคาตัวแปรตาง ๆได สามารถวัดไดเปนตัวเลขเพ่ือจะไดใชหลักทางคณิตศาสตรมาแกไขปญหาตอไป เปนการประยุกตใชวิธีการเชิงปริมาณมาใชแกปญหาดานการจัดการ วิธีการนี้เหมาะสมสําหรับปญหาการบริหารท่ียุงยากซับซอน และตองการขอมูลจํานวนมาก ๆ

2.2 เทคนิคที่ใชในการจัดองคการ 2.2.1 เทคนิคในการกําหนดขนาดของการควบคุม

การกําหนดขนาดของการควบคุม เปนเร่ืองท่ีสําคัญของการจัดโครงสรางองคการอยางหน่ึง เนื่องจากขนาดของการควบคุมหรือจํานวนของผูใตบังคับบัญชาท่ีอยูในความดูแลของผูบังคับบัญชาคนหน่ึง จะมีผลกระทบหรือมีความสัมพันธกับการประสานงานอยูดวย การพิจารณาถึงขนาดของการขนาดควบคุม อันเปนลักษณะอยางหน่ึงของโครงสรางองคกรใหมีความเหมาะสม หรือการท่ีผูบริหารมีเทคนคิวิธีการในการกําหนดขนาดของการควบคุมใหเกดิความเหมาะสม จะทําให ผูบริหารสามารถใชเวลาการทาํงานไดอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน เทคนิคในกําหนดขนาดของการควบคุม สามารถยกตัวอยางไดดังนี ้ 1) เทคนิคตามแนวคิดของ Henri Fayol ไดช้ีใหเหน็วาระดับท่ีแตกตางกันภายในองคการนั้นมีความตองการ ขนาดและการควบคุมท่ีไมเหมือนกัน เชน หัวหนางานท่ีดแูลเกี่ยวกับงานงาย ๆ อาจควบคุมพนักงานได 20-30 คน ในขณะท่ีระดับผูจัดการซ่ึงจะตองดูแลงาน ท่ียากสลับซับซอน โดยท่ัวไปแตละคนจะควบคุมพนักงานไดเพยีง 3 คนหรือ 4 คน เทานั้น

Page 179: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

85

2) เทคนิคการกําหนดขนาดของการควบคุมของ V.A. Graicunas ซ่ึงเขาไดช้ีใหเห็นวาในการเลือกขนาดการควบคุม ผูบริหารไมเพยีงแตจะตองพจิารณาถึงความสัมพันธท้ังทางเดียวและทางตรงกับผูใตบังคับบัญชาเทานั้น แตจะตองพิจารณาถึงความสัมพันธกับผูใตบังคับ บัญชาของตนเปนกลุม 2 คนหรือมากกวา รวมท้ังพิจารณาถึงความสัมพันธแบบไขวระหวางผูใตบังคับบัญชาดวยกันอีกดวย เทคนิคของ Graicunas แสดงใหเห็นวาเม่ือขนาดของการควบคุมของผูบริหารเพิ่มข้ึนจํานวนของความสัมพันธเทาท่ีจะเปนไปไดก็จะเพิ่มข้ึน และสามารถคาดคะเนไดโดยใชแนวทางคณิตศาสตร จํานวนความสัมพันธยิ่งมีมากข้ึนเทาใดความซับซอนของการควบคุมของผูบริหารก็จะมีมากข้ึนเทานั้น Graicunas ไดใชสูตรคณิตศาสตรในการคํานวณจํานวนของความสัมพันธไดดังตอไปนี ้ R = n(2n-1 + n-1) R = จํานวนของความสัมพันธ R = จํานวนของผูอยูใตบังคับบัญชา ซ่ึงถึงแมวาในสูตรดงักลาวจะไมไดรวบรวมความสัมพันธอ่ืน ๆ เชนความสัมพันธระหวางผูอยูใตบังคับบัญชากับบุคคลท่ีอยูภายนอกกลุมงานก็ตาม กจ็ะเห็นไดวาจํานวนความสัมพันธก็จะเพิ่มสูงข้ึนอยางรวดเร็วเม่ือจํานวนของผูอยูใตบังคับบัญชาเพิ่มข้ึน ดังตัวอยางตามตารางตอไปนี ้

จํานวนของผูอยูใตบงัคับบญัชา จํานวนของความสัมพันธ

1 2 3 4 5 6 7 8

1 6

18 44

100 222 490

1,080

ดังนั้นการกําหนดขนาดของการควบคุมจึงไมควรกําหนดไวกวางเกินไป เพราะจะทําใหจํานวนของความสัมพันธเพิม่สูงข้ึนประสิทธิภาพในการควบคุมก็จะลดลง

Page 180: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

86

3) เทคนิคการกําหนดขนาดของการควบคุมของ RC.Davis ไดช้ีใหเหน็ถึงความแตกตางของขนาดของการควบคุมอยูสองแบบคือ ขนาดของการควบคุมระดับบริหารและขนาดของการควบคุมระดับปฏิบัติการ การกําหนดขนาดของการควบคุมระดับบริหารท้ังในระดับกลางและระดับสูงในโครงสรางขององคการนั้น สามารถกําหนดขนาดของการควบคุมของผูบริหารในระดับเหลานีแ้ตกตางกันออกไปได ระหวางจํานวนสามคนถึงเกาคน ท้ังนีข้ึ้นอยูกับลักษณะของงานและความรับผิดชอบของผูบริหาร ในขณะท่ีการกําหนดขนาดของการควบคุมในระดับปฏิบัติงาน ซ่ึงเปนระดับการบริหารตํ่าสุดนั้น Davisไดแนะนําวาขนาดของการควบคุมท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุดในระดบันี้ คือผูบังคับบัญชาหนึ่งคนควบคุมผูใตบังคับบัญชาจํานวนสามสิบคน นอกจากเทคนิคตาง ๆ ดังกลาวแลว การกําหนดขนาดของการควบคุม ท่ีเหมาะสมนัน้ สามารถใชเกณฑเบ้ืองตนสามขอนี้ ในการกําหนดขนาดของการควบคุมท่ีเหมาะสมไดคือ 1. พิจารณาจากความเปนจริงทางธุรกิจ เปนการพิจารณาทั้งทางดานเศรษฐกิจขององคการและการปฏิบัติงานขององคการดวยวา มีการกระจายมากนอยเพยีงใด ยิ่งหนาท่ีหรือการปฏิบัติงานขององคการมีการกระจายมากเทาใด องคการก็ตองใชผูบริหารระดับกลางและระดับตนมากยิ่งข้ึน 2. พิจารณาจากความจริงทางการบริหาร ระบบการบริหารขององคการมีผลกระทบตอขนาดของการควบคุมดวย เชน ในองคการท่ีผูใตบังคับบัญชามีอิสระคอนขางมากการกําหนดขนาดของการควบคุมท่ีกวางยอมจะเปนไปได ผูใตบังคับบัญชาก็จะตัดสินใจดวยตนเองมากข้ึน 3. พิจารณาจากความเปนจริงในแงมนุษย บุคลิกภาพและความสามารถของผูบริหารและผูใตบังคับบัญชา มีอิทธิพลตอการกําหนดขนาดของการควบคุม กลาวคือผูบริหารบางคนตองการบังคับบัญชาผูใตบังคับบัญชาอยางใกลชิดมากกวาผูบริหารคนอ่ืน ในกรณนีี้ขนาดของการควบคุมก็จะแคบกวาผูบริหารอ่ืน ๆ นอกจากนี้ผูใตบังคับบัญชาท่ีไดรับการฝกฝนมาเปนอยางดีและมีความสามารถสูงยอมตองการการควบคุมนอย ดังนัน้ผูบริหารที่มีผูใตบังคับบัญชาในลักษณะน้ีสามารถท่ีจะกําหนดขนาดของการควบคุมท่ีกวางได

Page 181: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

87

2.3 เทคนิคการนํา 2.3.1 เทคนิคการจูงใจ การจูงใจน้ันมีความสลับซับซอนและไมมีเทคนิคท่ีจะนําไปใชท่ีดีท่ีสุดเพียงเทคนิคเดียว ดังนั้นผูบริหารจะตองศึกษาทฤษฎีและเทคนิคการจูงใจ ใหมีความเขาใจโดยถองแท จึงจะสามารถประยุกตใชเทคนิคตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมได แตอยางไรก็ดีเทคนิคการจูงใจท่ีสําคัญนั้น ประกอบไปดวยส่ิงตาง ๆ เหลานี้คือ 1) เงิน(Money) เงินนัน้เปนส่ิงกระตุนท่ีสําคัญอยางหนึ่งท่ีอาจอยูในรูปของเงินเดือนคาจาง ผลตอบแทนพิเศษท่ีจะมอบใหแกพนกังาน เงินในท่ีนี้ความหมายมากกวามูลคาในรูปของตัวเงิน แตจะหมายถึงท้ังสถานะและอํานาจอีกดวย ในมุมมองของนักเศรษฐศาสตร นักบริหารสวนใหญจะใชเงินเปนส่ิงกระตุนบุคคล สําหรับพฤติกรรมศาสตรแลวมองวาการใชเงินเปนส่ิงสําคัญสูงสุดของมนุษย การใชเงินเปนส่ิงกระตุนนั้น ผูบริหารตองระลึกถึงหลักท่ีสําคัญหมายประการดังนี ้ - เงินนัน้มีแนวโนมวาจะมีความสําคัญตอบุคคลมากข้ึน โดยเฉพาะบุคคลท่ีมีครอบครัวแลว การใชเงินเปนส่ิงกระตุนนั้นจะตองใหกับบุคคลอยางเพียงพอกับมาตรฐานการครองชีพอยางนอยในระดับตํ่า เนื่องจากเงินเปนส่ิงท่ีบุคคลใชเพื่อใหบรรลุมาตรฐานการครองชีพ - ธุรกิจหรือองคการทุกแหงจะใชเงินเปนสงตอบแทน และเปนตัวกระตุนจูงใจ ใหกับพนักงานในการทํางาน ดังนั้นองคการจะตองดูองคการอ่ืน ๆ ภายนอกดวย วามีการใชเงินเปนจํานวนมากนอยเทาใดในการตอบแทนใหแกพนักงาน เพื่อท่ีจะกาํหนดเงินคาตอบแทนใหกับพนักงานไดอยางเหมาะสมไมนอยกวาองคการภายนอกเหลานั้น เพื่อเปนการจูงใจและธํารงรักษาบุคลากรไว - ในการใชเงินเปนส่ิงกระตุนจูงใจตอบแทนพนักงานในการทํางานนัน้ จะตอง มีการพิจารณาการตอบแทนนั้นอยางสมเหตุสมผล มีความยุติธรรม เม่ือเปรียบเทียบผลการทํางานระหวางกันของบุคลากรแตละคนขององคการ 2) มีสวนรวม (Participation) เปนเทคนิคที่เปนผลมาจากทฤษฎีการจูงใจและการวิจัยในเร่ืองการมีสวนรวมในการทํางาน ซึง่พบวาการมีสวนรวมในการทํางานอยางถูกตองและเหมาะสม จะกอใหทั้งแรงจูงใจในการทํางานและเกิดความรูที่มีคุณภาพท่ีจะสงผลใหการทํางานประสบความสําเร็จ การมีสวนรวมในการทํางานจะทําใหบุคลากรมีความรูและรับทราบทั้งในดานปญหา และผลลัพธที่ไดจากการทํางานนั้น ๆ การมีสวนรวมในการทํางานนั้นจะตองรวมถึงการถูกยอมรับ ซ่ึงประกอบไปดวยความผูกพันและการยอมรับ เปนการทําใหบุคคลไดมีสวนรวมหรือรูสึกถึงความสําเร็จรวมกันในการ

Page 182: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

88

3) คุณภาพชีวติในการทํางาน(Quality of Working Life) เปนเทคนคิการจูงใจท่ีนาสนใจอยางยิ่ง โดยศึกษาถึงระบบในการออกแบบงานและพัฒนาขอบเขตการทํางาน โดยพิจารณาถึงเร่ืองสังคมวิทยาในการจดัการประกอบดวย ซ่ึงจะทําใหบุคคลทํางานรวมกันอยางมีความสุข การสรางคุณภาพชีวิตในการทํางานนั้น เปนการประสานความรูระหวางศาสตรตาง ๆ เขาดวยกันคือจิตวิทยาอุตสาหกรรม จิตวทิยาองคการและสังคมวิทยา วิศวกรรม อุตสาหกรรม ทฤษฎีองคการ ทฤษฎีและการพัฒนาองคการ การจูงใจและทฤษฎีผูนาํ และอุตสาหกรรมสัมพันธ ซ่ึงหากผูศึกษาสนใจในเร่ืองนี้สามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมไดตอไป

2.4 เทคนิคการควบคุมงาน เทคนิคท่ีนํามาใชในการควบคุมงานนั้น เราสามรถนําเอาบางเทคนิคมาใชไดดงันี้

2.4.1 การควบคุมงานโดยใชงบประมาณ ซ่ึงเราสามารถใชหลักไดดังนี้ 1) หลักคาดการณไกล วาตองการอะไร ใชทรัพยากรจํานวนเทาใด ในเวลาใด

จะหาจากแหลงใด 2) หลักดุลยภาพ งบประมาณท่ีกําหนดจะตองสมดุลระหวางรายรับกบัรายจาย

อาจมีเกินดุลหรือขาดดุลบางสามารถจัดไดตามความเหมาะสม 3) หลักสารรัตประโยชน ตองมีการคํานึงถึงประโยชนท้ังในปจจุบันและใน

อนาคต ตองมีรายจายเพื่อการลงทุนใหไดสัดสวนท่ีเหมาะสมกับรายจายประจํา 4) หลักยตุิธรรม การจัดงบตองยุติธรรมท้ังดานรายไดและรายจาย 5) หลักประสิทธิภาพ ตองมีการตรวจสอบใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

2.4.2 การควบคุมดานคุณภาพของงาน (Quality Control) คือการกระทําใด ๆ ก็ตามอันเปนการตรวจตรา ควบคุมใหผลผลิต (Output) ของงานท่ีออกมาเปนไปอยางถูกตองเปนไปตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด นอกจากนี้ยังรวมไปถึงความพยายามท่ีจะยกมาตรฐานดังกลาวใหสูงข้ึนจนกวาจะเปนท่ีพอใจของท้ังฝายบริหารและลูกคา

จุดมุงหมายของการควบคุมคุณภาพนั้นมีอยูอยางนอย 3 ประการ คือ 1) เพื่อทําการคัดเลือกผลผลิตท่ีออกมาโดยคัดเลือกเฉพาะผลผลิตท่ีดี 2) เพื่อกําหนดคาหรือราคาของผลผลิตนั้น ๆ 3) เพื่อประเมินคาของวิธีการและกระบวนการในการทํางานนั้น ๆ

Page 183: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

89

กระบวนการในการดําเนินงานการควบคุมคุณภาพ คือ การทําข้ันตอนดังตอไปนี ้ (1) ศึกษาขอมูลตาง ๆ รวบท้ังเร่ืองความตองการของลูกคาและผูมารับ

บริการ เพื่อเปนหลักในการกําหนดเกณฑมาตรฐาน คุณภาพของงานน้ัน (2) กําหนดเกณฑมาตรฐานตามงานนั้น ๆ ตามขอมูลท่ีรวบรวมไดในขั้นที่ 1 (3) ติดตามผลงานและควบคุมการทํางาน (4) วัดผลงานโดยอาศัยเคร่ืองมือในการวัดตาง ๆ ที่สรางขึน้ตามลักษณะงาน (5) นําผลงานท่ีวัดไดมาเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนดไว (6) ในกรณีที่ผลงานไดออกมามีความแตกตางจากมาตรฐานมาก ก็ดําเนินงาน

แกไขโดยอาจจะพิจารณาแยกไดเปน 2 แนวทาง คือ

แนวทางท่ี 1 เม่ือพิจารณามาตรฐานของผลงานท่ีกําหนดไวอีกคร้ัง เพือ่ดูวาสูงเกินไปหรือตํ่าเกินไป แลวแกไขปรับปรุงมาตรฐานใหเหมาะสมตอไป แนวทางท่ี 2 เพื่อพิจารณาทางดานมาตรฐานแลว เห็นวามาตรฐานท่ีกาํหนดไวนั้นมีความเหมาะสมถูกตองแลว ก็จะกลับมาสํารวจดูวาอะไรเปนสาเหตุหรือปญหาที่ทําใหผลงานนั้นออกมาไมไดตามเกณฑท่ีกําหนด เม่ือทราบสาเหตุและดําเนินการแกไขปรับปรุงตอไป 2.4.3 การควบคุมดานปริมาณของงาน (Quantity Control) คือ การควบคุมท่ีมีการใชขอมูลตัวเลขตาง ๆ เพื่อนํามาใชวดัผลผลิตจากการทํางานในเชิงปริมาณ เพื่อใหสามารถพิจารณาไดวาผลผลิตท่ีไดจากการทํางานในเชิงปริมาณน้ัน ไปตามท่ีคาดการณไวหรือกําหนดไวหรือไม 1) การควบคุมปริมาณการผลิต เปนการควบคุมปริมาณการผลิตสินคาใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา ถาตลาดมีความตองการสินคามาก องคการก็จะตองผลิตสินคาใหมากขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคานั้น แตอยางไรก็ตามการท่ีสินคาท่ีผลิตไดจะไดรับการยอมรับจากลูกคา หรือจําหนายไดมากนอยเพียงใดน้ันยอมข้ึนอยูกับคุณภาพของสินคาและความตองการของส้ินคานั้น ๆ ของลูกคาดวย นอกจากนีใ้นการผลิตนั้นจะผลิตในปริมาณมากนอยเพยีงใดยอมข้ึนอยูกับปจจัยในการผลิตอ่ืน ๆ ท่ีตองนํามาใชในการผลิตอีกดวย ดังนั้นในการควบคุมดานปริมาณการผลิต จะตองมีหนวยควบคุมปริมาณการผลิตข้ึนโดยเฉพาะ เพื่อตรวจสอบดูวาสินคาท่ีผูผลิตไดนั้นเพียงพอหรือไม และกระบวนการผลิตนั้นดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพมากนอยเพียงใดอีกดวย 2) การควบคุมปริมาณการจาํหนาย ส่ิงท่ีกําหนดปริมาณการจําหนายก็คือ ความตองการของผูบริโภค ซ่ึงจะนําไปสูการควบคุมปริมาณการผลิตอีกดวยนัน่เอง มีขอสังเกตและเปนปจจยัท่ีนาสนใจในเร่ืองนี้คือ ความตองการของผูบริโภคนั้นมักจะผันแปรไปตามฤดูกาล

Page 184: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

90

3) การควบคุมวิธีการจําหนาย จากเหตุผลท่ีวาผูบริโภคเปนปจจยัสําคัญท่ีมีอิทธิพลตอการผลิตมากท่ีสุด และส่ิงท่ีจะกําหนดความตองการของผูบริโภคก็คือ ความพอใจสูงสุดของผูบริโภคซ่ึงข้ึนอยูกับจํานวน คุณภาพและราคา ดังนั้นผูบริหารงานท่ีควบคุมปริมาณ การจําหนายจาํเปนอยางยิ่ง ท่ีจะตองคอยติดตามในเร่ืองปริมาณของการจําหนายอยางใกลชิด และ ขอสําคัญท่ีควรคํานึงถึงและมีสวนผูกพันกบัการควบคุมการจําหนายอยางมากก็คือ เร่ืองของการต้ังหนวยควบคุมการจําหนาย ความสามารถในการจําหนายและลักษณะของสถานท่ีจําหนาย 4) การควบคุมการปฏิบัติการจําหนาย เปนสวนสําคัญอยางยิ่งท่ีจะตองมีการวัดผลในเร่ืองของการปฏิบัติการจําหนาย เนื่องจากปจจยัสําคัญท่ีจะนาํไปสูการควบคุมปริมาณการผลิต ซ่ึงโดยท่ัวไปแลวการวดัการปฏิบัติการจําหนายจะประกอบดวย การวัดการปฏิบัติงาน การเปรียบเทียบการปฏิบัติกับมาตรฐานท่ีกําหนดไว และการแกไขความเบ่ียงเบนท่ีแตกตางไปจากมาตรฐานท่ีกําหนดไว 2.4.4 การใช Gantt chart ในการควบคุม Gantt chart หรือ Bar chartนั้น Henry L.Gantt เปนผูท่ีไดพัฒนาขึ้น เปนวิธีการเขียนแผนผังงานในรูปท่ีมีระบบ แตอยางไรก็ตามผังงานนี้มิไดแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธและการประสานอาศัยซ่ึงกันและกัน ระหวางกิจกรรมตาง ๆ หรือหนาท่ีของงานแตละประเภทตาง ๆ แตจะชวยใหทราบวาระยะเวลาในการทํากจิกรรมตาง ๆ นั้น จะตองเร่ิมทําเม่ือใดและส้ินสุดลงเม่ือใด แสดงใหเห็นไดดังนี ้

A B C D E

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

ตัวอยางแผนภูมิ Gantt chart

Page 185: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

91

2.4.5 การตรวจสอบ หมายถึงการตรวจสอบกิจกรรมตาง ๆ ขององคการ ไมเฉพาะแตการตรวจสอบความถูกตองทางดานบัญชีเทานั้น แตรวมไปถึงเร่ืองท่ีมิไดมีสวนเกี่ยวของกับการเงินหรือบัญชี หรือความครบถวนของเอกสารตาง ๆ อีกดวย การตรวจสอบแตกตางจากเคร่ืองมือหรือเทคนิคในการควบคุมอ่ืน ๆ คือการตรวจสอบไมจําเปนตองกระทําตอเนื่องกัน แตจะตรวจสอบเปนคร้ังคราว การตรวจสอบแบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1) การตรวจสอบภายใน สวนใหญแลวมักเปนการตรวจสอบทางดานการเงินขององคการวารายงานทางการเงินถูกตองหรือไม มีการทุจริตเกิดข้ึนหรือไมรวมไปถึงการตรวจสอบฐานะทางการเงินขององคการอีกดวย การตรวจสอบภายในในเร่ืองการเงินนั้น องคการท่ัวไปมักใหพนักงานขององคการเปนผูตรวจสอบ ซ่ึงมีขอดีคือผูตรวจสอบภายในจะทราบถึงสภาพพื้นฐานขององคการเปนอยางดีอยูแลว กลาวคือไมตองจางบุคคลภายนอก แตก็มีขอเสียคือพนักงานทีเ่ปนผูตรวจสอบ อาจมีคุณสมบัติหรือทักษะไมเหมาะสมหรือมีอคติในการทํางานได นอกจากนี้อาจมองขามจุดออน บางจุดเพื่อปกปองผลประโยชนของตนเองอีกดวย 2) การตรวจสอบภายนอก คือ การท่ีองคการวาจางบุคคลภายนอกเขามาตรวจการปฏิบัติงานกิจการ เชนการจางผูตรวจสอบบัญชีภายนอกเขามาตรวจสอบบัญชีของกิจการ มีขอดีคือการปฏิบัติงานไมมีอคติ หรือความลําเอียงเกิดข้ึนเนือ่งจากผูตรวจสอบเปนบุคคลภายนอก นอกจากนี้ผูตรวจสอบภายนอกมักจะเปนผูท่ีมีความเชี่ยวชาญหรือชํานาญการ มีประสบการณมาก ทําใหสามารถมองปญหาตาง ๆ ขององคการไดลึกซ้ึง ใหคําแนะนําท่ีเหมาะสมกับองคการได 3) การตรวจสอบการบริหาร เปนการประเมินผลท่ัวท้ังองคการ ในเร่ืองของการกําหนดแผนกลยุทธ นโยบาย ประสิทธิภาพการทํางาน ความสามารถในการทํากําไร การจัดหาทรัพยากรและทิศทางในอนาคตขององคการ ฯลฯ การตรวจสอบการบริหารอาจใชพนกังานขององคการทําหนาท่ีติดตาม กระบวนการการบริหารตาง ๆ ท่ีกลาวมาหรืออาจวาจางบุคคลภายนอกก็ได การตรวจสอบการบริหารมีขอดี คือชวยใหองคการตรวจสอบการดําเนนิงานท่ัวท้ังองคการ วาการบริหารงานเปนอยางไร ซ่ึงจะชวยใหสามารถหาจุดหรือโอกาสท่ีจะพัฒนาการดําเนินงานขององคการใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึนได 2.4.6 การตรวจเยี่ยม (Visiting ) การตรวจเยี่ยมเปนเทคนคิในการควบคุมงานอีกวิธีหนึ่ง การตรวจเยีย่มหมายถึงการท่ีบังคับบัญชาไปสังเกตการณ ณ สถานท่ีท่ีผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติงานจริง ๆ ซึ่งสถานท่ีในการปฏิบัติงานนี ้อาจอยูหางไกลกับสถานท่ีตั้งสํานักงานขององคการ ซ่ึงโดยปกติแลวผูบังคับบัญชา ไมสามารถมอบเห็นการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชาได

Page 186: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

92

ประโยชนท่ีจะไดรับในการตรวจเยี่ยม ท่ีสําคัญคือ 1) ทําใหผูบังคับบัญชาไดรูจักผูใตบังคับบัญชามากข้ึน ท้ังในดานท่ีเปนขอดี ขอดอย ซ่ึงจะไดนํามาเปนขอมูลในการพฒันาสงเสริมความกาวหนา การมอบหมายงานหรือการพิจารณาความดีความชอบไดอยางเหมาะสมตอไป 2) ทําใหผูบังคับบัญชาไดทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพพ้ืนฐาน และปญหาในการบริหารงานท่ีอาจเกดิ จากสภาพแวดลอมของทองถ่ินที่มีความแตกตางกันออกไป 3) ใหผูบังคับบัญชาสามารถทราบถึง ขอบกพรองหรือขอผิดพลาดในทางปฏิบัติของผูใตบังคับบัญชาไดอยางใกลชิด และสามารถหาทางแกไขไดทันทวงทีหรือแนะนําวิธีการทํางานท่ีถูกตองไดตอไป 4) ชวยสรางขวัญกําลังใจใหแกผูใตบังคับบัญชา เนื่องจากผูใตบังคับบัญชาจะรูสึกวางานท่ีตองรับผิดชอบอยูนั้นเปนท่ีสนใจ ของผูบังคับบัญชาแมวาจะอยูหางไกล 2.4.7 การรายงาน (Reporting) การรายงานเปนเคร่ืองมือท่ีใชในการควบคุมงานอยางหนึ่ง ในกระบวนการบริหารงานตองอาศัยรายงานเปนเคร่ืองมือประกอบในการพจิารณา จึงจะทําใหการปฏิบัตกิารตามหนาท่ีในกระบวนการการจัดการเปนไปอยางมีเหตุมีผลและถูกตองตรงกับขอเท็จจริง การบริหารงานจะเกิดผลที่ดีจะตองกําหนดระบบการรายงานไวอยางรัดกุมและมีประสิทธิภาพ การรายงาน หมายถึงการจัดทําเอกสารเพ่ือแสดงขอเท็จจริง ( Facts ) หรือสถิติตัวเลขตาง ๆ (Statistics) เพื่อใหผูเกีย่วของไดรับทมราบในเร่ืองเหลานี ้ สาระสําคัญควรมีการรายงาน ไดแก 1) ผลงานของผูใตบังคับบัญชา การรายงานแสดงผลงาน คือรายงานท่ีเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานรายงานผลท่ีเกิดจากผลท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานในหนาท่ีของตนตอผูบังคับบัญชา 2) เหตกุารณท่ีเกิดขึ้นเปนคร้ังคราวในการบริหารงานนัน้ อาจมีเหตกุารณท่ีบอกความหมายตาง ๆ เกิดข้ึน เชนเกิดอัคคีภัย เกิดความเปล่ียนแปลงในตลาด หรือเหตุการณอ่ืนท่ีเห็นวาจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานหรือองคการเกิดข้ึน 3) การรายงานฐานะทางการเงิน เชน งบดลุ งบกําไรขาดทุน งบเงินสด การหมุนเวียนของเงิน เปนตน

Page 187: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

93

สรุป กระบวนการในการจัดการธุรกิจ หมายถึงการดําเนนิการตามข้ันตอนตาง ๆ ตั้งแตการวางแผน การจัดการองคการ การนํา การควบคุมงาน โดยการนําทรัพยากรท่ีมีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อใหธุรกิจบรรลุวัตถุประสงคเปนหนาท่ีท่ีผูบริหารทุกคนตองปฏิบัติ

การนํากระบวนการการบริหารการจัดการธุรกิจเกษตร ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุเปาหมายตามท่ีตองการไดนั้น เกษตรกรหรือนักธุรกิจจะตองเรียนรูเทคนิค ตามหนาท่ีแตละหนาท่ีในกระบวนการจัดการท่ีมีอยางมากมาย เชนการเรียนรูเทคนิคการวางแผน การจัดองคการ การนําหรือการจูงใจ และเทคนิคการควบคุมงาน จะทําใหงานในองคสามารถพัฒนาไดอยางตอเนื่องม่ันคงและยั่งยืนได

สําหรับกระบวนการการบริหารการจัดการธุรกิจเกษตร ในเร่ืองการดาํเนินการตามรูปแบบของกระบวนการบริหารนับวามีความสําคัญมาก โดยเฉพาะธุรกิจท่ีมีขนาดใหญมีบุคลากรมาก ๆ จําเปนตองจดัหาบุคคลท่ีมีความรูความสามารถมาจัดการ และยิ่งการดําเนินธุรกจิในปจจุบันความไดเปรียบในการแขงขัน ไมเฉพาะท่ีมีการแขงขันกันภายในประเทศเราเทานั้น ตางประเทศก็เชน เดียวกัน การศึกษารูปแบบกระบวนการบริหารและเทคนิคในการทํางาน ยอมเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการเตรียมความพรอมไปสูโลกอนาคต ในหนวยนีผู้ทําธุรกิจการเกษตรจําเปนตองศึกษารูปแบบกระบวนและเทคนิคตาง ๆ เพื่อเปนพื้นฐานท่ีจะนําเอาไปใชในการทํางานตอไป

**************************

Page 188: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

94

แบบฝกหัด หนวยท่ี 3 หนาท่ีพื้นฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. กระบวนการ การบริหารจัดการธุรกิจ (Management process ) เปนหนาท่ีพื้นฐานท่ีสําคัญ จะตองประกอบไปดวยอะไรบาง ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 2. การวางแผน (Planning) มีความสําคัญสําหรับนักบริหารอยางไร .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. ข้ันตอนการวางแผนหรือกระบวนการวางแผน จะตองประกอบไปดวยอะไรบาง ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 189: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

95

4. การจัดโครงสรางพื้นฐานท่ัวไปขององคการ มีอยูกีแ่บบอะไรบาง และการจัดโครงสรางแบบใดท่ีเหมาะสมกับยุคภาวะเศรษฐกิจในปจจบัุน .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. วิธีการสรางกระบวนการจูงใจ จะเร่ิมตนดวยข้ันตอนใดบาง อธิบาย .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 6. ในปจจุบันทฤษฎีแรงจูงใจ ท่ีนิยมใชมีอะไรบางอธิบาย .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 7. กระบวนการควบคุม (Controlling) จะประกอบไปดวยข้ันตอนท่ีสําคัญใดบาง .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 190: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

96

8. เทคนิคในการวางแผนกลยุทธ การวิเคราะหแบบ SWOT มีการประเมินขอมูลในดานใดบาง .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 9. การกําหนดขนาดของการควบคุมท่ีเหมาะสม เราสามารถพิจารณาไดตามหลักการใดบาง ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 10. เทคนิคการจูงใจท่ีสําคัญ ประกอบไปดวยอะไรบาง .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. 11. การควบคุมงาน เราสามารถนําเอาเทคนิคใดมาใชไดบาง .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................

****************************

Page 191: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

97

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 3 หนาท่ีพื้นฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเหน็วาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว

กระบวนการบริหารธุรกิจ หมายถึง 1. ก. การวางแผนดําเนนิธุรกิจ ใหบรรลุ เปาหมายตามท่ีตองการ ข. การดําเนินการผลิตในองคการ ให ธุรกิจบรรลุวัตถุประสงค ค. การวางแผน การจัดการองคการ การนํา การควบคุมงาน ในชวงเวลา ใดเวลาหน่ึง ง. การดําเนนิการ การวางแผน การ จัดการองคการ การนํา การควบคุม งาน ใหธุรกิจบรรลุวัตถุประสงค

2. กระบวนการบริหารธุรกิจ ท่ีนิยมใชในการในปจจุบัน คือ ก. POSDCROB ข. POLD ค. POLC ง. PLAN 3. เคร่ืองมือชวยในการกําหนดทิศทาง และวัตถุประสงคของงานในอนาคตเปนเร่ืองของ ก. การวางแผน ข. การนํา ค. การควบคุม ง. การจัดองคการ

4. แผนการ, การปฏิบัติ, งบประมาณ เราจัดแบงเปนแผนประเภทใด

ก. แผนการบริหาร ข. แผนระยะเวลา ค. แผนตามลักษณะการใช ง. แผนตามระดับขององคกร

5. การวางนโยบายเพ่ือใชปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่ง จัดเปนการวางแผนประเภทใด

ก. แผนการบริหาร ข. แผนระยะเวลา ค. แผนตามลักษณะการใช ง. แผนตามระดบัขององคกร

6. แผนงานท่ีจัดทํา เพื่อใชเปนแนวทางสําหรับปฏิบตังิานเฉพาะกิจ จัดเปนแผนงานประเภทใด

ก. แผนระยะยาว ข. แผนท่ีใชประจํา ค. แผนใชคร้ังเดียว ง. แผนงานหลัก

7. ประโยชนและความสําคญัของการวางแผน

ก. ชวยแบงงานกันทํา ข. ชวยกําหนดทิศทางในอนาคต ค. ชวยจดัโครงสรางขององคการ ง. ชวยกระตุนหรือจูงใจในการทํางาน

Page 192: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

98

8. การจัดความสัมพันธระหวาง งาน คน เครื่องจักร อุปกรณและทรัพยากรตาง ๆ เรียกวา

13. ผูนําท่ีดีควรมีลักษณะอยางไร ก. มีความอาวุโสเปนหลัก

ก. การจัดองคการ ข. พูดจาไพเราะสนุกสนาน ข. การวางแผน ค. แตงกายสุภาพและนิสัยดี ค. การควบคุมงาน ง. มีความริเร่ิมสรางสรรค ง. การนํา 14. การกระตุนความพยายามของพนักงาน

ในองคการใหบรรลุเปาหมาย การสรางขวญัและจูงใจ เปนเร่ืองของการ

9. โครงสรางแบบทหาร จัดเปนโครงสรางแบบ ก. แบบหนวยงานหลักและท่ีปรึกษา ข. แบบหนวยงานหลัก ก. การวางแผน ค. แบบหนาท่ีเฉพาะ ข. การจัดองคการ ง. แบบเมทริกซ ค. การนํา

10. โครงสรางท่ีเหมาะสมกับสถานการณ เศรษฐกิจและสภาพปจจุบัน คือขอใด

ง. การควบคุมงาน ขอใด ไมจัดอยูในกระบวนการจูงใจ 15.

ก. แบบหนวยงานหลักและท่ีปรึกษา ก. การรับรูความตองการ ข. แบบหนวยงานหลัก ข. การสงเสริมความคิดสรางสรรค ค. แบบหนาท่ีเฉพาะ ค. การพิจารณาวิธีท่ีจะสนองความพอใจ ง. แบบเมทริกซ

ง. การประเมินรางวัล 11. โครงสรางใดท่ี สงเสริมการมีระเบียบวินัย ติดตามการปฏิบัติงานไดงาย

ขอใดไมจัดอยูในประเภทของการควบคุม 16. ก. การควบคุมดานปริมาณงาน

ก. แบบหนวยงานหลักและท่ีปรึกษา ข. การควบคุมดานคุณภาพของงาน

ข. แบบหนวยงานหลัก ค. การควบคุมดานการทํางานของ

ค. แบบหนาท่ีเฉพาะ เคร่ืองจักร ง. แบบเมทริกซ ง. การควบคุมดานตนทุนคาใชจาย 12. ขอเสียของโครงสรางแบบหนวยงานหลัก

และหนวยงานท่ีปรึกษา คือ 17. เทคนิคในการวางแผนกลยุทธ เราใชการวิเคราะหแบบ ก. ไมสงเสริมใหคนมีความริเร่ิม

ก. SWOT สรางสรรค ข. Gant chart ข. ผูควบคุมหรือหัวหนางานตองรูงาน ค. PERT หลาย ๆ ดาน ง. ERG ค. มีปญหาดานการประสานงาน ง. มีคาใชจายเพิ่มมากขึ้น

Page 193: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

99

18. ขนาดของการควบคุมของผูบริหารเพิ่มข้ึนตามจํานวนของความสัมพันธ ของผูใตบังคับบัญชา โดยใชแนวทางคณิตศาสตรเปนเทคนิคของนักการจดัการทานใด

ก. ของ Alderfer ข. ของ Maslow ค. ของ Herberg ง. ของ V.A. Graicunas 19. เทคนิคการจูงใจไมมีเทคนิคใดท่ีดีท่ีสุด

แตอยางไรก็ตามจะตองประกอบไปดวยอะไรบาง

ก. เงิน ข. การมีสวนรวม ค. คุณภาพชีวติในการทํางาน ง. ถูกทุกขอ 20. การเทคนิคในการควบคมุงานดานเวลา

โดยวิธีการเขียนผังงานอยางมีระบบ เราเรียกวาเทคนิคนั้นวา อะไร ก. PERT ข. SWOT ค. GANTT CHART ง. REPORTING *********************

Page 194: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

100

ใบงานท่ี 3 หนวยท่ี 3 หนาท่ีพื้นฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร

*************************************** เร่ือง หนาท่ีพื้นฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร จุดประสงคการเรียนรู

1. บอกหนาท่ีพื้นฐานท่ีสําคัญของกระบวนการจัดการบริหารธุรกิจได 2. เอาเทคนิคการจัดการบริหารธุรกิจมาใชประยุกตในการทํางานได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รบัฟงคนอื่น เปนผูนําและผูตามท่ีดี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินัยในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวิชาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเรื่องท่ีเกี่ยวของ วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ

1. กระดาษ A4 ตัวอยางองคการธุรกิจบริษัท รุงเรืองการเกษตรจํากัด 2.

3. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 4. เอกสารประกอบการสอน

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ใหผูเรียนแบงกลุม 4-5 คน/กลุม 2. สงตัวแทนมารับใบงานท่ี 3 และกรณีตัวอยางธุรกิจ ไปดําเนินการทํางานใหเสร็จตามคําส่ังภายใน 1 ช่ัวโมง 3. สงตัวแทนนําผลงานมาเสนอหนาช้ันเรียน 4. สงรายงาน ตามรูปแบบรายงานท่ีถูกตองสมบูรณ 5. ประเมินผล

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเก่ียวกับการบริหารจัดการท่ัวไป

******************************

Page 195: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

101

กรณีตัวอยางธุรกิจ บริษัท รุงเรอืงการเกษตรจํากัด

นายกลวยไม โกมาซุม เปนนักธุรกิจชาวปกษใต ประกอบอาชีพทําธุรกิจผลิตปุยเคมี

จําหนาย คาสงและปลีกทั่วประเทศ โดยการจัดต้ังโรงงานผลิตปุยเคมภีายใตยีห่อทางการคา ตราปุยรุงเรือง มีปุยสูตรตาง ๆ ใหลูกคาเลือกไปใชไดมากมาย แลวแตเกษตรกรจะนําไปใช ไมวาจะเปนปุยเกี่ยวกบัไมผล สําหรับพืชผักหรือปุยสําหรับนาขาว ซ่ึงมีสวนแบงในตลาดปุยไมนอยกวา 30 % ของผูผลิตปุยท้ังหมด ปจจุบันนายกลวยไมกําลังทําการวิเคราะหศึกษาดานการตลาดและคุณภาพของผลิตภัณฑปุยตัวใหมออกมา ดวยเหตุผลท่ีวารัฐบาลและผูบริโภคเองกําลังรนณรงครักษาส่ิงแวดลอม คืนธรรมชาติใหแกพื้นดิน ปรับปรุงโครงสรางของดินและลดตนทุนในการผลิต ผูบริโภคจะไดบริโภคผลผลิตท่ีปลอดภัย ปลอดสารเคมี จึงเนนทีจ่ะนาํเสนอผลิตภัณฑปุยตัวใหมออกมาวางขายในทองตลาด เปนปุยชีวภาพ ภายใตสูตรตาง ๆ ใหเกษตรกรไดเลือกใช

บริษัทรุงเรืองการเกษตร จาํกัด แตกอนท่ีจะเจริญเติบโตไดอยางปจจบัุนนี้ เร่ิมมาจากการดําเนินงานในรูปแบบธุรกิจเจาของคนเดียว มีโรงงานขนาดเล็กผลิตจาํหนายเฉพาะในจังหวดัและจังหวดัใกลเคียง มีคนงานท้ังส้ิน 50 คน ตอมากิจการเจริญกาวหนาไดจดทะเบียนจดัต้ังเปนรูปแบบบริษัทจํากดั มีโรงงานผลิต10 กวาโรงงาน ใชเคร่ืองจักร เคร่ืองมือการผลิตท่ีทันสมัยมีพนักงานในปจจุบันท้ังส้ิน 400 คน

ในฐานะท่ีนกัศึกษาไดศึกษาในเร่ืองรูปแบบธุรกิจและกระบวนการบริหารธุรกิจมาแลว จงนําองคความรูท่ีเรียนมาชวยนายกลวยไม โกมาซุม ถาตนเองเปนผูบริหารจะทําอยางไร ดังตอไปนี้

1. จะนําเอากระบวนการบริหารจัดการธุรกิจ มาใชอยางไรไดบาง 2. และจะนําเอาเทคนิคในการบริหารจัดการใด มาใชกบับริษัทดังกลาว

******************************

Page 196: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

102

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 3 หนาท่ีพื้นฐานในการจัดการธุรกิจเกษตร

************************

ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ตอบ ง ค ก ข ก ค ข ก ข ก

ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ตอบ ข ง ง ค ข ค ก ง ง ค

******************************

Page 197: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 4 เร่ือง การจดัการผลิต

**********************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1.1 บอกความหมายของการจัดการผลิตได 1.2 บอกความสําคัญของการผลิตได 1.3 อธิบายถึงปจจัยในการเลือกทําเลที่ตั้งในการผลิตได 1.4 อธิบายข้ันตอนของการควบคุมการผลิตได

สาระสําคัญ การผลิต หมายถึงการแปรรูปวัตถุดิบหรือการประกอบชิน้สวนใหเกดิผลผลิต หรือกลาวไดวาการผลิตกอใหเกิดสินคาหรือบริการ โดยอาศัยการผลิตตาง ๆ มารวมกัน การผลิต ประกอบดวย 3 สวนสําคัญ คือ ปจจัยการผลิต กระบวนการผลิตและผลผลิต องคประกอบท่ีสําคัญในการผลิต ประกอบดวยคน(Man),เคร่ืองจักร (Machine),เงินทุน (Money)และวตัถุดิบ (Material) ปญหาการผลิต ในระบบเศรษฐกจิ คือจะผลิตอะไร จะผลิตอยางไร จะผลิตเทาไร เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย ความสําคัญของการผลิต 1. ทําใหเกิดมูลคาเพิ่มในวตัถุดิบ หรือช้ินสวนนํามาแปรรูปเปนตัวผลิตภัณฑ 2. ทําใหผูบริโภคมีสินคาและบริการใหม ๆ ใช 3. ทําใหเกิดการจางงานและยกระดับรายไดของผูบริโภค 4. เกิดการคนควาพัฒนารูปแบบการผลิตใหม ๆ การใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัยสามารถผลิตสินคาไดคราวละจํานวนมาก 5. มีผลตอการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตประเภทตาง ๆ ในประเทศใหทันสมัย และมีมาตรฐานยิ่งข้ึน การผลิตทางดานธุรกิจอุตสาหกรรม แบงออกเปน 2 ประเภท คือการผลิตตามกรรมวธีิการผลิตและการผลิตตามลักษณะการบริโภค

Page 198: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

104

ปจจัยท่ีตองพจิารณาในการเลือกทําเลท่ีตั้งในการผลิต มีดังนี้ 1. ท่ีดินท่ีจะใชเปนแหลงท่ีตั้งการผลิต 2. ระบบสาธารณูปโภค 3. แรงงาน 4. แหลงวัตถุดิบตลาด 5. ส่ิงอํานวยความสะดวกในการดําเนนิธุรกิจ 6. โอกาสของธุรกิจในอนาคต 7. ส่ิงแวดลอมของธุรกิจ

ระบบการผลิต(Production System) แบงตามลักษณะท่ีสําคัญได 2 อยางคือ การผลิตตามคําส่ังซ้ือ และการผลิตเพื่อรอการจําหนาย การควบคุมการผลิต คือ กํากับดูแลใหการดําเนินการผลิตสูเปาหมาย แบงออกเปน 5 ข้ันตอน คือ

1. ข้ันวางแผน 2. ข้ันแบงงานการผลิต 3. ข้ันควบคุมเวลา 4. ข้ันควบคุมกระบวนการจดัการ 5. ข้ันตรวจสอบและติดตามผล

เน้ือหา

1. ความหมาย องคประกอบท่ีสําคัญและความสําคัญของการผลิต

1.1 ความหมายของการผลิตและการจัดการผลิต การผลิต หมายถึง การแปรรูปวัตถุดิบหรือการประกอบชิน้สวนใหเกดิผลผลิต

หรือกลาวไดวาการผลิตกอใหเกิดสินคาหรือบริการ โดยอาศัยการผลิตตาง ๆ มารวมกัน การจัดการการผลิต(Operations Management) เปนการแปรสภาพของทรัพยากรตาง ๆ

ท่ีถูกนําเขา (Input ) สูกระบวนการใหออกมาเปนผลผลิต โดยการจดัการดังกลาวนี้ ประกอบดวยองคประกอบท่ีสําคัญ 5 ประการคือ ส่ิงท่ีนําเขา (Input )และทรัพยากร (Resource) จากนั้นนาํเขาสูกระบวนการแปรเปล่ียนสภาพ ( Transformation process ) โดยไดรับส่ิงท่ีออกมาท้ังท่ีเปนผลผลิตโดยตรงตามท่ีตองการ ( Direct outputs ) และผลผลิตโดยออม ( By products )

Page 199: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

105

การผลิตสามารถเขียนแผนภาพการผลิตไดดังนี ้

การผลิต ประกอบดวย 3 สวนสําคัญ คือ ปจจัยการผลิต กระบวนการผลิตและผลผลิต 1.1.1 ปจจัยการผลิต (Factors of Production) คือ องคประกอบท่ีจะใชผลิตเปนสินคาและบริการ ซ่ึงประกอบดวยส่ิงตาง ๆ ดังตอไปนี้

1) ท่ีดิน (Land) ถือวาเปนปจจัยสําคัญในการผลิตสินคาและบริการ เพราะพื้นดินจะเปนท่ีสําคัญในการดําเนินดานธุรกิจการเกษตร ซ่ึงเปนหัวใจสําคัญในยุคปจจุบันภายใตการดําเนนิธุรกิจแบบพอเพยีง และยังเปนท่ีตั้งของโรงงานอุตสาหกรรมท่ีใชในการผลิตสินคาและบริการ ระบบสาธารณูปโภคตาง ๆ ก็ตองอาศัยอยูบนพืน้ดิน เชน เสาไฟฟาและเสาโทรศัพท ประเทศญ่ีปุนเปนประเทศท่ีมีความเจริญเติบโตในดานอุตสาหกรรม ก็ประสบปญหาเพราะพื้นท่ีดินมีนอย สวนประเทศไทยก็ประสบปญหาดวยเชนกนั เพราะยานอุตสาหกรรมตาง ๆ จะอยูในกรุงเทพและแถบชานเมืองและเขตปริมณฑล ซ่ึงรัฐบาลกําลังแกไขปญหาในดานนี้ โดยการสรางนิคมอุตสาหกรรมออกมาในเขตตางจังหวดั เชน นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังท่ีจังหวัดชลบุรี เพือ่ลดปญหาในเร่ืองท่ีดินและการขนสงเคล่ือนยาย ไมวาประเทศไทยจะพฒันาโครงสรางเศรษฐกิจไปในรูปแบบใด การใชประโยชนในท่ีดนิก็ตองกอใหเกิดประโยชนสูงสุด 2) ทุน (Capital ) เปนส่ิงท่ีจะนาํไปใชในการผลิตสินคาและบริการ เชน เงิน เคร่ืองจักรอุปกรณตาง ๆ ยานพาหนะ โรงงาน ฯลฯ ซ่ึงส่ิงเหลานี้ถือเปนสินคาประเภททนุ โดยเฉพาะเงินถือวาเปนปจจยัสําคัญเบ้ืองตน ในการนาํมาจัดซ้ือวัสด ุ เคร่ืองจกัร อุปกรณตาง ๆ

ภาพท่ี 28 การผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรม

กระบวนการผลิต (Production Process)

ปจจัยการผลิต( Input) ผลผลิต(Output)

Page 200: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

106

3) แรงงาน (Labor) หมายถึงผูท่ีใชแรงงานดานความคิดหรือผูท่ีใชกําลังแรงกายในการผลิตสินคาและบริการ ซ่ึงแรงงานจัดอยู 2 ประเภท ดงันี้ (1) แรงงานท่ีมีฝมือ (Skilled Labor) คือ แรงงานท่ีมีความรูความสามารถทักษะประสบการณและมีความสามารถเฉพาะดาน เปนแรงงานท่ีทํางานอยูในแผนกตาง ๆ ของบริษัท เชน แรงงานท่ีเก่ียวกับกระบวนการผลิต ในการเช่ือม การขัด การประกอบผลิตภัณฑ เปนตน ซ่ึงแรงงานเหลานี้อาจจะมีความรูจากการศึกษา จบระดบัประกาศนยีบัตรจากวิทยาลัยตาง ๆ หรือเกิดจากการฝกงานมามากจนมีทักษะชํานาญเปนพิเศษ (2) แรงงานท่ีไรฝมือ (Unskilled Labor) คือ แรงงานท่ีขาดทักษะและความรู โดยจะใชกําลังแรงกายเปนสําคัญ เชน แรงงานในการขนยายสินคาหรือขนถายสินคาลงตามรานคาตาง ๆ

4) ผูประกอบการ (Enterpriser) หมายถึง ผูท่ีทําหนาท่ีดาํเนินการผลิต หรือผูท่ีเปนเจาของทรัพยากรการผลิตไมวาจะเปน ทุน เคร่ืองจักรและวัตถุดิบ เปนตน ผูประกอบการมีหนาท่ีสําคัญดงัตอไปนี ้ (1) จัดองคกรการผลิตเพื่อทําการผลิตสินคา โดยการนําเอาปจจัยการผลิตท้ังหมดมาดําเนินการตามข้ันตอนการบริหารงานอุตสาหกรรม (2) ตองรับผิดชอบในเร่ืองความเสี่ยง การตัดสินใจดําเนินธุรกิจอุตสาหกรรมนั้น บางคร้ังอาจเกิดขอผิดพลาดได ผูประกอบการตองรับผิดชอบตอปญหาท่ีเกิดข้ึน และพรอมท่ีจะแกปญหาหากมีปญหาเกดิข้ึนภายในโรงงานอุตสาหกรรม (3) ตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจ ผูประกอบการจะตองเปนผูตัดสินใจวาจะผลิตอะไร อยางไร และเม่ือไหร ดังนั้นจึงควรมีทักษะการวางแผน กําหนดนโยบาย วางแนวทางดาํเนินธุรกิจการประสานงาน ตลอดท้ังมีการประเมินผลบุคลากรและทุกสวนของงาน (4) การคิดผลิตสินคาใหม ๆ เม่ือสังคมเปล่ียนแปลงรวดเร็ว สินคาและบริการมีมากข้ึน มีการแขงขันเกิดข้ึนกับบริษัทคูแขง ผูประกอบการจะตองคิดคนวธีิการผลิตสินคาและบริการใหม ๆ ใหทันสมัย และทันตอความตองการของผูบริโภคอยูตลอดเวลา ตองพัฒนาคุณภาพสินคาใหดีข้ึนอยูเสมอ หากประเทศใดมีผูประกอบการที่มีความรูความสามารถในการสรางสินคาและบริการ ก็จะชวยใหเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเจริญกาวหนาม่ันคงถาวรตามไปดวย

Page 201: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

107

1.1.2 กระบวนการผลิต (Production Process) กระบวนการผลิตเปนเร่ืองของการแปรสภาพวัตถุดิบ เพื่อใหออกมาเปนผลผลิต ซ่ึงออกมาในรูปของสินคาหรือบริการ กระบวนการผลิตบางอยาง อาจตองผานเคร่ืองยนต เคร่ืองจักร เชน อุตสาหกรรมผลไมกระปอง อุตสาหกรรมตอรถ แตกระบวนการผลิตบางอยางอาจเปนเพยีงกระบวนการงาย ๆ เชน การทําน้ําเช่ือมคือการใสน้ําตาลลงในนํ้าเดือด

81.1.3 ผลผลิต ( Product ) ผลผลิต คือ ผลท่ีออกมาจากกระบวนการผลิต ซ่ึงเปนท่ีไดจากข้ันตอนสุดทาย ตัวอยาง เชนผลิตอาหารกระปอง ผลผลิตก็ คืออาหารกระปองประเภทตาง ๆ ท่ีมีคุณภาพตามเกณฑ มีมาตรฐานท่ีต่ําไว การผลิตในแตละคร้ัง ผูผลิตจะตองมีเปาหมายท่ีชัดเจนเพื่อจะไดปริมาณสินคาตามความตองการของตลาด ไมนอยเกินไป ไมมากจนเกินไปจนทําใหสินคาเนาเสีย อยางไรที่จะใชตนทุนตํ่าท่ีสุด วิธีการผลิตท่ีดีท่ีสุด ไดสินคาท่ีมีคุณภาพมาตรฐานตามท่ีลูกคาตองการ และใหตรงตามเวลาท่ีลูกคาตองการดวย

1.2 องคประกอบที่สําคัญในการผลิต

การผลิตประสบผลสําเร็จไดจะตองมีองคประกอบท่ีสําคัญ 4 ประการ ดังตอไปนี ้ 1.2.1 คน (Man) ผูมีหนาท่ีในการผลิต ไมวาจะเปนผูมีหนาท่ีในการบริหารการผลิต ผูควบคุมการผลิตหรือพนักงานท่ีดําเนนิการผลิต เชน ผูบริหาร วิศวกร คนงาน เจาหนาท่ี เปนตน 1.2.2 เคร่ืองจักร (Machine) หมายถึง อุปกรณตาง ๆ ท่ีจะชวยอํานวยความสะดวกและเปนประโยชนตอการผลิตสินคาภายในโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงเคร่ืองมือชางและเคร่ืองมือในการขนยายวัสดุและสินคาดวย 1.2.3 เงินทุน (Money) หมายถึง เงินท่ีใชเปนทุนในการจัดการผลิต ไมวาจะเปนการซ้ือเคร่ืองจักรและอุปกรณตาง ๆ เปนเงินเดือนพนกังาน หรือคาใชจายเก่ียวกับสวัสดกิารตาง ๆ ของพนักงาน และเงินทุนท่ีซ้ือวัตถุดิบและใชจายในกระบวนการผลิตดวย 1.2.4 วัตถุดบิ (Material) หมายถึง วสัดุตาง ๆ ท่ีปอนเขาโรงงานอุตสาหกรรม หลังจากผานข้ันตอนแลว กจ็ะผลิตออกมาเปนสินคาเพื่อจาํหนายใหแกประชาชน

Page 202: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

108

1.3 ปญหา เปาหมายและความสําคัญของการผลิต 1.3.1 ปญหาการผลิต ในการดําเนินกจิกรรมทางธุรกิจภายใตระบบเศรษฐกิจท่ีมีอยูในโลก เชน ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม สังคมนิยมและระบบเศรษฐกิจแบบผสม ซ่ึงก็ประสบกับปญหาเดียวกนัท้ังส้ิน คือ 1) จะผลิตอะไร (What to Product) เปนส่ิงสําคัญในการท่ีจะต้ังโรงงานอุตสาหกรรมหรือบริษทัเม่ือมีทุนแลว โดยคิดจะผลิตอะไรจึงจะทําใหมีกําไรมากที่สุด ประชาชนในประเทศและตางประเทศตองการสินคามากท่ีสุด และมีความตองการสินคาตลอดป 2) จะผลิตอยางไร(How to Product) เม่ือกําหนดตัวสินคาท่ีจะผลิตไดแลว ก็ดําเนนิการวางแผน กระบวนการผลิตสินคาโดยการใชเทคโนโลยีตาง ๆ มาชวยในการผลิต เพื่อใหสินคามีคุณภาพดี ติดตลาดเปนท่ีตองการของประชาชนในระยะเวลายาวนาน

3) จะผลิตเทาไร (How much to Product) ในการผลิตสินคานั้น จะตองมีการสุมขอมูลทางการตลาดถึงความตองการสินคากอนวา ประชาชนท่ัวภมิูภาคมีความตองการสินคาตอวันเทาไร ตอเดือนเทาไรและตอปเทาใด แลวนําขอมูลมาผลิตสินคา เพื่อจะไดผลิตเทาตามความตองการ 1.3.2 เปาหมายการผลิต การผลิตก็เหมือนกับการดําเนินการธุรกิจโดยท่ัวไป จะตองมีการตั้งวัตถุประสงคและเปาหมายในการผลิต ซ่ึงโดยท่ัวไปแลวการดาํเนินธุรกิจดานการเกษตร บริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรมท่ัวไปมีเปาหมายดังตอไปน้ี 1) ทําอยางไรจะผลิตสินคาใหใชตนทุนในการผลิตตํ่า สินคาคุณภาพดี เม่ือขายสินคาแลวไดผลกําไรมากท่ีสุด 2) จะผลิตอยางไร เพื่อใหไดสินคาตรงตามความตองการของประชาชน และการผลิตมีกระบวนการอยางไร ท่ีทําใหสินคามีจํานวนเพียงพอกับความตองการของประชาชน 3) จะผลิตอยางไร ใหไดสินคาท่ีมีคุณภาพสูงตรงตามความตองการของประชาชน และสินคาท่ีผลิตออกมามีการสูญเสีย และตําหนหิรือมีจุดบกพรองนอยท่ีสุด 91.3.3 ความสาํคัญของการผลิต การผลิตมีผลตอทุกคนในประเทศไมวาจะเปนตอผูผลิตเอง ผูบริโภค ตลอดจนภาครัฐ ภาคเอกชนตาง ๆ ซ่ึงสามารถแยกความสําคัญได ดังนี ้ 1) ทําใหเกิดมลูคาเพิ่มในวตัถุดิบ หรือช้ินสวนนํามาแปรรูปเปนตัวผลิตภัณฑ 2) ทําใหผูบรโิภคมีสินคาและบริการใหม ๆ ใช 3) ทําใหเกิดการจางงาน และยกระดับรายไดของผูบริโภค

Page 203: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

109

4) เกิดการคนควาพัฒนารูปแบบการผลิตใหม ๆ การใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัยสามารถผลิตสินคาไดคราวละจํานวนมาก 5) มีผลตอการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตประเภทตาง ๆ ในประเทศ ใหทันสมัยและมีมาตรฐานยิง่ข้ึน

2. การผลิตทางดานธุรกิจอุตสาหกรรม สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ดังตอไปนี ้

2.1 การผลิตตามกรรมวิธกีารผลิต มีรายละเอียดดังตอไปนี ้

2.1.1 การผลิตท่ีเปนกระบวนการ (Processing Production) เปนการผลิตท่ีมีกระบวนการหลายข้ันตอนสลับซับซอน เชน การผลิตปูนซีเมนต ข้ันแรกจะตองทําการระเบิดหินออกมากอน หลังจากนัน้กผ็านกระบวนการผลิตภายในโรงงานอุตสาหกรรมหลายข้ันตอน จึงจะออกมาเปนปูนซีเมนตข้ันสุดทาย

2.1.2 การผลิตแบบวิเคราะห (Analysis Production) เชน การกล่ันน้ํามันทําการผลิต โดยนําน้ํามันดิบมาผานกระบวนการผลิตตาง ๆ แยกออกมาเปน น้ํามันกาด น้ํามันเบนซิน น้ํามันดีเซลและยางมะตอย เปนตน ซ่ึงจะเห็นวาเปนการผลิตท่ีนําวัตถุดิบชนิดเดยีว แยกออกเปนผลผลิตหลาย ๆ ชนิด

2.1.3 การผลิตแบบสังเคราะห (Synthesis Production) เปนวิธีการผลิตท่ีนําวัตถุดิบหลายชนิดมารวมกันเพื่อเปนผลผลิตเพียงอยางเดยีว สวนใหญจะเปนการผลิตสินคาประเภทอาหารและเคร่ืองใชตาง ๆ เชน ผลิตบะหม่ีกึ่งสําเร็จรูป เสนสําเร็จรูป เคร่ืองปรุง หลังจากนํามาใสน้ํารอนแลวสามารถนํามารับประทานได

ภาพท่ี 29 ความสําคัญของการผลิตกอใหเกิดประโยชนรูปแบบผลิตภณัฑใหม ๆ

Page 204: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

110

2.1.4 การผลิตโดยใชช้ินสวนประกอบ (Fabrication Production) เปนการผลิตแบบนําเอาวัตถุดิบสําเร็จรูป หรือกึ่งสําเร็จรูปมาประกอบกนัเปนสินคาสําเร็จรูปชนิดเดยีว ไดแก การประกอบรถมอเตอรไซด ตูแช วิทยุ โทรทัศน อุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิกสท่ัวไป เปนตน 2.1.5 การผลิตแบบโครงสราง (Construction Production) เปนการผลิตคลายการประกอบช้ินสวน แตมีขนาดใหญกวา เชน การกอสรางสะพาน การกอสรางทางดวน การกอสรางเข่ือน การกอสรางรางรถไฟฟา ซ่ึงการผลิตไมไดทําภายในโรงงานอุตสาหกรรม แตเปนการผลิตท่ีนําวัสดุอุปกรณตาง ๆ ไปรวมตวักนัเปนโครงสราง เปนตน

2.2 การผลิตตามลักษณะการบริโภค การประกอบการผลิตแบบนี้มีลักษณะดังตอไปนี้

2.2.1 การผลิตส่ิงทอ ไดแก เส้ือผาเคร่ืองนุงหมและส่ิงทอทุกชนิด 2.2.2 การผลิตอาหาร ไดแก เคร่ืองดื่มและอาหารทุกประเภท 2.2.3 การผลิตกระดาษ ไดแก กระดาษประเภทตาง ๆ กลองและเยื่อกระดาษ 2.2.4 การผลิตไม ไดแก ไมอัด เคร่ืองเรือน และเฟอรนิเจอรท่ีทําจากไม 2.2.5 การผลิตโลหะข้ันมูลฐาน ไดแก ผลิตภัณฑเหล็ก เหล็กกลา และโลหะทุกชนดิ 2.2.6 การผลิตแรอโลหะ ไดแก พลาสติก แกว และเคร่ืองปนดินเผา 2.2.7 การผลิตอ่ืน ๆ ไดแก เพชร พลอย แรธาตุตามธรรมชาติ และยาง 2.2.8 การผลติโลหะภัณฑ ไดแกเคร่ืองยนต เคร่ืองจักร และอุปกรณที่เปนโลหะทุกชนิด 2.2.9 การผลิตไฟฟา กาซ และนํ้า

2.3 การจําแนกการผลิต การผลิตสามารถจําแนกได 2 ลักษณะ คือ การผลิตตาม

คําส่ังซ้ือ (Production to order) และการผลิตเพื่อรอการจําหนาย (Production For stock) มีลักษณะสําคัญดังนี ้ 2.3.1 การผลิตตามคําส่ังซ้ือ การผลิตตามคําส่ังซ้ือหรือการผลิตตามลูกคาส่ัง (Customer building) เปนการผลิตสินคาตามท่ีลูกคากําหนดคุณลักษณะเฉพาะของสินคามาใหแกผูผลิต เนื่องจากลูกคาแตละคนมีความตองการในลักษณะเฉพาะของสินคาตางกัน จึงถือเปนลักษณะสําคัญของการผลิตตามคําส่ังซ้ือ และโดยสวนใหญแลวเปนการผลิตท่ีมีจํานวนนอยมาก (Lor – Volume type) เชน การผลิตเฟอรนิเจอร ตามความตองการของลูกคา

Page 205: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

111

2.3.2 การผลิตเพื่อรอการจําหนาย ลักษณะสําคัญของการผลิตเพื่อรอการจําหนายคือ ผูผลิตจะเปนผูกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของสินคาไวลวงหนากอนลูกคาส่ังซ้ือ โดยอาศัยขอมูลทางการตลาดชวยในการตัดสินใจเลือกผลิตสินคา จึงสามารถวางแผนการดําเนนิการผลิตไวลวงหนาไดเกีย่วกับ วัตถุดิบ กระบวนการผลิต รูปแบบผลิตภัณฑ และโดยสวนใหญมักจะเปนการผลิตจํานวนมาก (Mass Production) มีการเก็บรักษา(Stock)ไวรอการจําหนาย

3. ลําดับขั้นในการผลิต

ในสมัยกอนการผลิตสินคาหรือบริการ จะเกดิข้ึนภายในครอบครัวแลวนําสินคามาแลกกัน เชน คนผลิตขาวจะนํามาแลกกับคนเล้ียงสัตว ผูอยากไดทองคําก็มาแลกกับววัหรือควาย แตในสมัยปจจุบันเทคโนโลยีกาวหนาข้ึนมาก มีการติดตอคาขายกับตางประเทศ การผลิตจะตองมีกระบวนการท่ีซับซอนข้ึน สินคาท่ีผลิตออกมาจะตองนําไปขายภายในทุกภูมิภาคของประเทศหรือตางประเทศ เพื่อนําเงินตราจากตางประเทศเขามาพัฒนาประเทศ บริษทัหรือผูประกอบการจะตองพยายามคิดผลิตภัณฑสินคาท่ีมีคุณภาพ โดยตองนําเคร่ืองจักร เคร่ืองมือและเทคโนโลยีจากภายนอกเขามา ซ่ึงลําดับข้ันในการผลิตน้ันมีอยูดวยกัน 3 ข้ันตอน ดังตอไปนี ้

3.1 ขั้นปฐมภูม ิ(Primary Production) เปนการผลิตท่ีตองอาศัยทรัพยากรธรรมชาติเปนพื้นฐาน เปนการผลิตท่ีใชแบบดั้งเดิม ประเทศท่ีดอยพัฒนาจะอาศัยการผลิตแบบนี้มาใช โดยการนําทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปาไม แรธาตุ สัตวและพืชผัก ซ่ึงเปนการผลิตข้ันพื้นฐานไปแลกกับเคร่ืองจักรและรถยนตหรืออาจขายเปนเงินสด

3.2 ขั้นทุติยภูม ิ(Secondary Production) เปนการผลิตท่ีนําเอาผลผลิตของข้ันปฐมภูมิมาแปรรูป โดยจะเปนการผลิตท่ีมีการใชเทคโนโลยีสูงข้ึน เรียกวา ธุรกิจอุตสาหกรรมและหัตถกรรม เชน การนําปลาจากแมน้ําหรือทะเลมาทําปลากระปอง โรงงานท่ีผลิตปลากระปองเปน

ภาพท่ี 30 สินคาเกษตรสวนใหญเปนสินคนขั้นปฐมภูมิ

Page 206: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

112

3.3 ขั้นตติยภูม ิ(Tritiary Production) เปนการผลิตท่ีมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความสะดวกสบาย รวดเร็ว และปลอดภัยใหกบัผูบริโภค ไดแก การบริการทางดานการส่ือสาร การธนาคาร การศึกษา การประกันภัย การคมนาคมขนสง และการรักษาพยาบาล ดังนั้นพนกังานส่ือสารโดยสาร พนักงานธนาคาร ครู แพทยพยาบาล และเจาหนาท่ีส่ือสารมวลชนเปนผูผลิตข้ันตติยภูมิหรือเปนผูใหบริการแกลูกคา

4. ปจจัยท่ีตองพิจารณาในการเลือกทําเลท่ีต้ังในการผลิต การเลือกทําเลที่ตั้งเพื่อการผลิต

ตองพิจารณาถึงปจจัยตาง ๆ ท่ีมีผลตอการดําเนินงานดังตอไปนี ้

4.1 ท่ีดินท่ีจะใชเปนแหลงท่ีตั้งการผลิต การลงทุนในท่ีดนิ ไมจะเปนการเชาหรือซ้ือก็ตาม ยอมเกิดตนทุนข้ึนมา โดยมีเงินทุนเปนตัวกําจัดอิสระในการลงทุนสวนนี้ แตมิไดหมายความวาท่ีดินท่ีจะใชเปนแหลงผลิตท่ีดีท่ีสุดนั้นตองมีราคาตํ่าสุด ควรพิจารณาปจจยัอ่ืน ๆ ประกอบดวย เพราะราคาที่ดินข้ึนอยูกับปจจัยเหลานั้น เชน ท่ีดินท่ีอยูในตัวเมืองหรือนอกเมือง เอกสารการมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดิน (โฉนด นส.3 ก. ใบ สค.1 สปก 4- 01) เปนตน

4.2 ระบบสาธารณูปโภค ระบบสาธารณูปโภค เชน ไฟฟา น้ําประปา โทรศัพท ถนนหนทาง มีความจําเปนอยางยิ่งในการผลิต การเลือกทําเลท่ีตั้งตองพิจารณาถึงปจจัยนี ้ หากทําเลที่ตัง้นั้นมีพรอมอยูแลว การประกอบการผลิตก็สามารถดําเนินไปไดเลย แตหากไมพรอมธุรกิจก็จะจัดหาเอง ทําใหเกิดภาวะในการบํารุงซอมแซมดูแลตามไปดวย

4.3 แรงงาน แมวาในการผลิตจะนําเอาเคร่ืองจักร เคร่ืองทุนแรงมาใชก็ตาม แตความจําเปนในการใชแรงงานก็ยงัคงมีอยู และหากการผลิตนัน้เปนอุตสาหกรรม ความตองการในการใชแรงงานมีมากข้ึน จึงพิจารณาวาในทําเลท่ีตั้งท่ีกําลังพิจารณานัน้ มีจํานวนแรงงานมากนอยเพยีงใด หาไดยากหรืองาย ลักษณะของแรงงานฝมือระดับใด อยางไร อัตราคาจางสูงตํ่าเพียงใด ข้ึนอยูกับเขตทองท่ี

Page 207: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

113

4.4 แหลงวัตถุดิบตลาด การเลือกทําเลที่ตั้งวาจะอยูใกลแหลงวตัถุดิบหรือตลาดน้ัน ข้ึนอยูกับลักษณะของการประกอบธุรกจิ เชน โรงงานผลิตผลไมกระปอง การทําเหมืองแร ยอมเหมาะสมท่ีจะอยูใกลแหลงวัตถุดิบ แตถาเปนกิจการปมน้ํามัน กิจการขายเคร่ืองกอสราง อูซอมรถ รานประดับยนต ก็เหมาะสมท่ีจะอยูใกลตลาดหรือลูกคา การเลือกทําเลที่ตั้งใกลแหลงวตัถุดิบหรือตลาดจะมีผลตอตนทุนในการดําเนินงาน เชนตนทุนในการขนสงวัตถุดิบและสินคา การสํารองและเก็บรักษาวัตถุดิบและสินคา เปนตน

4.5 ส่ิงอํานวยความสะดวกในการดําเนินธุรกิจ ส่ิงอํานวยความสะดวกในการดําเนินธุรกิจ มีหลายอยาง เชน ธุรกิจการเงิน การประกันภัย การขนสง หนวยงานราชการ ทําเลที่ตั้งใดท่ีมีส่ิงอํานวยความสะดวกในการดําเนินธุรกิจ ยอมทําใหเกิดความไดเปรียบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสภาพการแขงขันยุคโลกาภิวัฒน

24.6 โอกาสของธุรกิจในอนาคต การพิจารณาในการเลือกทําเลที่ตั้ง ควรมีการคาดการณในอนาคตไวดวย เปนการเตรียมการปองกันไวดีกวาแกไขภายหลัง ซ่ึงอาจจะแกไขไมไดโดยมองถึงความเปนไปไดในการขยายกจิการ ความเพยีงพอของแหลงวัตถุดิบและแรงงาน ตลอดการคมนาคม

4.7 ส่ิงแวดลอมของธุรกิจ เปนส่ิงท่ีมีอยูแลว ท่ีธุรกิจตองพิจารณาในการเลือกทําเลที่ตั้ง เชน อุณหภูมิ แสง เสียง อากาศ น้ํา เพราะมีผลต้ังแตการออกแบบแผนผังอาคารโรงงาน การวางแบบสาธารณูปโภค ในโรงงาน ( น้าํ ไฟ ระบบระบาย บําบัดน้ําเสีย ) และการปฏิบัติงานของคนงาน

5. ระบบการผลิต (Production System) จากความหมายของการผลิต มีสวนประกอบสําคัญ 3 สวน คือ ปจจัยการผลิต ( Input ) กระบวนการผลิต ( Production process)และผลผลิต ( Output ) เม่ือนํามาจัดเปนระบบการผลิต ก็หมายถึงการทํางานดานการผลิตอยางตอเนื่องเปนระบบ คือรับปจจัยการผลิตเขาสูกระบวนผลติ ทําใหเกิดผลิตข้ึน เชน โรงงานผลิตสับปะรดกระปอง ระบบการผลิตจะเร่ิมต้ังแตการคัดเลือก ขนาดของสับปะรด การทําความสะอาด การลําเลียงไปตามสายพานเขาเคร่ืองปอกควาน หลังจากนั้นจะสูการเช่ือมปรุงรสบรรจุกระปอง ปดฉลากบรรจุลงกลอง พรอมท่ีจะนําออกสูตลาด ระบบการผลิตมีวัตถุประสงคในการผลิตคือ ตองการใหเกิดการเคล่ือนยายปจจัยการผลิต และผลผลิตจากท่ีหนึ่งไปสูอีกที่หนึ่งอยางสมํ่าเสมอตอเนื่องและประหยัด

Page 208: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

114

5.1 ระบบการผลิตแบบอนุกรม (Serial Subsystem) การผลิตแบบระบบการผลิตอยางตอเนื่อง หรือการผลิตแบบอนุกรมนี ้ จะพบเห็นในระบบการผลิตท่ีเปนสายการผลิตสายเดียว (Line Production) หรือบางที เรียกวา เปนการผลิตแบบสายการผลิต ท่ีเปนสายการผลิตสายเดียวจากวตัถุดิบผานกระบวนการผลิต ข้ันท่ี 1 ข้ันท่ี 2 ขนท่ี 3 ไปจนถึงข้ันสุดทาย ออกมาเปนสินคาสําเร็จรูป ระบบการผลิตแบบนี้มักพบในอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือในอุตสาหกรรมอาหารสําเร็จรูป

5.2 ระบบการผลิตแบบคูขนาน (Parallel Subsystem) ระบบการผลิตแบบคูขนาน จะมีลักษณะการผลิต โดยการแบงกระบวนการผลิตออกเปนกลุมงานยอย ๆ แยกเปนอิสระจากกันแลวจึงสงมารวมผลิตในการผลิตข้ันสุดทาย อุตสาหกรรมซ่ึงมีระบบการจัดผลิตแบบนี้ มักจะเปนอุตสาหกรรมซ่ึงสภาพของการผลิตภัณฑแบงออกเปนข้ัน ๆ ไดสะดวก เชน อุตสาหกรรมตัดเย็บเส้ือผา การตอรถยนต และประกอบหุนยนต เปนตน

5.3 ระบบการผลิตแบบผสม (Integrate Subsystem) ระบบการผลิตแบบนี้ จะมีลักษณะผสมระหวางระบบการผลิตแบบอนุกรมและระบบการผลิตแบบคูขนาน ระบบการผลิตแบบนี้จะพบเหน็ไดมากในการปฏิบัติการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม จนอาจกลาวไดวาอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท มีระบบการผลิตแบบผสม

6. การควบคุมการผลิต

การควบคุมการผลิต คือกํากบัดูแลใหการดาํเนินการผลิตสูเปาหมายท่ีตัง้ไว ซ่ึงการควบคุมยอมเปนหลักประกันวา ผลงานท่ีไดตรงกับเปาหมายและวัตถุประสงคท่ีกําหนด การควบคุมการผลิตจะทําใหเราทราบวางานท่ีทํา กําลังเดินไปสูเปาหมายหรือไม ถาไมตรงตามความตองการก็สามารถปรับปรุงแกไขไดทันเวลา การควบคุมจะทําใหผลผลิตมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ผูควบคุมจะตอง มีการวางแผนและต้ังมาตรฐานเอาไวลวงหนา และมีการเปรียบเทียบผลงานกับบริษทัคูแขงขัน เพื่อใหทราบวาผลิตภัณฑท่ีออกมาทันสมัยตอสภาพปจจบัุนหรือไม ถาเปรียบเทียบแลวสูบริษัทอ่ืนไมได ก็ตองจัดระบบการผลิตใหมเพื่อความอยูรอดของบริษัท

แผนดําเนนิการผลิตขององคการธุรกิจตาง ๆ ท่ีกําหนดไว จะบรรลุผลตามท่ีตองการจะตองมีการควบคุมอยางเปนระบบและมีเปาหมายท่ีแนนอน ดังนั้นการควบคุมการผลิตจึงมีข้ันตอนในการดําเนนิการ 5 ข้ันตอนดังตอไปนี ้

Page 209: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

115

6.1 ขั้นวางแผน เปนข้ันตอนในการเตรียมงาน เพื่อใหทราบวาการปฏิบัติงานอยางไร รูปแบบใด โดยจะตองมีการประชุมกันของผูจัดการฝายขาย ฝายผลิต ตลอดจนเจาหนาท่ีฝายประเมินผล เพื่อใหไดขอมูลท่ีลูกคาตองการจริง ๆ 6.2 ขั้นแบงงานการผลิต เปนข้ันแบงหนาท่ีความรับผิดชอบของผูจัดการฝายผลิต ตั้งแตการรับวัตถุดิบเขา จนกระท่ังถึงผลิตออกมาเปนสินคาหรือผลิตภัณฑท่ีกําหนด 6.3 ขั้นควบคมุเวลา เปนการควบคุมงานยอยในแตละฝายใหเสร็จทันเวลาท่ีกําหนด โดยอาจใชเทคนิคการบริหารงานแบบใหมมาใช คือการควบคุมการผลิตแบบทันเวลาพอดีมาใช เปนตน 6.4 ขั้นควบคมุกระบวนการจัดการ เปนข้ันติดตามดแูลความถูกตองในการปฏิบัติงาน เพื่อเปนการตรวจสอบวา ในแตละฝายไดดําเนินงานไปตามกระบวนการ หรือแผนงานท่ีกําหนดไวหรือไม หากไมสามารถดําเนินการได จะไดรับแกไขใหทันเหตุการณ เพราะถาชากวานีจ้ะสงผลใหการทํางานของฝายอ่ืน ๆ หยุดชะงัก เกิดความเสียหายตอการผลิตโดยรวมได 6.5 ขั้นตรวจสอบและติดตามผล เปนการติดตามสํารวจปญหาและอุปสรรค ตลอดจนการตรวจสอบคุณภาพผลิตภณัฑกอนสงจําหนาย และรายงานตามลําดบัข้ันข้ึนมาจนถึงผูจัดการฝายท่ีรับผิดชอบ ซ่ึงการตรวจสอบประเมินผล ผูดําเนินงานอาจจะสรางเคร่ืองมือการประเมินผลข้ึนมาเอง หรือนําแบบประเมินท่ีใชท่ัวไปที่เปนสากลมาใชก็ได

สรุป การจัดการผลิต ซ่ึงหมายถึงการแปรรูปวัตถุดิบหรือการประกอบช้ินสวนใหเกดิผลผลิต หรือกลาวไดวา การผลิตกอใหเกิดสินคาหรือบริการ โดยอาศัยการผลิตตาง ๆ มารวมกัน การผลิตจัดการผลิตประกอบดวย 3 สวนท่ีสําคัญ คือ ปจจัยการผลิต กระบวนการผลิตและผลผลิต การผลิตตองมีองคประกอบท่ีสําคัญในการผลิตซ่ึงประกอบดวยคน(Man), เคร่ืองจักร (Machine), เงินทุน (Money) และวัตถุดบิ (Material)

สําหรับผูท่ีทําอาชีพธุรกจิการเกษตร ตองศึกษาสวนประกอบและองคประกอบของการผลิตเชนเดยีวกนั เพื่อประโยชนในการนําเอาหลักการบริหารองคการมาใชในการแกปญหา และปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการผลิตใหทันตอยุคท่ีมีการแขงขันอยางรุนแรง ผูท่ีทําอาชีพการเกษตรตองศึกษาความพรอมในเร่ือง กระบวนการผลิต วิธีการควบคุมการผลิต เพื่อใหองคการบรรลุวตัถุประสงค และมีประสิทธิภาพสูงสุด และตองมีการควบคุมการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ 5 ข้ันตอน คือ ข้ันวางแผน, ข้ันแบงงานการผลิต, ควบคุมเวลา, ข้ันควบคุมกระบวนการจัดการและข้ันตรวจสอบและติดตามผล

**************************

Page 210: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

116

แบบฝกหัด หนวยท่ี 4 การจัดการผลิต วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. การผลิต หมายถึง ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................ 2. องคประกอบท่ีสําคัญในการผลิต ประกอบไปดวยอะไรบาง อธิบาย ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 3. นักศึกษาจงบอกความสําคัญของการผลิตมาวา มีอะไรบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

Page 211: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

117

4. ในการเลือกทําเลที่ตั้งในการผลิต มีปจจัยท่ีตองพจิารณาอะไรบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 5. ระบบการผลิตสามารถแบงไดกี่ประเภท อะไรบางยกตัวอยาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 6. การควบคุมการผลิตใหการดําเนินการผลิตสูเปาหมายที่ตั้งไว แบงไดเปนกี่ข้ันตอนอะไรบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

***************************************

Page 212: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

118

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 4 การจัดการผลิต วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเหน็วาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว1. การจัดการผลิต หมายถึง

ก. การใสปจจัยการผลิตเพือ่ใหได ผลผลิต ข. การจัดการเก่ียวกับคน,เคร่ืองจักร , เงินทุนและวตัถุดิบ ค. การแปรรูปวัตถุดิบหรือการประกอบ ช้ินสวนใหเกิดผลผลิต ง. การแปรสภาพของทรัพยากรตาง ๆ ท่ี ถูกนําเขา (Input ) สูกระบวนการให ออกมาเปนผลผลิต

2. ผลผลิต หมายถึง ก. กิจกรรมกระบวนการผานสินคาจาก

ผูผลิตไปถึงมือผูบริโภค ข. ผลที่ออกมาจากกระบวนการผลิต

ซ่ึงเปนข้ันตอนสุดทาย ค. วิธีการแปรสภาพวัตถุดิบโดยใช

ความรูความสามารถ เพื่อใหออกมาซ่ึงผลงาน

ง. ถูกทุกขอ 3. ขอใด ไมจัดวาเปนปจจัยการผลิต

ก. การใชเทคโนโลยีผลิต ข. ยานพาหนะสําหรับขนสง ค. ผูเชี่ยวชาญดานศัตรูพืช ง. ท่ีดิน

4. Output ของการเล้ียงโคนมเพ่ือการคา คือ ก. น้ํานมดบิ ข. ลูกโคนม ค. เนื้อโคนม ง. ช้ินสวนซากของโคนม

5. By products จัดเปนสวนใดของการผลิต ก. ผลผลิต ข. กระบวนการผลิต ค. ปจจัยการผลิต ง. ผูประกอบการผลิต

6. ขอใด จัดไดวาเปนกระบวนการผลิต ในการทําธุรกจิแปรรูปนมโค

ก. การใหอาหาร ข. การรีดนมโค ค. ข่ีวัวตากแหง ง. การรักษาโรคเตานมอักเสบ

7. ผูท่ีทําหนาท่ีดําเนินการผลิตหรือผูเปนเจาของทรัพยากรการผลิต หมายถึง ก. ท่ีดิน ข. ทุน ค. แรงงาน ง. ผูประกอบการ

Page 213: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

119

8. การทําธุรกิจใหประสบความสําเร็จได ตองอาศัยองคประกอบท่ีสําคัญใดบาง

ก. คน,เคร่ืองจักร,เงินทุนและวัตถุดิบ ข. ที่ดิน,แรงงาน,ทุนและผูประกอบการ ค. ที่ดิน,แรงงาน,เงินทุนและวัตถุดิบ ง. คน,เคร่ืองจกัร,เงินและประกอบการ

9. ความสําคัญของการผลิต กอใหเกิดประโยชนในดานใดบาง

ก. การเอาเทคโนโลยีใหม ๆ มาใช ข. ทําใหผูบริโภคมีสินคาอุปโภค -

บริโภค ค. เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมใหม ๆ

และทันสมัยและมีมาตรฐาน ง. ถูกทุกขอ

10. การผลิตท่ีเปนขบวนการ เปนข้ันตอนท่ีสลับซับซอน ไดแก ก. การผลิตปูนซีเมนต ข. การกล่ันน้ํามัน ค. ผลิตปลากระปอง ง. ตูเย็น 11. ตัวอยางการผลิตแบบวิเคราะห ไดแก ก. การผลิตปูนซีเมนต ข. การกล่ันน้ํามัน ค. ผลิตปลากระปอง ง. ตูเย็น 12. ตัวอยางการผลิตโดยใชชิ้นสวนประกอบ ไดแก ก. การผลิตปูนซีเมนต ข. การกล่ันน้ํามัน ค. ผลิตปลากระปอง ง. ตูเย็น

13. ตัวอยางการผลิตแบบโครงสราง คือ ก. การผลิตปูนซีเมนต ข. การกล่ันน้ํามัน ค. สะพาน

ง. ผลิตปลากระปอง 14. การเลือกทําเลท่ีตั้งในการผลิต เราจะ พิจารณาปจจัยท่ีสําคัญ อะไรบาง

ก. ที่ดิน ข. แรงงาน ค. โอกาสธุรกิจในอนาคต

ง. ถูกทุกขอ 15. สินคาและบริการใด ที่มีกรรมวิธีการผลิตแบบวิเคราะห

ก. การผลิตปูนซีเมนต ข. รถมอรเตอรไซด ค. น้าํมันเบนซิน ง. บะหม่ีสําเร็จรูป

16. การผลิตในลักษณะใด ที่ปองกันการเส่ียงดานการตลาดมากท่ีสุด

ก. การผลิตเพื่อรอการจําหนาย ข. การผลิตตามฤดูกาล ค. การผลิตตามคําสั่งซื้อ ง. การผลิตช้ินสวนประกอบสง โรงงานผลิต

17. จงเรียงลําดับในการผลิตแบบ ขั้นปฐมภูมิ ขั้นทุติยภูมิและตติยภูมิดังนี้ 1. การประกันภัย, 2. เล้ียงไก 3. ปลากระปอง

ก. 1-2-3 ข. 2-3-1 ค. 3-1-2 ง. ไมมีขอใดถูก

Page 214: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

120

18. ระบบการผลิตท่ีนิยมใชมากท่ีสุดในโรงงานอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท คือ

ก. ระบบการผลิตแบบคิวซี ข. ระบบการผลิตแบบผสม ค. ระบบการผลิตแบบคูขนาน ง. ระบบการผลิตแบบอนุกรม

19. การประกอบรถไถเดินตาม จัดวามีระบบการผลิตแบบใด

ก. แบบตามคําส่ังซ้ือ ข. ระบบแบบรอการจําหนาย ค. ระบบการผลิตแบบอนุกรม ง. ระบบการผลิตแบบคูขนาน

20. การเตรียมงานโดยการประชุมผูจัดการฝายขาย ฝายผลิต เพื่อใหตรงตามความตองการของลูกคาจริง ๆ จัดเปนขั้นตอนใดของการควบคมุการผลิต

ก. การแบงงานการผลิต ข. การควบคุมเวลา ค. การวางแผน ง. การควบคุมกระบวนการ

***************************

Page 215: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

121

ใบงานท่ี 4

หนวยท่ี 4 การจัดการผลิต ********************************

เร่ือง การจัดการผลิต จุดประสงคการเรียนรู

1.1 อธิบายถึงกระบวนการการผลิต ขององคการธุรกิจได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รับฟงคนอ่ืน เปนผูนําและผูตามท่ีด ี 2. ดานความรับผิดชอบตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินยัในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวชิาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเร่ืองท่ีเกี่ยวของ วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ

1. กระดาษ A4 2. ตัวอยางองคการธุรกิจเกษตร 3. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 4. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 4

ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน 1. ใหผูเรียนแบงกลุม 4-5 คน/กลุม 2. สงตัวแทนมารับใบงานท่ี 4 ไปดําเนนิการทํางานใหเสร็จตามคําส่ังภายใน 1 ช่ัวโมง 3. ใหคนหาองคการธุรกิจเกษตรจะรูปแบบใดก็ได โดยใหสรุป ดังนี ้ 3.1 สรุปกิจกรรมการดําเนนิงานการผลิต ท่ีองคการนั้นทํามาท้ังหมด 3.2 เขียนรูปแบบกระบวนการทํางานขององคการธุรกิจนั้นมาดวย 3.3 องคการนั้นมีการดําเนินการผลิตตามกรรมวิธีแบบใด หรือการจําแนกการผลิตเปนแบบใด 3.4 สินคาหรือบริการขององคการนั้นจดัอยูในลําดับข้ันการผลิตแบบใด 3.5 องคการนั้นจัดอยูในระบบการผลิตแบบใด

Page 216: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

122

3.6 องคการนั้นมีการควบคุมการผลิตแบบข้ันตอนใด 3. สงตัวแทนนําผลงานมาเสนอหนาช้ันเรียน 4. สงรายงาน ตามรูปแบบรายงานท่ีถูกตองสมบูรณ 5. ประเมินผล

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเกีย่วกับการบริหารจัดการท่ัวไป

******************************

Page 217: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

123

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 4 การจัดการผลิต

****************************

ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ตอบ ง ข ก ก ก ข ง ก ง ก

ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ตอบ ข ง ค ง ค ค ข ข ค ค

******************************

Page 218: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 5 เร่ือง การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด

*********************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1.1 บอกความหมายของตลาดและการตลาดได 1.2 อธิบายแนวความคิดของการตลาดสมัยเกาและสมัยใหมได 1.3 บอกหนาที่ของการตลาดได 1.4 ยกตัวอยางความสําคัญของการตลาดได 1.5 กําหนดข้ันตอนวางแผนการตลาดและกําหนดกลยทุธทางการตลาดได

สาระสําคัญ ตลาด หมายถึงสถานท่ีหรืออาณาเขตใดอาณาเขตหนึ่ง ท่ีมีการเปล่ียนแปลงในกรรมสิทธ์ิสินคาและบริการ การตลาด หมายถึงกิจกรรมตาง ๆ ของธุรกิจท่ีทําใหสินคาและบริการเคล่ือนยายจากผูผลิตจนถึงมือผูบริโภค แนวความคดิทางการตลาด โดยท่ัวไปแบงออกเปน - ความคิดเกี่ยวกับการผลิต - ความคิดเกี่ยวกับผลิตภณัฑ - ความคิดมุงการขาย - ความคิดมุงการตลาด - ความคิดทางการตลาดท่ีมุงสังคม หนาท่ีการตลาด มีหนาท่ีดังน้ี 1. หนาท่ีการจัดการเกี่ยวกบัสินคาและบริการ 2. หนาท่ีเกีย่วกับแจกจายสินคาและบริการ 3. หนาท่ีการบริการใหความ 4. หนาท่ีการส่ือสารขอมูลทางการตลาด 5. หนาท่ีในการวิเคราะหตลาด 6. หนาท่ีในการทําใหสินคาตางกัน

Page 219: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

125

7. หนาท่ีในการตีราคา 8. หนาท่ีในการแบงสวนตลาด ความสําคัญของการตลาด 1. ทําใหเศรษฐกิจขยายตัว 2. ทําใหมีสินคาและบริการใหม ๆ เกดิข้ึน 3. ทําใหเกิดอาชีพตาง ๆ เพิม่ข้ึน 4. ชวยยกระดบัมาตรฐานการครองชีพของประชากรในสังคมใหสูงข้ึน 5. ชวยใหสามารถใชทรัพยากรการบริหารตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การวางแผนการตลาด ประกอบดวยข้ันตอนดังนี ้

1. ข้ันตอนการวางแผนการตลาด 2. กระบวนการการวางแผนการตลาด 3. กลยุทธทางการตลาด

เน้ือหา

1. ความหมายของตลาดและการตลาด ตลาด หมายถึงสถานท่ีหรืออาณาเขตใดอาณาเขตหนึ่งท่ีมีการเปล่ียนแปลงในกรรมสิทธ์ิสินคาและบริการ การตลาด หมายถึงกิจกรรมตาง ๆ ของธุรกิจ ท่ีทําใหสินคาและบริการเคล่ือนยายจากผูผลิตจนถึงมือผูบริโภค ในลักษณะของสินคาท่ีผูบริโภคตองการในเวลาและสถานท่ีท่ีถูกตอง ตลอดจนในระดับราคาท่ีผูบริโภคยินดจีายเพ่ือใหไดสินคามา ดังนั้นจะเห็นไดวา ความหมายของการตลาดน้ันกวางมาก คือ เร่ิมต้ังแตการนําเอาวตัถุดิบมาแปลงเปนสินคาสําเร็จรูป ผานกระบวนการจัดจําหนายและผานส่ิงอํานวยความสะดวกตาง ๆ เพื่อใหกิจกรรมทางการตลาดดําเนนิไปอยางมีประสิทธิภาพ

ผูบริโภค ผูผลิต กิจกรรมตาง ๆ ทางการตลาด

Page 220: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

126

ภาพท่ี 31 ตลาดสินคาเกษตร

2. แนวความคิดทางการตลาด แนวความคิดเกี่ยวกับทางการตลาดโดยท่ัวไปแลว นกัการตลาดหลาย ๆ ทานไดสรุปแนวความคิดไวหลายรูปแบบดวยกัน ซ่ึงก็แลวแตผูผลิตแตละรายไดกําหนดนโยบายไวเปนแผนกลยุทธขององคการตนเอง ซ่ึงไดแบงแนวความคิดทางการตลาดไวดังนี้ 2.1 ความคิดเก่ียวกับการผลิต (Production Concept) สินคาท่ีผลิตออกมาแลวสามารถจําหนายออกไดนั้น ก็ตองประกอบดวยสินคาจําหนายท่ัวไปหาซ้ือไดงาย ผลิตสินคาทันความตองการ ราคายุติธรรม และสินคามีจาํนวนเหมาะสมกับความตองการของผูบริโภค หรือผูบริโภคมีความตองการสินคามากกวาผูเสนอขาย สินคาจึงขายไดหมด ดังนั้นผูท่ีมีแนวความคิดดานนี้ จะมุงปรับปรุงพัฒนาระบบการผลิตใหดียิ่งขึน้ ถึงแมตนทุนการผลิตจะสูงขึ้นก็ตาม นักการตลาดจะหันไปลดราคา โดยหาวิธีการผลิตท่ีดีกวาเดิมหรือประหยัดกวาเดมิ รวมท้ังการกําหนดระบบการจัดจําหนายท่ีมีประสิทธิภาพและเปนไปอยางท่ัวถึงดวย แนวความคิดการผลิตแบบนี้จะชวยใหประสบความสําเร็จไดงายข้ึน อีกท้ังยังเปนการกําจดัคูแขงขันไดดวย หรือลักษณะตลาดอาจจะเกือบผูกขาด

2.2 ความคิดเก่ียวกับผลิตภณัฑ (Product Concept) ผูท่ีมีแนวความคิดในผลิตภัณฑ จะเหน็ความสําคัญของสินคาเปนหลัก คือสินคาจะขายไดหรือไมข้ึนอยูกับวา สินคามีคุณภาพอยางไรเม่ือเทียบกับราคา ดังนั้นนกัการตลาดจึงเนนเร่ืองการพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑใหมีคณุภาพดีท่ีสุด หรือดีกวาคูแขงขันจําหนายในราคาท่ีเหมาะสม รวมท้ังการใหบริการอํานวยความสะดวกในการซ้ือดวย

2.3 ความคิดมุงการขาย ผูบริโภคจะสนใจซ้ือเฉพาะสินคาท่ีจําเปนสําหรับการดํารงชีวิตเทานั้น และเขาจะไมสนใจกับสินคาท่ีไมคอยจําเปน ผูท่ีมีแนวความคิดมุงการขายจะพยายามมุงขายสินคาท่ีผูบริโภคไม

Page 221: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

127

2.4 ความคิดมุงการตลาด (Marketing Concept) ในตลาดผูบริโภคจะมีผูตองการสินคาแบบเดยีวกัน แตลักษณะแตกตางกันมากมาย ถาพูดถึงตลาดแลวจะมีผูบริโภค หลายอาชีพ ระดับการศึกษา ระดับชนช้ันและระดบัอายุ ฯลฯ ผูบริโภคเหลานี้จะตองการสินคาท่ีมีลักษณะแตกตางกนั นักการตลาดจึงจําเปนตองสรางความจงรักภักดีในตราย่ีหอและทําใหเกิดการซ้ือซํ้า ๆ เกิดขึ้น

2.5 ความคิดทางการตลาดท่ีมุงสังคม เปนแนวความคิดของนักการตลาดปจจบัุน โดยใหขอคิดวาธุรกิจไมควรจะผลิตสินคาตามความพอใจของผูบริโภคเทานั้น ควรเนนในดานสวัสดิภาพของสังคมหรือรับผดิชอบตอสังคมโดยสวนรวมดวย เชน ควรสนใจผลท่ีไดรับจากการบริโภคสินคา หรือสินคาและบริการทําใหเส่ือมเสียศีลธรรมจรรยาบรรณตาง ๆ อยางไร ควรหาทางแกไขอยางไร ผูผลิตบางรายไมเนนลักษณะแนวความคิดเชนนี้ จึงทําใหเกิดปญหาสังคมมากมายในปจจุบันเชน การเกิดของ Disco Theque ตูเกมส แหลงอบายมุขตาง ๆ รวมท้ังหีบหอท่ีใหขอมูลผิดจากความเปนจริง

3. เปรียบเทียบแนวความคิดแบบเกา - แบบใหม

3.1 แนวความคิดแบบเกา หลังจากมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมใหม ๆ จาํนวนผูผลิตกย็ังมีนอยอยูเชนเดิม มีผูบริโภคจํานวนมากกวาการผลิตดังนี้ สินคาท่ีผลิตออกมาจึงขายไดหมด ลักษณะ

ตลาดแบบนี้มักจะถูกกําหนดโดยผูผลิต (Product Oriented) คือไมวาจะเปนคุณภาพสินคา ราคา รูปแบบและกาํหนดปริมาณการผลิต ผูผลิตเปนผูกําหนดท้ังส้ิน การดําเนินการผูผลิตมุงขายเพยีงอยางเดียวและไมประสานงานกับหนวยงานอ่ืน เชนฝายผลิตสินคากับฝายตลาด ฯลฯ ตางฝายตางทําก็ยังขายไดหมด ในระยะตอ ๆ มามีผูผลิตเกิดขึ้นมากมายตางฝายก็มุงการผลิตปริมาณคร้ังละมาก ๆ (Mass Production)เพื่อลดตนทุนการผลิต จึงทําใหโอกาสขายสินคาของผูผลิตตาง ๆ ขายไดนอยลง ผูผลิตตางก็หันมาสนใจพอคาคนกลางมากยิ่งข้ึน วาทําอยางไรจึงจะทําใหพอคาคนกลางขายสินคาของตนใหไดมาก ๆ

3.2 แนวความคิดใหม เม่ือผูผลิตมากข้ึน กทํ็าใหสินคามีมากเกินความตองการของผูบริโภค (ผูบริโภคเปนฝายไดเปรียบ) ยอดขายโดยทั่วไปตกต่ํา นักการตลาดจงึหันความสนใจไปผลิตสินคาใหมีความแตกตางกันมากข้ึน ทําใหผูบริโภคมีทางเลือกใชไดมากข้ึน ดังนั้นผูผลิตจึงเร่ิมมาสนใจกลุมผูบริโภคมากข้ึน คือกอนจะผลิตสินคาออกสูตลาด จะตองศึกษาตลาดสภาพแวดลอมของตลาด

Page 222: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

128

Selling กระบวนการขาย

Old Concept แบบเกา

Production สินคาและบริการ

Profit and Sales volume ยอดขาย กําไร

ความตองการของลูกคา

สวนผสมทางการตลาด Marketing Mixed

ความพอใจสูงสุดของลูกคา กําไร

(Profit and Customer

แบบใหม New Concept

แนวความคดิทางดานการตลาด การยึดถือความพอใจของลูกคา(ลูกคาคือราชา) ธุรกิจจะประสบความสําเร็จไดนั้น ตองคํานึงถึงความตองการของลูกคาเปนหลัก แสวงหาผลกําไรแตพอสมควรและมีกิจกรรมทางการตลาดท่ีสัมพันธกัน เชน การขาย การช้ือ ขนสง การเก็บรักษา การจัดมาตรฐานสินคา การหาขอมูลทางการตลาด การซ้ือขายสินคาเกษตรลวงหนาเปนแนวคิดทางการตลาดแบบใหม เปนตน

ภาพท่ี 32 ขัน้ตอนการซ้ือขายในตลาดสินคาเกษตรลวงหนา

Page 223: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

129

4. หนาท่ีการตลาด หนาท่ีทางการตลาด หมายถึง กิจกรรมท่ีเกดิการเคล่ือนยายสินคาหรือผลิตภัณฑของบริษัทไปยังลูกคาหรือผูบริโภค เพื่อกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงกรรมสิทธ์ิในสินคาหรือผลิตภัณฑ เม่ือใดก็ตามท่ีการตลาดเปนระบบท่ีมีคุณภาพ ยอมสงผลใหประชาชน สังคมและชุมชนมีคุณภาพไปดวย ดังนั้นในระบบของการตลาดโดยท่ัวไปแลวจะมีหนาท่ีสําคัญดังตอไปนี้

4.1 หนาท่ีการจัดการเก่ียวกับสินคาและบริการ คือ การดําเนินการเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงกรรมสิทธ์ิในสินคาและบริการ เพื่อใหเกิดความพอใจและตรงกับความตองการของผูบริโภคหรือลูกคามากท่ีสุด ซ่ึงวิธีท่ีจะจดัการในเร่ืองนี้มีดังตอไปนี ้ 4.1.1 การพัฒนาและกาํหนดมาตรฐานสินคาและบริการ(Development and Standard Goods) หนาท่ีโดยตรงของการตลาด คือ การจัดหาสินคาและบริการใหตรงกับความตองการของผูบริโภค โดยการพัฒนาและกําหนดสินคาใหทันสมัย กําหนดรายละเอียดของสินคาและบริการ ไมวาจะเปน คุณภาพ ปริมาณ ลักษณะ รูปรางและมาตรฐานตามกําหนด ซ่ึงจะตองมีการศึกษาหาขอมูล เพื่อกําหนดสินคาท่ีจะผลิตออกมาตอบสนองความตองการของผูบริโภค 4.1.2 การขาย (Selling ) หนาท่ีโดยตรงของการตลาด คือ การจัดใหมีการถายโอน หรือเปล่ียนแปลงกรรมสิทธ์ิอันจําเปนตอการหมุนเวยีนสินคาและบริการ ทําใหเกิดความคลองตัวดานธุรกิจท่ีดําเนนิการอยู ซ่ึงอาจจะมีเจาหนาท่ีฝายขายติดตอโดยตรง หรืออาจจะมีการประสานงานกนัทางโทรศัพทหรือระบบสารสนเทศตาง ๆ 4.1.3 การซ้ือ (Buying) กิจกรรมในสวนของการซ้ือ ก็คือการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสินคาท่ีตองการซ้ือใหตรงกับความตองการของลูกคาเปนหลัก โดยในการซ้ือสินคานั้นจะตองศึกษาหาขอมูลกอนวามีคุณภาพหรือมาตรฐานมากนอยเพยีงใด

4.2 หนาท่ีเก่ียวกับแจกจายสินคาและบริการ สินคาท่ีผลิตข้ึนมาแลว จําเปนตองมีการจดัสงไปยังผูบริโภค ซ่ึงการเคล่ือนยายสินคาดังกลาวตองอาศัยกิจกรรมตาง ๆ ดังตอไปนี ้ 4.2.1 การขนสง (Transportation) สินคาจะไปถึงมือผูบริโภคหรือลูกคาท่ีอยูหางไกล ซ่ึงกระจายกันในแตละทองถ่ินได จะตองอาศัยการขนสง โดยจะตองเลือกวิธีการใหเหมาะสมกบัสภาพของสินคา ผลิตภัณฑ ระยะเวลาและสภาพของทองถ่ิน รวมท้ังความเหมาะสมของคาใชจายในการขนสง เชนสินคาท่ีมีน้ําหนกัและปริมาณมาก ควรจะเลือกการขนสงโดยทางรถยนต 4.2.2 การเก็บรักษาสินคา (Storage) เปนกจิกรรมเพื่อตอบสนองความตองการใหแกลูกคา ดวยการเก็บรักษาสินคาไวเพื่อใหธุรกิจตาง ๆ สามารถดําเนินตอไปไดอยางม่ันคงและถาวร ซ่ึงการเก็บรักษาสินคาของตลาดนั้นเปนไปใน 2 ลักษณะ ดังนี ้

Page 224: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

130

1) เก็บรักษาเพือ่เพ่ิมคุณภาพ สินคาและบริการบางอยางหากเก็บรักษาไวนานจะทําใหมีราคาสูงข้ึน เชน ท่ีดิน บานเปนตน 2) เก็บรักษาเพือ่คาดหวังผลกาํไร เชน กรณีสินคาราคาตกตํ่า หนาท่ีการตลาด (ผูขาย)จะเกบ็สินคานั้น ๆ ไวกอน จนกวาสินคาจะมีราคาสูงข้ึนจึงจะนาํออกมาจําหนาย

ภาพท่ี 33 การขนสงทางรถไฟ

4.3 หนาท่ีการบริการใหความสะดวก เพื่อใหธุรกิจตาง ๆ สามารถดําเนินตอไปไดอยางม่ันคง และถาวร การตลาดจึงตองใหการบริการและอํานวยความสะดวกใหกบัธุรกิจตาง ๆ ไดแก ดานการเงิน โดยมีสถาบันการเงิน คือ ธนาคารเขามาจัดบริการดานสินเช่ือเพ่ือใหมีการกูยืมเงินมาใชในการลงทุน นอกจากนี้ยังจดัใหมีการบริการอํานวยความสะดวก เพื่อลดความเส่ียงของธุรกิจ เชน บริการดานการประกันตาง ๆ เชน การประกันราคาสินคา การประกนัอุบัติภยั และการใหบริการซอมแซม เปนตน

4.4 หนาท่ีการส่ือสารขอมูลทางการตลาด เจาหนาท่ีฝายการตลาดเม่ือวิเคราะหขอมูลทางการตลาดไดแลว จะตองนําขอมูลความตองการสินคาหรือผลิตภัณฑใหมใหแกผูผลิต เพื่อผูผลิต จะไดนําขอมูลท่ีไดไปปรับปรุงสินคาและบริการข้ึนมาใหม ใหตรงกับความตองการของลูกคา หรือผูผลิต จะมีฝายการผลิตเปนผูดําเนินการปรับปรุงสินคาและฝายประชาสัมพันธภายในบริษัท จะทําหนาท่ีประชาสัมพันธสินคาตัวใหมไปยังลูกคาและผูอุปโภค บริโภค เพื่อใหผูบริโภคหรือลูกคาไดทราบถึงสินคาหรือบริการใหม ผูผลิตตองทราบความเคล่ือนไหวทางการตลาดไดถูกตอง เพื่อเปนขอมูลท่ีจะนําไปสูการผลิตสินคาและบริการมาสนองใหตรงกบัความตองการของประชาชนไดอยางแทจริง

Page 225: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

131

ภาพท่ี 34 การส่ือสารขอมูลทางการตลาดตองรวดเร็วทันตอสถานการณของโลก

4.5 หนาท่ีในการวิเคราะหตลาด การวิเคราะหตลาดเปนกระบวนการทีต่องดําเนนิการอยาง ตอเนือ่งตลอดเวลา เพื่อทราบขอมูลเกีย่วกบัความตองการของตลาด อันจะทําใหผูผลิตสามารถผลิตสินคาและบริการไดตรงความตองการของลูกคาไดตลอดเวลา และการวิเคราะหตลาดยงัเปนการชวยแกไขปญหาทางเศรษฐกจิของประเทศได เพราะผูผลิตและผูบริโภคสามารถทราบขอมูลที่เปนปจจุบัน และคาดคะเนผลท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคตได ทาํใหมีการเตรียมแกไขปญหาไดอยางถูกตองและถูกวิธีดวย

4.6 หนาท่ีในการทําใหสินคาตางกัน เม่ือไดรับขอมูลจากการวิเคราะหแลว หนาท่ีของตลาดก็จะตองปรับปรุงเปล่ียนแปลงสินคาและบริการข้ึนใหม เพื่อสนองความตองการและสรางความพึงพอใจใหแกผูซ้ือ ซ่ึงการปรับปรุงเปล่ียนแปลงทําไดดังรายละเอียดตอไปนี ้ 4.6.1 เปล่ียนแปลงตัวสินคาใหมแทนสินคาตัวเดิม 4.6.2 เปล่ียนแปลงราคาสินคาหรือผลิตภัณฑ 4.6.3 เปล่ียนแปลงทัศนคติของผูบริโภค เชน ซ้ือสินคาเพราะของแถมหรือการออกสลากรางวัลนําโชค 4.6.4 เปล่ียนแปลงขอมูลใหผูซ้ือไดรับรู 4.6.5 เปล่ียนแปลงการบรรจุหีบหอ หรือตรายี่หอใหม

4.7 หนาท่ีในการตีราคา การตีราคาจะชวยในการพิจารณาจุดคุมทุนวา การซื้อขายแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นทางการตลาดนั้นมีประโยชนคุมคาหรือไม หรือสรางความพอใจใหกับผูซ้ือ-ขายหรือไม หรือหากตนทุนสูงกวาผลประโยชนของสังคม ก็ควรจะตองมีการปรับปรุงคุณภาพของสินคาหรือผลิตภัณฑและการตลาดใหเหมาะสม 4.8 หนาท่ีในการแบงสวนตลาด เปนการทําใหตลาดมีขนาดเล็กลง เพื่อสะดวกในการแลกเปล่ียนซ้ือขายสินคา เนือ่งจากผูผลิตสามารถเจาะจงลูกคาได ในขณะท่ีผูบริโภคเองก็สามารถเลือกสินคาและบริการเฉพาะอยางไดมากข้ึน ทําใหเกิดการประหยัดท้ังการผลิตและบริโภคดวย

Page 226: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

132

5. ความสําคัญของการตลาด

เม่ือสังคมเปลี่ยนแปลงไปตามวันเวลา ความสําคัญของการตลาดก็แปรเปล่ียนไปตามสภาพสังคม และความตองการทางภาวะเศรษฐกิจ เชน ในอดีตการผลิตสินคาใหไดมากที่สุดอาศัยความสําคัญของการตลาด แตในยุคปจจบัุนความตองการของการตลาดอยูท่ีการใหการบริการท่ีประทับใจลูกคา หากสินคาและบริการตาง ๆ ท่ีผลิตข้ึนมานั้นไมมีระบบการตลาดจดัการ สินคาและบริการเหลานัน้ก็จะขายไมได ผลท่ีเกิดข้ึนก็คือ บริษัทขายสินคาไมออกเกิดการปลดพนักงาน เกิดการเดินขบวน สไตรก เศรษฐกิจตกตํ่า เกิดโจรกรรมข้ึนมากมาย เพราะฉะนั้นการตลาด จึงมีความสําคัญตอสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ดังรายละเอียดตอไปนี ้

5.1 ทําใหเศรษฐกิจขยายตัว การตลาดทําใหระบบการซื้อขายสะดวก รวดเร็ว ผูซื้อและผูขายติดตอสัมพันธกันไดทุกเวลา มีผลใหการผลิตขยายตัว ประชาชนมีงานทํา มีรายได มีการซื้อขายวัตถุดิบท่ีนํามาผลิตทําใหเกิดธุรกิจการขนสงและธุรกิจอื่น ๆ เกิดขึ้น สงผลใหเศรษฐกิจรวมของประเทศชาติดีขึ้น

ภาพท่ี 35 ความสําคัญของการตลาดทําใหเศรษฐกิจขยายตัวมีสินคาและ บริการใหมและชวยยกระดับคาครองชีพของประชากรใหสูงข้ึน

5.2 ทําใหมีสินคาและบริการใหม ๆ เกิดขึ้น เพราะการตลาดทําใหเกดิการแขงขันกนัระหวางบริษัทกับบริษัทท่ีขายสินคาชนิดเดยีวกัน ทําใหแตละบริษัทใชกลยุทธในการประดิษฐคิดคนและพฒันาสินคา ทําใหประชาชนไดใชสินคาหลากหลายชนิด ในราคาท่ีถูกลงและคุณภาพดีขึ้น 5.3 ทําใหเกิดอาชีพตาง ๆ เพิ่มขึ้น กจิกรรมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับระบบการตลาด จะขยายตัว ตามการขยายตัวของธุรกิจอุตสาหกรรม คือ เม่ือเศรษฐกจิกาวหนา มีการขยายตัวดานการลงทุนในการผลิตสินคาและบริการตาง ๆ เกิดการพึ่งพากันระหวางบริษัทตอบริษัทเชน เม่ือผลิต

Page 227: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

133

5.4 ชวยยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชากรในสังคมใหสูงขึ้น ท้ังทางดานการผลิตและการบริโภค

5.5 ชวยใหสามารถใชทรัพยากรการบริหารตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยใชขอมูลทางการบริหารการจัดการดานการวจิัย และหลักเศรษฐศาสตรมาเกี่ยวของ

6. การวางแผนการตลาด

การวางแผนการตลาด คือ การกําหนดแผนการดําเนินงานทางการตลาดของบริษัทหรือ โรงงานอุตสาหกรรมท้ังหมด ใหบรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคทางการตลาดท่ีบริษัทกําหนด และความพยายามในการคนหาโอกาสทางการตลาดท่ีนาจะเปนในปจจบัุนและอนาคต เพื่อกําหนด แผนงานทางการผลิตสินคาท่ีมีคุณภาพตรงตามความตองการตลาด สรางกําไรแกกิจการ และการเปล่ียนแปลงทางการตลาด ซ่ึงประกอบดวยข้ันตอน การกําหนดงานของบริษัท การกําหนดวัตถุประสงคและจุดมุงหมายของบริษัท การวางแผนงานรวมของบริษัท และการกําหนดกลยุทธการขยายตัวของบริษัท ตามภาพท่ี 36

งานของบริษัท

วัตถุประสงคและ จุดมุงหมายของ

บริษัท

แผนงานรวมของบริษัท

กลยุทธการขยายตัวของ

6.1 ขั้นตอนการวางแผนการตลาด

ภาพท่ี 36 ขั้นตอนการวางแผนการตลาด

ข้ันตอนในการวางแผนการตลาด โดย Phillip Kotler ไดมีข้ันตอนการวางแผนดังรายละเอียดตอไปนี ้

6.1.1 การกําหนดงานของธุรกิจ เปนการกําหนดหนาท่ีจุดมุงหมายของบริษัทใหชัดเจนในการทํางาน เพื่อใหงานบรรลุจุดมุงหมายและสมบูรณ โดยการต้ังคําถามและอาศัยคําตอบจากคําถามมาปฏิบัติ เชน ผูประกอบธุรกิจ หางสรรพสินคาใหญในแตละจังหวดั สามารถต้ังคําถามและตอบคําถามได ดังตอไปนี ้

Page 228: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

134

1) ธุรกิจของบริษัททําอะไร (What is our business?) คําตอบคือการใหบริการขายสินคาแกลูกคา 2) ใครคือลูกคา (Who is the customer?) คําตอบคือ ลูกคาในจังหวดันัน้ ๆ หรือบริเวณใกลเคียง นักทองเท่ียวจากตางประเทศและในประเทศ 3) ส่ิงท่ีมีคาแกลูกคาคืออะไร (What is the value to our customer?) คําตอบคือความสะดวกสบาย บรรยากาศ ความประทับใจดานการใหบริการตาง ๆ มุมพักผอน 4) ธุรกิจของบริษัทในอนาคตจะเปนอะไร (What will our customer?) คําตอบคือมีการขยาย งานดานการใหบริการ อาหาร สวนสนุกเด็ก ๆ 5) ธุรกิจของบริษัทควรเปนอะไร (What should our business be?) มีคําตอบ คือมีการขยายงานดานการใหความบันเทิง และอํานวยความสะดวกอ่ืน ๆ อีกใหครบ เชน ดาน เสียงเพลง บริการโหราศาสตร บริการเสริมสวย บริการสงสินคาแกลูกคาท่ีซ้ือสินคาจํานวนมาก

6.1.2 วัตถุประสงคและจุดมุงหมายของธุรกิจ (Company Objectives and Goals)

วัตถุประสงค หมายถึง ขอบเขตของทิศทาง วิธีปฏิบัติและกระบวนการปฏิบัติงาน เชน 1) วัตถุประสงคความเจริญเติบโตของกิจการ (Growth Objectives) 2) วัตถุประสงคเกี่ยวกับกําไร (Profit Objectives) ซ่ึงแสดงออกมาในรูปผลตอบแทนจากการลงทุน (Return on investment) 3) วัตถุประสงคกับความอยูรอด (Survival Objectives) 4) วัตถุประสงคเกี่ยวกับสังคม (Social Objectives) การปรับปรุงสวนแบงตลาด การกระจายความเส่ียง ความคิดริเร่ิม (Improving Marketing Segmentation, Portfolio and Creation)

ลักษณะวัตถุประสงคขององคการ ควรเรียงลําดับความสําคัญจากมากไปหานอยของแตละธุรกจิท่ีดําเนนิงาน จุดมุงหมาย เปนการกาํหนดลักษณะการทํางานท่ีกระชับกวาวัตถุประสงค หรืออาจกลาวไดวาจุดมุงหมายเปนการกาํหนดวตัถุประสงครอง เพือ่ใหบรรลุวัตถุประสงคของธุรกจิแตละประเภท 6.1.3 การวางแผนงานรวมของธุรกิจ (Strategical Planning for Business) เปนงานท่ีเกีย่วของกับการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู เพื่อใหเกดิความเหมาะสมกับแผนงานรวมของธุรกิจ โดยใหมีการวิเคราะหถึงจุดแข็งและจุดออนของธุรกิจ และใหมีการ

Page 229: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

135

6.1.4 การวางแผนการขยายตัวของธุรกิจ (Company Growth Strategy) เปนการพิจารณาโอกาสการขยายตัวของธุรกิจ บริษัทสามารถพัฒนากลยุทธการขยายตัวได ซ่ึงเปนจุดมุงหมายของกิจการท้ังหลายอยางยิ่ง โดยสามารถแสดงใหเหน็ไดจากยอดผลกําไรเพ่ิมข้ึน ตลาดสวนแบงขยายกวางและยอดการขายเพ่ิมข้ึน

การขยายตัวทางธุรกจิเปนกิจการแสวงหาความกาวหนา โดยการขยายฐานทาง อุตสาหกรรมใหกวางออกไป เปนการขยายตัวแบบรวมระบบการตลาด ระบบการตลาดจะประกอบดวย ผูขายวัตถุดิบ ซ่ึงขายใหผูผลิต เม่ือผูผลิตสินคาออกมาจะขายสินคาผานผูคาสงและผูคาปลีก ผูคาสงและปลีกจะขายสินคาไปยังผูอุปโภคและบริโภค

การขยายตัวท่ีทําใหกิจการดีขึ้นมีรายละเอียดดงัตอไปนี ้ 1) การขยายตวัเพิ่มขึ้น (1) การเจาะตลาด หรือเรียกวาแทรกซึมตลาด กิจการพยายามเพิ่มยอดขายท่ีมีอยูแลวใหสูงมากข้ึน โดยทุมเทความพยายามทางการขาย (2) การพัฒนาตลาด กิจการพยายามเพ่ิมยอดขาย โดยนําผลิตภัณฑท่ีมีอยูในปจจุบันเขาสูตลาดใหมท่ียังไมเคยยดึครองตลาดสวนนั้นมากอน (3) การพัฒนาผลิตภัณฑ กจิการพยายามเพ่ิมยอดขาย โดยการพัฒนาผลิตภัณฑใหม หรือปรับปรุงผลิตภัณฑใหมีคุณภาพมากข้ึน โดยมุงจาํหนายในตลาดเดิมใหดีข้ึน

2) ขยายตัวแบบประสมประสาน (1) การขยายแบบยอนหลังเปนความพยายามของกิจการ โดยทําหนาท่ีผลิตหรือดําเนินการเก่ียวกับวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณหรือปจจยัในการผลิต จงึพยายามเขาควบคุมหรือครอบครองกิจการอ่ืน ๆ ทําหนาท่ีปอน Supply เชน การผลิตปลากระปอง ขยายตัวโดยดําเนนิการผลิตซอส และผลิตกระปองบรรจุปลากระปองดวย (2) การขยายไปขางหนา กจิการพยายามเขาควบคุมระบบการจําหนายสินคาของตนเสียเอง นั่นคือการผลิตเองขายเอง เปนตน (3) การขยายระดับเดียวกัน กิจการพยายามขยายตัวเขาครอบครองกิจการคูแขง โดยรวมกิจการหรือซ้ือกิจการของคูแขง ทําใหบริษัทลดคาใชจายในการแขงขันและการโฆษณา

Page 230: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

136

3) การขยายตวั โดยเพิ่มกิจการใหมท่ีตางจากกิจการเดิม กิจการขยายตัวเกีย่วกับธุรกิจใหมหรือผลิตภัณฑใหม อาจเกี่ยวของหรือไมเกีย่วของกับผลิตภัณฑใหม อาจเกี่ยวของหรือไมเกีย่วของกับผลิตภัณฑเดิม

(1) การขยายตัวจากจุดศูนยกลาง กิจการขยายตัวเพิ่มสินคาใหม โดยใชเทคโนโลยีเดมิ หรือกิจการการตลาดท่ีคลายคลึงกับผลิตภัณฑเดิมท่ีบริษัทมีอยูแลว แตใหมีคุณภาพดีกวาถูกใจลูกคาในปจจุบัน (2) การขยายตัวโดยเพิ่มเติมกิจการใหมท่ีตางกันในแนวนอน กิจการพยายามท่ีจะเพิ่มเติมผลิตภณัฑใหม ใชเทคโนโลยีใหม ๆ ไมเกี่ยวของกับผลิตภัณฑเดิม นําไปขายใหลูกคากลุมปจจุบันท่ีกจิการครอบครองอยู เพื่อใหคุณภาพสินคาดข้ึีน ถึงแมวาสินคานั้นไมมีความสัมพันธกับสินคาในสายผลิตภัณฑเดิมก็ตาม (3) การวางแผนการขยายตัวเพื่อรวมกลุมกิจการ พยายามเพ่ิมผลิตภณัฑใหมสําหรับลูกคาโดยผลิตภณัฑใหม ไมเกีย่วของกับผลิตภณัฑเดมิ เชน บริษัทผลิตปลากระปอง อาจผลิตอาหารสําเร็จรูปซ่ึงไมเกีย่วของกับการผลิตปลากระปอง เทคโนโลยแีละลูกคากลุมเปาหมายก็เปนคนละกลุม

ผูขายวัตถุดิบ

บริษัท

ผูบริโภคคนสุดทาย

ผูคาปลีก ผูคาสง

คูแขงขัน

6.2 กระบวนการการวางแผนการตลาด

การวางแผนการตลาด มีลักษณะเปนกระบวนการในการกําหนดถึงจุดมุงหมายทางการตลาดในการเลือกตลาดเปาหมาย เพื่อวางแผนในการดําเนินการตลาดของสินคาท่ีบริษัทผลิตข้ึนใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีองคการกาํหนด กระบวนการในการวางแผนการทางการตลาดพอสรุปได 4 วิธีดังรายละเอียดตอไปนี ้

ภาพท่ี 37 แสดงระบบงานการตลาด

Page 231: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

137

6.2.1 การวิเคราะหการตลาด (Marketing Analysis) หมายถึงการศึกษาถึงสภาพ แวดลอมทางการตลาด องคประกอบทางการตลาดในดานตาง ๆ เพื่อคนหาโอกาสทางการตลาด ท่ีเปนไปไดมากท่ีสุด การวิเคราะหการตลาดนั้นอาจจะออกแบบสอบถามสงไปยังลูกคาท่ีตองการสินคา โดยท่ัวไปแลวการทําวิจัยจะทําใหเราทราบความตองการของลูกคาวามีความคิดเห็นเกีย่วกับสินคาท่ีเราผลิตอยางไร

6.2.2 การวางแผนการตลาด (Marketing Planning) หมายถึงการกําหนดแนวทางในการปฏิบัติงานทางการตลาด เกี่ยวกับราคาของทางการจัดจําหนาย การกําหนดราคาและการสงเสริมการตลาด ใหสามารถตอบสนองความตองการตอกลุมเปาหมายจนเกิดความพอใจเปนไปตามเปาหมายที่ธุรกิจไดกําหนด ตามท่ีกลาวมาแลววาการทําแบบสอบถามวิจัยลูกคา จะทําใหเราสามารถกําหนดผลิตภัณฑท่ีจะผลิต ราคา ขนาดและสีสันตลอดจนการบรรจุภัณฑ ฉะนั้นในบริษทัใหญ ๆ และไดมาตรฐาน จะมีฝายวจิัยโดยเฉพาะเพื่อทําการใหขอมูลในเร่ืองนี ้ 6.2.3 การปฏบิัติทางการตลาด (Implementation) เปนการดําเนนิงานทางการตลาดแผนงานท่ีกําหนด เกี่ยวกับผลิตภัณฑ กําหนดราคา ชองทางการจําหนาย และการสงเสริมการตลาด โดยพิจารณาจากผลการวิจัยตลาดแลวมากําหนดราคา และวิธีการจําหนายตลอดจนการผลิตจํานวนมากนอยเพียงใด เพื่อใหบริษทัมีกําไรสูงสุด 6.2.4 การควบคุมทางการตลาด (Marketing Control) เปนการดําเนนิงานเกีย่วกับการปรับปรุงการปฏิบัติงานทางการตลาดในดานตาง ๆ ใหเปนไปตามแผนงานทางการตลาดท่ีกําหนดไว บรรลุเปาหมายตามท่ีบริษัทกําหนดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การควบคุมทางการตลาด เปนกิจกรรมท่ีดําเนินการเปนลําดับข้ันตอนท่ีตอเนื่อง จนกวาการปฏิบัติงานจะประสบความสําเร็จ ซ่ึงข้ันตอนการควบคุมการตลาดสามารถดําเนินการไดดังตอไปน้ี 1) การกําหนดมาตรฐานหรือเปาหมายของการปฏิบัติงาน เปนการกําหนดเกณฑหรือวัตถุประสงคในการปฏิบัติงาน เพื่อเปนเคร่ืองมือท่ีนํามาใชวัดผลการปฏิบัติงานวาสูงหรือตํ่ากวาเกณฑท่ีกําหนดไวมากนอยเพยีงใด 2) การประเมินผลการปฏิบัติงาน เปนกจิกรรมเก่ียวกับการเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานท่ีไดกับมาตรฐานท่ีกําหนด หากผลการปฏิบัติงานสูงกวามาตรฐาน แสดงวาการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ 3) การวดัผลการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานดานตาง ๆ ไดมีการดําเนินไประยะหนึ่งเม่ือการปฏิบัติงานเสร็จส้ินลง จะดําเนินการวัดผลการปฏิบัติงานดวยวิธีการท่ีเหมาะสมกับมาตรฐานหรือวัตถุประสงคท่ีกําหนด โดยใชขอมูลทางสถิติเปนขอมูลการวัดผลการปฏิบัติงาน

Page 232: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

138

4) การดําเนินการแกไข เม่ือพบวาการปฏิบัติงานทางการตลาดตํ่ากวามาตรฐานท่ีกําหนด หรือไมสามารถดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายได ตองคนหาสาเหตุ กําหนดแนวทางแกไข และกําหนดแนวทางในการปฏิบัติงานท่ีสามารถบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายตอไป

6.3 กลยุทธทางการตลาด กลยุทธทางการตลาด เปนเร่ืองท่ีนักการตลาดจะตองมีการทํางาน โดยมีการวางแผนท่ีรอบคอบ ซ่ึงสามารถดําเนินการดังตอไปนี้ 6.3.1 การกําหนดกลยุทธสวนประสมทางการตลาด และคาใชจายทางการตลาด อันประกอบไปดวยสวนประกอบดังตอไปน้ี 1) กลยุทธเกีย่วกับผลิตภณัฑ

2) กลยุทธเกีย่วกับราคา 3) กลยุทธเกีย่วกับการสงเสริมการตลาด 4) กลยุทธเกีย่วกับการจัดชองทางการจําหนาย

6.3.2 การวิเคราะหโครงสราง และพฤติกรรมของตลาดเปาหมาย รวมถึงส่ิงแวดลอมทางการตลาด 6.3.4 การแบงสวนการตลาด การเลือกตามเปาหมาย และการกําหนดตําแหนงผลิตภัณฑ

สรุป การตลาดนับวาเปนหวัใจท่ีสําคัญยิ่งตอผูประกอบอาชีพทางธุรกิจเกษตร และระบบเศรษฐกิจของประเทศ เพราะวาสินคาและบริการตาง ๆ จากผูผลิตกอนท่ีจะถึงผูบริโภค ตามวัน เวลา และสถานท่ีเพื่อใหเกดิความพอใจสูงสุดนั้น ตองผานขบวนการขับเคล่ือนทางการตลาดอยางดีมีประสิทธิภาพ และส่ิงหนึ่งท่ีทําใหผูทําธุรกิจประสบความสําเร็จทางธุรกิจไดก็คือ ตองมีการวางแผนการตลาดต้ังแตข้ันตอนการวางแผนการตลาดวาจะทําอะไร มีเปาหมายทางการตลาดอยางไร จะมีแนวทางขยายตัวทางธุรกิจในอนาคตหรือไม จากนัน้กต็องมากําหนดกระบวนการการวางแผนการตลาดอยางเปนข้ันตอนอยางละเอียดรอบคอบ เชนการวิเคราะหขอมูลทางการตลาดดานตาง ๆ เพื่อนํามาวางแผนการตลาดท้ังหมด รวมถึงเม่ือธุรกิจดําเนนิการไปแลวธุรกจิของเราจะนําเอากลยุทธทางการตลาดอะไรมาใช

****************************

Page 233: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

139

แบบฝกหัด หนวยท่ี 5 การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. ตลาดและการตลาดหมายถึงอะไร มีความแตกตางกันอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ถานักศึกษามีความคิดท่ีจะทําธุรกิจเกษตร ควรปรับตัวอยางไรเพื่อใหสอดคลองตอแนวความคิด ทางการตลาดสมัยใหม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 234: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

140

3. หนาท่ีทางการตลาดท่ีสําคัญ มีอะไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. การวางแผนการตลาดมีความสําคัญอยางไรในการทําธุรกิจ และมีข้ันตอนในการวางแผนการตลาดอยางไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………

Page 235: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

141

5. การกําหนดกลยุทธทางการตลาดมีความสําคัญอยางไรในการทําธุรกิจ ยกตัวอยางประกอบการอธิบาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

************************************

Page 236: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

142

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 5 การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเหน็วาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว 1. ความหมายของ “ตลาด” ตรงกับขอใด ก. สถานท่ีหรืออาณาเขตท่ีมีการเปล่ียน แปลงในกรรมสิทธ์ิสินคาหรือบริการ ข. กิจกรรมตาง ๆ ของธุรกิจ ท่ีทําให สินคาจากผูผลิตไปถึงมือผูบริโภค ค. การดําเนินกิจกรรมท่ีทําใหผูขายไดรับ ความพึงพอใจ ง. การรวมกลุมกันเพื่อดําเนนิธุรกิจ 2. ขอใดเปนความหมายของ “ การตลาด” ก. การรวมกลุมกันเพื่อดําเนนิธุรกิจ ข. สถานท่ีหรืออาณาเขตท่ีมีการเปล่ียน แปลงในกรรมสิทธ์ิสินคาหรือบริการ ค. การดําเนินกิจกรรมท่ีทําใหผูขายไดรับ ความพงึพอใจ ง. กิจกรรมตาง ๆ ของธุรกิจ ท่ีทําให สินคาจากผูผลิตไปถึงมือผูบริโภค 3. กิจกรรมใดท่ีคิดวาสําคัญท่ีสุด ในการตัดสินใจทําธุรกิจ ก. กิจกรรมการบริหารจัดการ ข. กิจกรรมทางการตลาด ค. กิจกรรมการดานการประชาสัมพันธ ง. กิจกรรมการดานการเงินและบัญชี

4. แนวความคิดทางการตลาดแบบใด ท่ีมีสวนทําใหสามารถผูกขาดดานการตลาดได ก. ความคิดมุงการขาย ข. ความคิดเกีย่วกับผลิตภัณฑ ค. ความคิดเกีย่วกับการผลิต ง. ความคิดมุงการตลาด 5. แนวความคิดทางการตลาดแบบเกา จะเนนส่ิงใดเปนหลัก ก. การผลิตและผลิตภัณฑ ข. การตลาด และ สังคม ค. การขายและการพัฒนาเทคโนโลยี ง. การควบคุมทรัพยากรธรรมชาติ 6. แนวความคิดทางการตลาดในปจจุบัน เราควรยึดแนวความคิดในขอใด ก. การปรับปรุงคุณภาพสินคา ข. การคิดหาวธีิการผลิตท่ีดีมี ประสิทธิภาพ ค. การพิจารณาถึงความตองการของ ลูกคา ง. เนนดานการบริการลูกคาสําคัญท่ีสุด

Page 237: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

143

7. ขอใด ไมใชบทบาทหนาท่ีทางการตลาด ก. การบริการดานเทคโนโลย ี ข. การใหขอมูลทางการตลาด ค. การรับประกันภัยสินคา ง. การจัดเกรดมาตรฐาน

8. “สินคาหรือบริการของธุรกิจจะไมมีการโอนเปล่ียนกนัได” เปรการขาดหนาท่ีทางการตลาด ขอใด ก. การขาย ข. การขนสง ค. การจัดมาตรฐานสินคา ง. ขอมูลเกี่ยวกับการตลาด 9. นายสมโอประกอบอาชีพทาํสวนมังคุด นายสมโอจะเลือกวิธีการการตลาดแบบใด ในการจดัจําหนายท่ีเหมาะสมกับผูบริโภค ก. จากผูผลิตไปยังผูบริโภคโดยตรง ข. จากผูผลิตผานพอคาสงและผานพอคา ปลีกไปยังผูบริโภค ค. จากผูผลิตผานพอคาปลีกไปยัง ผูบริโภค ง. จากผูผลิตผานตัวแทนจําหนาย ผาน พอคาสงผานพอคาปลีกไปยังผูบริโภค 10. ขอใดไมใชขั้นตอนของการตลาด

ก. กําหนดงานธุรกิจ ข. วัตถุประสงคของบริษัท ค. การขยายแผนการผลิต ง. กลยุทธของการตลาด

11. ขอใดไมใชการกําหนดงานธุรกิจ ก. ธุรกิจจะทําอะไร ข. วัตถุประสงคเกี่ยวกับกาํไร ค. ใครคือลูกคาของเรา ง. ส่ิงท่ีมีคาแกลูกคาคืออะไร

12. ข้ันตอนการกําหนดงานของการทําธุรกิจการเกษตรตอไปนี้ จัดอยูในขอใด

ก. ทําฟารมโคนม ข. ความประทับใจการบริการ ค. ทําฟารมโคนมแบบครบวงจร ง. ถูกหมดทุกขอ

13. การขยายตัวทางธุรกิจทางการเกษตรแบบขยายตวัเพิ่มข้ึน เปนการขยายแบบยอนหลังคือขอใด

ก. ผลิตปลากระปอง ขยายตัวโดยผลิต ซอส และผลิตกระปองบรรจุปลาดวย

ข. ควบคุมการผลิต คือผลิตเองขายเอง ค. พยายามขยายตัวเขาครอบครอง กิจการคูแขง โดยรวมกิจการ ง. ถูกหมดทุกขอ

14. ขอใดเปนการขยายตัวท่ีทําใหกิจการดีข้ึน ก. การขยายตัวเพิ่มข้ึน ข. การขยายตัวแบบประสมประสาน ค. การเพิ่มกิจการใหมท่ีตางจากกิจการ เดิม ง. ถูกหมดทุกขอ

Page 238: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

144

15. ขอใดไมจัดวาเปนสวนประสมทางการตลาด ก. ผลิตภัณฑ ข. ชองทางการจัดจําหนาย ค. การประชาสัมพันธ ง. การกําหนดราคา 16. การสงเสริมการตลาดวิธีใดท่ีพบเห็นมากท่ีสุด ก. การสงเสริมการขาย ข. การโฆษณา ค. การประชาสัมพันธ ง. การขายโดยบุคคล 17. กิจกรรมท่ีเก่ียวของกับการวางแผน การควบคุมสินคาท่ีสําเร็จรูปจากผูผลิต ไปสูผูบริโภคคือความหมายขอใด ก. กิจกรรมทางการตลาด ข. กิจกรรมการผลิต ค. กิจกรรมการกระจายสินคา ง. กิจกรรมการสงเสริมทางการตลาด 18. เพราะเหตุใดจึงตองมีการสงเสริมการตลาด ก. แจงขาวสารขอมูล ข. เพื่อเปล่ียนพฤติกรรม ค. เพื่อเตือนความจํา ง. ถูกทุกขอ

19. สวนประสมทางการตลาด ท่ีนํามาใช หลังจากไดทําการผลิตสินคาข้ึนมาแลว ก. การจัดจําหนาย ข. การตั้งราคา ค. การสงเสริมการตลาด ง. การหาขอมูลทางการตลาด 20. กิจกรรมการควบคุมทางดานการตลาดใหเปนไปตามแผนงานทางการตลาดท่ีกําหนดไว บรรลุเปาหมายตามท่ีบริษัทกําหนดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือขอใด ก. การกําหนดมาตรฐาน ข. การประเมินผลการปฏิบัติงาน ค. การวัดผลการปฏิบัติงาน ง. ถูกทุกขอ

********************************

Page 239: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

145

ใบงานท่ี 5 หนวยท่ี 5 การจัดการตลาดและการวางแผนการตลาด

********************************* เร่ือง การวางแผนการตลาด

จุดประสงคการเรียนรู 1. บอกความสาํคัญของการวางแผนการตลาดได 2. เขียนแผนการตลาดแบบงาย ๆ ได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รับฟงคนอื่น เปนผูนําและผูตามที่ดี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินัยในตนเอง ความซื่อสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวิชาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเร่ืองท่ีเก่ียวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 2. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 3. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ใหนักศึกษา วางแผนการตลาดการทําธุรกิจเกษตรของตนเองมาคนละหนึ่งแผน ตามรูปแบบกระบวนการการวางแผนการตลาด ที่ไดเรียนมาแลว 2. ดําเนินการทํางานใหเสร็จตามคําสั่งภายใน 1.30 ช่ัวโมง 3. นาํเสนอผลงานหนาช้ันเรียน 4. สงรายงาน ตามรูปแบบรายงานท่ีถูกตองสมบูรณ 5. ประเมินผล

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังสื่อและตําราเก่ียวกับการบริหารจัดการท่ัวไป

******************************

Page 240: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

146

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 5 การจัดการการตลาดและการวางแผนการตลาด

******************************** ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตอบ ก ง ข ค ก ค ก ข ก ง ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ตอบ ข ง ก ง ค ข ค ง ข ง

*******************************

Page 241: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 6 เร่ือง การบัญชีและการจัดการทางการเงิน

****************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1. บอกความหมายของการบัญชีไดถูกตอง 2. บอกความสําคัญของการบัญชีไดถูกตอง 3. อธิบายถึงการลงบัญชีอยางงาย ๆ ได 4. บอกความหมายของเงินทุนได 5. บอกขอบเขตของการบริหารการเงินไดถูกตอง 6. อธิบายแหลงท่ีมาของเงินทุนไดถูกตอง

7. อธิบายถึงกระบวนการการจัดการเงินทุนได

สาระสําคัญ

“การบัญชี” (Accountancy , Accounting) หมายถึง ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จําแนก และทําสรุปขอมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน การทําบัญช ี (Book – keeping) เปนวิธีการจดบันทึกรายการเปล่ียนแปลงทางดานการเงิน หรือส่ิงของท่ีกําหนดมูลคาเปนเงินไวเปนหลักฐาน โดยจัดแยกไวเปนหมวดหมูตามประเภทของรายการนัน้ ความสําคัญของการบัญช ี

- ชวยใหรัฐบาลไดจัดเก็บภาษีอยางถูกตองและเปนธรรม - ใชเปนหลักฐานอางอิง ตรวจสอบ ควบคุมรักษา และปองกันการผิดพลาดของกิจการ - ชวยใหขอมูลแกเจาหนี้เพือ่เปนแนวทางในการพิจารณาเครดิตของธุรกิจในโอกาสตอไป - ชวยใหเจาของกิจการไดทราบฐานะ และผลการดําเนนิงานของธุรกิจท่ีตนเปนเจาของ - ชวยใหผูบริหารมีขอมูลประกอบในการตัดสินใจวางแผนดําเนินงาน และควบคุมกจิการใหประสบความสําเร็จตามความมุงหมาย

สินทรัพย( Assets ) หมายถึง ส่ิงของท้ังหลายท่ีมีราคาเปนตัวเงิน ซ่ึงกจิการคาหรือบุคคลเปนเจาของ หรือกรรมสิทธ์ิครอบครองโดยถูกตองตามกฎหมาย

Page 242: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

148

หนี้สิน ( Liabilities ) หมายถึง ภาวะผูกพันท่ีบุคคลหรือกิจการคาเปนหนี้หรือจะตองใชหนี้ตอบุคคลภายนอก ไดแก เจาหนี้ เงินกู คาใชจายคางจาย เงินเบิกเกนิบัญชี ทุนหรือสวนของเจาของกิจการ (Owner’s Equity) หมายถึง สิทธิในความเปนเจาของสินทรัพยท้ังหลาย สินทรัพยท้ังหลายตองมีเจาของ เจาของอาจเปนบุคคลหรือกิจการคา ซ่ึงไมรวมสินทรัพยสวนท่ีเปนหนี ้ สมการบัญช ี ( Accounting Equation ) หมายถึง สมการที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางสินทรัพย หนีสิ้นและสวนของเจาของ (ทุน) ซ่ึงจะแสดงถึงความสมดุลกนัอยูเสมอ งบการเงนิ (Financial Statement) หมายถึง รายงานทางการเงินท่ีแสดงใหเหน็ผลการดําเนินงาน และฐานะการเงินของกจิการในชวงเวลาหน่ึง งบการเงินแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. งบกําไรขาดทุน 2. งบดุล ขั้นตอนการลงบัญช ี 1 รับเอกสารรายการคาท่ีเกดิข้ึน เพื่อประกอบการบันทึกบัญชี 2 การวิเคราะหรายการคา เม่ือจะทําการบันทึกบัญชีจะตองวิเคราะหรายการคาไดกอนเปนการคาเกี่ยวกับอะไร เชน ขายสด ขายเช่ือ จายคาใชจาย นับรายได จายชําระหนี้ รับชําระหนี้ เปนตน 3. การบันทึกบัญชี สมุดบัญชีท่ีใชในกจิการโดยท่ัวไปจะประกอบดวย

การบันทึกบัญชอียางงาย 1. บันทึกบัญชีในสมุดเงินสดรับหลายชอง

2. บันทึกบัญชีในสมุดเงินสดจายหลายชอง 3. นํายอดรวมแตละชองในสมุดเงินสดรับ หรือสมุดเงินสดจายตอนส้ินเดือนไปลงในแบบฟอรมงบกําไรขาดทุน และงบที่เตรียมไวก็สามารถจะประเมินผลได

4. สําหรับรายการที่ไมเกีย่วกับเงินสด กจ็ะบันทึกไวในสมุดรายวันท่ัวไป ขอบเขตของการบริหารการเงินเร่ิมตัง้แต 1. การคาดการณเกีย่วกับความตองการของเงินทุนในกิจการนั้น 2. ดําเนินการจัดหาเงินทุน 3. จัดสรรเงินทุนใชไปใหตรงตามวัตถุประสงคของกิจการ เงินทุน หมายถึงทรัพยท่ีใชในการดําเนินธุรกิจจะเปนเงินสด หรือสินทรัพยอ่ืนท่ีนอกเหนือจากเงินสด แหลงเงินทุนหมายถึง ท่ีมีมาของเงินทุนเพื่อใชในการดําเนินธุรกิจ

Page 243: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

149

ประเภทของแหลงเงินทุน แหลงเงินทุนแบงออกเปน 2 ประเภทดังนี้คือ 1. เงินทุนจากสวนของเจาของกิจการ 2. เงินทุนจากการกอหนี้ (หนี้สิน) 15ปจจัยท่ีกําหนดความเหมาะสมของการเลือกใชแหลงเงนิทุน 1. ตนทุนของเงินทุน 2. พิจารณาถึงโครงสรางของ 3. ความสะดวดในการจัดหาเงินทุน 4. จังหวะเวลาในการใชเงินทุน

เน้ือหา

1. ความหมายและความสําคัญของการบัญชี 1.1 ความหมายการบัญชี หากกลาวถึง “การบัญชี” กับบุคคลท่ัวไป มักจะนึกถึงสมุด ตัวเลข และ“การบัญช”ี สําหรับพอคา แมคา มักจะนึกถึงสมุดจดบันทึกรายการรับเงิน จายเงิน รายการคางจาย เจาหนี ้ และรายการคางรับ ลูกหนี ้ ซ่ึงการบัญชีตามความหมายของบุคคลดังกลาว เปนสวนหนึ่งของการบัญชี ตามหลักวิชาการเทานั้น สมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย ไดใหความหมายของการบัญชีไวดังนี ้

“การบัญชี”(Accountancy, Accounting)หมายถึง ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จําแนก และทําสรุปขอมูลอันเกี่ยวกบัเหตุการณทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานข้ันสุดทายของการบัญชีก็คือ การใหขอมูลทางการเงินซ่ึงเปนประโยชนแกบุคคลหลายฝาย และผูท่ีสนใจในกิจกรรมของกิจการ การบัญชีตางกับการทําการทําบัญชีอยางไร

การบัญชี (Accounting) เกดิข้ึนมาเพราะกิจการตาง ๆ จําเปนจะตองมีเอกสารหลักฐาน เพื่อใหทราบถึงผลการดําเนนิงานเกีย่วกับ รายรับ รายจายและสินทรัพยอ่ืน ๆ ของกิจการ และเพื่อใหเจาของกิจการไดทราบถึงความกาวหนาหรือขอบกพรองในการดําเนินงาน การบัญชีจึงเปนหนาท่ีของนักบัญชี (Accountant)โดยตรง เพราะนักบัญชีจะตองสามารถวางระบบบัญชี และควบคุมการลงบัญชีท้ังหมดไดดวย

Page 244: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

150

การทําบัญช(ีBook – keeping) เปนวิธีการจดบันทึกรายการเปล่ียนแปลงทางดานการเงิน หรือส่ิงของท่ีกําหนดมูลคาเปนเงินไวเปนหลักฐาน โดยจัดแยกไวเปนหมวดหมูตามประเภทของรายการนัน้ และเรียงลําดับรายการท่ีเกดิข้ึนกอนหลังในสมุดบัญชีไดถูกตอง และสามารถแสดงผลการดําเนินงาน รวมท้ังฐานะการเงินของกจิการในระยะหน่ึงได ซ่ึงผูปฏิบัตงิานเชนนีเ้รียกวา ผูทําบัญชี

ดังนั้นการทําบัญชีจึงเปนเพยีงสวนหนึ่งของการบัญชี และเนื่องจากตองการใหนกัศึกษาเขาใจเกี่ยวกับการทําบัญชีแบบงาย ๆ ไดเทานั้น การศึกษาในหนวยนีจ้ึงไมเปนการศึกษาการบันทึกบัญชีอยางละเอียดแตอยางใด 1.2 ความสําคญัของการบัญช ี 1.2.1 ชวยใหรัฐบาลไดจัดเก็บภาษีอยางถูกตองและเปนธรรม 1.2.2 ใชเปนหลักฐานอางอิง ตรวจสอบ ควบคุมรักษา และปองกันการผิดพลาดของกิจการ 1.2.3 ชวยใหขอมูลแกเจาหนี้เพื่อเปนแนวทางในการพิจารณาเครดิตของธุรกิจในโอกาสตอไป 1.2.4 ชวยใหเจาของกิจการไดทราบฐานะและผลการดําเนินงานของธุรกิจท่ีตนเปนเจาของ 1.2.5 ชวยใหผูบริหารมีขอมูลประกอบในการตัดสินใจวางแผนดําเนินงาน และควบคุมกิจการใหประสบความสําเร็จตามความมุงหมาย

ภาพท่ี 38 การทําบัญชี เจาของกิจการไดทราบฐานะและผลการดําเนนิงานของธุรกิจท่ีตนเองเปนเจาของ

Page 245: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

151

2. ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับบัญชี 2.1 สินทรัพย (Assets ) หมายถึง ส่ิงของท้ังหลายท่ีมีราคาเปนตัวเงิน ซ่ึงกิจการคาหรือบุคคลเปนเจาของหรือกรรมสิทธ์ิครอบครองโดยถูกตองตามกฎหมาย สินทรัพยนั้นอาจจะมีตวัตนหรือไมมีตัวตนก็ได เชน เงินสด เงินฝากธนาคาร สินคา เคร่ืองจักร รถยนต อาคาร ท่ีดิน เคร่ืองหมายการคา ลิขสิทธ์ิ เปนตน

2.2 หนี้สิน( Liabilities ) หมายถึง ภาวะผูกพันท่ีบุคคลหรือกิจการคาเปนหนี้ตอบุคคล ภายนอก ไดแก เจาหนี้เงินกู เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร คาใชจายคางจาย เปนตน หนีสิ้นแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 2.2.1 หนี้สินหมุนเวียน หมายถึง หนี้สินท่ีมีระยะเวลาในการชําระหนี้คืนระยะส้ันภายในเวลาไมเกิน 1 ป เชน เจาหนีก้ารคา คาใชจายคางจาย เงินเบิกเกนิบัญชี เปนตน 2.2.2 หนี้สินระยะยาว หมายถึง หนี้สินท่ีมีระยะเวลาชําระหนี้คืนระยะเวลาเกิน 1 ป เชน หุนกู เงินกูยืมระยะยาว เปนตน

2.3 ทุนหรือสวนของเจาของกิจการ (Owner’s Equity) หมายถึง สิทธิในความเปนเจาของ สินทรัพยท้ังหลายตองมีเจาของ เจาของอาจเปนบุคคลหรือกิจการคา ซ่ึงไมรวมสินทรัพยสวนท่ีเปนหนี ้

2.4 สมการบัญช ี( Accounting Equation )หมายถึง สมการท่ีแสดงถึงความสัมพนัธระหวางสินทรัพย หนีสิ้นและสวนของเจาของ(ทุน) ซ่ึงจะแสดงถึงความสมดุลกนัอยูเสมอ และสามารถเขียนเปนสมการบัญชีไดดงันี ้

2.4.1 กรณีไมมีหนี้สิน สมการบัญชีจะเขียนไดดังนี ้

สินทรัพย = สวนของเจาของ (ทุน)

ตัวอยาง รานคุณเกษตรมีเงินสด 60,000 บาทเงินฝากธนาคาร 40,000 บาท มาเปนทุนการแทนคาในสมการบัญชีจะเปนดงันี้ สินทรัพย = สวนของเจาของ (ทุน) เงินสด = 60,000 เงินฝากธนาคาร = 40,000 100,000 = 100,000

Page 246: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

152

ในกรณีท่ีมีหนีสิ้นเมื่อแทนคาในสมการบัญชีผลรวมของทรัพยก็คือ หนี้สินบวกดวยสวนของเจาของ (ทุน) นั่นเอง

2. 4.2 กรณีท่ีมีหนี้สิน สมการบัญชีจะเปนดังนี้

สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ (ทุน)

ตัวอยาง รานคุณเกษตรมีสินทรัพยรวม 100,000 บาท มีหนี้สิน 40,000 บาท และมีทุน 60,000 บาท การแทนคาในสมการบัญชีจะเปนดังนี้ สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ (ทุน) 100,000 = 40,000 + 60,000 การแทนคาในสมการบัญชีผลออกมาดานซาย (สินทรัพย) จะตองมีคาเทากับดานขวา (หนี้สิน + สวนของเจาของ (ทุน)) เสมอ จากสมการบัญชีท่ีแสดงมา สามารถนําไปจัดทํางบดุลได (การทํางบดุลก็เพื่อจะแสดงใหเห็นถึงฐานะการเงินของกิจการ) แตเนื่องจากงบดุลเปนสวนหนึ่งของงบการเงิน ในท่ีนี้จะแสดงงบการเงินในรูปของงบกําไรขาดทุนดวย เพื่อใหทราบถึงการดําเนินงานของกิจการควบคูกันไป

3. การจัดทํางบการเงิน

งบการเงิน (Financial Statement) หมายถึง รายงานทางการเงินท่ีแสดงใหเห็นผลการดําเนินงาน และฐานะการเงินของกิจการในชวงเวลาหน่ึง งบการเงินแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 3.1 งบกําไรขาดทุน 3.2 งบดุล

3.1 งบกําไรขาดทุน (Profit and Loss Statement) เปนงบท่ีแสดงถึงผลการดําเนนิงานของกิจการในรอบระยะเวลาท่ีแจงไวในงบนั้น หรือเปนการเปรียบเทียบผลตางระหวางรายไดและคาใชจาย ถารายไดสูงกวาคาใชจายกิจการจะมีกําไร ในทางตรงขามถารายไดต่ํากวาคาใชจายกิจการจะขาดทุน

Page 247: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

153

รูปแบบของงบกําไรขาดทุน 3.1. 1 แบบรายงาน

บริษัทฟารมเกษตรจํากัด งบกําไรขาดทุน

สําหรับระยะเวลา 1 ป ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2550

รายได.-

รายไดขายขาวโพด 80,000

คาใชจาย.- คาน้ํา – คาไฟ 500 คาแรงงาน 5,000 คาใชจายเบ็ดเตล็ด 700 6,200

กําไรสุทธิ 73,800

3.1.2 แบบบัญชี

บริษัทฟารมเกษตรจํากัด งบกําไรขาดทุน

สําหรับระยะเวลา 1 ป ส้ินสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2550 คาน้ํา-คาไฟ 500 - รายไดขายขาวโพด 80,000 -

คาแรงงาน 5,000 - คาใชจายเบ็ดเตล็ด 700 - กําไรสุทธิ 73,800 - 80,000 - 80,000 -

รูปแบบงบกําไรขาดทุน ทําเปนรูปรายงานจะแสดงรายการรายไดหักคาใชจาย ผลตางระหวางรายไดถามีมากกวาคาใชจายจะเปนกําไรสุทธิ หากรายไดนอยกวาจะเปนการขาดทุนสุทธิ ถาเปนรูปแบบบัญชีจะแสดงรายการ 2 ดาน ดานขวาเปนรายได ดานซายเปนคาใชจาย ถาผลตางระหวางรายไดมีมากกวาคาใชจายจะเปนกําไรสุทธิ และนํามาบวกกับคาใชจายจะทําใหบัญชีกําไรขาดทุนเทากันท้ัง 2 ดาน (ในกรณีขาดทุนจะลงกลับดานกนักับกําไรสุทธิ)

Page 248: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

154

3.2 งบดุล ( Balance Sheet) เปนงบท่ีแสดงถึงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวนัหนึ่งซ่ึงจะแสดงถึงสินทรัพย หนี้สินและสวนของเจาของ รูปแบบของงบดุลจะแบงเปน 2 แบบ คือ แบบรายงานและแบบบัญชี ดังตัวอยางตอไปนี้ 3.2.1 แบบรายงาน

บริษัทฟารมเกษตร จํากัด งบดุล

วันท่ี 31 ธันวาคม 2550

สินทรัพย

เงินสด 200,000 อุปกรณซอมวิทยุ 20,000 วัสดุซอมวิทยุ 4,000 รวมสินทรัพย 224,000

หนี้สินและสวนของเจาของ (ทุน)

เจาหนี้ 6,000 สวนของเจาของ.- ทุน 144,200

บวก กําไรสุทธิ 73,800 218,000 รวมหนี้สินและสวนของเจาของ (ทุน) 224,000 3.2.2 แบบบัญชี

บริษัทฟารมเกษตร จํากัด งบดุล

วันท่ี 31 ธันวาคม 2550 สินทรัพย บาท หนี้สินและสวนของเจาของ บาท

เงินสด 200,000 - เจาหนี้ 6,000 - อุปกรณซอมวิทยุ 20,000 - ทุน 144,200 วัสดุซอมวิทยุ 4,000 - บวก กําไรสุทธิ 73,800 218,000 - 224,000 - 224,000 -

Page 249: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

155

รูปแบบงบดุลแบบรายงานจะแสดงรายการเปนหมวดหมูเรียงกันไป ตั้งแตสินทรัพยจนถึงหนี้สินและสวนของเจาของ (ทุน) สวนแบบบัญชีจะแสดงรายการ 2 ดาน คือ ดานซายเปนสินทรัพย ดานขวาจะเปนหนี้สินและสวนของเจาของ (ทุน) และยอดรวมของ 2 ดานตองเทากัน

กอนท่ีนักศึกษาจะสามารถบันทึกบัญชีได นักศึกษาจะตองรูจักรายการคา เพื่อท่ีจะนําไปวิเคราะหรายการคาไดตอไป สินทรัพย หนี้สินและสวนของเจาของ (ทุน) เปนส่ิงสําคัญในการทําบัญชี นักศึกษาจําเปนจะตองเขาใจความหมายดังกลาว เพื่อเปนพื้นฐานในการเขาใจสมการบัญชีตอไป

4. เอกสารทางธุรกิจท่ีใชในการบันทกึบัญชี การดําเนนิงานทางธุรกิจ เอกสารท่ีนับวามีความสําคัญมากในปจจุบัน เพราะการดาํเนิน

กิจการธุรกิจทุกประเภท เอกสารตาง ๆ จะเขามาเก่ียวของมากมาย ซึ่งจําเปนอยางย่ิงที่ผูประกอบการธุรกิจทุกประเภทตองมีความรูความเขาใจ ในเอกสารแตละประเภทเอกสารแตละประเภทนี้ จะเปนหลักฐานท่ีสําคัญในการนําไปบันทึกบัญชี

4.1 เอกสารการบันทึกบัญชี หมายถึงเอกสารตาง ๆ ท่ีทําข้ึนเปนลายลักษณอักษรอาจจะอยูในรูปแบบฟอรมท่ีจัดพิมพไวเรียบรอย หรืออยูในรูปแบบของแบบพิมพท่ีจัดทําข้ึนเอง หรืออาจจะใชเขียนข้ึนในลักษณะท่ีถูกตองตามกฎหมาย ซ่ึงอาจนํามาเปนหลักอางอิงในการลงบัญชี

4.1.1 เอกสารทางธุรกิจแบงเปน 6 ประเภท ดังนี ้ 1) เอกสารทางธนาคาร เชน เช็ค ตั๋วแลกเงิน

2) เอกสารการขนสง เชน ใบตราสง ใบสงของ ใบส่ังปลอยสินคา 3) เอกสารประกันภัย เชน กรมธรรมประกันภยั 4) เอกสารซ้ือขายสินคา เชน ใบกํากับสินคา ใบลดหนี้ ใบเพ่ิมหนี้ ใบเสร็จรับเงิน 5) เอกสารการคลังสินคา เชน ใบประทวนสินคา ใบรับคลังสินคา 6) เอกสารการนําเขาและการสงออกสินคา เชน ใบขนสินคาขาออก ใบอนุญาตสงสินคาออก

4.1.2 เอกสารในการบันทึกบัญชี แบงเปน 3 ประเภท ดังนี ้1) เอกสารท่ีใชในการเร่ิมรายการ เชน ใบส่ังซ้ือ ใบรายการราคาสินคา 2) เอกสารท่ีใชในการบันทึกรายการที่เกิดข้ึนแลว เชน ใบกํากับสินคา ใบเสร็จรับเงิน ใบเพ่ิมหนี้ ใบลดหน้ี เช็ค ตั๋วแลกเงิน ตัว๋สัญญาใชเงิน

Page 250: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

156

3) เอกสารท่ีใชในการปรับปรุงรายการ เชน บันทึกอนุมัติการตัดหนี้สูญ ใบแสดงรายการสินคาหาย การตัดคาเส่ือมราคาเคร่ืองจักร

5. ขั้นตอนการลงบัญชี 5.1 รับเอกสารรายการคาท่ีเกิดข้ึน เพื่อประกอบการบันทึกบัญชี 5.2 การวิเคราะหรายการคา เม่ือจะทําการบันทึกบัญชีจะตองวิเคราะหรายการคาไดกอนเปนการคาเกีย่วกับอะไร เชน ขายสด ขายเช่ือ จายคาใชจาย นับรายได จายชําระหนี้ รับชําระหนี้ เปนตน 5.3 การบันทึกบัญชี สมุดบัญชีท่ีใชในกจิการโดยท่ัวไปจะประกอบดวย 5.3.1 สมุดรายวันข้ันตน เชน สมุดเงินสดรับ สมุดเงินสดจาย สมุดรายวันท่ัวไป 5.3.2 สมุดรายวันข้ันปลาย เชน สมุดแยกประเภท ซ่ึงเปนรายการบัญชมีาจากสมุดรายวันข้ันตนกอนการรวบรวมจัดทํางบการเงินตอไป

6. การบันทกึบัญชีอยางงาย 6.1 บันทึกบัญชีในสมุดเงินสดรับหลายชอง

6.2 บันทึกบัญชีในสมุดเงินสดจายหลายชอง 6.3 นํายอดรวมแตละชองในสมุดเงินสดรับ หรือสมุดเงินสดจายตอนส้ินเดือนไปลงใน

แบบฟอรมงบกําไรขาดทุน และงบที่เตรียมไวก็สามารถจะประเมินผลได 6.4 สําหรับรายการที่ไมเกี่ยวกับเงินสด กจ็ะบันทึกไวในสมุดรายวนัท่ัวไป

7. ขอบเขตและแนวทางการบริหารการเงิน ในการบริหารและจดัการงานการเงินฝายการเงินมีวตัถุประสงคท่ีสําคัญ 2 ประการ ดังตอไปนี ้ 7.1 กําไร (Profitability) 7.2 สภาพคลอง (Liquidity) วัตถุประสงคท้ังสองประการมีความสําคัญมากตอการบริหารและจดัการงานการเงิน กลาวคือ ธุรกิจทุกธุรกิจควรมีสภาพคลองสามารถมีเงินจายไดเพยีงพอ เม่ือถึงกําหนดท่ีตองการ ธุรกิจก็จะสามารถดําเนินไปไดโดยไมหยุดชะงัก ขณะเดยีวกันธุรกิจจะอยูรอดไดการประกอบการในธุรกิจจะตองมีกําไร การประกอบธุรกิจ เร่ืองของกําไรและสภาพคลองมีความขัดแยงกัน กลาวคือหากธุรกิจดํารงสภาพคลองสูงก็จะประสบกับปญหากําไรต่ํา เพราะสินทรัพยหมุนเวยีนสวนหนึ่ง เชน เงินสดมิไดถูกนําไปใชประโยชนใหเต็มท่ี เพราะนํามาถือไวเปนจํานวนมากเพื่อใหมีสภาพคลองสูง จึงเสียโอกาสนําไปลงทุนอยางอ่ืนท่ีใหผลตอบแทนสูง

Page 251: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

157

แตเนื่องจากวตัถุประสงคท้ัง 2 ประการตองมีความสําคัญตอการบริหารงานการเงิน ดังนั้น นักการเงินจะตองบริหารงานการเงินโดยมีท้ังกําไรและสภาพคลอง จะละเลยวัตถุประสงคประการใดประการหน่ึงไปมิได แตอยางไรก็ตามนโยบายทางการเงินของผูบริหาร นับไดวาเปนปจจยัสําคัญในการกําหนดระดับของการใหความสําคัญของเปาหมายท้ังสองได กลาวคือหากผูบริหารมีนโยบายระมัดระวังจะมีแนวโนมท่ีจะดํารงสภาพคลองไวอยางสูง ในทางตรงขามหากผูบริหารมีนโยบายกลาไดกลาเสีย จะมีแนวโนมท่ีจะดํารงสภาพคลองไวต่าํโดยมุงกําไรเปนหลัก การบริหารงานการเงินเปนหนาท่ีและความรับผิดชอบของผูบริหารการเงินของกิจการ ขอบเขตของการบริหารการเงินเร่ิมต้ังแต ก. การคาดการณเกีย่วกับความตองการของเงินทุนในกิจการนั้น ข. ดําเนินการจัดหาเงินทุน ค. จัดสรรเงินทุนใชไปใหตรงตามวัตถุประสงคของกิจการ อยางไรก็ดีการบริหารเงินทุนท่ีจะประสบความสําเร็จไดนั้นผูบริหารการเงินจะตองทําการตัดสินใจเก่ียวกับปญหาพ้ืนฐาน 3 ประการ คือ ก. กิจการควรจะมีขนาดท่ีเหมาะสมอยางไร เพราะขนาดของกิจการถือไดวาเปนปจจัยท่ีกําหนดปริมาณความตองการเงินทุนของกจิการ ข. เงินท่ีจัดหามาใชนั้น จะจัดหามาไดจากแหลงใด ดวยวิธีใด จะมีตนทุนอยางไร ค. เงินท่ีจัดหามาไดแลวนั้น ควรจะลงทุนในสินทรัพยประเภทใดบาง อยางละเทาใด และควรจะไดรับผลตอบแทนอยางไร เม่ือสามารถตัดสินใจเกี่ยวกบัปญหาพื้นฐานท้ัง 3 ประการแลวผูบริหารการเงิน ก็จะสามารถกาํหนดแนวทางการจัดการทางการเงินของกิจการได ซ่ึงแนวทางโดยท่ัวไปมีดังน้ี ก) ดําเนินการวางแผนทางการเงิน หมายถึง การวางแผนพยากรณทางดานการเงินของกิจการ โดยพิจารณาวากิจการมีความจําเปนในการใชเงินจํานวนสูง ๆ ไดแกการกอสราง หรือขยายอาคารท่ีทําการ หรือการสรางโรงงานใหม เปนตน เม่ือวางแผนไดแลวกค็วรจดัทํางบประมาณตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงรวมถึงประมาณการเกี่ยวกับเงินสดรับ และเงินสดจายดวยงบประมาณท่ีจัดทําข้ึนควรมีความยืดหยุน เพื่อใหสามารถปรับเปล่ียนไดตามภาวการณท่ีเปล่ียนแปลง ข) ดําเนนิการจัดหาทุน หมายถึงการเตรียมการจัดหาเงินทุนไวลวงหนา กอนถึงเวลาท่ีตองใชเงินทุนจริง ๆ ท้ังนี้เพื่อใหมีความมั่นใจวากจิการจะมีเงินทุนเขามาทันเวลาที่ตองการและไมมีความเส่ียงกับตนทุนของเงินท่ีอาจสูงข้ึน ดังน้ีการจัดหาเงินทุน การวิเคราะหวาแหลงเงินทุนใดใหประโยชนสูงสุด มีตนทุนตํ่าสุด และเง่ือนไขหรือความเส่ียงตํ่านอยท่ีสุด

Page 252: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

158

ค) ดําเนินการจัดสรรใชเงินทุน หมายถึง การดําเนนิการจัดสรรเงินทุนท่ีไดมาไปลงทุนในสินทรัพยตาง ๆ โดยมีหลักการสําคัญวาตองทําใหกิจการมีสภาพคลองสูงสุดและสามารถทํากําไรไดมากท่ีสุด ซ่ึงนับวาเปนเร่ืองท่ียาก แตกเ็ปนหนาท่ีสําคัญของผูบริหารการเงินทุกคน ท่ีจะตองพยายามประสานสภาพคลองใหเขากับความสามารถในการทํากําไร การมีสภาพคลองสูงเปนส่ิงท่ีดี ทําใหกจิการมีความเส่ียงนอยและขอเครดิตจากเจาหนาท่ีไดดี แตสินทรัพยสภาพคลองกอใหเกิดรายไดนอย เชน เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลเปนตน ง) ดาํเนินการควบคุมทางการเงิน หมายถึง การควบคุมการใชเงินและการชําระหนี้ของกิจการใหเปนไปตามท่ีวางแผนไว ผูบริหารการเงินจะตองตรวจสอบผลการปฏิบัติอยูเสมอเพื่อคนหาขอผิดพลาดและแกไขใหเหมาะสม

8. แหลงท่ีมาของเงินทุน การประกอบธุรกิจหรือผูประกอบการ จําเปนตองหาเงินทุนมาใชในการดําเนินกจิการ เงินทุนนัน้ผูประกอบการตองจัดหาใหเพียงพอสําหรับเงินทุนเร่ิมตน และเงินทุนหมุนเวยีนของกิจการโดยสวนใหญ เงินทุนหมุนเวยีนมักจะมีไมเพยีงพอในการดําเนินกิจการ ผูประกอบการจงึตองหาแหลงเงินทุนอ่ืน ๆ ตอไป 8.1 ความหมายของแหลงเงนิทุน เงินทุน หมายถึง ทรัพยท่ีใชในการดําเนินธุรกิจ จะเปนเงินสดหรือสินทรัพยอ่ืนท่ีนอกเหนือจากเงินสด

แหลงเงินทุน หมายถึง ท่ีมีมาของเงินทุนเพื่อใชในการดาํเนินธุรกิจ 8.2 ประเภทของแหลงเงินทุน แหลงเงินทุนแบงออกเปน 2 ประเภทดังนีคื้อ 8.2.1 เงินทุนจากสวนของเจาของกิจการ 8.2.2 เงินทุนจากการกอหนี ้(หนี้สิน) และยังสามารถแบงตามระยะเวลาได 3 ประเภทคือ ก. แหลงเงินทุนระยะส้ัน ข. แหลงเงินทุนระยะปานกลาง ค. แหลงเงินทุนระยะยาว 8.2.1 เงินทุนจากสวนของเจาของกิจการ เปนเงินทุนของผูประกอบการ หรือเงินของกลุมผูประกอบการซ่ึงจะแบงออกเปน 2 ชนิดดังนี ้

Page 253: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

159

1) เงินทุนสวนตัว เปนเงินสวนตัวของผูประกอบการที่นํามาลงทุนในกิจการ ซ่ึงอาจไดจากเงินออมหรือทรัพยอ่ืน ๆ ท่ีเกบ็สะสมไว ในปจจุบันธุรกิจสวนใหญมีความเห็นวา การดําเนินธุรกิจควรมีเงินทุนของตัวเองอยางนอยประมาณ 50 % ของเงินทุนท่ีตองการใชใน คร้ังแรก เพื่อเปนการแบงเบาภาระคาใชจายเกี่ยวกับดอกเบ้ีย 2) การระดมเงินทุน เม่ือเงินทุนสวนตัวมีไมเพยีงพอ ธุรกิจอาจจะระดมเงินทุน ในรูปแบบตาง ๆ เชน หางหุนสวน บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด เปนตน การระดมเงินทุนเชนนี้เปนท่ีนิยมปฏิบัติกันในวงการธุรกิจในปจจบัุน เพราะผูเปนหุนสวนหรือผูถือหุนตองรวมรับผิดชอบในการดําเนนิการดวย 8.2.2 เงินทุนจากการกอหนี้ แหลงเงินทุนประเภทนี้ในทางบัญชีถือวาเปนหนี้สินการลงรายการ หลังจากท่ีไดเงินทุนจากแหลงนี้มาจะตองลงรายการในชองหนี้สินหรือเจาหนี้ ในกรณีมีการชําระบัญชีหนีสิ้นหรือบัญชี เจาหนีจ้ะไดรับการชําระจนเสร็จส้ินกอน สวนของทุนหรือสวนของผูถือหุนมีการกําหนดอัตราดอกเบ้ีย และระยะเวลาการใชคืนตามสัญญาท่ีทํากันไว ซ่ึงอาจแบงไดดังนี ้ 1) แหลงเงินทุนในระบบ หมายถึงการกูยมืจากแหลงเงินทุนท่ีจัดต้ังข้ึนโดยถูกตองตามกฎหมาย มีท้ังแหลงเงินทุนภายในและภายนอกประเทศ ซ่ึงมีการกูยืมระยะส้ัน ระยะปานกลางและระยะยาว โดยจัดใหเหมาะสมกับสภาพการดําเนินงานของกิจการ ในท่ีนี้จะกลาวถึง เฉพาะแหลงกูยืมภายในประเทศท่ีสําคัญเทานั้น ไดแก (1) การกูยืมเงินผานสถาบันการเงิน ซ่ึงจะเปนผูระดมเงินทุนท่ีเหลือใชจากผูออม และกระจายเงินออมนั้นใหกับผูประกอบการที่ตองการใชเงินทุน สถาบันการเงินเหลานี้ประกอบดวย

ก. ธนาคารพาณิชย เปนแหลงเงินทุนท่ีสําคัญท่ีสุดท่ีใหกูยืมเงินแกลูกคาท่ัวไป โดยท่ีผูกูตองมีหลักประกนัการกูยืม เชน บัญชีเงินฝากสินคา สินทรัพยอ่ืน ๆ หรือบุคคลท่ีธนาคารเช่ือถือ เปนตน ข. สถาบันการเงินอ่ืน ๆ เปนแหลงเงินทุนท่ีใหกูยืมเชนเดียวกับธนาคารพาณิชย เชน บริษัทเงินทุน, บริษัทหลักทรัพย, บริษัทเครดิตฟองซิเอร, บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, สํานักงานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดยอม, บริษัทประกันชีวิต, โรงรับจํานํา,สํานักงานเงินกูเพื่อสงเสริมการคาของคนไทย, กองทุนประกันสินเช่ืออุตสาหกรรมขนาดยอม (กสย.)

142) แหลงเงินทุนนอกระบบ ตลาดเงินนอกระบบ เปนแหลงการเงินท่ีเกิดข้ึนตามความจําเปน และสภาพแวดลอมไมมีระเบียบกฎเกณฑ ไมมีการติดตามและควบคุมจากทางการ ขอตกลงตาง ๆ

Page 254: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

160

(1) การเลนแชร (2) เครดิตการคา (3) การกูยืมเงินจากนายทุนเงินกู (4) การซ้ือขายลดเช็ค 168.3 ปจจัยท่ีกําหนดความเหมาะสมของการเลือกใชแหลงเงินทุน 8.3.1 ตนทุนของเงินทุน เชน ดอกเบ้ีย ฯลฯ โดยเปรียบเทียบกับผลตอบแทนท่ีจะไดจากการใชเงินทุนนั้น 8.3.2 พิจารณาถึงโครงสรางของเงินทุนคือ พิจารณาสวนผสมของหน้ีกับทุน จะตองอยูในเกณฑท่ียอมรับของนักลงทุน 8.3.3 ความสะดวกในการจดัหาเงินทุน 8.3.4 จังหวะเวลาในการใชเงินทุน 118.4 การใชเงินทุน หลังจากท่ีผูประกอบการสามารถตัดสินใจเลือกแหลงท่ีมาของเงินทุนไดแลว ตองพิจารณาบริหารเงินทุนดังกลาวใหมีประสิทธิภาพ ประหยัดและกอใหเกิดผลตอบแทนใหมากท่ีสุด ในบางคร้ังการตัดสินใจใชเงินทุน เปนการตัดสินใจท่ีสําคัญท่ีสุดในกระบวนการตัดสินใจ ท่ีจะทําใหการลงทุนเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ดังนี ้ 8.4.1 การจัดการสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยหมุนเวยีน หมายถึงสินทรัพยท่ีเปล่ียนเปนเงินสดไดภายในภายนอกไมเกิน 1 ป ไดแก เงินสด ลูกหนีก้ารคา และสินคาคงคลัง ในการจดัการเงินสดน้ัน จําเปนตองดําเนนิการใหกิจการมีเงินสดในจํานวนท่ีเพียงพอสําหรับการใชจายในทางการคา และสํารองไวในยามขาดแคลน หากมีเงินสดคงเหลือมากเกนิไปก็จะไมทําใหเกิดรายได ดังนั้นผูบริหารการเงินจะตองวางแผนและจัดการเก่ียวกับกระแสเงินสดรับเขา และกระแส เงินสดจายออกใหสมดุลมากท่ีสุด การจัดการเกี่ยวกับลูกหนี้การคา จะตองเปนนโยบายเกีย่วกับการใหเครดิตการคาวา จะมีระยะเวลานานเทาใด โดยพิจารณาจากความนาเช่ือถือของลูกคาแตละราย และนโยบายการสงเสริมการขาย แตท้ังนีต้องคํานึงถึงตนทุนของเงินท่ีจมอยูในการคาขายดวย การจัดการเกี่ยวกับสินคาคงคลัง จะตองกาํหนดปริมาณของสินคาคงคลังท่ีเหมาะสมไมใหขาดแคลน แตกไ็มใหมีตนทุนจมอยูในสินคาคงคลังมากเกินไป

Page 255: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

161

8.4.2 การจัดการสินทรัพยถาวร การจัดการสินทรัพยมีความสําคัญ เพราะตองใชเงินทุนจํานวนมากและมีผลผูกพันกิจการระยะยาว อยางไรก็ตามสินทรัพยถาวรถือไดวาเปนสินทรัพยท่ีกอใหเกิดรายไดแกกจิการ เพราะมีความจําเปนในการผลิตและเปนสถานท่ีประกอบการ ในการตัดสินใจและดําเนินการลงทุนในสินทรัพยถาวรนั้น มีปจจยัท่ีตองคํานึงถึงคือจํานวนเงินลงทุนและผลตอบแทนท่ีจะไดรับจากสินทรัพยถาวรนัน้ ซ่ึงอาจจะอยูในรูปของผลผลิตท่ีเพิ่มข้ึน หรือตนทุนท่ีประหยดัได เปนตน สินทรัพยถาวร หมายถึง สินทรัพยที่มีอายุการใชงานเกินกวา 1 ป เชน โตะ เกาอี้ เคร่ืองใชสํานักงาน เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร เปนตน

8.4.3 การจัดโครงการลงทุน การจัดโครงการลงทุนเปนเร่ืองใหญและครอบคลุมการจัดสินทรัพยหมุนเวียนและการจัดสินทรัพยถาวรท่ีกลาวขางตน เพราะเปนเร่ืองของการวิเคราะหและตัดสินในเก่ียวกับรายจายลงทุน กระแสเงินสดไหลเขาและไหลออก และผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ ในการวิเคราะหและคัดเลือกโครงการในการลงทุนนั้น ผูบริหารการเงินจะตองพิจารณาขอเสนอเก่ียวกับรายจายท่ีจะลงทุนแตละโครงการ ประมาณการกระแสเงินสด วัดผลตอบแทน แลวคัดเลือกและจัดลําดับความสําคัญของโครงการตาง ๆ เพื่อนําไปสูการตัดสินใจลงทุนตอไป

สรุป การบริหารการจัดการดานการบัญชีและการจัดการทางการเงิน ไมวาจะเปนธุรกิจดานการเกษตรและดานธุรกิจอุตสาหกรรมหรืออื่น ๆนับวามีความสําคัญและจําเปนอยางมาก ที่จะชวยใหเจาของกิจการทราบฐานะและผลการดําเนินงานของธุรกิจที่ตนเปนเจาของ, ใชเปนหลักฐานอางอิง ตรวจสอบ ควบคุมรักษาและปองกันการผิดพลาดของกิจการ ชวยใหรัฐบาลไดจัดเก็บภาษีอยางถูกตองและเปนธรรม, ชวยใหขอมูลแกเจาหนี้ เพือ่เปนแนวทางในการพิจารณาเครดิตของธุรกิจในโอกาสตอไป, ชวยใหผูบริหารมีขอมูลประกอบในการตัดสินใจวางแผนดําเนินงาน และควบคุมกิจการใหประสบความสําเร็จตามความมุงหมาย การคาดการณเก่ียวกับความตองการของเงินทุนในกิจการ การดําเนินการจัดหาเงินทุนและการจัดสรรเงินทุนใชไปใหตรงตามวัตถุประสงคของกิจการ

ในเร่ืองความสําเร็จในการทําธุรกิจเกษตรอีกอยางหนึ่งก็คือ ผูประกอบการหรือผูที่มีสวนในการตัดสินใจจะตองมีความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับการบัญชี และการจัดการทางการเงินเปนอยางดี เพราะจะชวยใหวิเคราะหถึงความสําเร็จและปญหาท่ีเกิดขึ้นได อีกท้ังการทําบัญชีทําใหเจาของธุรกิจเกษตรสามารถดําเนินชีวิตภายใตแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของในหลวง คอืการดําเนินชีวิตที่ พอประมาณ มีเหตุผล ทําใหเกิดภูมิคุมกันท่ีดี มีความรูคูคุณธรรมสามารถนําไปพัฒนาคุณภาพชีวิตใหมีความสมดุล ม่ันคงและย่ังยืนถาวรได

******************************

Page 256: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

162

แบบฝกหัด หนวยท่ี 6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ******************************************************************************

1. การบัญชีหมายถึงอะไร และมีความสําคัญอยางไร อธิบาย ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

2. จงอธิบายความหมายของสมการทางบัญชี มาพอเขาใจ ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 3. งบการเงินแบงออกเปนกีป่ระเภท อะไรบาง อธิบาย ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

Page 257: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

163

4. การบริหารทางการเงินของธุรกิจ มีขอบเขตของการบริหารการเงินอยางไร อธิบาย ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 5. แหลงเงินทุนหามาไดอยางไรบาง ถานักศึกษาคิดจะหาแหลงเงินทุนท่ีดีจะเลือกจากแหลงใด ใหเหตุผลอธิบายยกตัวอยาง ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….

*****************************

Page 258: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

164

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเห็นวาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว 1. การบัญชี หมายถึง

ก. การเก็บเอกสารทุกชนิดมาลงบัญชี ข. เปนการวิเคราะหขอมูลทางการเงินการ ค. การเก็บรวบรวม บันทึก จําแนกและ สรุปขอมูลเกี่ยวกับสถานการณทาง เศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ง. รวบรวม หลักฐานทางการเงินมา บันทึกเปนตัวเงิน

2. ขอใด เปนความสําคัญของการบัญชีท่ีมีตอ องคการธุรกิจ ก. มีขอมูลมาใชในการประกอบการ ตัดสินใจ ข. ทราบฐานะของบริษัท ค. รัฐบาลสามารถจัดเก็บภาษีไดถูกตอง ง. ถูกทุกขอ 3. การบัญชี เปนเร่ืองเกี่ยวของกับอะไรบาง

ก. การส่ือขอมูลทางการเงินใหกับบุคคล ตาง ๆ เพื่อปะโยชนในการตัดสินใจใน การดําเนินธุรกิจ ข. การรวบรวมและการวิเคราะหขอมูล ทางการเงิน ค. การบันทึก การจัดหมวดหมู การ สรุปผลการดําเนินงาน ง. ถูกทุกขอ

4. สินทรัพย คือ ขอใด

ก. คาเชาบาน ข. คาน้ําคาไฟ ค. เคร่ืองจักร ง. เงินกู

5. ขอใด ไมจัดวาเปนเอกสารท่ีใชบันทึกบัญชี

ก. ใบกํากับสินคา ข. ใบวิเคราะหรายการคา ค. ใบลดหนี ้ ง. ใบแจงหนี ้

6. ผลกําไรหรือขาดทุนของกิจการ ทราบไดจาก

ก. รายไดจากการผลิตหักดวยคาใชจาย การผลิต ข. รายไดผลผลิตบวกรายจายจากการผลิต ค. สินทรัพยบวกหนี้สินและทุน ง. สินทรัพยหกัหนี้สินและทุน

7. ขอใด ไมใชสินทรัพยในทางบัญชี

ก. เงินกูธนาคาร ข. เงินสด ค. ท่ีดิน ง. ลิขสิทธ์ิ

Page 259: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

165

8. ขอใด ไมใชเอกสารท่ีใชในการบันทึกบัญชี

ก. ใบเพิ่มหนี ้ ข. ใบรายงานการใชเคร่ืองสูบน้ํา

ค. การตัดคาเส่ือมราคา ง. ตั๋วแลกเงิน

9. ขอใด คือ เงนิทุนหมุนเวียน ก. พันธบัตรรัฐบาล ข. อาคาร ค. เคร่ืองจักร ง. เจาหนี ้10. งบการเงิน แบงออกเปนกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 11. งบการเงินประเภทใด ท่ีแสดงถึงผลการดําเนินงานของกิจการในรอบระยะเวลาท่ีแจงไว ก. งบแสดงฐานะทางการเง ิน ข. งบดุล ค. งบกําไรขาดทุน ง. ไมมีขอใดถูก 12. รายการใดบาง ท่ีไมแสดงในงบดุล ก. หนี้สิน ข. เงินสด ค. สภาพคลองของธุรกิจ ง. กําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ

13. งบกําไรขาดทุน จะตองแสดงรายการใดบาง ก. คาใชจายในการจําหนาย ข. รายไดตาง ๆ ท่ีไดรับ ค. คาใชจายในการดําเนินงานทางธุรกิจ ง. ถูกทุกขอ 14. วัตถุประสงคในการบริหารงานการเงิน คือ ก. เพื่อใหการเงินของธุรกิจมีสภาพคลอง ข. เพื่อหวังผลกําไร ค. เพื่อความม่ันคงของบริษัท ง. ถูกทุกขอ 15. ขอบเขตการบริหารเงิน ไดแก

ก. การจัดหา จัดสรรเงินทุน ควบคุมทางการเงิน ข. การคาดการณ การจัดหาเงิน การ จัดสรรเงินทุนไปใช ค. การวางแผน การตัดสินใจ การ ควบคุม การทํารายงาน ง. การจัดหางาน การตัดสินใจ การใช เงินทุน

16. ขอใด กลาวไวถูกตอง ก. ธุรกิจมีสภาพคลองสูงกําไรจะสูง ข. ธุรกิจมีสภาพคลองสูงกําไรจะตํ่า ค. ธุรกิจมีสภาพคลองตํ่ากําไรจะพอด ี ง. ธุรกิจมีสภาพคลองตํ่ากําไรจะตํ่า 17. ขอใดตอไปน้ี ถือเปนแหลงการเงิน ก. ธนาคารพาณิชย ข. โรงรับจํานํา ค. ตั้งวงเลนแชร ง. ถูกทุกขอ

Page 260: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

166

18. แหลงการเงินนอกระบบคือ ขอใด ก. ตลาดหลักทรัพย ข. บริษัทเงินทุนอุตสาหกรรม ค. การเลนแชร ง. บริษัทประกันภยั 19. การบริหารเงินทุนจะประสบผลสําเร็จไดตองตัดสินใจเกี่ยวกับปญหาพื้นฐานอะไรบาง ก. จะทําอะไร จะทําเม่ือไร จะทําอยางไร ข. ขนาดของกจิการ แหลงเงินทุน ผลตอบแทนจากการลงทุน ค. วางแผนการผลิต การจํานายและการ บริการ ง. การวางแผนการผลิต การวางแผน การตลาด 20. ขอใดตอไปน้ี ไมใชหนาท่ีของงานการเงิน ก. หนาท่ีวางแผนและควบคุมงาน ข. หนาท่ีจัดสรรเงินทุนท่ีไดมานํามาใช ประโยชนใหไดมากที่สุด ค. หนาท่ีจัดหาเงินทุนจากแหลงตางๆ ง. หนาท่ีในการบริหารงานการเงินใหมี ประสิทธิภาพ

****************************

Page 261: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

167

ใบงานท่ี 6 หนวยท่ี 6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน

****************************

เรื่อง การบัญชีและการจัดการทางการเงิน

จุดประสงคการเรียนรู 1. บันทึกรายรับหรือรายจายท่ีเกิดขึ้นท้ังครัวเรือนและจากการประกอบอาชีพได 2. สามารถ คดิกําไร- ขาดทุนจากการประกอบอาชีพของตนเองได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวมรับฟงคนอื่น เปนผูนําและผูตามท่ีดี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินัยในตนเอง ความซื่อสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวิชาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเร่ืองท่ีเก่ียวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 คนละ 4 แผน 2. โจทยรายละเอียดและตาราง การลงบัญชีรายรับ-รายจาย 3. โจทยรายละเอียดและตาราง การคิดกําไร-ขาดทุน 4. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 5. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ใหผูเรียนไปรับโจทยบันทึกรายรับหรือรายจายท่ีเกิดขึ้นท้ังครัวเรือนและจากการประกอบ อาชีพ และโจทยการคิดกําไร-ขาดทุนจากการประกอบอาชีพจากครูผูสอน(รายการวัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณขอ 1 -3 ) 2. ทําบัญชีรายรับและรายจาย 3. คิดกําไร-ขาดทุน 4. เวลา 1.30 ช่ัวโมง

5. สงครูผูสอน 6. ครูสรุปเพื่อทดสอบความเขาใจ ใหผูเรียนแกไขใหถูกตอง 7. ประเมินผล

Page 262: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

168

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเกีย่วกับการบริหารจัดการท่ัวไป

******************************

Page 263: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

169

โจทย ใหนกัศึกษาจงบันทึกลงในบัญชีรายรับ-รายจายท่ีเกิดข้ึน ท้ังครัวเรือนและจากการประกอบอาชีพอ่ืน ๆ ดังรายละเอียดดังนี ้วันท่ี 27 ธันวาคม 2549 รับเงินคาจางซอมบาน 1,000 บาท ขายมะมวงไดเงิน 2,000 บาท กูเงินมา 1,500 บาท จายคากับขาว 300 บาท จายคาจางขุดบอเล้ียงปลาบอท่ี 2 2,000 บาท ซ้ือปุยใสมะมวง 400 บาท ซ้ือของใชในครัวเรือน 500 บาท วันท่ี 29 ธันวาคม 2549 รับเงินคาจางทาสีบาน 1,000 บาท วันท่ี 30 ธันวาคม 2549 จายคาสูบน้ําเขาบอเล้ียงปลาบอท่ี 2 400 บาท ซ้ือพันธุปลา 1,000 บาท ซ้ืออาหารปลา 600 บาท วันท่ี 31 ธันวาคม 2549 ขายปลาบอท่ี 1 ไดเงิน 3,000 บาท ใหเงินลูกใช 300 บาท ฝากธนาคาร 2,000 บาท ตอบคําถาม ในเดือนธันวาคม 2549 มีรายรับจากการประกอบอาชีพเทาไร มีรายรับจากอ่ืน ๆ เทาไร มีรายจายจากการประกอบอาชีพเทาไร มีรายจายในครัวเรือนเทาไร รวมรายรับท้ังส้ินเทาไร รวมรายจายทั้งส้ินเทาไร สรุป มีรายรับหรือรายจายตางกันเทาไรในเดือน ธันวาคม 2549

Page 264: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

170

โจทย นายใจสู ประกอบอาชีพในการเล้ียงปลาดกุ มีรายรับและรายจายจากการเล้ียงปลาดุกดังนี ้

• ซ้ือพันธุลูกปลาดุกมา 800 บาท

• ซ้ืออาหารปลาดุกมา 2 กระสอบเปนเงิน 700 บาท ใชแลวเหลือคิดเปนมูลคา 300 บาท

• จายเปนคาขุดบอท่ี 1 เปนเงิน 2,000 บาท คาดวาจะสามารถเล้ียงไดถึง 10 รุนข้ึนไป

• คิดคาแรงของตนเอง เปนเงิน 500 บาท

• ขายปลาบอท่ี 1 ไดเงิน 3,000 บาท

• ใหนกัศึกษานาํรายการขางตนลงในแบบฟอรมการทําบัญชี เพื่อคิดกําไร-ขาดทุนจากการทําอาชีพเล้ียงปลาดุก

Page 265: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

171

บัญชีรายรับรายจายในครัวเรือน รายจาย(บาท)

รายรับ(บาท) ประกอบอาชีพ ในครัวเรือน

ว/ด/ป รายการ

ประกอบอาชีพ

(1)

รายรับอื่นๆ (2)

รวมรายรับ

(3)

คาใชจายประกอบอาชีพ

(1)

ซื้อสินทรัพยถาวร (2)

คาอาหาร (3)

คาของใช (4)

คาเครื่องนุง

หม (5)

คาน้ํามันรถ (6)

ใหลูกใชเงิน (7)

ฝากเงิน (8)

ชําระคืนเงินกู (9)

เบ็ดเตล็ด (10)

รวมรายจาย

(รวม 1-10)

(11)

บาท บาท

บาท บาท

รวมรายจายทั้งสิ้น เทากับ สรุป รายรับสูงกวารายจาย ในเดือน ธันวาคม 2549 เทากับ

รวมรายรับทั้งสิ้น เทากับ

รายจายสูงกวารายรับในเดือน ธันวาคม 2549 เทากับ

บาท บาท บาท

บาท

มีรายจายในครัวเรือน เทากับ มีรายจายจากการประกอบอาชีพ เทากับ

มีรายรับจากการประกอบอาชีพ เทากับ มีรายรับจากอื่น ๆ เทากับ

Page 266: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

172

บัญชีกําไร-ขาดทุน อาชีพการเลี้ยงปลาดุก 1 รุน

รายได - ขายปลาดุก ......................บาท หัก ตนทุน - ซ้ือพันธุปลาดุก ..........................บาท - ซ้ืออาหารปลาดุก ..........................บาท - คาขนสง ..........................บาท - ดอกเบ้ียเงินกู ..........................บาท - ........................... ..........................บาท - .............................. ..........................บาท - ............................ ..........................บาท - คิดคาแรง ..........................บาท - คิดรายจายสินทรัพยถาวรเฉล่ียตอรอบการผลิต ..........................บาท รวม ..........................บาท หัก อาหารปลาดุกคงเหลือ ..........................บาท ......................บาท กําไร หรือขาดทุน จากการเล้ียงปลาดุก ......................บาท

Page 267: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

173

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 6 การบัญชีและการจัดการทางการเงิน

*************************** ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตอบ ค ง ง ค ข ก ก ข ก ก ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ตอบ ค ค ง ง ข ข ง ค ข ก

*********************************

Page 268: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายที่เกี่ยวของกับระบบธุรกิจเกษตร

********************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมาย และความสําคัญของนโยบายเกษตรไดถูกตอง 2. บอกข้ันตอนกระบวนการกําหนดนโยบายได 3. อธิบายนโยบายการเกษตรท่ีสําคัญ ท่ีรัฐบาลนํามาใชกบัการเกษตรได 4. อธิบายถึงปจจัยท่ีกําหนดความสําเร็จหรือความลมเหลวของการนํานโยบายไปใชได

สาระสําคัญ

นโยบายการเกษตร หมายถึง “แนวทางพฒันาการเกษตรท่ีมีวัตถุประสงคและเปาหมาย ตลอดจนระยะเวลาดําเนนิงานโดยแนชัด”

ความสําคัญของนโยบาย นโยบายเปนส่ิงท่ีมีความสําคัญ เพราะนโยบายเปนเคร่ืองบงช้ีทิศทางการบริหาร และเปนขอมูลท่ีผูบริหารพิจารณาใชเพือ่การตัดสินใจและส่ังการ ลักษณะท่ีดีของนโยบาย - ควรมีลักษณะสอดคลองกับวัตถุประสงค

- ตองกําหนดข้ึนจากขอมูลที่เปนจริง, มีกลวิธีและจัดสรรทรัพยากรใหเหมาะสมตอการ ดําเนินงาน - สนองหรือสงผลประโยชนใหกับบุคคลโดยสวนรวม - ตองเปนถอยคําหรือขอความท่ีกะทัดรัดใชภาษาท่ีเขาใจงาย - ขอบเขตของวัตถุประสงคมีความยืดหยุนสามารถที่จะปรับปรุงเปล่ียนแปลงใหทันตอ เหตุการณใหมเสมอ - จะตองเปนจดุรวมหรือศูนยประชาสัมพนัธของหนวยงานตาง ๆ ภายในองคการ - สามารถใชนโยบายเปนหลักการในการปฏิบัติภารกิจของตน - คอบคลุมไปถึงสถานการณท่ีท่ีจะเกดิข้ึนในอนาคต

Page 269: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

175

- ตองสอดคลองกับระเบียบ กฎหมาย และขอบังคับตาง ๆ ของสังคมโดยสวนรวม และ นอกจากนี้จะตองสอดคลองกับความสนใจหรือความคิดเห็นของสาธารณชนดวย

กระบวนการกําหนดนโยบาย คือ การดําเนนิทางนโยบาย ซ่ึงมีข้ันตอนสําคัญ ๆ 5 ข้ันตอน 1. การกําหนดนโยบาย ( Policy Formulation ) 2. การอนุมัตินโยบาย ( Policy Approval ) 3. การนํานโยบายไปปฏิบัติ ( Policy Implementation ) 4. การประเมินนโยบาย ( Policy Evaluation ) 5. การพัฒนานโยบาย ( Policy Development )

การพัฒนาหรือนโยบายหลักการจัดทําแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 4-9 เนนการพัฒนาใน 5 เร่ือง คือ 1. ฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ 2. เรงการกระจายรายไดเพื่อลดชองวางของรายได 3. เพิ่มการมีงานทําและยกระดับความเปนอยู หรือคุณภาพชีวิตของประชากรใหดีข้ึน 4. อนุรักษและบริหารทรัพยากรหลัก เชน ปาไมและท่ีดนิ ใหดีข้ึน 5. เพิ่มขีดความสามารถในการปองกันประเทศ โดยเฉพาะการสนับสนนุความม่ันคงในบางพื้นที ่ สรุปนโยบายการเกษตรในชวงแผนพัฒนาฉบับท่ี 4 - 9 ดังนี้ 1. นโยบายการใหความชวยเหลือดานการผลิต 2. นโยบายดานการตลาดและราคา

3. นโยบายการคาระหวางประเทศ ปจจัยท่ีกําหนดความสําเร็จหรือลมเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัต ิ จะประกอบไปดวย - ลักษณะของนโยบาย - วัตถุประสงคของความเปนไปไดทางการเมือง

- ความเปนไปไดทางเทคโนโลยี - ความพอเพยีงของทรัพยากร - ลักษณะของหนวยงานท่ีนาํนโยบายไปปฏิบัติ - กลไกภายในหนวยงานหรือระหวางหนวยงานที่นํานโยบายไปปฏิบัติ - ทัศนคติของผูท่ีนํานโยบายไป

Page 270: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

176

เน้ือหา 1. ความหมายของนโยบาย

นโยบาย ( Policy ) เปนคําท่ีมาจากภาษาบาลีโดยการสมาสคําวา " นย" ( เคาความท่ีสอใหเขาใจเอาเอง) กับคําวา " อุบาย "( วิธีการอันแยบคาย, เลหกล,เลหเหล่ียม )เขาดวยกัน และแปลเปนความไดวา หลักการวิธีปฏิบัติซ่ึงถือเปนแนวดําเนนิการ นโยบายเปนขอความหรือความเขาใจรวมกันอยางกวาง ๆ ท่ีใชเปนแนวทางในการตัดสินใจ เพื่อการปฏิบัติภารกิจตาง ๆ ของผูบริหารและของหนวยงาน ขอความท่ีใชเปนนโยบายมักเปนคําท่ีมีความยืดหยุนได ไดมีนกัวิชาการไดใหความหมายและคําจํากัดความของนโยบายไวหลายทาน แตเม่ือนํามาพิจารณาโดยละเอียดแลว ความหมายหรือคําจํากัดความดังกลาวมีลักษณะท่ีไมแตกตางกันมากนัก กรีนวูด (William T. Greenwood ) กลาววานโยบายหมายถึง การตัดสินใจข้ันตนอยางกวาง ๆจากขอมูลท่ัวไปเพ่ือใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานใหเปนไปโดยถูกตอง และบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีไดกําหนดไว เทอรรี ( George R. Terry ) กลาววานโยบายคือ การพูดหรือการเขียนถึงขอบเขตและแนวทางท้ังหมดเพื่อการปฏิบัติงาน ไฮมานน และสกอตต ( Theo Haimann and William G. Scott ) กลาววานโยบายคือ ขอบเขตของเหตุผลและผลที่ผูบริหารใชในการตดัสินใจ เจคอพ ( Charles E. Jacop ) นโยบายคือ หลักการ แผนการหรือแนวทางในการปฏิบัติงาน เวยน ( A.R. Leys Wayne ) อธิบายถึงความหมายของนโยบายวา นโยบายคือ โครงการในการปฏิบัติงานใหบรรลุถึงเปาหมายอยางมีคุณคา หรือเปนการตัดสินใจเลือกจุดมุงหมายและวิธีการในการบริหารองคกรใดองคกรหนึ่ง คุนนและโดเนล ( Horold Koontz and Cyrel O' Donell ) หมายถึง การตัดสินใจลวงหนาวาจะทําอะไร ทําอยางไร ทําเพื่ออะไรและใครเปนผูทําเปนสะพานเช่ือมไปสูอนาคตตามท่ีตองการ และทํา ใหส่ิงตาง ๆ เกิดข้ึนตามตองการ อมร รักษาสัตย ( การพัฒนานโยบาย,2520 ) หมายถึง หลักการและกลวิธีท่ีจะนําไปสูเปาหมายท่ีกําหนดไว

Page 271: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

177

จากคําจํากัดความและความหมายดังกลาว จะเห็นไดวานโยบายเปนกรอบสําหรับการตัดสินใจของผูบริหารในลักษณะแสดงใหเห็นถึงวิถีทาง และผลแหงการดําเนินงาน นโยบายท่ีดียอมทําใหการตัดสินใจถูกตองและดีตามไปดวย นโยบายท่ีดีทําใหการบริหารงานเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพโดย

1. ชวยสนับสนุนใหมีการตดัสินใจท่ีถูกตอง 2. เปนการควบคุมข้ันพื้นฐานของการบริหารงาน 3. ทําใหเกิดความแนนอนและการประสานงานในการปฏิบัติงาน 4. ชวยลดเวลาท่ีตองใชในการตัดสินใจ

ความหมายของนโยบายการเกษตร พระราชบัญญัติเศรษฐกจิการเกษตร พ.ศ. 2522 มาตรา 3 ไดใหความหมายของนโยบายวา นโยบายการเกษตร หมายถึง “แนวทางพัฒนาการเกษตรที่มีวัตถุประสงคและเปาหมาย ตลอดจนระยะเวลาดําเนินงานโดยแนชัด” และยงัไดใหความหมายของคําวา การพัฒนาการเกษตรหมายถึง “ การขยายกําลังและเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การทําใหดีข้ึน ซ่ึงภาวการณลงทุน การผลิต การตลาด ราคาสินคาเกษตรกรรม รายไดของเกษตรกร โภชนาการและสวัสดิการอ่ืน ๆ ของเกษตรกร ตลอดจนถึงการเกี่ยวเนื่องกับการนั้น”

ภาพท่ี 39 นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลสุรยุทธ 'ตลาดเสรีฉบับพอเพียง'

Page 272: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

178

2. ความสําคัญของนโยบาย

นโยบายเปนส่ิงท่ีมีความสําคัญ เพราะนโยบายเปนเคร่ืองบงช้ีทิศทางการบริหาร และเปนขอมูลท่ีผูบริหารพิจารณาใชเพื่อการตัดสินใจและส่ังการ ดังนัน้นโยบายจึงมีความสําคัญตอการบริหารในลักษณะดังตอไปนี ้ 2.1 นโยบายจะชวยใหผูบริหารทราบวา จะทําอะไร ทําอยางไร และใชปจจัยชนิดใดบาง นโยบายจะชวยใหผูบริหารปฏิบัติงานตาง ๆ อยางมีความม่ันใจ เพราะนโยบายเปนท้ังแผนงาน เคร่ืองช้ีทิศทาง และหลักประกันท่ีผูบริหารทุกระดับช้ันจะตองยดึถือ 2.2 นโยบายจะชวยใหบุคลากรทุกระดับช้ันในองคการ ไดเขาใจถึงภารกจิของหนวยงานท่ีตนเองสังกัด รวมท้ังวิธีการท่ีจะปฏิบัติภารกิจใหประสบผลสําเร็จ โดยไมซํ้าซอนกับภาระหนาท่ีของหนวยงานอ่ืน ๆ ภายในองคการเดียวกนั และนโยบายยงัชวยใหการประสานงานระหวางหนวยงานเปนไปไดงายข้ึน 2.3 นโยบายกอใหเกิดเปาหมายในการปฏิบัติงาน ซึ่งเปนสิ่งจาํเปนอยางย่ิงสําหรับการบริหารงานทุกชนิด การบริหารงานโดยมีเปาหมายจะทําใหประหยัดท้ังการเงิน เวลา บุคลากร รวมถึงพลังความสามารถหรือศักยภาพของบุคลากรเหลานั้นดวย นอกจากนั้นยังทําใหการทํางานของบุคลากรเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพ และบรรลุถึงเปาหมายขององคการอยางมีประสิทธิผลดวยเชนเดียวกัน 2.4 นโยบายท่ีดีจะชวยสนับสนุนสงเสริมการใชอํานาจของผูบริหารใหเปนไปโดยถูกตองมีเหตุผลและมีความยุติธรรม อนัจะนํามาซึ่งความเช่ือถือ ความจงรักภักดี และความมีน้ําใจในการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา 2.5 นโยบายจะชวยใหเกิดการพัฒนาทางดานการบริหาร เพราะนโยบายจะพัฒนาผูบริหารงานหรือผูใชใหมีความสามารถในการแปลความ และทําใหนโยบายเปนสิ่งที่สามารถจะปฏิบัติได นอกจากนั้นนโยบายจะพัฒนาผูบริหารใหรูจักคิดทํานโยบายขึ้น แทนท่ีจะคิดปฏิบติัตามนโยบายแตเพียงอยางเดียว

3. ลักษณะท่ีดีของนโยบาย ควรมีลักษณะดังตอไปนี ้ 3.1 นโยบายท่ีดีจะตองสอดคลองกับวัตถุประสงคขององคการ และสามารถท่ีจะชวยใหการดําเนินงานบรรลุถึงเปาประสงคได 3.2 นโยบายท่ีดีจะตองกําหนดขึ้นจากขอมูลท่ีเปนจริง มิใชเปนขอมูลท่ีเปนความคิดเห็นสวนตัวหรือขอมูลท่ีเกิดขึ้นตามโอกาสอันไมแนนอน

Page 273: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

179

3.9 นโยบายท่ีดีจะตองสอดคลองกับปจจยัภายนอกองคการ กลาวคือจะตองสอดคลองกับระเบียบ กฎหมาย และขอบังคับตาง ๆ ของสังคมโดยสวนรวม นอกจากนี้จะตองสอดคลองกับความสนใจหรือความคิดเห็นของสาธารณชนดวย

4. กระบวนการกําหนดนโยบาย คือ การดําเนนิทางนโยบายซ่ึงมีข้ันตอนสําคัญ ๆ 5 ข้ันตอน

4.1 การกําหนดนโยบาย ( Policy Formulation ) 4.2 การอนุมัตินโยบาย ( Policy Approval ) 4.3 การนํานโยบายไปปฏิบัติ ( Policy Implementation ) 4.4 การประเมินนโยบาย ( Policy Evaluation ) 4.5 การพัฒนานโยบาย ( Policy Development )

5. การพัฒนาหรือนโยบายหลักการจัดทําแผนพัฒนาฯ ต้ังแตฉบับท่ี 4 ถึงปจจุบัน

สวนการจดัทําแผนพัฒนาฯต้ังแตฉบับท่ี 4 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน จะไมแยกแนวทางการพัฒนาออกตามสาขาเศรษฐกิจ แตแยกออกเปนแผนงานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของในแตละเร่ือง ดังเชน ใน

Page 274: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

180

- ฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ - เรงการกระจายรายไดเพื่อลดชองวางของรายได - เพิ่มการมีงานทําและยกระดับความเปนอยู หรือคุณภาพชีวิตของประชากรใหดีข้ึน - อนุรักษและบริหารทรัพยากรหลัก เชน ปาไมและท่ีดนิ ใหดีข้ึน - เพิ่มขีดความสามารถในการปองกันประเทศ โดยเฉพาะการสนับสนนุความม่ันคงในบางพื้นที ่ โดยในสวนของการพัฒนาหรือนโยบายหลัก ท่ีปรากฏอยูในแผนพัฒนาฯ จะถือเปนแผนแมบทหรือเปนกรอบของนโยบาย ท่ีกระทรวงหรือทบวงท่ีเกีย่วของ จะนําไปจัดทําแผนปฏิบัติการในแตละชวงของแผนพัฒนาฯ ท่ีอาจจะประกอบไปดวยแผนงาน หรือโครงงานตาง ๆ ยอยลงไปอีก เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของนโยบายหลักในแผนพัฒนาดังกลาว อยางไรก็ตามเนื่องจากปจจุบันประเทศอยูในชวงเวลาของการใชแผนพฒันาฯ ฉบับท่ี 9 ดังนั้น จึงจะสรุปถึงนโยบายการเกษตรในชวงแผนพฒันาดังกลาว ดังนี ้

5.1 นโยบายการใหความชวยเหลือดานการผลิต การใหความชวยเหลือดานการผลิตแกเกษตรกรไทย นั้นรัฐบาลมีนโยบายดานตาง ๆ หลายดาน ดังนี้

5.1.1 นโยบายการจัดหาท่ีดนิทํากินใหแกเกษตรกร นโยบายการเกษตรท่ีมุงชวยเหลือเกษตรกรในดานการผลิต โดยการจดัหาท่ีดินทํากินเปนนโยบายท่ีกําหนดไวตั้งแตแผนพฒันาฉบับท่ี 1 เร่ือยมาจนถึงฉบับท่ี 5 ซ่ึงเปนแนวทางหลักทางหนึ่งในการปรับโครงสรางและเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ อยางไรก็ตามการจัดหาที่ดนิทํากนิใหแกเกษตรกรท่ีไมมีท่ีดินเปนของตนเองนั้น รัฐบาลมีการดําเนนิการมากอนใชแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 1 นอกจากนี้ยังมีการจัดท่ีดนิใหแกเกษตรกรของหนวยงานอ่ืน ๆ เชน กรมพัฒนาท่ีดินและกรมปาไม แตตอมามีการจัดต้ังสํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม(ส.ป.ก)ในป พ.ศ.2518 ตามนโยบายการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมจากน้ันมาจนถึงปจจุบันเปนหลัก การปฏิรูปท่ีดนิเพื่อเกษตรกรรม การปฏิรูปท่ีดินตามความหมายท่ีบัญญัติไวในกฎหมายมาตรา 4 พระราชบัญญัติการ

Page 275: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

181

1) ปรับปรุงสิทธิและการถือครองท่ีดิน เพื่อใหเกษตรกรมีโอกาสเปนเจาของท่ีดิน เพื่อเปนการกระจายรายไดและสรางความเปนธรรม 2) พัฒนาเกษตรกรรมใหเกษตรกรมีความกินดีอยูด ี เพื่อเสริมสรางความเจริญ ใหทองถ่ินจากวัตถุประสงคดังกลาว ส.ป.ก จึงกําหนดภาระกิจการดําเนินงานปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมไว 3 ข้ันตอน โดยเร่ิมจากงานจัดท่ีดนิเปนข้ันตอนแรก ตามดวยงานพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และงานเพ่ิมรายไดแกเกษตรกรตามลําดับ ในสวนของงานจัดท่ีดินซ่ึงเกีย่วของกับการจัดหาท่ีดินทํากนิใหแกเกษตรกรโดยตรง มีการดําเนินงานท้ังในสวนทีด่ินของรัฐและท่ีดนิเอกชน (1) ท่ีดินของรัฐ ท่ีดินของรัฐท่ีนํามาปฏิรูป ไดแกท่ีสาธารณะประโยชนซ่ึงราษฎรเลิกใชรวมกัน ท่ีสาธารณสมบัติแผนดิน ท่ีรกรางวางเปลาท่ีอยูนอกเขตปา ไมถาวร ปาสงวน ท่ีเส่ือมโทรม เปนตน เพื่อใหเกษตรกรใหเกษตรกรผูครอบครองอยูเดมิไดเชาหรือซ้ือหรือเขาทําประโยชน ตามที่เกษตรกรยื่นคํารองไว ซ่ึงเกษตรกรจะไดรับหนังสือรับมอบท่ีดิน(ส.ป.ก.4-28) และหนังสืออนญุาตเขาทําประโยชนในเขตปฏิรูปท่ีดิน(ส.ป.ก.4-01) (2) ท่ีดินเอกชน เอกชนนํามาแปรรูปคือ ท่ีดินท่ี ส.ป.ก. จัดซ้ือหรือเวนคืนจากเจาของท่ีดิน ท่ีตองการขาย หรือมีท่ีดินมากเกินกวาท่ีพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมกําหนดไว ผลการดําเนินการจัดท่ีดนิของ ส.ป.ก.แยกตามประเภทท่ีดินดังนี ้ ก. การจัดท่ีดินในสวนของรัฐ โดยการสํารวจรังวดัการถือครองท่ีดิน การสอบสวนสิทธิครอบครองและเจรจากระจายสิทธิ และการจัดท่ีดนิใหแกเกษตรกรและมอบหนงัสืออนุญาตใหเขาทําประโยชนในเขตปฏิรูปท่ีดิน(ส.ป.ก4-01) ตามลําดับ

Page 276: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

182

ข. การจัดท่ีดนิในท่ีดินเอกชน การจัดซ้ือท่ีดินจากเจาของท่ีดินท่ีมีท่ีดนิเกินกวากฎหมายปฏิรูปท่ีดินกําหนด หรือกรณีท่ีเจาของท่ีดินมิไดทําประโยชนใหแก ส.ป.ก จัดใหเกษตรกรไดทําประโยชน และการจัดท่ีดนิจากท่ีดินท่ีจดัซ้ือมาใหเกษตรกรเชา หรือเชาซ้ือเพ่ือทําประโยชนในท่ีดิน จะเห็นไดวาการดําเนินงานในสวนของที่ดินเอกชนเปรียบเทียบกับท่ีดนิของรัฐแลวนอยกวากนัมาก เนื่องจากปญหาท่ีสําคัญก็คือ ราคาท่ีดินสูงเกินสมควร ทําใหเกิดผลกระทบแกเกษตรกรผูเชาซ้ือ หรือหากจัดซ้ือท่ีดินราคาตํ่าก็เปนท่ีดินท่ีไมเหมาะสมกับการเกษตรกรรม และอยูหางไกลการคมนาคม อยางไรก็ตามเนื่องจากความจํากัดของท่ีดนิซ่ึงนับวันจะนํามาจัดสรรไดนอยลง และเปนท่ีดินท่ีไมเหมาะสมกับการทําการเกษตร ดังนั้นบทบาทในชวงหลังของ ส.ป.ก จึงเปนเร่ืองของการรับรองสิทธิทํากินใหกับราษฎรที่มีท่ีดินทํากิน แตไมถูกกฎหมายมากกวาจัดหาที่ดินทํากนิ และในอนาคตตองเนนในเร่ืองของการปรับปรุงพื้นท่ีดิน ใหมีความเหมาะสมกับการทําการเกษตร การพฒันาโครงสรางพ้ืนฐานตาง ๆ ในเขตปฏิรูปท่ีดิน เชน การพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก การพฒันาถนน เปนตน

5.1.2 การพัฒนาแหลงน้าํเพือ่การเกษตร การพัฒนาแหลงน้ําเพือ่การเกษตรหรือการพัฒนาระบบชลประทาน เปนการพฒันาโครงสรางพื้นฐานเกีย่วกับท่ีดิน ท่ีจะทําใหการใชท่ีดนิเกิดประโยชนสูงสุด เพราะจะทําใหเพาะปลูกไดมากข้ึน มีผลผลิตตอไรสูงข้ึน จึงนับวามีความสําคัญในดานการเพ่ิมผลผลิต และเปนอีกมาตรการหนึ่งท่ีกําหนดเปนแนวทางในการพัฒนาสาขาเกษตรของประเทศไทย ท้ังนี้การพัฒนาแหลงน้ํามีความสําคัญตอการเกษตรของไทยมากท่ีสุด คือ การพัฒนาแหลงน้ําของกรมชลประทาน ท้ังขนาดใหญกลางและเล็ก โดยผลของการพัฒนาดังกลาว ทําใหในประเทศไทยมีพื้นทีใ่นเขตชลประทานของโครงการชลประทานขนาดใหญ และขนาดกลางท่ีสรางเสร็จแลวและพื้นท่ีท่ีไดรับประโยชนจากชลประทานขนาดเล็ก เทากบัรอยละ 23.45 ของพื้นท่ีทําการเกษตรทั้งหมด ซ่ึงสวนใหญอยูในภาคกลางรองลงมาคือภาคเหนือ ตะวนัออกเฉียงเหนือและภาคใตตามลําดับ อยางไรก็ตามการพัฒนาแหลงน้าํขนาดใหญนับวันแตจะมีปญหามากข้ึน เชน สภาพภูมิประเทศและแหลงน้ํามีนอยลง การทําลายส่ิงแวดลอมท่ีเกิดจากการสรางเข่ือน การตอตานจากราษฎร ซ่ึงแนวโนมของนโยบายในอนาคตจึงเปนเร่ืองของการพยายามใชน้ําจากแหลงน้ําตาง ๆ ท่ีพัฒนาแลวใหมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด และรักษาคุณภาพของน้าํตามแหลงน้ําตาง ๆ และหันมาพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กและขนาดกลางใหมากข้ึน

Page 277: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

183

5.1.3 นโยบายการอุดหนุนปจจัยการผลิต ตั้งแตเร่ิมใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับท่ี 1 นโยบายการเกษตรกไ็ดกําหนดวัตถุประสงคท่ีจะเพิ่มการผลิตดวยการใชปจจัยการผลิตสมัยใหม ท่ีมีบทบาทมากในการเพิ่มผลผลิต ซ่ึงเปนนโยบายท่ีรัฐบาลมีการดําเนินการมาอยางตอเนื่อง การอุดหนุนปุยเคมีใหแกเกษตรกร ปุยเคมี เปนปจจัยการผลิตสมัยใหมปจจยัหนึ่งท่ีมีบทบาทอยางยิ่งในการเพิ่มผลผลิต ซ่ึงรัฐบาลโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ พยายามสงเสริมใหเกษตรกรมีการใชอยางเหมาะสม ควบคูกับการใชเทคโนโลยีการผลิตอ่ืน ๆ อยางถูกตองเหมาะสมและท่ัวถึง แตเนื่องจากปุยมีราคาคอนขางสูงเม่ือเทียบกับราคาผลิตผลท่ีเกษตรกรขายได จึงเกดิเปนปญหาและอุปสรรคแกการสงเสริมการใชปุยเคมีแกเกษตรกรเปนอยางมาก ดังนั้นรัฐบาลจึงไดกําหนดนโยบายจัดหาปุยเคม ีเพื่อชวยเหลือเกษตรกรเปนประจําทุกป ท้ังปุยท่ีใชในนาขาวและปุยท่ีใชกับพืชไร นอกจากนี้ยังไดมีการกําหนดแนวนโยบายในการจัดหาปุยเคมี โดยจัดเปนแผนระยะส้ันและระยะยาว เพื่อใหเกษตรกรม่ันใจวาจะมีปุยใชในการผลิตตรงกับระยะเวลาของความตองการใชและมีราคาตํ่าพอควร โดยในระยะแรก ๆ กระทรวงเกษตรและสหกรณเปนผูจดัซ้ือและจัดสรรให 3 หนวยงานคือ องคการตลาดเพ่ือการเกษตรกร(อ.ต.ก) ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร(ธ.ก.ส) ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย(ช.ส.ท) ขายปุยเคมีใหแกเกษตรกรในราคาตํ่าและมีคุณภาพ ตอมามีการเปล่ียนมาใชวิธีการจัดหาปุยเพือ่ชวยเหลือเกษตรกรแบบใหม โดยใหรัฐจัดหาเงินเขากองทุนรวมเพื่อชวยเหลือเกษตรกรและกองทุนสงเคราะหการเกษตร เพื่อจัดใหหนวยงานที่เกีย่วของนาํไปใหองคกรการเกษตรนําไปกูยมืเพื่อซ้ือปุยกนัเองตามความตองการใชท้ังชนิดและปริมาณ อีกท้ังมีราคาท่ีต่ํากวาทองตลาดดวย 5.1.4 นโยบายการพัฒนาองคกรและสถาบันการเกษตร ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทุกฉบับ ตางก็ใหความสําคัญตอการพัฒนาองคกรหรือสถาบันเกษตรกรในระดบัทองถ่ิน เพื่อใหเกษตรกรไดมีสวนรวมกนัในการแกไขปญหาตาง ๆ และชวยเหลือซ่ึงกันและกัน อันจะนําไปสูความเจริญกาวหนาของเกษตรกรเอง อีกท้ังยังเปนการปูพื้นฐานวิถีทางประชาธิปไตยในระดับทองถ่ิน สถาบันเกษตรกรที่มีความสําคัญในปจจุบัน มี 2 ประเภทคือสหกรณการเกษตรและกลุมเกษตรกรมีรายละเอียดดังนี้

1) สหกรณการเกษตร คือ องคการท่ีผูประกอบอาชีพทางการเกษตรรวมกันจัดต้ังข้ึน และจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตอนายทะเบียนสหกรณตามกฎหมาย โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหสมาชิก

Page 278: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

184

วัตถุประสงคและการจัดตั้งสหกรณการเกษตร สหกรณการเกษตรเปนสหกรณท่ีมีสมาชิก ประกอบดวย เกษตรกร ซ่ึงรัฐบาลสงเสริมใหมีการจัดต้ังข้ึนโดยมีวัตถุประสงคตาง ๆ ดังนี้

(1) ใหสินเช่ือเพื่อการเกษตร (2) จัดหาวัสดกุารเกษตรและส่ิงของจําเปนจําหนาย (3) จัดหาตลาดจําหนายผลิตผลและผลิตภัณฑของสมาชิก (4) รับฝากเงิน (5) จัดหาบริการและบํารุงท่ีดิน

โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการตลาด จึงมีสหกรณท่ีดําเนนิงานแบงได 3 ระดับ คือ ก. สหกรณข้ันปฐมหรือสหกรณทองถ่ินมีอยู 3 ประเภท คือ สหกรณการเกษตรท่ัวไป สหกรณการเกษตรในเขตพัฒนา และสหกรณการเกษตรรูปพิเศษ ข. สหกรณข้ันมัธยมหรือชุมนุมสหกรณจังหวัด ค. สหกรณข้ันยอดหรือชุมนมุสหกรณการเกษตรระดับชาติ ผลการจัดตัง้และผลการดําเนินงานของสหกรณการเกษตร การพัฒนาสถาบันเกษตรกรในรูปของสหกรณของรัฐนัน้ วางเปาหมายในการดําเนินกิจกรรม เร่ิมต้ังแตการใหเกษตรกรตระหนักในการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน จากดานการผลิตจนกระท่ังสามารถพัฒนาสูการทําธุรกิจดานการตลาดและการแปรรูปผลผลิต ใหเปนฐานสรางอํานาจตอรองเพ่ือยกระดับรายไดใหแกสมาชิก โดยรัฐไดทุมเทใหความชวยเหลือในรูปแบบตาง ๆ ตั้งแตการพัฒนาบุคลากรใหมีความรูในเชิงบริหารธุรกิจ การลงทุน จัดบริการพืน้ฐานทางเศรษฐกิจ การสงเสริมธุรกิจและการสงเสริมอาชีพ โดยมีกรมสงเสริมสหกรณดแูลรับผิดชอบ และจากการดาํเนินงาน ของสหกรณการเกษตร พิจารณาจากมูลคาธุรกิจท่ีดําเนนิงานผาน ๆ มา ปรากฏวาสวนใหญเปนการ ใหกูยืมและรับฝากเงินจากสมาชิก เนื่องจากการจดัต้ังสหกรณการเกษตร มิไดเกิดจากปญหาพื้นฐานท่ีทําใหเกษตรกรรวมตัวกันจดัต้ังข้ึน แตเปนการจัดต้ังโดยกรมสงเสริมสหกรณตามนโยบายของรัฐเกษตรกรหรือสมาชิกสวนใหญ ยังขาดความรูความเขาใจเร่ืองของสหกรณ ท่ีเขามาเปนสมาชิกก็เพื่อตองการกูยืมเงินมากกวา

Page 279: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

185

2) กลุมเกษตรกร คือ การรวมกันของเกษตรกรท่ีจดทะเบียนเปนนิติบุคคล ตามประกาศคณะปฏิวตัิฉบับท่ี 140 และ 141 ลงวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 ท่ีมีอํานาจหนาท่ีแสวงหาทุนจากสถาบันการเงินของรัฐหรือเอกชนมาดําเนินการใหเจริญกาวหนายิ่งข้ึน ภายใตการสนับสนุนสงเสริมและกาํกับของทางราชการ และสามารถเปนสหกรณตอไปในอนาคต วัตถุประสงคและการจัดตั้งกลุมเกษตรกร เพื่อใหเกษตรกรชวยเหลือซ่ึงกันและกันภายในกลุม เชน การหาสินเช่ือและปจจยัการผลิตตาง ๆ การทําธุรกิจคาขายผลิตผลเกษตรเปนตน โดยกรมสงเสริมการเกษตรทําหนาท่ีใหความรูทางดานวิชาการ เชน การอบรมความรูทางดานการจัดการธุรกิจการตลาด นอกจากนั้นยังมีโครงการความชวยเหลือผานกลุมเกษตรกรอยูบาง เชน ในเร่ืองการทําแปลงสาธิต และจัดสรรเมล็ดพันธุ เปนตน แตก็เปนเพยีงสวนนอยเทานัน้ โดยท่ัวไปวตัถุประสงคของกลุมเกษตรกรมีเหมือนกบัวัตถุประสงคของสหกรณการเกษตร กลุมเกษตรกรต้ังแตเร่ิมมีการจัดต้ังข้ึนอยางเปนทางการจนถึงปจจุบัน โดยการดําเนินของธุรกิจของกลุมเกษตรกรในดานตาง ๆ ไดแก การรับฝากเงิน การใหกูยืม การรวบรวมผลผลิต การจําหนายสินคาและการใหบริการสงเสริมการเกษตร ซ่ึงจะเห็นไดวามีการดําเนินธุรกิจเชนเดยีวกันกบัสหกรณการเกษตร แตผลการดําเนนิงานปรากฏวาสวนใหญเปนการจัดหาสินคามาจําหนายใหแกสมาชิกและการรวบรวมผลผลิต การใหกูยมืและการรับฝากเงินมีนอยกวามาก แตกตางจากผลการดําเนินงานของสหกรณการเกษตร ท่ีสวนใหญเปนการใหกูยืมและการรับฝากเงิน ในดานความเขมแข็งของกลุมพิจารณาจากการที่กลุมสามารถพึ่งพาตนเอง ไมจําเปนตองรับความชวยเหลือจาก

Page 280: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

186

5.1.5 นโยบายสินเชื่อการเกษตร คือ การจัดหาสินเช่ือใหแกเกษตรกรเพื่อเปนเงินทุนในการประกอบอาชีพ โดยมีนโยบายจัดหาแหลงอุปทานสินเช่ือท่ีเปนสถาบันใหแกเกษตรกร ทั้งลักษณะของจัดต้ังสถาบันขึ้นมาเพ่ืออํานวยสินเช่ือการเกษตรเอง คือ ธนาคารเพือ่การเกษตรและสหกรณการเกษตร และการกําหนดมาตรการใหสถาบันการเงินสําคัญของเอกชน คือธนาคารพาณิชยเขามามีสวนอํานวยสินเช่ือทางการเกษตร ทําใหมีอัตราดอกเบ้ียที่ตํ่ากวาสินเช่ือนอกระบบ นอกจากนี้ในปจจุบันยังใหความสําคัญกับการประกอบอาชีพอื่น ๆ ของเกษตรกร เพื่อชวยเพิ่มรายไดและยกฐานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรใหสูงขึ้นอีกดวย

5.2 นโยบายดานการตลาดและราคา นโยบายดานการตลาดและราคา เปนนโยบายท่ีจะใชปฏิบัติการควบคูกันไป ซ่ึงการใชนโยบายตลาดและราคาเปนการแทรกแซงดานตลาด และราคาของสินคาเกษตรซ่ึงจุดมุงหมายสวนใหญก็เพื่อชวยเหลือผูผลิตคือ เกษตรกรเปนหลัก เนื่องจากปญหาดานตลาดและราคาสินคาเกษตรที่เกิดข้ึนมักเปนราคาท่ีตกตํ่า ซ่ึงมีผลกระทบตอการลดลงของรายไดและความไมแนนอนของรายไดของเกษตรกร โดยนโยบายท่ีใชในอดีตและปจจุบันมีดังนี ้

5.2.1 นโยบายพยุงราคาหรือการประกันราคา การพยุงราคาและการประกันราคามีความหมายคลายกัน เพราะถาประกันวาราคาจะเปนเทาใดก็เทากับรักษาระดบัราคาหรือพยงุราคาไวท่ีระดับราคาน้ัน ๆ อาจจะสูงหรือตํ่ากวาราคาตลาดก็ได ถาต่ํากวาจะเรียกวาราคาประกันแตหากรักษาระดับไวสูงกวาราคาตลาดจะเรียกวาการพยงุราคา

Page 281: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

187

นโยบายดังกลาวหากสามารถรักษาระดับราคาไวสูงกวาราคาตลาด ทําใหเกษตรกรไดรับราคาสูงข้ึนและมีรายไดมากข้ึนตามปริมาณสินคาท่ีแตละรายผลิต และขายแตผูบริโภคภายในประเทศตองซ้ือสินคาแพงข้ึนทําใหรัฐบาลตองมีภาระในการซ้ือสินคาเก็บไว ทําใหมีปญหาในดานการจัดเก็บสินคาทําใหตองใชมาตรการดังนี ้ 1) การขยายตลาด ซ่ึงตองหาตลาดเพ่ิมเติมเพื่อท่ีจะระบายสินคาท่ีเก็บไว 2) การจํากดัปริมาณการผลิตหรือปริมาณการขายมิใหมีมากเกินไป

5.2.2 นโยบายการจายเงินชดเชยใหผูผลิต นโยบายนี้เปนนโยบายหนึ่งท่ีรัฐบาลเคยใชในการแทรกแซงราคาขาว โดยรัฐบาลไม

ตองรับซ้ือเพียงแตจายเงินชดเชย(deficiency payment) ใหเทากับสวนตางของราคาท่ีกําหนด หรือราคาเปาหมายกับราคาตลาด วิธีนี้รัฐบาลจะจายมากหรือนอยข้ึนอยูกับความแตกตางของราคาท่ีกําหนดและราคาตลาด ถาราคาสูงกวาราคาท่ีกําหนดรัฐบาลกไ็มตองดําเนนิการอะไร แตถาตํ่ากวาก็ตองจายเงินชดเชยโดยไมตองซ้ือท้ังหมดและไมเปนภาระในการเก็บรักษา เพราะปลอยใหระบบตลาดทํางานเอง จุดบกพรองของวิธีการนี้คือ ราคาท่ีกําหนดไวจะกําหนดไวท่ีระดับใดและจะประกาศเม่ือใด ถากําหนดราคาไวสูงและกําหนดไวกอนฤดูกาลผลิต เกษตรกรกจ็ะทําการผลิตจนกระท่ังถึงระดับท่ีตนทุนการผลิตเทากับราคาท่ีกําหนด ซ่ึงจะมากกวาระดับท่ีตลาดตองการมากทําใหรัฐตองจายเงินชดเชย

5.2.3 นโยบายการจัดตั้งมูลภณัฑกันชน นโยบายการจัดต้ังมูลภัณฑกันชน เปนนโยบายท่ีใชรักษาเสถียรภาพของราคาสินคา

โดยมีหลักการ คือ การรับซ้ือผลผลิตเก็บไวเม่ือผลผลิตออกสูตลาดมากทําใหราคาตํ่า และระบายผลผลิตออกสูตลาดเม่ือผลผลิตมีนอยทําใหราคาสูงข้ึน ซ่ึงเปนนโยบายท่ีรัฐบาลเคยใชมาแลวกับสินคาเกษตร เชน ขาวและปาลมน้ํามันเปนตน สินคาท่ีเก็บไวนี้ถือวาเปนกันชน(buffer) ระหวางชวงท่ีราคาสูงและราคาตํ่า 5.2.4 นโยบายการรับจํานําผลผลิต

นโยบายท่ีรัฐบาลใชเพื่อชะลอการเขาสูตลาดผลผลิตเพื่อลดอุปทานในตลาดลง เปนการรักษาระดบัราคาตลาดไวมิใหตกตํ่า โดยการใหหนวยงานของรัฐจํานําผลผลิตตามราคาท่ีกําหนด มีหนวยงานท่ีดําเนินการ คือ ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร(ธ.ก.ส) รวมกับองคการคลังสินคาซ่ึงเปนผูรับฝากสินคาท่ีเกษตรกรนํามาจํานํา แตหากเกษตรกรมีสถานท่ีเกบ็เองสามารถจํานําผลผลิตไดโดยไมตองขนยายไปเก็บกับ ธ.ก.ส. สามารถเก็บไวในยุงฉางของตนเองไดโดยจะมีเจาหนาท่ีของธ.ก.ส.เขาไปตรวจสอบ ทําใหไดรับความสะดวกและชวยใหเกษตรกรไมตองรีบขายผลผลิตในชวง

Page 282: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

188

5.2.5 การแกปญหาราคาพืชอยางเปนระบบ รัฐบาลใหความสําคัญกับการแกไขปญหาราคาสินคาเกษตรอยางเปนระบบ หลังจากการท่ีมีมาตรการเพื่อแกปญหาราคาสินคาเกษตรตกตํ่าดังท่ีกลาวมาแลว เพื่อทําใหการดําเนินมาตรการชวยเหลือมีระบบมากขึ้น อยางนอยจะไดทราบวาเม่ือใดควรมีมาตรการชวยเหลือหรือมีมาตรการแทรกแซงตลาด ใครเปนผูรับผิดชอบและมีมาตรการอะไรบาง การดําเนินการแกไขปญหาราคาสินคาเกษตรอยางเปนระบบ เร่ิมดวยการจัดต้ังกองทุนรวมเพื่อชวยเหลือเกษตรกรในป พ.ศ.2534 ตามระเบียบสํานกันายก รัฐมนตรีวาดวยกองทุนรวมเพื่อชวยเหลือเกษตรกร โดยกองทุนฯนี้มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือเกษตรกรทั้งระบบและครอบคลุมสินคาเกษตรทุกชนิด และนโยบายหรือมาตรการแกไขปญหาราคาสินคาเกษตรตาง ๆ โดยการแทรกแซงตลาดและราคาในลักษณะตาง ๆ ซ่ึงการใชมาตรการตาง ๆ นั้น คชก.จะพจิารณาการดําเนินการแกไขปญหาตามความเหมาะสมกําหนดใหมีคณะกรรมการนโยบายและมาตรการชวยเหลือเกษตรกร(คชก.) เปนผูพิจารณาการใช

5.3 นโยบายการคาระหวางประเทศ เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศท่ีสงออกสินคาเกษตรที่ผลิตไดแทบทุกชนิด ราคาสินคาเกษตรที่ผูผลิตไดรับจึงมีความสัมพันธกับราคาสงออก นโยบายสงออกสินคาเกษตรใด ๆ ยอมมีผลตอระดับราคาสินคาเกษตรภายในประเทศ สวนในดานการนําเขาสินคาเกษตรนั้นไมคอยมีบทบาทนักเม่ือเทียบกับการสงออก

5.3.1 นโยบายดานการสงออก นโยบายการสงออกท่ีใชกับสินคาเกษตรของประเทศไทย ประกอบดวยนโยบายท่ี

มุงปกปองผูบริโภคภายในประเทศใหมีสินคาบริโภคในราคาท่ีไมสูงเกนิไป และนโยบายท่ีมุงชวยเหลือ ผูผลิตสินคาใหไดรับราคาสูงข้ึนและขายไดในปริมาณมากข้ึน โดยมาตรการสําคัญท่ีนํามาใชมีท้ังมาตรการทางภาษแีละมิใชภาษีมีดังตอไปนี้

Page 283: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

189

1) การเก็บภาษีสงออก ในอดีตรัฐบาลเคยมีการจดัเก็บสินคาเกษตรกรรมหลายชนิดท่ีสําคัญ ไดแก ขาว และยางพารา ซ่ึงการเก็บภาษีมีผลใหปริมาณการสงออกและราคาสินคาภายในประเทศลดลง แมในปจจุบันการเก็บภาษีจะมีการยกเลิกไปแลว เหลือแตเพียงการเก็บเงินเขากองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ซ่ึงเรียกเก็บจากผูสงออก จึงมีผลไมแตกตางอะไรจากการเก็บภาษีสงออกนั่นเอง การเก็บภาษีสงออกขาว หรือเรียกวาคาธรรมเนียมการสงออกขาวหรือท่ีรูจักแพรหลายวา“คาพรีเม่ียม” ซ่ึงมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนแหลงรายไดท่ีเปนเงินตราตางประเทศของรัฐและเพื่อควบคุมปริมาณการสงออก ทําใหระดับราคาภายในมีเสถียรภาพ เปนแหลงรายไดตามท่ีกําหนดไวในงบประมาณและรัฐบาลไดใช พรีเม่ียมเปนเคร่ืองมือในการบรรลุวัตถุประสงคของนโยบายการสงออกขาว คือ การสงออกขาวท่ีเหลือจากการบริโภคใหไดมากท่ีสุดและใหไดราคาดท่ีีสุด ใหรัฐบาลไดรับคาพรีเมี่ยมเทาท่ีกําหนดไว ใหชาวนาขายขาวเปลือกไดราคาท่ีสมควรและไมใหกระทบกระเทือนตอผูบริโภค การจัดเก็บคาพรีเม่ียมของรัฐบาลถือวาเปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญในการแทรกแซงการสงออกขาวดวยการปรับอัตราคาพรีเม่ียม ถาจะใหสงออกเพิ่มข้ึนก็ลดคาพรีเม่ียมลง ถาจะใหสงออกนอยลงก็เพิ่มคาพรีเม่ียม อยางไรก็ตามการเก็บคาพรีเม่ียมยังสงผลกระทบตาง ๆ สรุปไดดังนี ้

(1) การเก็บคาพรีเม่ียมขาวเปนการตักตวงรายไดท่ีชาวนาควรจะไดแตกลับเปนของรัฐในรูปรายได (2) ทําใหราคาขาวสารที่ซ้ือตํ่ากวาท่ีควรจะเปน (3) ทําใหสามารถรักษาระดบัคาจางแรงงานไวในระดับตํ่า (4) ทําใหราคาภายในประเทศไมเปล่ียนแปลงตามราคาสงออก โดยการปรับอัตราคาพรีเม่ียม (5) ผลตามมาของเกษตรกรผูปลูกขาว คือ ทําใหราคาขาวเปลือกต่ํามาโดยตลอด ขาดแรงจูงใจท่ีจะปรับปรุงและยอมรับวิธีการผลิตสมัยใหม ทําใหผลผลิตตอไรต่ํา จากผลกระทบดังกลาว ประกอบกับในระยะหลังปญหาความยากจนของเกษตรกรเปนปญหาสําคัญท่ีทุกฝายใหความสนใจ และการเก็บพรีเม่ียมถูกมองวาเปนการตักตวงรายไดท่ีชาวนาควรไดรับ ในท่ีสุดรัฐบาลจึงยกเลิกการเก็บพรีเมี่ยมขาวไปในป 2529 การเก็บภาษีสงออกยางพารา รัฐบาลไดเรียกเก็บอากรขาออกยางพารา โดยเก็บในอัตราคงท่ีหรือตามสภาพ แตตอมาเปล่ียนเปนการเก็บตามมูลคา และเพื่อชวยเหลือชาวสวนยางได

Page 284: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

190

2) การควบคมุหรือจํากัดปริมาณการสงออก การควบคุมปริมาณสงออกหรือการจํากัดปริมาณการสงออกอาจใชเพื่อวัตถุประสงคตาง ๆ ไดแก (1) เพื่อปองกนัมิใหเกิดความขาดแคลนสินคาภายในประเทศ (2) เพื่อใหเกิดความม่ันใจวาจะมีสินคาเหลือพอ ท่ีจะสงไปจําหนายใหผูซ้ือท่ีเปนตลาดประจําและมีการตกลงซ้ือขายกัน (3) เพื่อใหเปนไปตามความตองการของประเทศผูนําเขา รวมท้ังควบคุมปริมาณการสงออกใหเปนไปตามขอตกลงระหวางประเทศ ท้ังนี้การควบคุมหรือจํากัดปริมาณการสงออกเพ่ือวัตถุประสงคใด ๆ กต็าม อาจกระทําโดยการกําหนดภาระและเงื่อนไขที่ผูสงออกตองปฏิบัติ เพื่อใหผูสงออก สงออกไดยากข้ึน เชน มาตรการสํารองขาว นอกจากนีย้ังมีการจดทะเบียนเปนผูสงออก ซ่ึงจะทําใหปริมาณการสงออกนอยลง แลวยังเปนการกีดกันผูสงออกรายใหมหรือรายยอยถือวาเปนการสนับสนุนใหมีการผูกขาด และอาจทําใหผูเกี่ยวของบางกลุมไดประโยชน และถึงแมจะไมไดควบคุมโดยจํากดัปริมาณท่ีสงออก แตก็มีผลตอตลาดภายในประเทศเชนเดียวกับการควบคุมปริมาณการสงออกโดยวิธีอ่ืน ๆ และยอมมีผลใหราคาภายในไมสูงจนเปนท่ีเดือดรอนแกผูบริโภคและผูใชวตัถุดบิ แตถาปริมาณการสงออกนอยกวาระดับท่ีควรจะเปนมาก สินคาภายในประเทศก็จะเหลือมาก ทําใหราคาท่ีผูผลิตไดรับลดตํ่าลง และอาจจะมีผลทําใหปริมาณการผลิตลดลงดวย นอกจากนี้ยังสรางความไมม่ันใจในการสงออก ท้ังในดานการตลาดการหาตลาดของผูสงออกและในดานความม่ันใจของผูซ้ืออีกดวย

Page 285: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

191

3) การขยายตลาดสงออก การขยายตลาดสงออกนั้น รัฐบาลอาจทําไดโดยการเจรจาและทําสัญญาซ้ือขายกับผูซ้ือเอง หรือจัดสงคณะผูแทนการคาเจรจากับรัฐบาลของประเทศนําเขาในเร่ืองลดภาษีนําเขา ลดคาใชจายในการสงออก รวมท้ังการเจรจากับรัฐบาลตางประเทศท่ีจะทําการคาในรูปแบบตางตอบแทน 5.3.2 นโยบายดานการนาํเขา แมวาประเทศไทยเปนผูสงออกสินคาเกษตร แตมีการนําเขาสินคาหลายชนิดทีย่ังผลิตไดไมเพียงพอท่ีสําคัญก็มี เชน ผลิตภัณฑจากสัตวน้ําท่ีใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมแปรรูป ฝายดิบและปุยฝายซ่ึงใชในอุตสาหกรรมส่ิงทอ ผลิตภัณฑนมและผลิตภัณฑถ่ัวเหลืองซ่ึงใชในอุตสาหกรรมอาหาร ไมตาง ๆ รวมทั้งกระดาษและผลิตภัณฑกระดาษ ซ่ึงใชเปนปจจยัในการผลิตอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนตน นโยบายดานการนําเขาสวนใหญท่ีประเทศไทยใช เพือ่เปนการสนบัสนุนผูผลิตภายใน ประเทศ โดยการมาตรการกีดกันการนําเขาสําคัญ ๆ ที่เคยใช มีท้ังมาตรการภาษแีละการควบคุมปริมาณการนําเขา อยางไรก็ตามในภาวะการคาปจจุบันท่ีประเทศตาง ๆ รวมท้ังประเทศไทย มีการรวมมือกันเพื่อเปดเสรีทางการคา การใชมาตรการทางภาษแีละไมใชภาษ ี ท่ีมีผลตอการนําเขาจงึมีขอจํากัดซ่ึงตองเปนไปภายใตขอตกลงทางการคาตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งขอตกลง WTO ในปจจุบัน มาตรการภาษีและการควบคุมการนําเขาท่ีประเทศไทยใชกับสินคาเกษตรหลายชนดิ คือ มาตรการโควตาภาษี ซ่ึงเปนการกําหนดอัตราภาษีนําเขาสินคาในปริมาณตามโควตาตํ่ากวาอัตราภาษีนําเขาสินคา ในปริมาณตามโควตาตํ่ากวาอัตราภาษีนําเขาของปริมาณท่ีเกินกวาโควตา มีขอผูกพันท่ีตองลดการใชมาตรการ

6. ปจจัยท่ีกําหนดความสําเร็จหรือลมเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ปจจัยท่ีกําหนด

ความสําเร็จหรือลมเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติพอจะสรุป ไดดงันี้

6.1 ลักษณะของนโยบาย ลักษณะของนโยบายท่ีมีสวนในการกําหนดความสําเร็จหรือความลมเหลวของนโยบายไดแก

6.1.1 ประเภทของนโยบาย การปฏิบัติตามนโยบายจะมีโอกาสประสบผลสําเร็จมากท่ีสุดหากนโยบายนัน้เรียกรองใหมีการเปลี่ยนแปลงส่ิงตาง ๆ นอยท่ีสุด และมีความเหน็พองตองกันในวัตถุประสงคในระดับสูง 6.1.2 ผลประโยชนของนโยบายน้ัน ๆ ความสําเร็จของการนํานโยบายไปปฏิบัติข้ึนกับ ประสบการณท่ีผานมา น้ําหนักของผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีนโยบายนั้นผลักดันใหเกิดข้ึนมา ถาการรับรูมีมากกวานโยบายใหประโยชนมากกวานโยบายอ่ืน โอกาสความสําเร็จก็จะมีมาก

Page 286: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

192

6.2 วัตถุประสงคของนโยบาย ในเร่ืองวัตถุประสงคท่ีจะเปนสวนหนึ่งในการที่จะใหการกําหนดนโยบายไปปฏิบัติสําเร็จนั้น แยกพิจารณาไดดังนี้ 6.2.1 ความชัดเจนของวัตถุประสงค หากวตัถุประสงคไมชัดเจนโอกาสการตีความผิด จะเปนเหตุทําใหการนํานโยบายไปปฏิบัตลิมเหลวได 6.2.2 ความสอดคลองตองกันของวัตถุประสงค นอกจากวัตถุประสงคจะชัดเจนแลว ยังจําเปนตองมีความสอดคลองเปนอันหนึ่งอันเดยีวกัน 6.2.3 ความยากงายในการรับรูวัตถุประสงค คือ งายตอความเขาใจ ความรับรูของผูท่ีจะนําไปปฏิบัติวานโยบายนั้น ๆ มีวัตถุประสงคอยางไร 6.2.4 ตัวช้ีวดัความสําเร็จของนโยบาย จะทราบวาความสําเร็จของนโยบายนั้นแสดงใหเห็นไดอยางใด อะไรคือตัวช้ีวัดวานโยบายน้ันประสบผลสําเร็จ ฉะนั้นจําเปนตองมีดัชนีช้ีวัตถุประสงค หรือเปาหมายของนโยบายนัน้ ๆ 6.2.5 ความไมเท่ียงตรงของขาวสารตอผูนํานโยบายไปปฏิบัติ หากแหลงขอมูลขาวสารใหขอมูลท่ีไมสอดคลองในการแปลวัตถุประสงค เปาหมายหรือมาตรฐานตาง ๆ ของนโยบาย ขอขัดแยงเหลานั้น จะทําใหการปฏิบัติเปนไปไดตามวัตถุประสงคของนโยบายท่ีแทจริง

6.3 ความเปนไปไดทางการเมือง ตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับความเปนไปไดทางการเมืองไดแก 6.3.1 การเจรจาระหวางรัฐบาลและเอกชน ความสําเร็จในการนํานโยบายไปปฏิบัติข้ึนอยูกับการสนับสนุนหรือคัดคานท่ีเอกชนมีตอนโยบาย ถานโยบายใดจําเปนตองมีการเจรจากับกลุมธุรกิจเอกชนอยูเสมอ โอกาสที่จะประสบปญหาจะมีเม่ือนําไปปฏิบัติ

Page 287: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

193

6.3.2 ความสนบัสนุนจากทุกฝายท่ีเกี่ยวของ นโยบายท่ีขาดการสนับสนุนจากกลุมผลประโยชนและบุคคลท่ีสําคัญในวงการรัฐบาลและรัฐสภา โอกาสที่จะถูกคัดคานเมื่อนําเขาพิจารณาในกระบวนการทางนิติบัญญัติ 6.3.3 ผลกระทบของนโยบายท่ีมีตอกลุมอาชีพท่ีมีอิทธิพล กลุมอิทธิพลจะใชวิถีทางท้ังการเมืองและเศรษฐกิจเพื่อท่ีจะยับยั้งการปฏิบัติใหเปนไปตามนโยบายดังกลาว 6.3.4 การสนับสนุนจากชนช้ันผูนํา โดยเฉพาะประเทศท่ีกําลังพัฒนาหากการสนับสนุนจากชนช้ันผูนาํ โอกาสนํานโยบายไปปฏิบัติก็เกดิข้ึนไดยาก 6.3.5 การสนับสนุนจากส่ือมวลชน นโยบายท่ีขาดการสนับสนุนจากส่ือมวลชนมักประสบปญหาในทางปฏิบัต ิ 6.3.6 การสนับสนุนจากผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งวาชอบหรือไมกับนโยบายน้ัน .

6.4 ความเปนไปไดทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีเกิดขึ้นเร็วและแตละคร้ังจะสงผลตอการปฏิบัติใหเปนไปตามนโยบาย เทคโนโลยีที่จะนําไปใชในการปฏิบัติตามนโยบายท่ีวางเอาไว ตองสอดคลองกับสภาวการณหรือภาวะแวดลอมที่จะนํานโยบายไปปฏิบัติ ขอเสนอของนกัวิชาการ ที่ปรึกษาชาวตางประเทศ จะตองนํามาพิจารณาใหรอบคอบเพราะอาจไมสอดคลองกับสภาพการณในประเทศกําลังพัฒนาก็เปนได 6.5 ความพอเพียงของทรัพยากร นโยบายท่ีจะนําไปปฏิบัติใหสําเร็จนั้นตองไดรับการสนับสนุนทางทรัพยากรท้ังดานเงิน คน วัสดุอุปกรณตาง ๆ ซึ่งจะกระทบกับประสิทธิภาพของนโยบาย

6.6 ลักษณะของหนวยงานท่ีนํานโยบายไปปฏิบตั ิโครงสรางของหนวยงานท่ีนํานโยบายไปปฏิบัติจะมีสวนอยางมากตอความสําเร็จหรือลมเหลวของนโยบายนั้น ซ่ึงพิจารณาไดเปน 6.6.1 ประเภทของหนวยงาน หนวยงานท่ีมีกําลังคน ทรัพยากรอื่น ๆ พรอมอยูแลว มีโอกาสที่นโยบายจะประสบความสําเร็จในการนําไปปฏิบัติมากกวาหนวยงานท่ีไมพรอม 6.6.2 โครงสรางและลําดับขั้นการบังคับบัญชา หนวยงานขนาดเล็กท่ีมีระดับช้ันการบังคับบัญชานอยจํานวนผูที่อยูใตบังคับบัญชามาก จะมีโอกาสท่ีจะประสบความสําเร็จในการนํานโยบายไปปฏิบัติมากกวาหนวยงานขนาดใหญที่มีระดับช้ันและสายการบังคับบัญชามากแตผูใตบังคับบัญชานอย 6.6.3 ความสัมพันธกับหนวยงานท่ีกําหนดนโยบาย ความสัมพันธอยางไมเปนทางการ ระหวางหนวยงานท่ีกําหนดและหนวยงานท่ีนํานโยบายไปปฏิบัติ ถาความสัมพันธมีมากโอกาสความสําเร็จก็จะมีมากดวย

Page 288: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

194

6.7 กลไกภายในหนวยงานหรือระหวางหนวยงานท่ีนํานโยบายไปปฏิบัติ 6.7.1 จํานวนหนวยงานท่ีเก่ียวของ หากจํานวนหนวยงานท่ีเก่ียวของมีมากข้ึนเทาใด ปญหาในเร่ืองการประสานงานจะมีมากขึ้น และหากไมสามารถประสานกันไดโอกาสท่ีนโยบายจะลมเหลวก็มีมากขึ้น และหากไมประสานกันไดโอกาสท่ีนโยบายจะลมเหลวก็มีมากขึ้น 6.7.2 จํานวนจุดตัดสินใจ จํานวนจุดตัดสินใจของนโยบายถามีมากขึ้นเทาใดความลาชาในการปฏิบัติก็มีมากข้ึนเทานั้น 6.7.3 ความสัมพันธด้ังเดิมของหนวยงายที่รวมปฏิบัติใหเปนไปตามนโยบาย ถารวมมือกันดีก็จะทําใหนโยบายสามารถนําไปปฏิบัติไดผลสําเร็จ ตรงกันขามกับความขัดแยงด้ังเดิมซึ่งถามีก็จะนําไปสูความลมเหลว 6.7.4 การแทรกแซงของหนวยงานระดับนโยบาย อาจประสบปญหาหากถูกแทรกแซงจากหนวยงานระดับบนมากเกินไป 6.8 ทัศนคติของผูท่ีนํานโยบายไปปฏิบัติ นโยบายท่ีขัดกับความรูสึกพื้นฐานหรือผลประโยชน ของผูปฏิบัติ อาจไดรับการคัดคานหรือปฏิบัติอยางไมเต็มใจ ทัศนคติที่อาจสงผลกระทบตอความสําเร็จหรือลมเหลวของนโยบายพิจารณาไดดังนี้ 6.8.1 ทัศนคติที่มีตอวัตถุประสงคของนโยบาย นโยบายท่ีผูปฏิบัติจะนําไปปฏิบัติไดดีตองเปนนโยบายท่ีผูปฏิบัติเขาใจเห็นดวย และมีความรูสึกผูกพัน 6.8.2 ผลกระทบท่ีจะมีตอพฤติกรรมของผูนํานโยบายไปปฏิบัติ นโยบายท่ีมีผลใหผูปฏิบัติ ตองเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปจากแนวคิดท่ีเคยปฏิบัติเปนเวลาชานาน มักประสบความลมเหลว 6.8.3 ความขัดแยงที่มีตอคานิยมของผูนํานโยบายไปปฏิบัติ ถาผูนํานโยบายไปปฏิบัติไมเห็นดวยกับนโยบาย หรือเลือกปฏิบัติเฉพาะสวนท่ีไมขัดตอคานิยมท่ีตนยึดถือ โอกาสท่ีจะทําใหนโยบายลมเหลวก็สูง 6.8.4 ผลกระทบท่ีมีตองาน อํานาจ ศักด์ิศรี และผลประโยชนของผูนําเอานโยบายไปปฏิบัติ ผูนํานโยบายไปปฏิบัติมักจะหลีกเลี่ยง หรืองดเวนไมปฏิบัติตามนโยบายท่ีขัดกับผลประโยชนของตน

สรุป นโยบายเปนสิ่งที่มีความสําคัญ เพราะนโยบายเปนเคร่ืองบงช้ีทิศทางการบริหาร และเปนขอมูลท่ี

ผูบริหารพิจารณาใชเพื่อการตัดสินใจและสั่งการ ลักษณะท่ีดีของนโยบายควรมีลักษณะสอดคลองกับวัตถุประสงคของ ตองกําหนดขึ้นจากขอมูลท่ีเปนจริง มีกลวิธีและจัดสรรทรัพยากรใหเหมาะสมตอการดําเนินงานเพื่อสนองหรือสงผลประโยชนใหกับบุคคลโดยสวนรวม ตองเปนถอยคําหรือขอความท่ี

Page 289: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

195

การพัฒนาหรือนโยบายหลักการจัดทําแผนพัฒนาฯ ต้ังแตฉบับท่ี 4 ถึงปจจุบัน เนนการพัฒนาใน 5 เร่ือง ดวยกันคือ 5.1 ฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ 5.2 เรงการกระจายรายไดเพื่อลดชองวางของรายได 5.3 เพิ่มการมีงานทําและยกระดับความเปนอยู หรือคุณภาพชีวิตของประชากรใหดีขึ้น 5.4 อนุรักษและบริหารทรัพยากรหลัก เชน ปาไมและท่ีดิน ใหดีขึ้น 5.5 เพิ่มขีดความสามารถในการปองกันประเทศ โดยเฉพาะการสนับสนุนความม่ันคงในบางพื้นท่ี นโยบายทางดานการตามแผนพัฒนาฯฉบับท่ี 9 ที่ผานมาของประเทศไทย สรุปไดดังนี้ นโยบายการใหความชวยเหลือดานการผลิต ไดแก นโยบายการจัดหาท่ีดินทํากินใหแกเกษตรกร การพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเกษตร นโยบายการอุดหนุนปจจัยการผลิต นโยบายการพัฒนาองคกรและสถาบันการเกษตรและนโยบายสินเช่ือการเกษตร นโยบายดานการตลาดและราคา เชน นโยบายพยุงราคาหรือการประกันราคา นโยบายการจายเงินชดเชยใหผูผลิต นโยบายการจัดต้ังมูลภัณฑกันชน นโยบายการรับจํานําผลผลิต และการแกปญหาราคาพืชอยางเปนระบบ

นโยบายการคาระหวางประเทศ เชน นโยบายดานการสงออกมีทั้งมาตรการทางภาษีและมิใชภาษี และนโยบายดานการนําเขา การนํานโยบายตาง ๆ ไปใช ปจจัยท่ีกําหนดความสําเร็จหรือลมเหลวของการนํานโยบายไปปฏิบัติ จะประกอบไปดวย ลักษณะของนโยบาย, วัตถุประสงคของความเปนไปไดทาง ความเปนไปไดทางเทคโนโลยี ความพอเพียงของทรัพยากร ลักษณะของหนวยงานท่ีนํานโยบายไปปฏิบัติ กลไกภายในหนวยงานหรือระหวางหนวยงานท่ีนํานโยบายไปปฏิบัติและทัศนคติของผูที่นํานโยบายไป

************************************

Page 290: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

196

แบบฝกหัด หนวยท่ี 7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับระบบธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ********************************************************************************* 1. นโยบายการเกษตร หมายถึง .........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2. นโยบายมีความสําคัญตอการบริหารองคการ อยางไร ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. การกําหนดนโยบาย ประกอบดวยข้ันตอนท่ีสําคัญอะไรบาง ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 291: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

197

4. นักศึกษาจงสรุปนโยบายการเกษตรในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับท่ี 9 (2545-2549) ท่ีผานมา ประเทศไทยเราไดกําหนดแนวการพัฒนาการเกษตรในดานใดบาง ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 292: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

198

5. ปจจัยท่ีกําหนดความสําเร็จหรือความลมเหลวในการนํานโยบายไปปฏิบัติ มีอะไรบาง ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

*************************************

Page 293: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

199

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยที่ 7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับระบบธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพ่ือประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเห็นวาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว1. นโยบายเกษตร หมายถึง

ก. แนวทางพัฒนาการเกษตร การผลิต จําหนายและบริการ ข. แนวทางพัฒนาการเกษตร เพื่อชวยเหลอื การสงออก ค. แนวทางพัฒนาการเกษตรท่ีมีวัตถุประสงค และเปาหมาย ตลอดจนระยะเวลา ดําเนินงานโดยแนชัด ง. แนวทางพัฒนาการเกษตร เพื่อลดตนทุน และการแกปญหาดานการตลาด

2. หลักการ วิธีปฏิบัติ ถือเปนแนวดําเนินการของ ก. โครงการ ข. แผนการ ค. โครงงาน ง. นโยบาย

3. ขอใดไมตรงกับนโยบายทีด่ี ก. ชวยสนับสนุนใหมีการตัดสินใจท่ีถูกตอง ข. เปนการควบคุมข้ันพื้นฐานของการ บริหารงาน ค. ชวยใหสามารถใชเปนหลักประกันการกู เงินของสถาบันการเงินได ง. ทําใหเกิดความแนนอนและการ ประสานงานในการปฏิบัติงาน

4. ความสําคัญนโยบายจะชวยทําให ก. จะชวยใหบุคลากรทุกระดับช้ันใน องคการเขาใจถึงภารกิจของหนวยงาน ข. จะชวยทําใหประหยัดท้ังการเงิน เวลา บุคลากรรวมถึงศักยภาพของบุคลากรดวย ค. จะชวยสนับสนุนสงเสริมการใชอํานาจ ของผูบริหารใหเปนไปโดยถูกตอง ง. ถูกทุกขอ

5. ขอใด ไมจัดวาเปนนโยบายที่ดี ก. เปนจุดศูนยประชาสัมพันธ ข. ชวยใหการบริหารโครงสรางขององคการ ไปอยางราบรื่น ค. อยูในคลุมไปถึงเหตุการณท่ีจะเกิดข้ึนใน อนาคตดวย ง. อยูในขอบเขตุวัตถปุระสงคและยืดหยุนงาย

6. จงจัดลําดับขั้นตอนเปนกระบวนการ การกําหนดนโยบาย

ก. กําหนด – อนุมัติ – นําไปปฏิบัติ – ประเมิน - และพัฒนา ข. กําหนด – อนุมัติ – ประเมิน – นําไป ปฏิบัติ - และพัฒนา ค. ประเมิน – กําหนด - อนุมัติ – นําไป ปฏิบัติ – และพัฒนา

ง. ประเมิน – อนุมัติ – กําหนด - นําไปปฏิบัติ - และพัฒนา

Page 294: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

200

7. การแกปญหาความยากจนอยางยั่งยืนและพักชําระหนี้เกษตรกร จัดอยูในลําดับขั้นตอนใด

ก. กําหนดนโยบาย ข. อนุมัตินโยบาย ค. การประเมินนโยบาย ง. การนํานโยบายไปปฏิบัต ิ

8. แผนพัฒนาฉบับท่ี 9 (2544-2549) ไดสรุปถึงนโยบายการเกษตรในดานบาง

ก. นโยบายการใหความชวยเหลือดานการ ผลิต ข. นโยบายดานการตลาดและราคา ค. นโยบายการคาระหวางประเทศ ง. ถูกทุกขอ

9. การจัดหาท่ีดินทํากินใหแกเกษตรกร โดยการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมเราสามารถจัดหาไดจากแหลงใดบาง

ก. ท่ีดินในสวนของรัฐ ข. ท่ีดินท่ีมีคนมอบให ค. ท่ีดินในเอกชน ง. ถูกท้ังขอ ก และ ขอ ค

10. ปญหาท่ีพบสวนใหญการปฏิรูปท่ีดนิเพื่อเกษตรกรรม ในการจัดท่ีดินของเอกชน จะเกี่ยวของกบัอะไรมากท่ีสุด

ก. ท่ีดินนอย ข. ท่ีดินมีราคาแพง ค. ท่ีดินไมเหมาะแกการทําการเกษตร ง. ท่ีดินอยูหางไกลจากเสนทางคมนาคม

11. ปจจุบันการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม บทบาทของส.ป.ก. ท่ีเห็นเดนชัดมากท่ีสุด คือ

ก. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ ใน เขต ส.ป.ก. ข. จัดหาที่ดนิทํากินในพ้ืนท่ีของรัฐ ค. การรับรองสิทธิท่ีทํากินท่ีไมถูกตอง ตามกฎหมาย ง. สรางระบบเสนทางคมนาคมเขาใน พื้นที่ ส.ป.ก.

12. นโยบายการสนับสนุนปจจัยการผลิตทางการเกษตรรัฐบาลไดเนนดานใดมากท่ีสุด

ก. การสนับสนุนใหน้ํามันเช้ือเพลิงมีราคา ต่ําสุด ข. การอุดหนนุปุยเคมีในเวลาท่ีตองการ และราคาตํ่าพอควร ค. การอุดหนนุยาปราบศัตรูพืชในเวลาท่ี ตองการและราคาตํ่าพอควร ง. การอุดหนนุอาหารสัตวในเวลาท่ี ตองการและราคาตํ่าพอควร

13. แหลงสถาบันการเกษตรของเกษตรกร องคการใด ท่ีเนนการเปนเจาของและสงเสริมหลักประชาธิปไตย

ก. สหกรณการเกษตร ข. องคการตลาดเพ่ือเกษตรกร ค. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ ง. กองทุนสงเคราะหเกษตรกร

Page 295: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

201

14. นโยบายท่ีรัฐสงเสริมและพัฒนาการจดัต้ังสหกรณการเกษตร และผลไมสําเร็จเทาท่ีควรเนื่องมาจาก

ก. ขาดเงินทุนดําเนินการ ข. การจัดต้ังไมไดอยูบนพื้นฐานท่ีแทจริง ของเกษตรกร ค. ทําเลที่ตั้งขององคการไมเหมาะสม ง. ขาดการสนบัสนุนสงเสริมจากเจาหนาท่ี ของรัฐ

15. สถาบันเกษตรกรใดท่ีมีรูปแบบการดําเนินกิจกรรมเหมือนสหกรณการเกษตรและพรอมท่ีจะเปล่ียนเปนสหกรณฯได

ก. กลุมเกษตรกร ข. องคการตลาดเพื่อเกษตรกร ค. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ ง. กองทุนสงเคราะหเกษตรกร

16. นโยบายดานการตลาดและราคาของรัฐบาล ท่ีนํามาแกปญหารักษาเสถียรภาพของราคา คือ

ก. การพยุงราคาหรือประกนัราคา ข. การจายเงินชดเชยใหกับผูผลิต ค. การจัดต้ังมูลภัณฑกันชน ง. การรับจํานาํผลผลิต

17. การรับซ้ือผลผลิตเก็บไว เม่ือผลผลิตออกสูตลาดมากและระบายเม่ือผลผลิตออกมานอยเปนนโยบาย ในขอใด

ก. การพยุงราคาหรือประกนัราคา ข. การจายเงินชดเชยใหกับผูผลิต ค. การจัดต้ังมูลภัณฑกันชน ง. การรับจํานาํผลผลิต

18. หนวยงานใดท่ีมีสวนเก่ียวของกับการรับจํานําผลผลิต

ก. กลุมเกษตรกร ข. องคการตลาดเพ่ือเกษตรกร ค. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ ง. กองทุนสงเคราะหเกษตรกร

19. นโยบาย การเก็บคาพรีเม่ียมในอดีตและปจจุบันไดยกเลิกไปแลว รัฐนํามาใชกับผลผลิตอะไร

ก. ยางพารา ข. ขาว ค. ไกแปรรูป ง. ขาวโพด

20. ปจจัยอะไรบาง ท่ีกําหนดความลมเหลว ของการนํานโยบายไปปฏิบัติ

ก. วัตถุประสงค ข. ความเปนไปไดทางการเมือง ค. ความเปนไปไดทางเทคโนโลยี ง. ถูกทุกขอ

********************************

Page 296: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

202

ใบงานท่ี 7 หนวยท่ี 7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเกีย่วของกับระบบธุรกิจเกษตร

**************************

เร่ือง นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายที่เก่ียวของกับระบบธุรกิจเกษตร

จุดประสงคการเรียนรู 1. ผูเรียนสามารถอธิบายใหเหตุผล ถึงผลกระทบนโยบายของรัฐบาลที่การนํามาใชในการแกไขปญหาเศรษฐกิจ

และสังคมได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รับฟงคนอื่น เปนผูนําและผูตามที่ดี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินัยในตนเอง ความซื่อสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวิชาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเรื่องที่เก่ียวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 2. แบบประเมินการมีสวนรวม

ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน 1. แบงกลุมผูเรียน 4-5 คน/กลุม 2. มารับกรณีตัวอยางการกําหนดนโยบาย พรอมกระดาษ A4 ที่ครูผูสอน 3. รวมกันวิเคราะหศึกษาในดานนโยบาย 4. นําผลงานมาสรุปหนาช้ันเรียน 5. สงผลงาน 6. ผูสอนและผูเรียนรวมกันประเมินผลงาน

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังสื่อและตําราเก่ียวกับการบริหารจัดการทั่วไป

******************************

Page 297: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

203

กรณีตัวอยาง เรื่อง การกําหนดนโยบาย

หนวยท่ี 7 **************************

ตามท่ีประเทศไทยเราประสบปญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนต้ังแตป 2540 เปนตนมานั้น ทําใหเศรษฐกิจทุกภาคสวนของประเทศไทยมีปญหาตามกันมาเปนลูกโซ เชน เกิดปญหาการวางงาน ธุรกิจบางแหงลมละลายหรือผลิตแลวขายไมได สินคาไมสามารถสงออกไดตามเปาหมาย เศรษฐกิจเกิดการชะลอตัว โดยเฉพาะภาคการเกษตรของไทยเราก็สงผลกระทบตามมาดวยเชนเดียวกนั ภายใตในรัฐบาลการบริหารงานของรัฐบาล พันตํารวจโททักษิณ ชินวัตรท่ีเปนนายกรัฐมนตรีขณะนัน้ ไดกําหนดนโยบายเรงดวนเพื่อการแกไขปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ท้ังภาคเศรษฐกิจและสังคม เชน นโยบายพักชําระหนี้ใหกับเกษตรกรรายยอยเปนเวลา 3 ป นโยบายจัดตั้งกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงละ 1 ลานบาท เพื่อเปนแหลงเงินทุน นโยบายจัดตัง้ธนาคารประชาชน เพื่อกระจายโอกาสการเขาถึงแหลงเงินใหกบัประชาชนผูมีรายไดนอย นโยบายจัดตัง้ธนาคารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก เพื่อพัฒนาผูประกอบการเดิมและเพ่ิมจํานวนผูประกอบการใหมอยางเปนระบบ นโยบายจัดตัง้บรรษัทกลางในการบริหารสินทรัพย เพื่อดําเนินการใหหนีท่ี้ไมกอใหเกดิรายได นโยบายพัฒนารัฐวิสาหกิจ ใหเปนองคกรหลักในการกอบกูเศรษฐกิจและสรางรายไดใหกบัประเทศ นโยบายสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนา เพื่อลดรายจายโดยรวมของประเทศ และประชาชนในการดแูลรักษาสุขภาพ โดยเสียคาใชจาย 30 บาทตอคร้ัง และสรางโอกาสในการเขาถึงบริการสาธารณสุขท่ีไดมาตรฐานอยางท่ัวถึงและเทาเทียมกัน นโยบายเรงจัดตัง้สถานบําบัดผูตดิยาเสพติดควบคูไปกับการปราบปรามและปองกัน

ในปจจุบัน ตั้งแต 19 กันยายน 2549 เปนตนมา รัฐบาล พลเอกสุรายุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี ไดนํายุทธศาสตรอยูดีมีสุข และโครงการพัฒนาหมูบาน/ชุมชนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช

จากขอความดงักลาวขางตน นักศึกษาท่ีเรียนเน้ือหาเร่ืองนโยบายของรัฐบาลในรายวชิาการจัดการธุรกิจการเกษตร นกัศึกษาเห็นดวยหรือไมเห็นดวยกับนโยบายดงักลาวท้ังสองรัฐบาลในการนํามาแกไขปญหา วิเคราะหใหเหตุผล

*********************************

Page 298: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

204

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 7 นโยบายของรัฐบาลและกฎหมายท่ีเกีย่วของกับระบบธุรกิจเกษตร

*********************************** ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ตอบ ค ง ค ง ข ก ก ง ง ข

ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ตอบ ค ข ก ข ก ก ค ค ข ง

******************************************

Page 299: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 8 เร่ือง การเขียนแผนธุรกิจเกษตร

****************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลว ผูเรียนสามารถ 1. บอกความหมายแผนธุรกิจได 1. บอกความสําคัญของแผนธุรกิจได 2. อธิบายลักษณะของแผนท่ีดีได 3. บอกถึงสวนประกอบของแผนธุรกิจได 4. เขียนแผนธุรกิจได

สาระสําคัญ แผนธุรกิจ หมายถึง แผนงานทางธุรกิจท่ีแสดงถึงกิจกรรมตาง ๆ ที่ตองปฏิบัติในการลงทุน

ประกอบการ โดยมีจุดเร่ิมตนจะผลิตสินคาหรือบริการอะไร มีกระบวนการปฏิบัติอยางไรบาง และผลการปฏิบัติจะออกมาไดมากนอยแคไหน ใชงบประมาณและกําลังคนเทาไร เพื่อใหเกิดเปนสินคาและบริการแกลูกคาและจะบริหารอยางไรธุรกิจถึงจะอยูรอด

องคประกอบสําคัญของแผนธุรกิจ ประกอบดวย 1. บทสรุปของผูบริหาร 2. บทนําและการบริหารโครงการ 3. แผนการตลาด 4. แผนการผลิต 5. แผนการเงิน

การเขียนแผนธุรกิจ สวนประกอบของแผนธุรกิจประกอบดวย 1. ปกหนา 2. คํานํา

3. สารบัญ 4. บทสรุปของผูบริหาร

Page 300: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

206

5. บทนําและการบริหารโครงการ 6. การวิเคราะหสถานการณและปจจัยแวดลอม 7. แผนการตลาด 8. แผนการผลิต 9. แผนการเงิน 10. แผนสํารองฉุกเฉิน

เน้ือหา

1. ความหมายและความสําคัญของแผนธุรกิจ

แผนธุรกิจ (Business Plan) เปรียบเสมือนเข็มทิศ ท่ีบอกทางเราวาควรจะเดินไปในทิศทางใดตลอดจนบอกขั้นตอนระยะเวลาตาง ๆ วาจะไปสูจุดมุงหมายอยางไร ผูประกอบการใหมในยุคปจจุบันพึงตระหนักและจําเปนตองรูและเขาใจอยางกระจางแจง ในการเขียนแผนธุรกิจท่ีเปนจริงและสามารถปฏิบัติได โดยการนําเอาความคิดท่ีมีอยูเขียนเปนแผนธุรกิจ เพื่อใชเปนแนวทางในการบริหารจัดการและการวางแผนดําเนินธุรกจิอยางมีทิศทาง

1.1 ความหมายของแผนธุรกิจ แผนธุรกิจ หมายถึงแผนงานทางธุรกิจท่ีแสดงถึงกิจกรรมตาง ๆ ท่ีตองปฏิบัติในการลงทุนประกอบการ โดยมีจดุเร่ิมตนจะผลิตสินคาหรือบริการอะไร มีกระบวนการปฏิบัติอยางไรบาง และผลการปฏิบัติจะออกมาไดมากนอยแคไหน ใชงบประมาณและกําลังคนเทาไร เพื่อใหเกิดเปนสินคาและบริการแกลูกคา และจะบริหารอยางไรธุรกิจถึงจะอยูรอด

1.2 ความสําคญัของแผนธุรกิจ 1.2.1 มีความสําคัญตอการเร่ิมตนธุรกิจ เพราะรายละเอียดในแผนธุรกิจจะชวยใหผูประกอบการมีเปาหมายและแนวทางในการคิดท่ีชัดเจน มีความแนวแนตอการใชทรัพยากร และมีความพยายามเพื่อท่ีจะไปสูเปาหมายท่ีกําหนดไว 1.2.2 เปนเคร่ืองมือในการแสวงหาทุนจากผูรวมลงทุน จากกองทุนรวมลงทุน และหรือจากสถาบันการเงินตาง ๆ 1.2.3 เปนเสมือนพิมพเขียว ท่ีใหรายละเอียดของกิจกรรมตาง ๆ ท้ังการจัดหาเงินทุนการพัฒนาผลิตภณัฑ การตลาด และอ่ืนๆ ในการบริหารกจิการใหม รวมท้ังยังใชเพื่อกําหนดการปฏิบัติงานตอเนื่องของกิจการในอนาคตอีกดวย

Page 301: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

207

เบเกอรรี่นาทาน

สุกรพันธุดี

ภาพท่ี 40 สวนประกอบท่ีสําคัญของการเขียนแผนธุรกิจ

วัตถุประสงคของการทําแผนธุรกิจ 1.3 1.3.1 เปนคูมือแผนงานในการลงทุนและการประกอบการ 1.3.2 ใชเปนเอกสารประกอบการกูเงินตาง ๆ 1.3.3 เพื่อใชตรวจสอบผลจากการลงทุนของธุรกิจ

1.4 องคประกอบสําคัญของแผนธุรกิจ 1.4.1 บทสรุปของผูบริหาร 1.4.2 บทนําและการบริหารโครงการ 1.4.3 แผนการตลาด 1.4.4 แผนการผลิต 1.4.5 แผนการเงิน

Page 302: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

208

1.5 ลักษณะของแผนธุรกิจท่ีดี แผนธุรกจิท่ีดีเม่ืออานแลวจะตองตอบคําถามเหลานี้ได 1.4.1 การกอต้ังธุรกิจเปนรูปรางชัดเจนเพยีงใด เสร็จสมบูรณแลวหรือไม 1.4.2 ธุรกิจนีน้าลงทุนหรือไม 1.4.3 ธุรกิจมีแนวโนมท่ีจะประสบความสําเร็จตั้งแตเม่ือแรกตั้งมากนอยเพียงใด 1.4.4 ธุรกิจนีมี้ความไดเปรียบในการแขงขันในระยะยาวมากนอยเพยีงใด 1.4.5 สินคาท่ีจะผลิตมีวิธีการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพเพียงใด 1.4.6 สินคาท่ีจะผลิตสามารถวางตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพเพยีงใด 1.4.7 วิธีการผลิตและการวางตลาดสินคามีทางเลือกอ่ืน ๆ ท่ีประหยัดไดมากกวาหรือไม 1.4.8 หนาท่ีตาง ๆ เชน การผลิต การจําหนาย การจดัการทางการเงิน การจัดการคน มีการจัดการท่ีดแีละเหมาะสมเพียงใด 1.4.9 จํานวนและคุณภาพของพนักงานท่ีตองการมีเพียงพอหรือไม ในการดําเนินธุรกิจไมวาจะเปนขนาดเล็กหรือใหญ ถามีการเร่ิมตนท่ีดีแลว ก็เทากบัวาความสําเร็จอยูแคเอ้ือม การทําแผนธุรกิจจงึเปนส่ิงสําคัญยิ่ง และเปนจดุเร่ิมตนท่ีช้ีใหเห็นถึงเปาหมาย ความพรอมในการเร่ิมตนธุรกิจ ความม่ันใจและทิศทางการดําเนนิงานใหบรรลุตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายท่ีตั้งไว

2. การเขียนแผนธุรกิจ แผนธุรกิจเปนยุทธศาสตรของผูประกอบการ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูประกอบการรายใหมท่ีมี

แนวคิดสรางสรรค ตองการท่ีจะนําสินคาหรือบริการใหม ๆ จากความคิดของตนเองมาขยายตอเปนธุรกิจ เพื่อตองการหาผูรวมลงทุนผูสนับสนุนดานเงินทุน โดยจะตองมีแผนธุรกิจนาํเสนอประกอบการเจรจา หรือการเสาะหาตลาดใหมท่ีเปนลูกคารายใหญ แผนธุรกิจจะเปนส่ิงท่ีนําเสนอในการติดตอธุรกิจไดเปนอยางดี การวางแผนธุรกิจสําหรับผูประกอบการใหม ทานตองมีแนวทางการทํางานท่ีชัดเจน เพื่อสรางความเช่ือม่ันใหเกดิกับตนเอง ตลอดจนสรางความเช่ือถือใหกับหางหุนสวนและสถาบันการเงินท่ีจะขอกู

2.1 สวนประกอบของแผนธุรกิจ สวนประกอบของแผนธุรกิจประกอบไปดวย 2.1.1 ปกหนา 2.1.2 คํานํา

2.1.3 สารบัญ 2.1.4 บทสรุปของผูบริหาร 2.1.5 บทนําและการบริหารโครงการ 2.1.6 การวิเคราะหสถานการณและปจจัยแวดลอม

Page 303: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

209

2.1.7 แผนการตลาด 2.1.8 แผนการผลิต 2.1.9 แผนการเงิน 2.1.0 แผนสํารองฉุกเฉิน

2.2 วิธีการเขียนแผนธุรกิจ กอนเร่ิมตนเขียนแผนธุรกจิ ลองต้ังคําถามงาย ๆ ในใจดงัตอไปนี ้- เปาหมายการทําธุรกิจ คืออะไร - เรามีความถนัดอะไร - เราอยูในธุรกิจอะไร - เราจะขายสินคาหรือใหบริการอยางไร - ตลาดหรือแหลงท่ีขายเราอยูไหน - ใครเปนผูซ้ือ หรือเปนลูกคาของเรา - ใครเปนคูแขงของเรา - แผนการขายของเราเปนอะไร - เราตองการจาํนวนเงินลงทุนเทาไหร - เราจะผลิตอะไร - เราจะจัดองคกรเพื่อบริหารธุรกิจอยางไร - เราจะตองทบทวนแผนธุรกิจเม่ือไร - หากประสบปญหา จะแกไขอยางไร หรือจะขอความชวยเหลือจากท่ีไหน

ขอควรพิจารณา ขอควรระมัดระวังในการเขียนแผนธุรกิจท่ีสําคัญ คือ ควรเขียนแผนดวยตนเองเพราะจะทําใหทราบขอมูลท่ีชัดเจน พยายามทําแผนธุรกิจใหส้ันแตเขาใจงาย วธีิการเขียนแผนธุรกิจเกษตรควรปฏิบัติตามรายละเอียดดังนี้

2.1.1 ปกหนา ปกหนาของแผนธุรกิจควรมีความชัดเจนท่ีระบุวาเปนเอกสารอะไร

ช่ือแผนงานโครงการเพื่อทําใหเกิดความนาสนใจ และสรางความประทับใจในการรับเอกสาร ซ่ึงประกอบไปดวย ช่ือแผนธุรกิจ ช่ือโครงการในการดําเนินธุรกจิ ใครเปนเจาของแผนและสถานท่ีติดตอ โทรศัพทสําหรับติดตอ 2.1.2 คํานํา เปนการเขียนถึงวัตถุประสงคของการจัดทําแผนธุรกิจนีข้ึ้นมา โดยกลาวถึง

เนื้อหาในแผนวามีรายละเอียดเก่ียวกับดานใดบาง และกลาวขอบคุณบุคคลหรือหนวยงานท่ีใหการสนับสนุนในการจัดทําแผนนี้ใหสําเร็จลุลวง 2.1.3 สารบญั เปนการเขียนรายละเอียดของหัวขอ บทท่ี สวนตาง ๆ ของบทท่ีจะ

ปรากฏแผนธุรกิจท้ังหมด เพื่อใหผูอานแผนธุรกิจคนหาแหลงขอมูลไดอยางรวดเร็ว ส่ิงท่ีพึงระมัดระวัง คือ แตละบทตองระบุเลขแตละหนาใหตรงกับท่ีจัดเรียงไว เพื่อความสะดวกในการอานรายละเอียดท่ีควรมีในสารบัญมีดังนี ้

1) รายละเอียดของหัวขอตาง ๆ ท่ีมีอยูในแผน 2) เลขหนาแตละหัวขอ

3) รายละเอียดการระบุเอกสารท่ีสําคัญ

Page 304: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

210

2.1.4 บทสรปุของผูบริหาร เปนสวนท่ีสรุปใจความสําคัญของแผนธุรกิจท้ังหมด และ

ตองเปนเอกสารท่ีสมบูรณในตัวเอง โดยจะช้ีใหเหน็ประเด็นความสําคัญ ไดแก มีโอกาสเกิดข้ึนไดจริงในตลาดธุรกิจท่ีกําลังคิดจะทํา สนิคาและบริการที่จะทํานั้นสามารถใชโอกาสในตลาดใหเปนประโยชนได ดังนัน้บทสรุปของผูบริหารจึงมีความจําเปนตองเขยีนใหเกิดความนาเชือ่ถือ หนักแนน และมีความเปนไปได นอกจากนี้บทสรุปจะตองและกระชับ (ไมควรเกิน 3 หนา) และเปนสวนสุดทายในการเขียนแผนท้ังหมด ประกอบดวยเนื้อหาสําคัญ คือ

1) จะทําธุรกจิอะไร มีแนวคิดเกีย่วกับธุรกิจนั้นอยางไร โดยอธิบายใหเห็นถึง ความสําคัญของสินคา/บริการ

2) โอกาสและกลยุทธ บอกถึงความนาสนใจ ตลอดจนแนวโนมทางธุรกิจท่ีแสดงวาโอกาสนั้นเปดทางให

3) กลุมลูกคาเปาหมาย อธิบายถึงลักษณะทางการตลาด กลุมลูกคาหลัก การวางแผนเขาถึงลูกคา

4) ความไดเปรียบเชิงการแขงขันของธุรกิจ ท้ังดานตัวผลิตภัณฑ / บริการ และความไดเปรียบตอผูแขงขัน

5) ทีมผูบริหาร สรุปถึงความรู ความสามารถ ประสบการณและทักษะของผูท่ีมีผลกระทบตออนาคตและความสําเร็จของธุรกิจ โดยควรจดจําไมเกิน 3-5 คน

6) แผนการเงิน / การลงทุน โดยระบุถึงเงินลงทุนวาจะทําอะไร ผลตอบแทนของการลงทุนจะเปนเทาไร

2.1.5 บทนําและการบรหิารโครงการ ในการจดัทําบทนํา ผูประกอบการจะตอง

กลาวถึงส่ิงตอไปนี้ 1) ความเปนมา ใหกลาวถึงความเปนมาของการทําโครงการนั้น ๆ ในภาพรวมของ

ระบบเศรษฐกจิวามีความสําคัญและเกีย่วพนัเช่ือมโยง รวมท้ังผลกระทบตอเศรษฐกจิและสังคมของทองถ่ิน อําเภอ จังหวดั ประเทศ และการคาระหวางประเทศอยางไร

2) ผูริเร่ิมโครงการและเหตุผลส่ิงจูงใจ กลาวถึงผูริเร่ิมโครงการวาเปนใครประกอบกิจการอะไร มีเหตุผลและส่ิงจูงใจอยางไรถึงกาวเขามาทําโครงการการลงทุนนี้

3) วัตถุประสงคของโครงการ เปนการระบุถึงจุดมุงหมายของการประกอบการในการทําโครงการนี้วา เพื่ออะไร จะไดทราบส่ิงท่ีเราทําอยูไดบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไวหรือไม

Page 305: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

211

4) รูปแบบการดําเนินธุรกิจ ผูประกอบการตองอธิบายถึงรูปแบบของธุรกิจวาจะดําเนินการธุรกิจจดทะเบียนในลักษณะใด เปนเจาของกจิการคนเดยีว หางหุนสวนจาํกัด บริษัทจํากัด บริษัทมหาชน องคกร สหกรณตาง ๆ ท่ีมีฐานะเปนนิตบุิคคล และกลาวถึงหุนสวนท่ีมารวมลงทุน โดยแจงรายช่ือ-นามสกุล อายุ ท่ีอยู อาชีพ โดยละเอียด ตัวอยางเชน

(1) รูปแบบการดําเนินธุรกิจ- โรงงานผลิต, ธุรกิจคาขาย, ธุรกิจบริการ (2) รูปแบบความเปนเจาของ- เจาของคนเดยีว หางหุนสวน บริษัทจํากดั บริษัท

มหาชน (3) จํานวนผูรวมลงทุน 1. ช่ือ-สกุล.........................................................ท่ีอยู................................................

อาชีพ..................................การศึกษา.................................................................. 2. ช่ือ-สกุล.........................................................ท่ีอยู................................................

อาชีพ..................................การศึกษา.................................................................. 5) แผนภูมิแสดงการบริหารองคการ เพื่อแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธของงานตาง ๆ

และสายการบังคับบัญชาและการปฏิบัติงาน การกําหนดหนาท่ีความรับผิดชอบ ตลอดจนการจัดคนเขาทํางาน โดยการกําหนดคุณสมบัติของพนักงานในตําแหนงตาง ๆ ซ่ึงพิจารณาจากวฒุิการศึกษา ประสบการณทํางาน เปนตน

ตัวอยางแผนภูมิแสดงการบรหิารองคการ

พนักงาน..........คน พนักงาน..........คน พนักงาน..........คน

ฝายตลาดและบริการ ฝายการเงิน

Page 306: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

212

คณะกรรมการ ทําหนาท่ีกําหนดนโยบายและพิจารณากลยุทธการดําเนนิงานของธุรกิจ กรรมการผูจัดการทําหนาท่ีบริหารองคกร ดูแลกํากับ ตดิตาม ประเมินผลการทํางานตัดสินใจแกปญหาตาง ๆ ในการประกอบการใหเปนไปตามนโยบายของกรรมการ

ฝายผลิตสินคา ทําหนาท่ีผลิตสินคาท่ีมีคุณภาพ ดูแลความเรียบรอยของโรงงาน ควบคุม ปรึกษาแนะนํา และฝกอบรมพนักงาน ปรับปรุงสินคา ใหมีความ เหมาะสมตอการใชงานมากขึ้น

ฝายตลาดและบริการ ทําหนาท่ีพยากรณตลาดและนําสินคาเสนอขายลูกคา รวมท้ังการสงเสริมการขายตาง ๆ ติดตามรายงานสถานการณตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับธุรกิจ และรายงานใหผูบริหารทราบ

ฝายการเงนิและธุรการ ทําหนาท่ีดแูลรับ-จายเงิน ตดิตามหน้ี ออกในส่ังซ้ือวัสดุครุภัณฑท่ีใชในการผลิตสินคา และจัดทําระบบบัญชีตามมาตรฐานสากล รวมท้ังทําหนาท่ีประสานกับหนวยงานท้ังภายในและภายนอกในเรื่องท่ีเกีย่วของ อันกอใหเกิดประโยชนตอกิจการและสังคม

2.1.6 การวิเคราะหสถานการณและปจจัยแวดลอม เปนการเอาขอมูลขาวสารตาง ๆ

มาพิจารณาวาองคกรจะสามารถดําเนินธุรกิจไปในทางทิศใด และเม่ือบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนดไวตามสถานการณตาง ๆ ในขณะนั้น สถานการณตาง ๆ จะเปล่ียนแปลงอยูเสมอ ดังน้ันผูบริหารองคการจะตองกําหนดกลยุทธใหสอดคลองกับสถานการณตาง ๆ อยูตลอดเวลา เพื่อใหธุรกิจดําเนินตอไปไดตามวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว ปจจัยในการดาํเนินธุรกิจ 1) ปจจัยภายใน ไดแก ตวัผูประกอบการเอง ดานการจดัการ ดานการตลาด และดานการเงินและการบัญชี 2) ปจจัยภายนอก ไดแก ดานเศรษฐกจิ ดานการแขงขัน ดานทรัพยากร ดานเทคโนโลยี ดานรัฐบาลและกฎหมาย

Page 307: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

213

การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอปุสรรค ( SWOT ANALYSIS ) - วิเคราะหจุดแข็ง (Strengths) เปนปจจัยในองคการธุรกิจ หรือขอไดเปรียบใน

สถานการณตาง ๆ เชน บริษัทมีทรัพยสินมาก สามารถดําเนินธุรกิจไปไดอยางสบาย เปนตน - วิเคราะหจุดออน (Weakness) เปนปจจัยภายในองคการธุรกิจที่ทําใหบริษัทไมสามารถ

บรรลุวัตถุ-ประสงคที่วางไว เชน พนักงานนัดหยุดงาน สนิคามีตนทุนสูงกวาคูแขง เปนตน - วิเคราะหโอกาส (Opportunities) เปนองคประกอบหรือปจจัยภายนอก ที่ชวยให

องคการสามารถดําเนินธุรกิจตามวัตถุประสงคที่วางไวได เชน บริษัทสงออกสินคา ไดรับการสนับสนุนจากรัฐในดานการสงเสริมการสงออก เปนตน

- วิเคราะหอุปสรรค (Threats) เปนปจจัยหรือองคประกอบภายนอกท่ีสงผลใหธุรกิจไมสามารถบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวได เชน บริษัทกอสราง ขาดแคลนไมที่ตองใชในการกอสราง เนื่องจากนโยบายปดปาไมของรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรีชาติชาย เปนตน ตัวอยาง การ SWOT การทําธุรกิจ รานเบเกอรรี

จุดแข็ง ;- มีทําเลท่ีต้ังดี - สินคาท่ีเปนท่ีนิยม ไมตองอาศัยการ

โฆษณามาก

จุดออน ; - เปนรานใหม กลุมเปาหมายยังไม คอยใหความเช่ือถือ

โอกาส ; - เปนธุรกิจที่มีอยูนอยราย อุปสรรค ; - วัตถุดิบมีราคาแพง

2.1.7 แผนการตลาด เปนการศึกษาวิเคราะหที่จะแสดงถึง กระบวนการธุรกิจหรือ

กิจกรรมตาง ๆ ที่มีบทบาทตอการสนองตอบหรือกระตุนเรงเราตอความตองการตอผูบริโภค เพื่อกอใหเกิดการจําหนายสินคาอนัเปนท่ีมาของรายไดในการลงทุน โดยจะมีการศึกษาวิเคราะหเร่ิมจาก

1 ) ผลิตภัณฑ - สินคา/ผลิตภัณฑของโครงการคืออะไร เปนสินคาท่ีผลิตขึ้นใหมเพื่อทดแทนของเดิม ( นําเขา ) ใหเปรียบเทียบ - ลักษณะท่ัวไปของสินคาหรือบริการ จะตองอธิบายถึงลักษณะของผลิตภัณฑ / บริการ ไดแก ลักษณะการใชงาน คุณภาพ อายุการใชงาน ขนาดส ีรูปทรง ฯลฯ มีภาพรวม ๆ อยางไรเม่ือเปรียบเทียบผลิตภัณฑหรือบริการประเภทเดียวกับของผูผลิตรายอื่น สินคาทดแทนกันได รวมท้ังบริการควบกับสินคามีอะไรบาง ตลอดจนลักษณะรูปรางผลิตภัณฑ และลักษณะบรรจุภัณฑ - ช่ือทางการคาและตรายีห่อ ควรมีความเกีย่วของกับลักษณะธุรกิจนัน้ และตองแสดงดวยภาพได

Page 308: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

214

2 ) กลุมลูกคา เปนการบอกถึงกลุมเปาหมายท่ีคาดวาจะซ้ือสินคา/บริการ ของโครงการคือใคร เพศ อายุ รายได มีขนาด(ปริมาณ)เทาไร มาจากท่ีไหน และมีกําลังซ้ือเทาใด โดยแบงลูกคาออกเปน 3 กลุม - กลุมลูกคาตามลักษณะประชากรศาสตร คือ การแบงตามเพศ วยั รายได การศึกษาอาชีพ ศาสนา ประเพณีทองถ่ิน เช้ือชาติ ฯลฯ - กลุมลูกคาตามลักษณะทางดานภูมิศาสตร คือ การแบงตามพ้ืนท่ี เชน ในชุมชนรอบขางใน - นอกเมือง สุขาภิบาล เทศบาล อําเภอ จังหวัด ภาค ประเทศ ตางประเทศ เปนตน - กลุมลูกคาตามพฤติกรรม เปนการแบงตามลักษณะพฤตกิรรมและจิตวทิยาการบริโภค เชน การโฆษณาสินคาใหม การลดราตามเทศกาล รสนิยมในสินคาแฟช่ัน และความผูกพนักับตรายี่หอ เปนตน การวิเคราะหกลุมลูกคาเปาหมาย นับวามีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่งตอการอยูรอดของโครงการ เนื่องจากเปนที่มาของรายไดโครงการ เจาของโครงการจึงตองทราบใหได ขอพิจารณา สินคาแตละประเภทผลิตข้ึนมาเพื่อสนองความตองการของลูกคาเฉพาะกลุมเทานัน้ 3 ) ขนาดของตลาด ความตองการ ภาวการณผลิต/บริการ - ปริมาณความตองการของตลาดรวม( ท้ังหมด ) ( อุปสงค : Demand ) ควรแสดงในเชิงปริมาณ ตวัเลขหนวยชัดเจน ใหกลาวถึงภาพรวมของตลาดผลิตภัณฑวามีลักษณะเปนตลาดอยางไร สินคาอุปโภค บริโภคหรือตลาดเฉพาะ โดยกลาวถึงความเปนมาและแนวโนมในอดตี(ยอนหลัง 3-5 ป ) วามีการเพิ่มข้ึน-ลดลงอยางไร สถานการณปจจุบันเปนอยางไร และดําเนินการคาดการณตอไปในอนาคตวามีโอกาสทางการตลาดอยางไรบาง โดยอาจใชตัวเลขตาง ๆ ท่ีแสดงอัตราการเจริญเติบโตเปรียบเทียบดวย เชน รายไดตอคน รายไดประชาชาติ สถิตินําเขา-สงออก ปริมาณการกอสราง ฯลฯ ซ่ึงตัวเลขเหลานี้จะไดจากหนวยงานตาง ๆ ของภาคราชการ เชน กรมศุลกากร สภาพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ หอการคาไทย สภาอุตสาหกรรมไทยเปนตน นอกจากนี้อาจใชตัวเลขของผูประกอบการเองท่ีทําธุรกิจนั้นมาแลวประกอบขยายเปนสวนโชวใหสถาบันการเงินดูก็ได โดยใชสถานะทางการเงินจากธนาคารมาเปนหลักฐานยืนยนั - การผลิตรวมของสินคานั้นจากแหลงตาง ๆ ( อุปทาน: supply ) ใหกลาวถึงผลผลิตรวมของผลิตภัณฑท้ังระบบวามีปริมาณเทาไร (จํานวนคูแขงหรือผูผลิตท่ีมีอยูแลว ) สินคาทดแทนจะมีผลหรือไม ถามีสินคาทดแทนตองกระทบลักษณะการผลิตของเขาดวย คือ ตองพยายามรูเขา ( คูแขง )

Page 309: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

215

ตัวอยาง ตําบล ก. มี 8 หมูบาน ประชากร รวมประมาณ 1,800 คน ( ขอมูลจากอําเภอ ) มีผูผลิตดังนี้ 1. นายประกอบ ขยันงาน กําลังผลิตหวานเย็นแทง 800 แทง/วนั 2. นายนิพนธ ใจซ่ือ กําลังผลิตหวานเยน็แทง 1,200 แทง/วนั 3. สินคาทดแทนโคลน โพสรีของ บจ. เวลล 15,000 แทง/วัน

ลักษณะตลาดปจจุบันบริษัทเวลลครองตลาดมากท่ีสุด และเปนผูสนองความตองการใหญท่ีสุดเนื่องจากมีการโฆษณาและสินคามีมาตรฐาน ถาโครงการจะผลิต เราจะผลิตสินคาประเภทเดียวกับบริษัทเวลล แตจะเนนดานราคาใหถูกกวา เปนตน 4) ตําแหนงทางการตลาดและสวนแบงการตลาด อะไรเปนขอกําหนด (จุดเดน)ของสินคาทานท่ีคาดวาจะขายได (เหตุผลท่ีลูกคาเลือกซ้ือสินคาของทาน และทานต้ังเปาหมายวาจะมีสวนแบงสักเทาไหรในการเลือกซ้ือสินคาแตละคร้ังของลูกคาจากตลาด ทานไมลืมวามีการแขงขันคอนขางสูง และลูกคาก็สามารถเลือก/ซ้ือสินคาของใครก็ไดโดยท่ัวไปจะกําหนดเปนเปอรเซ็น(%) ซ่ึงจะตองวิเคราะหตลาดท้ังระบบวาผูผลิตรายใหญสุดและรองลงมาเปนใคร ถาเราจะแทรกตลาดเราจะไปแยงลูกคาจากตลาดสวนไหนมา

ก คือ สวนลูกคาของโครงการ ข คือ สวนลูกคาคูแขง ค คือ สวนตลาดท่ียังไมมีใครเขาถึง เจาของโครงการ ก ตองพยายามรักษาสวน ตลาด ก ไว ขณะท่ีตองแยงตลาด ข มาใหได และตองขยายผลิตภณัฑ

ค ก

สูตลาดในขนาดเดียวกนัดวย เพื่อขยายตลาดของตนเอง ขอพิจารณาตองกําหนดสวนแบงตลาดเปาหมายของโครงการใหได เพื่อจะไดเตรียมคาดการขยายกําลังเปาหมายการผลิตในปตอ ๆ ไป 5) ตัง้ราคาสินคา การตั้งราคาสินคาแตละประเภทโดยท่ัวไปมี 3 วิธีหลักดังนี ้ (1) ตั้งราคาจากตนทุนบวกกาํไรท่ีตองการ (2) ตั้งราคาตามคูแขง (3) ตั้งราคาตามความตองการของตลาด

Page 310: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

216

นอกจากนี้การต้ังราคาสินคาท่ีลงทายดวยเลข 9 จะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือสินคาไดมากข้ึน เชน 39, 59, 999 หรือ 190,000 ... เปนตน ขอพิจารณา การตั้งราคาตองคํานึงถึงวิธีการขาย เครดติ ระยะเวลา และผลประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ราคาคือท่ีมาของรายได และเปนตัวช้ีตวัหนึ่งวาโครงการจะประสบความสําเร็จหรือไม? การจําหนายในแตละคร้ัง เจาของโครงการสามารถระบุตัวแทนจําหนาย รานคาปลีกหรือลูกคาโดยตรง(กรณีท่ี 1)ได ระบุไวแนชัดเพื่อผูพิจารณาโครงการจะไดเกิดความม่ันใจวามีลูกคาของโครงการแนนอน และควรแสดงเปนสัดสวนรอยละ (%) ดวยวาปริมาณการจําหนายแตละชองเปนเทาไร ตัวอยาง แผนภูมิชองทางการจําหนาย

ผูผลิต

60%

40%

ตัวแทนจําหนายในประเทศ

ตัวแทนจําหนายตางประเทศ

ผูคาปลีก

ผูคาปลีก

ผูบริโภค 6) การสงเสริมการขายหรือบริการ เปนกระบวนการท่ีจะทําใหสินคาของโครงการเปนท่ีสนใจตอพนักงานขาย( ขององคกร ตัวแทนจําหนายและรานคาปลีก)และผูบริโภค การสงเสริมการขายมี 2 ลักษณะคือ (1) ในระดับผูบริโภค ไดแกการใหสินคาเปลา การลดราคาเปนคร้ังคราว การแถมสินคา (2) ในระดับพนักงานขาย ไดแก การใหสวนลดเพิ่มตามจํานวนสินคา การใหสินคาฟรี การสรางแรงจูงใจ (เกิดการแขงขัน ใหของขวญัพิเศษ) การเล่ือนตําแหนง การแสดงสินคา 7) บทสรุปการตลาด ใหกลาวถึงบทสรุปของการตลาดท่ีกลาวมาท้ังหมด ถึงส่ิงท่ี เปนไปไดหรือไมพรอมเหตุผลประกอบในแตละประเด็น รวมท้ังแผนแสดงยอดการจําหนายท่ีคาดวาจะขายได - ดานความตองการของตลาด มีปริมาณความตองการเทาไร อัตราการเจริญหรือขยายตัวของตลาดมีเทาไร เม่ือเทียบกับการผลิตสนองความตองการในปจจุบัน มีชองวางพอท่ีจะเขาถึงไดมากนอยเพยีงไร

Page 311: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

217

- ชองทางการจําหนาย จะจดัการอยางไร เนนสัดสวนเปนรอยละออกมาวาจะดําเนินการวิธีไหนเปนเทาไร เชน จะดําเนินการขายตรง 20% และขายผานตัวแทนจําหนาย 80% เปนตน - ปจจัยประกอบทางเศรษฐกิจอ่ืน ๆ ท่ีมีสวนแสดงใหเหน็ถึงความเปนไปไดทางการตลาด เชน มีการขอจดทะเบียนต้ังโรงงานเพ่ิมมากขึ้นในชวงเวลาดังกลาว หรือมีการนําเขาจากตางประเทศในปริมาณท่ีเพิม่ข้ึน ฯลฯ เม่ือสรุปแลวใหแสดงแผนการจําหนายท่ีคาดวาจะทําได ดงันี้

แผนขายของโครงการผลิตปมน้ํา/ป หนวย/ชิ้น

ปท่ี รายการ

1 2 3 4 5

ยอดจําหนายสินคา 2,000 2,500 3,000 3,700 4,500

2.1.8 แผนการผลิต เปนการศึกษาถึงความพรอมของการผลิตสินคาเพื่อใหเกิดความคุมคาและสอดคลองกับสถานการณของการลงทุน โดยจะพิจารณาถึงองคประกอบตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เร่ิมต้ังแตขบวนการแปรรูปและผลผลิตท่ีไดดังนี ้

1) ทําเลท่ีตั้ง ทําเลที่ตั้งของโครงการในการสรางโรงงาน/ธุรกิจแตละคร้ัง มีความ สําคัญตอการอยูรอดของกิจการเปนอยางมาก ผูประกอบการตองแสดงท่ีตั้งอยางชัดแจงวาอยูท่ีไหนพรอมแผนท่ีประกอบของพ้ืนท่ี (มีการเตรียมขยายในอนาคตดวยหรือไม) ระดับความสูงของพื้นท่ีดินท่ีใชปรับถม ระยะความยาวการสรางร้ัว ถนน(ท้ังภายในบริเวณและ/หรือภายนอกท่ีตองปรับเขามา)ขอจํากัดทางกฎหมาย เชน เปนท่ีอยูอาศัยหรือไม ระยะความสูงอาคารเปนตน รวมทั้งสังคมรอบขาง ไดแกความเปนอยูของชุมชน ทัศนคติ การยอมรับและระบบสาธารณูปโภค เชน ไฟฟา และน้ําประปา เปนตน ขอพิจารณา ปจจัยการเลือกท่ีตั้งโรงงาน แหลงวัตถุดิบ ตลาด การขนสง แรงงานอุตสาหกรรม ภูมิอากาศ ภมิูประเทศ ภาษี กฎหมายไฟฟา เช้ือเพลิง และนํ้าประปา

2) วัตถุดิบ ในการศึกษาเกี่ยวกับวัตถุดบิจะตองพจิารณาดังนี ้

• คุณภาพ คุณสมบัติและคุณลักษณะของวตัถุดิบท่ีใช มีความแนนอน สมํ่าเสมอ

Page 312: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

218

• ปริมาณท่ีตองใชในการผลิตและราคา • แหลงวัตถุดิบหลัก แหลงสํารองท่ีตองรวบรวมใหเพียงพอ

• วิธีการขนสงจากแหลงวัตถุดบิถึงโรงงาน

• การเก็บรักษาขณะรอการผลิต สภาพการเก็บ ขนาดพืน้และผลกระทบ

• คาใชจายตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับกระบวนการของวัตถุดิบ ขอพิจารณา

• วัตถุดิบท่ีผานการผลิตแลว น้ําหนกั/ปริมาณไมเปล่ียนแปลง ทําเลที่ตั้งอยูระหวางตลาดและแหลงวัตถุดิบ

• วัตถุดิบท่ีผานกระบวนการผลิตแลว น้ําหนัก/ปริมาณมีการเปล่ียนแปลงลดลงอยางมากทําเลท่ีตั้งควรอยูในแหลงวัตถุดิบ วัตถุดิบท่ีหาไดท่ัวไป ทําเลที่ตั้งควรอยูใกลตลาด •

3) ขั้นตอนการผลิตหรือบริการ ใหกลาวอธิบายถึงข้ันตอนการผลิตวาประกอบดวยอะไรนับต้ังแตเตรียมวัตถุดบิจนออกมาเปนสินคาสําเร็จรูป แลวจัดทําเปนแผนภูมิแสดง ตัวอยาง การทําอาหาวางจากแปงขาวเจา มีดังนี ้ นําแปงขาวเจามาผสมโดยใชน้ํา เขาเคร่ืองอัดออกมาเปนช้ิน ๆ

อบสินคาใหแหงเหลือความช้ืน 3-4 %

ผสมกล่ิน บรรจุกลองรอการจําหนาย

Page 313: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

219

4) การวางผังสถานท่ีดําเนินงาน นอกอาคาร – ในอาคาร ใหแสดงการออกแบบผังบริเวณโรงงาน อาคารและส่ิงกอสรางตาง ๆ ท้ังภายในโรงงานและนอกอาคาร เพื่อแสดงลักษณะท่ีเอ้ืออํานวยตอการทํางานและบริการตอกัน ใหเกดิความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ตัวอยาง

สํานักงาน สโตร

บริเวณสํารองขยายงาน

ประตู

วัตถุดิบ ผสม หองน้ํา หองเก็บเคร่ืองมือ 5) เคร่ืองจักรอุปกรณการผลิตหรือบริการ ปจจุบันสําคัญอยางยิ่งของการผลิตสินคาท่ีไดคุณภาพหรือไม ยอมข้ึนอยูกับเครื่องจักรอุปกรณเปนสําคัญ ดังนั้นการจัดหาเคร่ืองจักรอุปกรณผูเขียนโครงการตองแสดงรายละเอียดของเคร่ืองจักรอุปกรณแตละอยางใหได 6) แผนการดําเนินการ เพื่อใหการดําเนินการตาง ๆ เปนไปตามระยะเวลาท่ีกําหนดไว

ตองมีการจําทําแผนการดําเนินการอันจะทําใหผูบริการ โครงการสามารถควบคุมกํากับดูแลงาน รวมท้ังคาใชจายใหเปนไปตามงบประมาณท่ีกําหนดไว โดยมีขอพิจารณาเพ่ือลงในแผนงานโดยใช Gantt Chart

Page 314: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

220

เดือน เวลา กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

1. ดานการตลาด - ศึกษารูปแบบผลิตภัณฑ - ศึกษาลูกคา - ทําแผนสงเสริมการขาย - ติดตอลูกคา รับใบส่ังซื้อ 2. ดานการผลติ - ออกแบบผลิตภัณฑ - ศึกษาวิธีการผลิต - จัดซื้อวัตถุดิบ - เร่ิมผลิต 3. ดานการเงิน - วิเคราะหความเปนไปได - จัดทําแผนการกูยืม - ติดตอสถาบันการเงิน - กูยืมเงินแบบผลิตภัณฑ 4. ดานบุคลากร - ศึกษารูปแบบองคการ - จางคนงาน - ฝกอบรมคนงาน - ประเมินผลงาน

7) กําลังการผลิต คือ ความสามารถในการผลิตสินคาไดปริมาณมากท่ีสุดในรอบระยะเวลาหนึง่ ๆ ดวยกําลังเคร่ืองจักรและอุปกรณ กําลังการผลิตของโครงการ ตองแจงวาใน 1 ป จะเปดโรงงานก่ีวัน วันละก่ีรอบการทํางาน โดยทั่วไปตามมาตรฐานสากลโรงงานเปดดําเนินการ 300 วัน วันละ 8-9 ช่ัวโมง

Page 315: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

221

ตัวอยางแผนการผลิตของโครงการ

ปท่ี รายการ

1 2 3 4 5

กําลังการผลิต 60% 80% 100% 100% 100% งานท่ีได (ช้ิน) 480,000 640,000 800,000 800,000 800,000

2.1.9 แผนการเงิน เงินเปนปจจยัท่ีจําเปนตอการทําใหแผนของคุณประสบความสําเร็จ

บางคร้ังเงินก็เปนตัววัดความสามารถในการทําธุรกิจของคุณ และเปนเคร่ืองชวยพิจารณาเงินกูของสถาบันการเงินอีกดวย ในการที่จะคํานวณเงินทุนท่ีใชนั้น คุณตองทําความเขาใจและจัดทําตารางบัญชีงบการเงินท่ีสําคัญ 3 อยาง ดังนี ้ 1) งบประมาณกําไร - ขาดทุน 2) งบประมาณกระแสเงินสด 3) งบประมาณงบดุล หลังจากนัน้ เปนหนาท่ีของคุณท่ีจะพบปะกับเจาหนาท่ีสถาบันการเงิน จําไววาเจาหนาท่ีของสถาบันการเงินจะทําหนาท่ีชวยคุณไดอยางดี ฉะนั้นคุณควรแบงปนขอมูลทุกอยางท่ีคุณมีแกพวกเขา เพื่อท่ีเขาจะไดมีขอมูลเพียงพอท่ีจะชวยคุณในดานเงินกูยมื แผนการชําระเงินกู ในการดําเนินธุรกจิ คุณอาจจําเปนตองกูเงินมาใชในการจดัซ้ือวัตถุดิบหรือเคร่ืองมืออุปกรณ เม่ือถึงเวลาท่ีกําหนดก็ตองชําระดอกเบี้ยและเงินตนคืนแกสถาบันการเงิน ตัวอยาง กูเงินจากสถาบันการเงิน 3,080,000 บาท ระยะเวลาใหกู 5 ป อัตราดอกเบ้ีย 16 % การคิดอัตราดอกเบ้ียท่ีตองชําระตอป = เงินตน × อัตราดอกเบ้ีย 100

รวมชําระเงินตนและดอกเบี้ย

ปท่ี เงินตน ชําระเงินตน/ป ชําระดอกเบี้ย/ป เงินตนคงเหลือ

1 3,080,000 616,000 492,800 1,108,800 2,464,000 2 2,464,000 616,000 394,240 1,010,240 1,848,000 3 1,848,000 616,000 295,680 911,680 1,232,000 4 1,232,000 616,000 197,120 813,120 616,000 5 616,000 616,000 98,560 714,560 -

Page 316: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

222

2.1.10 แผนฉุกเฉิน

เปนการบอกถึงเร่ืองถาเกิดการผิดพลาด กลาวคือ ถาไมเปนไปตามแผนท่ีวางไวยังมีแผนอ่ืนมารองรับท่ีจะทําอะไรตอไปไดกับธุรกิจนี้ อาทิเชน การแปรผันธุรกิจหรือบริการนี้ไปยังธุรกิจอ่ืนไปยังแหลงอ่ืน หรือเปล่ียนเปนรูปแบบอ่ืน เปนตน ตัวอยางของประเด็นความเส่ียงและการเตรียมความพรอมท่ีควรระบุไวในแผนฉุกเฉิน อาทิเชน - ยอดขาย/เก็บเงินจากลูกหนีไ้มไดตามคาดหมาย ทําใหเงินสดหมุนเวยีนขาดสภาพคลองและธนาคารไมใหวงเงินกูหรือลดวงเงินกู - คูแขงตัดราคาหรือจัดกจิกรรมสงเสริมการขายอยางตอเนื่องระยะยาว . - มีคูแขงรายใหมท่ีมีขนาดใหญกวา ทันสมัยกวา มีสินคาครบถวนกวา ราคาถูกกวาเขาสูอุตสาหกรรมหรือมาต้ังอยูในบริเวณใกลเคียง - สินคาถูกลอกเลียนแบบและขายในราคาท่ีถูกตอง - สินคาผลิตไมทันตามคําส่ังซ้ือเนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบ - สินคาผลิตมากจนเกินไปทาํใหมีสินคาในสต็อกเหลือมาก - ตนทุนการผลิต/การจัดการสูงกวาท่ีคาดไว - เกิดการชะงักการเติบโตของท้ังอุตสาหกรรม - มีปญหากับหุนสวนจนไมสามารถรวมงานกันได

สรุป ปจจุบันการเขียนแผนธุรกิจมีความสําคัญมากสําหรับผูประกอบการใหม และผูที่มีความประสงคจะขยายธุรกิจ ผูที่ทําธุรกิจจะตองศึกษาวิธีการเขียนแผนธุรกิจ เพราะวารายละเอียดในแผนธุรกิจจะชวยใหผูประกอบการใหมและเกามีเปาหมายและแนวทางในการคิดท่ีชัดเจน มีความแนวแนตอการใชทรัพยากรและมีความพยายาม เพื่อท่ีจะไปสูเปาหมายที่กําหนดไว เปนเคร่ืองมือในการแสวงหาทุนจากผูรวมลงทุน จากกองทุนรวมลงทุน และหรือจากสถาบันการเงินตาง ๆ และเปรียบเสมือนพิมพเขียวท่ีใหรายละเอียดของกิจกรรมตาง ๆ ทั้งการจัดหาเงินทุนการพัฒนาผลิตภัณฑ การตลาดและอื่น ๆ ในการบริหารกิจการใหม รวมทั้งยังใชเพื่อกําหนดการปฏิบัติงานตอเนื่องของกิจการในอนาคตอีกดวย

องคประกอบท่ีสําคัญของการจัดทําแผนธุรกิจ ประกอบไปดวย สวนที่สําคัญ 5 สวน คือ บทสรุปของผูบริหาร, บทนําและการบริหารโครงการ, แผนการตลาด, แผนการผลิตและแผนการเงิน

*****************************

Page 317: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

223

แบบฝกหัด หนวยท่ี 8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. การทําแผนธุรกิจ มีความสําคัญตอผูประกอบการอยางไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

2. การดําเนินการตามแผนธุรกิจ มีวัตถุประสงคเพื่ออะไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. องคประกอบท่ีสําคัญของการทําแผนธุรกิจ มีอะไรบาง ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 318: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

224

4. ลักษณะของแผนธุรกิจท่ีดี ควรมีลักษณะอยางไร ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

*************************************

Page 319: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

225

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเห็นวาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว1. ความหมายของแผนธุรกิจ ตรงกับขอใด

ก. เปนแผนงานท่ีแสดงกจิกรรมจะผลิต วิธีการ ปริมาณผลผลิต งบประมาณ และคน ทําอยางไรธุรกิจถึงจะอยูรอด ข. เปนคูมือในการวางแผนการผลิต ค. เปนคูมือในการวางแผนการตลาด ง. แผนงานทางดานการผลิตและตลาด

2. แผนธุรกิจ (Business Plan) เปรียบเสมือนอะไร

ก. ระยะเวลา ข. เสนทาง ค. ยานพาหนะ ง. เข็มทิศ

3. ขอใด ไมใชความสําคัญของการจัดทําแผนธุรกิจ

ก. การเร่ิมตนธุรกิจ ผูประกอบการมี เปาหมายและแนวทางท่ีชัดเจน ข. รัฐใชเปนแนวทางในการพิจารณา จัดเก็บภาษ ี ค. เปนเสมือนพิมพเขียวท่ีใหรายละเอียด ของกิจกรรมตาง ๆ ง. เปนเคร่ืองมือในการแสวงหาทุนจากผู รวมลงทุน

4. ขอใด ไมใชเปนสวนองคประกอบสําคญั ของแผนธุรกิจ

ก. บทสรุปของผูบริหาร ข. แผนการผลิต ค. คํานํา ง. แผนการตลาด

5. ลักษณะของแผนธุรกิจท่ีดี เม่ืออานแลวจะตองตอบอะไรเราไดบาง

ก. ธุรกิจนี้นาลงทุนหรือไม ข. ธุรกิจเปนรูปรางชัดเจนเพยีงใด ค. มีแนวโนมท่ีจะประสบความสําเร็จ ตั้งแตเม่ือแรกตั้งมากนอยเพียงใด ง. ถูกทุกขอ

6. การเขียนวตัถุประสงค บอกเนื้อหา และกลาวขอบคุณบุคคลหรือหนวยงาน ท่ีจัดทําแผนนี้ใหสําเร็จลุลวง เปนองคประกอบใด ของแผน

ก. คํานํา ข. แผนการตลาด ค. บทสรุปของผูบริหาร ง. บทนําและการบริหารโครงการ

Page 320: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

226

7. สวนท่ีสรุปใจความสําคัญของแผนธุรกิจท้ังหมด และตองเปนเอกสารที่สมบูรณในตัวเอง เปนองคประกอบใด

ก. คํานํา ข. บทสรุปของผูบริหาร ค. บทนําและการบริหารโครงการ ง. แผนทางการเงิน

8. กลุมลูกคาเปาหมาย อธิบายถึงลักษณะทางการตลาด กลุมลูกคาหลัก การวางแผนเขาถึงลูกคา อยูในเปนองคประกอบใดของแผนธุรกิจ

ก. คํานํา ข. บทสรุปของผูบริหาร ค. บทนําและการบริหารโครงการ ง. แผนทางการเงิน

9. รูปแบบการดําเนินธุรกิจ จัดอยูในองคประกอบใดของการเขียนแผนธุรกิจ

ก. คํานํา ข. บทสรุปของผูบริหาร ค. บทนําและการบริหารโครงการ ง. แผนทางการเงิน

10. แผนภูมิแสดงการบริหารองคการ จัดอยูในองคประกอบใดของการเขียนแผนธุรกิจ

ก. คํานํา ข. บทสรุปของผูบริหาร ค. บทนําและการบริหารโครงการ ง. แผนทางการเงิน

11. การวิเคราะหสถานการณและปจจัยส่ิงแวดลอมในการทําแผนธุรกิจ ทําไวเพ่ือการใด

ก. การกําหนดหนาท่ีความรับผิดชอบ ตลอดจนการจัดคนเขาทํางาน ข. พยากรณตลาดและนําสินคาเสนอขาย ตอลูกคา ค. การกําหนดกลยุทธ องคการจะสามารถ ดําเนินธุรกจิไป ในทางทิศใด ง. เพื่อตองการหาผูรวมลงทุน ผูสนับสนุน ดานเงินทุน

12. การทําการวิเคราะหสถานการณและปจจัยแวดลอมในการทําแผนธุรกิจ เราใชวิธีใด

ก. STOW ANALYSIS ข. OTSW ANALYSIS ค. TOWS ANALYSIS ง. SWOT ANALYSIS

13. บริษัทมีทรัพยสินมากสามารถดําเนินธุรกิจไปไดอยางสบาย เปนการวิเคราะหดานใด

ก. วิเคราะหจดุแข็ง (Strengths) ข. วิเคราะหโอกาส (Opportunities) ค. วิเคราะหอุปสรรค (Threats) ง. วิเคราะหจดุออน (Weakness)

14. รัฐบาลใหการสนับสนุนในการธุรกิจ เปนการวิเคราะหดานใด

ก. วิเคราะหจดุแข็ง (Strengths) ข. วิเคราะหโอกาส (Opportunities) ค. วิเคราะหอุปสรรค (Threats) ง. วิเคราะหจดุออน (Weakness)

Page 321: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

227

15. จะต้ังราคาสินคาอยางไร ท่ีจะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซ้ือสินคาไดมากขึ้น

ก. ลงดวยเลข 9 เชน 59 บาท ข. ลงทายดวย 5 เชน 15 บาท ค. ลงทายดวย 0 เชน 10 บาท ง. ลงทายดวยจุดทศนยิมเชน 15.50 บาท

16. การวางแผนสงเสริมการขาย ควรสงเสริมในระดับใดบาง

ก. ระดับลูกคาและผูขาย ข. ระดับผูบริโภคและระดับพนักงานขาย ค. ระดับขายปลีกและระดับขายสง ง. ระดับลูกคาภายในและตางประเทศ

17. ผูบริหารโครงการสามารถควบคุมกํากับดูแลงาน คาใชจายใหเปนไปตามงบประมาณที่กําหนดไว เราใชวิธีใดในการวางแผนดําเนินการผลิต

ก. เทียบจากองคการอื่นท่ีผลิตเหมือนกัน ข. ดูจากเปาหมายผลผลิตที่กําหนดไว ค. ใช Gantt Chart ง. กําลังผลิตท่ีองคการสามารถผลิตได

18. ในการที่จะคํานวณเงินทุนท่ีใชนั้น ตองทําความเขาใจและจัดทําตารางบัญชีงบประมาณการเงิน อะไรบาง

ก. บัญชีแยกประเภท,บัญชีลูกหนี้และ เจาหนี ้ข. งบดุลและงบกําไร- ขาดทุน ค. งบกําไร- ขาดทุนและงบกระแสเงินสด ง. งบกําไร- ขาดทุน, งบกระแสเงินสด และงบดุล

19. ถาคูแขงตัดราคา มีสินคาครบถวนกวาหรือสินคาผลิตไมทันตามคําส่ังซ้ือ ในการทําธุรกิจเราควรจัดทําอยางไร เพื่อเปนการปองกันปญหาท่ีเกิดขึน้

ก. ทําแผนสํารองฉุกเฉิน ข. ทําแผนใหม ค. ทําแผนทดแทน ง. ทําแผนปองกัน

20. ขอระวังในการจัดทําแผนธุรกิจ คือ ก. ใหผูท่ีชํานาญการเปนคนเขียน ข. ใหหุนสวนในการลงทุนเปนผูเขียน ค. ใหเจาของเงินทุนเปนคนแนะนําการ เขียนแผน ง. ตนเองจะตองเปนคนเขียนเพราะทราบ ขอมูลชัดเจน

********************

Page 322: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

228

ใบงานท่ี 8 หนวยท่ี 8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร

********************************** เร่ือง การเขียนแผนธุรกิจเกษตร

จุดประสงคการเรียนรู 1. สามารถเขียนแผนธุรกจิเกษตรได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รับฟงคนอ่ืน เปนผูนําและผูตามท่ีด ี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินยัในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวชิาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเร่ืองท่ีเกี่ยวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 2. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 3. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 8

ขั้นตอนการปฏิบัตงิาน 1.ใหผูเรียนทุกคนตอบคําถามลงในกระดาษ A4 กอนเร่ิมตนเขียนแผนธุรกิจเกษตรมีแนวคิด

อยางไรตอคําถามตอไปนี้ - เปาหมายการทําธุรกิจ คืออะไร - เรามีความถนัดอะไร - เราอยูในธุรกิจอะไร - เราจะขายสินคาหรือใหบริการอยางไร - ตลาด (ผูซ้ือ หรือลูกคา) หรือแหลงท่ีขายเราอยูไหน - ใครเปนผูซ้ือ หรือเปนลูกคาของเรา - ใครเปนคูแขงของเรา - แผนการขายของเราเปนอะไร - เราตองการจาํนวนเงินลงทุนเทาไหร

Page 323: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

229

- เราจะผลิตอะไร - เราจะจัดองคกรเพื่อบริหารธุรกิจอยางไร - เราจะตองทบทวนแผนธุรกิจเม่ือไร - หากประสบปญหา จะแกไขอยางไร หรือจะขอความชวยเหลือจากท่ีไหน

2. เขียนแผนธุรกิจเกษตรของตนเอง 3. เวลา 4 ช่ัวโมง 4. สงครูผูสอน 5. ประเมินผล

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเกีย่วกับการบริหารจัดการท่ัวไป 4. ตัวอยางแผนธุรกิจ

******************************

Page 324: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

230

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 8 การเขียนแผนธุรกิจเกษตร ******************************

ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตอบ ก ง ข ค ง ก ข ข ค ค ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ตอบ ค ง ก ข ก ข ค ง ก ง

*****************************************

Page 325: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

231

ภาคผนวก โครงงาน “ Unseen in Phang – Nga”

โดย หางหุนสวนจํากัด ขาวตอกและดอกเข็ม วิทยาลัยเทคนคิพังงา จ. พงังา

1. ภาพรวมธุรกิจ 1.1 ความเปนมาและมูลเหตุจูงใจในการทําธุรกิจ

จังหวัดพังงา เปนจังหวัดที่มีสถานการณที่ทองเท่ียวธรรมชาติทางทะเลท่ีสําคัญแหงหน่ึงในประเทศไทย ในแตละปจะมีนักทองเที่ยวเขามาทองเที่ยวในจังหวัดพังงาเปนจํานวนมาก โดยในป 2545 มีนักทองเที่ยวทั้งสิ้น 4,656,380 คน มีรายไดจากการทองเที่ยวทั้งสิ้น 6,838.64 บาท และจากโครงการ “ Unseen in Thailand ” ของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย มีสถานที่ทองเที่ยวที่เปน Unseen ในจังหวัดพังงามากที่สุดถึง 5 แหง ไดแก กัลปงหานํ้าต้ืนที่หมูเกาะสุรินทร ฉลามวาฬที่กองหินริเซวิว อ. คุระบุรี ปูไกที่หมูเกาะสิมิลัน ทุงหญาสวันนาที่เกาะพระทอง และถ้ําลอดที่อาวพังงา ทําใหเกิดความคิดที่จะทําธุรกิจทองเท่ียวอาวพังงาขึ้นเพ่ือใหผูที่ไมเคยเที่ยวอาวพังงาไดไปเที่ยวชมธรรมชาติที่สวยงาม ประกอบกับสมาชิกในกลุมบางคนมีบานพักอาศัยอยูใกลบริเวณการทองเที่ยว รูจักแหลงทองเท่ียวในจังหวัดพังงาเปนอยางดี และสามารถจัดหาเรือเพ่ือนําเที่ยวไดงาย อีกทั้ง การประกอบุรกิจนําเที่ยวในชุมชนเปนลักษณะรอรับนักทองเที่ยวประเภทขาจรที่เดินทางเขามาติดตอเอง ไมมีการเขาพบลูกคาเพ่ือเสนอขาย ยกเวนกรุปทัวรที่มาจากตางถิ่น 1.2 ลักษณะของธุรกิจ เปนโครงการจัดบริการนําเที่ยวเชิงนิเวศน เที่ยวชมปาชายเลนและสถานที่ทองเท่ียวในอาวพังงา เพ่ือสงเสริมการทองเที่ยวภายในจังหวัดและสนองตอนโยบายสงเสริมการทองเที่ยวภายในประเทศตามโครงการ “ Unseen in Thailand “ โดยจะเนนใหบริการทองเที่ยวถ้ําลอด อาวพังงาเปนหลัก และจะดําเนินธุรกิจในเชิงรุก โดยเขาพบลูกคาเปาหมายเพ่ือเสนอขาย และโฆษณา ประชาสัมพันธธุรกิจในหลายรูปแบบ ใหบริการจัดนําเที่ยวกลุมยอยในราคาประหยัดโดยการเชาเหมาเรือ จากชาวบานในราคาตนทุน แลวบวกกําไรตามความตองการ อาศัยความคุนเคยในการดึงดูดลูกคา โดยมีลูกคาเปาหมายคือนักเรียน นักศึกษาในวิทยาลัย สถานศึกษาใกลเคียงและประชาชนทั่วไป 1.3 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดจากธุรกิจ 1) เปนการสรางรายไดระหวางเรียนของนักเรียนตามนโยบายกรมอาชีวะศึกษา 2) เปนการฝกประสบการณตรงโดยนําความรูทางทฤษฏีมาประยุกตใชในการ ปฏิบัติจริง 3) เปนการใชเวลาวางใหเกิดประโยชน ไมไปยุงเก่ียวกับยาเสพติดและอบายมุข 4) เพ่ือใหเยาวชนเกิดการหวงแหนและชวยกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติทองถ่ิน 5) สามารถเปนแนวทางในการประกอบอาชีพตอไปในอนาคต

1.4 จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ

Page 326: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

232

1) อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติของสถานที่ทองเท่ียว 2) มีความซื่อสัตยตอลูกคา

2. วิเคราะหความเปนไปไดทางธุรกิจ 2.1 การวิเคราะหสภาพสิ่งแวดลอมภายใน

จุดแข็ง (Strength) จุดออน(weakness)

1. สถานที่ทองเท่ียวมีความสวยงามและเปนที่นาสนใจของนักทองเที่ยว 2. สถานที่จัดนําเที่ยวอยูในเขตอําเภอเมืองสะดวกแกการเดินทาง 3. สมาชิกในกลุมมีบานอยูในบริเวณแหลงทองเท่ียวจึงรูจักสถานที่ทองเที่ยวเปนอยางดี 4. ตนทุนตํ่าจึงคิดคาบริการไดตํ่ากวาทองตลาด 5. มีการประชาสัมพันธอยางกวางขวาง

1. การจัดบริการนําเที่ยวจะไดเฉพาะวันหยุดเทาน้ัน 2. ไมมีเรือนําเที่ยวเปนของตนเองตองใชวิธีการเชาเหมาเรือจากชาวบาน

2.2 การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก

โอกาสท่ีมีผลตอการสงเสริมธุรกิจ อุปสรรคตอการดําเนินธุรกิจ

1. การทองเที่ยวแหงประเทศไทยไดประกาศใหถ้ําลอดอาวพังงาเปนหน่ึงในการ “ Unseen in Thailand” ทําใหนักทองเที่ยวมีความสนใจไปเที่ยวมากขึ้น 2. วิทยาลัยเทคนิคพังงาใหการสนับสนุนจากการจัดทําโครงการธุรกิจสนับสนุนวัสดุตางๆ ที่จําเปน 3. บมจ. ธนาคารกรุงไทยไดดําเนินการโครงการ”กรุงไทย ยุววานิช” ขึ้นเพ่ือสนับสนุนใหเยาวชนมีโอกาสแสดงความสามารถในการทําธุรกิจจึงเปนแรงบันดาลใจอยากใหธุรกิจประสบความสําเร็จตามเปาหมายและไดรับรางวัล 4. ชุมชนและผูปกครองใหการสนับสนุน

1. จังหวัดพังงามีผลตกชุกแทบตลอดป ซึ่งอาจทําใหไมไดดําเนินธุรกิจ 2. คูแขงขันในการจัดบริการนําเที่ยวมาจํานวนมาก ซึ่งทําธุรกิจการจัดนําเที่ยวมานาน

3. แผนการผลิต/ บริการ/ การดําเนินงาน 3.1 อุปกรณเครื่องใชในการดําเนินงาน 1. เรือนําเที่ยวจะใชวิธีเหมา จากผูปกครองและญาติ ๆ ที่มีเรือนําเที่ยวในราคาประหยัด 2. กระดาษ A4 สําหรับจัดทําใบปลิวโฆษณา จํานวน 3 รีม โดยการจัดซื้อ 3. ลังโฟมสําหรับใสนํ้าแข็ง และนํ้าด่ืม โดยยืมจากญาติ

Page 327: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

233

3.2 กระบวนการดําเนินการ

3.3 การดําเนินการและจัดการ การดําเนินธุรกิจจะดําเนินการในรูปของหางหุนสวนสามัญ มีผูถือหุน 5 คน รับผิดชอบในตําแหนงตางๆ อาทิ ผูจัดการ ทําหนาที่วางแผนการดําเนินงาน บริหารองคการ ดูแล ติดตาม ประเมินผล และตัดสินใจ แกไขปญหาตางๆ ฝายการตลาดและบริการ ทําหนาที่โฆษณาประชาสัมพันธ

4. แผนการตลาด 4.4 กลุมเปาหมาย 1) ผลิตภัณฑ/ บริการ (Product) เปนการจัดบริการนําเที่ยวเชิงนิเวศน โดยมีการใหความรูเก่ียวกับสถานที่ทองเที่ยวในอาวพังงาและสอดแทรกความรูเก่ียวกับทรัพยากรทางทะเลที่สําคัญ 2) นโยบายราคา (Price) คิดคาบริการ คนละ 100 บาท แตตองมีนักทองเที่ยว 6 – 8 คน /ลํา หรือจะใชเหมาลํา ลําละ 700 บาท โดยใชเรือหางยาวมีหลังคา แตถาเปนกลุมใหญต้ังแต 30 คนขึ้นไป จะใชเรือ 40 ที่น่ัง คิดคาบริการลําละ 2,000 บาท ซึ่งราคาถูกกวาคูแขง ประมาณ 100 บาท สําหรับเรือหางยาว และ 500 บาท สําหรับเรือลําใหญ 3) ชองทางการจําหนาย (place) จะจัดต้ังสํานักงาน ที่อาคารคณะวิชาบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคพังงา และใหสมาชิกกลุมเขาพบลูกคาเปาหมายโดยตรง (Direct Sale) ในเชิงรุก และใชจดหมายขาย 4) การสงเสริมการตลาด (Promotion) จัดทําโปสเตอรแจกลูกคา โดยจะมีการรณรงค สงเสริมการขายเปนบางชวง เชน ลดราคาพิเศษ การบริการอาหารวางบนเรือ เปนตน การประชาสัมพันธหนาเสาธง และการบอกปากตอปาก

Page 328: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

234

5. วิเคราะหดานการเงิน การลงทุนเบื้องตนประมาณ 1,600 บาท โดยขอยืมเงินลงทุนจากแผนกการขายและการตลาด สําหรับซื้อวัสดุอุปกรณ และเครื่องใชตาง ๆ และคาใชจายในการจัดทําใบปลิวโฆษณา และเงินสดสําหรับการจัดซื้อนํ้า เพ่ือบริการแกลูกคา ในแตละวัน นอกจากน้ีจะมีคาใชจายที่ไมตองลงทุน ไดแก ลังโฟมใสนํ้าแข็ง คาโรเนียวโปสเตอร และคาจางแรงงาน ของนักเรียนในการดําเนินธุรกิจ รวมเงินลงทุนเบื้องตนทั้งสิ้น 2,100 บาท ประมาณการทางการเงิน

- จัดบริการทองเที่ยวประมาณเดือนละ 8 วัน วันละ 3 เที่ยว - คาเชาเรือพรอมคนขับเรือ ลําละ 350 บาท/เที่ยว - คานํ้าแข็ง/ นํ้าด่ืม ประมาณเดือนละ 200 บาท - คาใชจายอื่นๆ อาทิ คาพาหนะ คาโทรศัพท ประมาณ 100 บาท - คาบริการจากลูกคาเที่ยวละ 700 บาท ตอเรือ 1 ลํา ประมาณการรายไดตอเดือน ( 24 x 700 ) ประมาณการรายจายตอเดือน คาเชาเรือ ( 24 x 350 ) 8,500 คากระดาษ 600 คานํ้าด่ืม/นํ้าแข็ง 100 คาใชจายอื่น ๆ 100 = 9,300 บาท

สรุปมีกําไรสุทธิ = 7,500 บาท

Page 329: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

235

โครงงาน “แปรรูปผลิตภัณฑ” โดย บริษัท นานาผลิตภัณฑ จํากัด วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

1. ภาพรวม “บริษัท นานาผลิตภัณฑ จํากัด”ประกอบดวยนักศึกษา 10 คน รวมกันดําเนินธุรกิจการแปรรูปผลิตภัณฑ

ทางอุตสาหกรรมหลายชนิด โดยนําผลผลิตที่ไดภายในวิทาลัยฯมาแปรรูปผลิตดภัณฑตางๆ เพ่ือเพ่ิมพูนคาของผลผลิตใหสูงขั้น รูจักที่ยะสรางสรรคพัฒนาหลากหลายชนิดใหมีคุณภาพดีตามความนิยมของผูบริโภค มีทักษะประสบการณในการแปรรูปที่ดี ถูกตองตามหลักเกณฑทางวิชาการ เพ่ือใหไดผลิตภัณฑที่มีคุณภาพและปลอดภัยสําหรับการบริโภค สามารถจําหนายเพ่ือเปนรายได เสริมมาใชเปนเปนคาใชจายในการศึกษา

2. การวิเคราะหความเปนไปไดทางธุรกิจ ( Swot Analysis ) 2.1 จุดแข็ง ( Strength ) - วัตถุดิบหลัก สวนใหญมีในวิทยาลัย ฯ ในชุมชน ซื้อไดราคาตํ่า - นโยบายของสถานศึกษาที่เอื้อประโยชนใหหลายประการ - มีสมาชิกคอนขางมาก สามารถแบงงานหมุนเวียนแปรรูปผลิตภัณฑได หลากหลายชนิด

- การบริหารจัดการซึ่งมีแนวทางและประสบการณปฏิบัติงานมาแลว ทําใหมี ความรู ทักษะความชํานาญและรูสภาพปญหาที่เกิดขึ้น - ดานตลาด จําหนายไดทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา 2.2 จุดออน (Weakness)

- อุตสาหกรรมอาหารมีอายุการเก็บเก่ียวรักษาจํากัดบางชนิดตองใชเครื่องมือ สําหรับเก็บรักษาใหไดนานข้ึน - กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑตองอาศัยการจัดการปฏิบัติยุงยาก ซับซอนหลายขั้นตอน ถาไมรอบคอบอาจสงผลตอคุณภาพ และความปลอดภัย - วัตถุดิบบางอยางอาจไมมีหรือมีนอยบางชวงเวลา เพราะการผลิตอาจไมตอเน่ือง หรือมีราคาแพง - สมาชิกมีจํานวนมากยอมมีความแตกตางกันในดานความรู ความสามารถ ความรับผิดชอบ ฯลฯ - ผูปริโภคภายในสถานศึกษาและชุมชนทองถ่ินมีกําลังการซื้อคอนขางตํ่า

2..3 โอกาส ( Opportunity ) -วิทยาลัย ฯ ใหความอนุเคราะหปจจัยตางๆ หลายสวน ทั้งเงินทุน สถานท่ี อุปกรณ วัตถุดิบ วิถี

การผลิต ตลาด และสถานที่จําหนายภายในสถานศึกษา - วัตถุดิบบางชนิดที่อยูในวิทยาลัยฯและชุมชนซื้อไดในราคาไมแพง - รัฐบาลและประชาชนทั่วไปใหความสําคัญและสงเสริมสนับสนุนชวยเหลือผลิตภัณฑที่ผลิต

จากชุมชน

Page 330: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

236

2.4 อุปสรรค ( Threat ) - เวลาสําหรับการผลิตมีจํากัด

- ยานพาหนะสําหรับการขนสง ผลิตภัณฑไมสะดวก เน่ืองจากมีรถโดยสาร ประจําทางผานนอยมาก - การจัดการผลิตภัณฑคอนขางยาก เพราะมีอายุการเก็บรักษาจํากัด

ผลจากการวิเคราะหดังกลาว คาดวาการประกอบธุรกิจจะประสบความสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายตามที่ไดกําหนดไวอยางแนนอน

3. แผนการผลิต 3.1 วัตถุประสงคการผลิต เพ่ือใหสมาชิกทุกคนสามารถ

3.1.1 กําหนดแผนธุรกิจไดอยางชัดเจนเหมาะสมและสามารถแปรรูปผลิตภัณฑชนิดตางๆ ไดหลากหลายและจัดการจําหนายผลิตภัณฑไดบรรลุเปาหมาย 3.1.2 พัฒนาลักษณะนิสัยที่ดีตอการปฏิบัติงานทั้งเปนรายบุคคลและเปนกลุมหรือทีม 3.1.3 พัฒนาทักษะประสบการณ การดําเนินโครงการแปรรูป ผลิตภัณฑเชิงธุรกิจและสามารถนําไปประยุกตใชในการดํารงชีวิตและประกอบวิชาชีพไดอยางมั่นใจเพ่ิมขึ้น

3.2 วิธีดําเนินการ 3.2.1 แบงประเภทและชนิดของผลิตภัณฑ เปน 3 ประเภท คือ นํ้าพริกตางๆ และเครื่องด่ืมเพ่ือ

สุขภาพ ขนมและอาหารวาง 3.2.2 ขบวนการผลิตภัณฑ แบงเปน 3 ประเภท ดังน้ี นอกจากน้ี ยังมีการจัดการของเสียโดยนําเศษวัตถุดิบที่เหลือ ผสมกับกากนํ้าตาล หมกั 3-6 เดือน จึงนําไปใชรดตนไมได

4. แผนการตลาด 4.1 ลักษณะของสินคา (Product) เปนผลิตภัณฑที่ไดจากการนําเอาผลผลิตหรือวัตถุดิบที่สดใหมจากภายในวิทยาลัย ฯ และชุมชนทองถ่ิน มาแปรรูปเปนผลิตภัณฑอาหารในกระบวนการผลิต บริษัทพยายามดําเนินการให ถูกตองตามหลักวิชาการดวยกรรมวิธีการผลิตที่ดี สะอาดทุกขั้นตอนและปลอดภัยสําหรับการบริโภค ไมใสสารกันเสียใดๆ 4.2 ราคา (Price) การกําหนดราคาจําหนาย คํานวณจากตนทุนของผลิตภัณฑแตละชนิด บวกกําไร 30 – 40 %ของตนทุนทั้งหมด 4.3 จุดขาย (Place) การจัดทําแผนการตลาดและการจัดจําหนายไดดําเนินการศึกษา และสํารวจตลาดและกําหนดกลุมลูกคาเปาหมาย เปน 2 สวนไดแก 4.3.1 กลุมลูกคาภายในวิทยาลัยฯ อาทิ โครงการประกอบอาหารใหนักศึกษาปฏิรูปการศึกษาเกษตร รานคาสวัสดิการของสถานศึกษา เปนตน โดยจัดจําหนายทั้งโดยวิธีขายตรง และขายผานพอคาคนกลาง 4.3.2 กลุมลูกคาภายนอกวิทยาลัยฯ อาทิ รานคาทั่วไปในชุมชน ตลาด งานแสดงสินคาจังหวัด 4.4 การสงเสริมการตลาด (Promotion)

Page 331: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

237

- นําตัวอยางชนิดของผลิตภัณฑใหรานคาเพ่ือจําหนาย พิจารณาคุณภาพ ปริมาณ ราคา - การแจงขอมูลใหผูบริโภคทราบ โดยใชฉลากบอกขอมูลตางๆ ออกแบบใหสวยงาม - การจัดทําเอกสารแนะนําผลิตภัณฑ - การขายพิเศษสําหรับลูกคาโดยจะมีการแถม หรือลดราคาตามความเหมาะสม เมื่อผลิตภัณฑบางชนิดหมดอายุ จะรับคืนและเปล่ียนสินคาใหม

5. แผนทางการเงิน 5.1 ดําเนินการจัดหาทุนโดยรวมหุนจากสมาชิก 10 คนคนละ 200 บาท และกูยืมกองทุนวิทยาลัยอีก 15,000 บาท รวมเงินทุนทั้งหมด 17,000 บาท 5.2 ประมาณคาการคาใชจายโครงการ มีคาใชจายในระยะยาว ไดแก คาอุปกรณบางชนิดและคาใชจายหมุนเวียนระยะสั้น รวมเปนเงิน 13,000 บาท และจัดเปนเงินสํารองไว 4,000 บาท

6. ประมาณการทางการเงินหรือเปาหมายทางรายได ท่ี

รายการผลิตภัณฑ จําหนายหนวยตอสัปดาห ราคาจําหนาย ตอหนวย(บาท)

จํานวนเงินรวม (บาท)

1. นํ้าพริกแกง 15 ก.ก. 60 900

2. นํ้าพริกเห็ด 10 ก.ก. 80 800

3. เครื่องด่ืมเพ่ือสุขภาพ 50 ขวด 8 400 4. ขนม/อาหารวางตางๆ 150 ช้ิน 4 600

สรุปรวม/สัปดาห 225 หนวย 2,700 สรุป การดําเนินการรวม 3 เดือน ( 12 สัปดาห ) รวมเปนรายไดทั้งสิ้น 32,400 บาท

Page 332: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

238 เอกสารวิจัยชุดท่ี 1

ของผูเรียน

……/…..../……แบบสํารวจปญหา การจัดการเรียนการสอนเพ่ือการพัฒนาส่ือการเรียนการสอน รายวิชาการจัดการธุรกิจเกษตร

หนวยท่ี 8 เร่ือง แผนธุรกิจเกษตร ******************************

1. การใชสื่อการสอน 1.1 เอกสารประกอบการสอน หมายถึงเน้ือหารายวิชา ที่ใชควบคูกับการเรียนการสอน ซึ่งประกอบดวย หนวยที่.., เรื่อง., วัตถุประสงคการจัดการเรียนรู..,สาระสําคัญ...,เน้ือหา..,สรุป.....มีความสมบูรณเหมาะสมในการใชระกอบการเรียนรู อยูในระดับใด

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด ปญหา................................................................................................................................................................. 1.2. สื่อสไลด power point หมายถึงสไลดที่ใชควบคู ในประกอบบรรยายเนื้อหาวิชา ที่มีทั้งภาพและตัวอักษร มีความสมบูรณนาสนใจในระดับใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ปญหา................................................................................................................................................................. 1.3 ใบงานหรือใบมอบหมายงาน หมายถึงใบงานหรือใบมอบหมายที่ใหนักศึกษาทําในช้ันเรียน มีกิจกรรมที่ตรงกับจุดประสงคของใบงานตามหนวยเรียน จัดอยูในระดับใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด ปญหา................................................................................................................................................................. 1.4 แบบฝกหัดทบทวน หมายถึงกิจกรรมที่ใหนักศึกษาทําทบทวนเน้ือหาหลังเรียนในหนวยเรียนที่ไดจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสิ้นสุดแลว มีความสมบูรณครอบคลุมครบถวน ในระดับใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ปญหา................................................................................................................................................................. 1.5 แบบประเมินผลการเรียน กอนและหลังเรียนหมายถึงแบบทดสอบที่ใชประเมินผูเรียนกอนและหลังเรียน มีเน้ือหาครอบคลุมตรงจุดประสงคการเรียนรูในระดับใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ปญหา................................................................................................................................................................. 2. ปญหาการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในหนวยท่ี.......... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ ...................................................................................................................................................................................4. กระบวนการจัดการเรียนการสอนหนวยท่ี …….ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยูในระดับใด.

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด **************************

Page 333: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

หนวยที่ 9 เร่ือง โครงการธุรกิจเกษตร

******************************

จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาในเนื้อหาหนวยเรียนนี้แลวผูเรียนสามารถ 1. บอกความหมายของโครงการได 2. บอกความสําคัญของจัดทําโครงการธุรกิจได 3. บอกถึงสวนประกอบของโครงการธุรกิจได 4. อธิบายถึงลักษณะของโครงการท่ีดีได 5. เขียนโครงการธุรกิจได

สาระสําคัญ

ความหมายของโครงการ เปนแผนงานท่ีจดัทําข้ึนอยางมีระบบ เปนกจิกรรมหรือกลุมกิจกรรมท่ีรวมกันอยู ซ่ึงตองใชทรัพยากรในการดาํเนินงานและคาดหวังจะไดผลตอบแทนอยางคุมคา โดยมีจุดเร่ิมตนและจุดสิ้นสุดในการดําเนินงาน มีจุดประสงคชัดเจน มีพื้นท่ีในการดําเนินงานเพื่อใหบริการ มีบุคคลหรือหนวยงานรับผิดชอบ 1ความสําคัญของโครงการ 1. ชวยช้ีใหเหน็ถึงปญหาและภูมิหลังของการทํางาน 2. ชวยใหการปฏิบัติงานตามแผนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 3. ชวยใหแผนงานมีความชัดเจนโดยบุคคลท่ีเก่ียวของมีความเขาใจและรับรูถึงปญหารวมกัน 4. ชวยใหแผนงานมีทรัพยากรใชเพียงพอเหมาะสมกับสภาพปฏิบัติจริง 5. ชวยใหแผนงานมีความเปนไปไดสูง เพราะมีผูรับผิดชอบและมีความเขาใจในการดําเนินงาน 6. ชวยลดความขัดแยง และขจัดความซํ้าซอนในหนาท่ีความรับผิดชอบของหนวยงาน 7. สรางทัศนคติท่ีดตีอบุคลากรในหนวยงาน เปนการเสริมสรางสามัคคีธรรม และความรับผิดชอบรวมกัน ตามความรู ความสามารถและศักยภาพของแตละบุคคลอยางเต็มท่ี

Page 334: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

232

8. สรางความม่ันคงใหกับแผนงาน และสรางความม่ันใจในการดําเนินงานใหกับผูมีหนาท่ีรับผิดชอบ

9. สามารถควบคุมการทํางานไดสะดวกไมซํ้าซอน

สวนประกอบของโครงการ 1. ช่ือโครงการ 2. ผูรับผิดชอบโครงการ 3. ระยะเวลาในการดําเนินการ 4. หลักการและเหตุผล 5. วัตถุประสงค 6. เปาหมาย 7. วิธีดําเนนิการ 8. สถานท่ีดําเนินการ 9. งบประมาณหรือคาใชจาย 10. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 11. การประเมินผล

ประเภทของโครงการ 1. โครงการท่ีเสนอโดยตัวบุคคล 2. โครงการท่ีเสนอโดยกลุมบุคคล 3. โครงการท่ีเสนอโดยหนวยงาน

Page 335: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

233

เน้ือหา

1. ความหมายและความสําคัญของโครงการ โครงการ (Project) เปนสวนหน่ึงของกิจกรรมในหนวยงาน การเขียนโครงการเปนการเขียนเพื่อประโยชนทางวิชาการประเภทหนึ่ง เพราะมีสวนชวยใหเกิดการวางแผน การทํางาน การศึกษา การริเร่ิมปฏิบัติงานใหม ๆ ฯลฯ ดังนั้นโครงการจึงมีบทบาทสําคัญตอการปฏิบัติงานของหนวยงาน การเขียนโครงการจึงมีความจําเปนท่ีนกัศึกษาจะตองศึกษาเพื่อเปนประโยชนในอนาคตตอไป

01.1 ความหมายของโครงการ คําวา “โครงการ” มีความหมายตรงกบัคําภาษาอังกฤษวา “project” และมีคําภาษาอังกฤษอีกคําหนึ่งท่ีมีความหมายคลายคลึงหรือใกลเคียงกับ “Project” คือคําวา “Program” ซ่ึงบางตําราแปลความหมายของ “Program” วาโครงการหรือกําหนดการ ในทางปฏิบัตคิวามหมายของ 2 คําแตกตาง กลาวคือ โครงการ (Project) เปนกลุมกิจกรรมท่ีกําหนดข้ึนในการดําเนนิงานตามแผน สวนโครงงาน (Program)หรือกําหนดการปฏิบัติงาน หมายถึงรายละเอียดในการดําเนนิงานของกิจกรรม ซ่ึงแตละกิจกรรมจะกําหนดข้ึนตามแผนการดําเนินงานของโครงการ จากความหมายขางตนพอสรุปไดวา กําหนดการปฏบิัติงานหรือโครงงาน(Program)คือสวนประกอบของโครงการ (Project) และโครงการเปนสวนประกอบของแผนงาน(Plan) วีระพล สุวรรณนันต กลาวไดโครงการ หมายถึง การนําทรัพยากรทีมีอยูอยางจํากัด (เม่ือเทียบกับความตองการของมนุษย) มาผสมผสานซ่ึงกันและกัน โดยกอใหเกิดประโยชนสูงสุด (ประหยัดและมีประสิทธิภาพ) ภายในเวลาท่ีกําหนดไว

ประชุม รอดประเสริฐ กลาววาโครงการ หมายถึงกิจกรรมเขาระบบท่ีสามารถอธิบายไดวาองคกรหรือหนวยงานใดเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ บุคคลประเภทใด และลักษณะใดท่ีจะตองเขารวมกิจกรรมนั้น จะตองนําเคร่ืองมือและอุปกรณใดสนับสนุน มีการจดัสรรทรัพยากรเพื่อการใชดําเนินการอยางไร สถานท่ีดําเนนิการอยูท่ีไหน จะใชเวลาในการดาํเนินงานยาวนานเทาใด โดยจะเร่ิมตนและส้ินสุดเม่ือใด ผลท่ีเกิดข้ึนคืออะไร และสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนไดมากนอยเพยีงใด

จากความหมายท่ีกลาวมาแลวขางตน พอสรุปไดวา โครงการ เปนแผนงานท่ีจัดทําขึน้อยางมีระบบ เปนกิจกรรมหรือกลุมกิจกรรมท่ีรวมกันอยู ซ่ึงตองใชทรัพยากรในการดําเนนิงานและคาดหวัง

Page 336: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

234

ดังนั้น โครงการจึงเปนสารท่ีเรียบเรียงข้ึนอยางรอบคอบเปนข้ันเปนตอน พรอมกับมีแนวทางปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามเปาหมายของแผนงานท่ีไดกําหนดไว

1.2 ลักษณะสําคัญของโครงการ การเขียนโครงการ มีลักษณะการเขียนแตกตางไปจากการเขียนประเภทอ่ืน ๆ โครงการท่ีดีควรมีลักษณะดังตอไปนี ้ 1.2.1 ตองมีระบบ(System)โครงการตองประกอบดวยสวนตาง ๆ ท่ีมีความสัมพันธเกี่ยวของเปนกระบวนการ ถาสวนใดเปล่ียนแปลงไปเกดิการเปล่ียนแปลงในสวนอ่ืน ๆ ตามไปดวย 1.2.2 ตองมีวตัถุประสงคชดัเจนโครงการตองกําหนดวตัถุประสงคหรือเปาหมายในการดําเนินงานใหชัดเจน วัตถุประสงคตองมีความเปนไปไดและสอดคลองกับความเปนมาของโครงการ 1.2.3 ตองเปนการดําเนินงานในอนาคต เนื่องจากการปฏิบัติงานท่ีผานมา มีขอบกพรอง จึงควรแกไขและปรับปรุง โครงการจึงเปนการดําเนนิงานเพ่ืออนาคต 1.2.4 เปนการทํางานชั่วคราว โครงการเปนการทํางานเฉพาะกิจเปนคราว ๆ เพื่อแกไข ปรับปรุงและพัฒนา ไมใชการทํางานที่เปนการทํางานประจําหรืองานปกติ 1.2.5 มีกําหนดระยะเวลาท่ีแนนอน โครงการตองกําหนดระยะเวลาท่ีแนนอน โดยกําหนด เวลาเร่ิมตนและเวลาท่ีส้ินสุดใหชัดเจน ถาไมกําหนดเวลาหรือปลอยใหโครงการดําเนินไปเร่ือย ๆ ยอมไมสามารถประเมินผลสําเร็จได ซ่ึงจะกลายเปนการดําเนนิงานตามปกติ 1.2.6 มีลักษณะเปนงานท่ีเรงดวน โครงการตองเปนกิจกรรมท่ีจัดข้ึนเพือ่สนองนโยบายเรงดวนท่ีตองการ จะพัฒนางานใหกาวหนาอยางรวดเร็วทันตอเหตุการณหรือเปนงานใหม 1.2.7 ตองมีตนทุนการผลิตต่ํา การดําเนินงานตามโครงการตองใชทรัพยากร หรืองบประมาณ โครงการจะมีประสิทธิภาพตอเม่ือมีการลงทุนนอย และใหผลหรือไดรับประโยชนสูงสุด 1.2.8 เปนการริเร่ิมหรือพัฒนางาน โครงการตองเปนความคิดริเร่ิมท่ีแปลกใหม เพือ่แกปญหาและอุปสรรค และพัฒนางานใหเจริญกาวหนา

Page 337: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

235

61.3 ความสําคญัของโครงการ เนื่องจากโครงการ เปนสารท่ีเรียบเรียงข้ึนเปนข้ันตอน และมีแผนปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงค ดังน้ันโครงการจึงเปนสวนประกอบท่ีสําคัญของแผนการดําเนินงานของสวนราชการหรือหนวยงานทุกแหง การวางแผนโครงการ มีกระบวนการและข้ันตอน เชนเดียวกับการวางแผนโดยทั่วไป คือ ประกอบดวยการกําหนดวัตถุประสงค การรวบรวมและการวิเคราะหขอมูล การพิจารณาถึงอุปสรรค ปญหา คนหาโอกาส เลือกแนวทางการปฏิบัติท่ีเปนไปไดหรือวิถีทางท่ีดีท่ีสุดและกระบวนการสุดทาย คือการตรวจสอบ ทบทวน และการประเมินผลโครงการ ดังนั้นโครงการจึงมีความสําคัญตอแผนการการปฏิบัติงานดังตอไปนี ้ 1.3.1 ชวยช้ีใหเห็นถึงปญหาและภูมิหลังของการทํางาน 1.3.2 ชวยใหการปฏิบัติงานตามแผนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 1.3.3 ชวยใหแผนงานมีความชัดเจน โดยบุคคลท่ีเกี่ยวของมีความเขาใจและรับรูถึงปญหารวมกัน 1.3.4 ชวยใหแผนงานมีทรัพยากรใชเพียงพอเหมาะสมกับสภาพปฏิบัติจริง เพราะมีรายละเอียดการใชท่ีชัดเจน 1.3.5 ชวยใหแผนงานมีความเปนไปไดสูงเพราะมีผูรับผิดชอบ และมีความเขาใจในการดําเนินงาน 1.3.6 ชวยลดความขัดแยงและขจัดความซํ้าซอนในหนาท่ีความรับผิดชอบของหนวยงาน เพราะแตละหนวยงานมีโครงการท่ีไดรับผิดชอบเปนการเฉพาะ เหมาะสมกับความรูความสามารถของบุคคลในหนวยงาน 1.3.7 สรางทัศนคติท่ีดีตอบุคลากรในหนวยงาน เปนการเสริมสรางสามัคคีธรรมและความรับผิดชอบรวมกัน ตามความรู ความสามารถและศักยภาพของแตละบุคคลอยางเต็มท่ี 1.3.8 สรางความมั่นคงใหกบัแผนงาน และสรางความม่ันใจในการดาํเนินงานใหกบัผูมีหนาท่ีรับผิดชอบ 1.3.9 สามารถควบคุมการทํางานไดสะดวกไมซํ้าซอน เพราะงานไดแยกออกเปนสวน ๆ ตามลักษณะเฉพาะของงาน

Page 338: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

236

ภาพท่ี 41 โครงการเลี้ยงปลาดุกเปนสวนหนึ่งของโครงการเกษตร เพื่อหารายไดของเกษตรกร

2. สวนประกอบของโครงการ ในการเขียนโครงการ นักศึกษาจําเปนตองเขาใจสวนประกอบตาง ๆ ท้ังนี้เพื่อใหการเขียนโครงการเปนไปตามลําดับขั้นตอนมีเหตุผลนาเช่ือถือ และการเขียนสวนประกอบของโครงการครบถวน ชวยใหการลงมือปฏิบัติตามโครงการเปนไปโดยราบร่ืน รวดเร็วและสมบูรณ สวนประกอบของโครงการ จําแนกได 3 สวน ดังตอไปนี ้

2.1 สวนนํา หมายถึงสวนท่ีใหขอมูลเบ้ืองตนเกีย่วกับโครงการนั้น ๆ สวนนําของโครงการ

มุงตอบคําถามตอไปนี้ คือ โครงการนั้นคือโครงการอะไร เกี่ยวของกบัใคร ใครเปนผูเสนอหรือดําเนินโครงการ โครงการนั้นมีความเปนมาหรือความสําคัญอยางไร ทําไมจงึจัดโครงการนั้นข้ึนมา และมีวัตถุประสงคอยางไร จะเห็นไดวา ความในสวนนําตองมีรายละเอียดเพยีงพอท่ีจะใหผูอาน และผูเกี่ยวของไดเขาใจขอมูลพื้นฐาน กอนจะอานรายละเอียดในโครงการตอไป สวนนําของโครงการประกอบดวยหวัขอตอไปนี ้ 2.1.1 ช่ือโครงการ 2.1.2 ผูรับผิดชอบหรือผูดําเนินโครงการ 2.1.3 ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ (หลักการและเหตุผล) 2.1.4 วัตถุประสงค การเขียนสวนนําของโครงการ ตองทําใหผูอานเกิดความเขาใจและเหน็ความสําคัญของโครงการนั้น พรอมตัดสินใจวาเปนโครงการท่ีนาสนใจหรือไม หากผูอานเปนกลุมบุคคลท่ีมีหนาท่ีตองพิจารณาอนุมัติหรือใหการสนับสนุน ก็อาจจะเกดิแนวคิดวาจะใหความชวยเหลือโครงการนั้นแค

Page 339: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

237

2.2 สวนเนื้อความ หมายถึงสวนท่ีเปนสาระสําคัญของโครงการ ไดแก วิธีดําเนนิการซ่ึง

กลาวถึงลําดับข้ันตอนตาง ๆ ในการปฏิบัตงิาน รวมท้ังพืน้ท่ีการปฏิบัติงานซ่ึงครอบคลุมปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนการดําเนนิงานตาม วนั เวลาและสถานท่ี สวนเนื้อความของโครงการประกอบดวย หัวขอตอไปนี ้ 2.2.1 เปาหมายของโครงการ 2.2.2 วิธีดําเนนิการ 2.2.3 วัน เวลาและสถานท่ีในการดําเนินงาน วิธีดําเนินการจัดเปนหัวใจสําคัญของโครงการ ผูเขียนตองพยายามอยางยิ่งท่ีจะไมทําใหผูอานเกิดความสับสน วิธีดําเนินการควรแยกอธิบายเปนขอ ๆ ใหชัดเจนตามลําดับข้ันตอนการทาํงาน อาจทําแผนผังสรุปวิธีดําเนินการตาม วัน เวลา เพื่อความชัดเจนดวยก็ได

2.3 สวนขยายความ หมายถึง สวนประกอบท่ีใหรายละเอียดอ่ืน ๆ เกีย่วกับโครงการไดแก

ประโยชนหรือผลท่ีคาดวาจะไดรับ งบประมาณดําเนนิการหรือแหลงเงินทุนสนับสนุนตลอดจนการติดตามและประเมินผล สวนขยายเนื้อความของโครงการ ประกอบดวยหวัขอตอไปนี้ 2.3.1 งบประมาณท่ีใช 2.3.2 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 2.3.3 การติดตามประเมินผล ในสวนขยายความ อาจจะเพิม่เติมผูเสนอโครงการไวในตอนทายของโครงการ ในกรณีท่ีเปนโครงการท่ีตองเสนอผานตามลําดับข้ันตอน และผูอนุมัติโครงการลงนามในตอนทายสุดของโครงการ

3. ลําดับขั้นตอนการเขียนโครงการ ไดกลาวสวนประกอบของโครงการตามหัวขอสําคัญ 3 ประการแลว ในท่ีนี้ขออธิบายรายละเอียด ลําดับข้ันตอนของการเขียนโครงการ ดังตอไปนี ้

Page 340: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

238

3.1 ชื่อโครงการ ช่ือโครงการตองมีความชัดเจน รัดกุมและเฉพาะเจาะจง ทําใหเกดิความเขาใจงายแกผูเกี่ยวของหรือผูนําโครงการไปปฏิบัติ ช่ือโครงการจะบอกใหทราบวาจะทําส่ิงใดหรือเสนอข้ันตอนเพื่อทําอะไร โดยปกติช่ือโครงการจะแสดงลักษณะของงานท่ีตองปฏิบัติ ตัวอยางเชน 3.1.1 โครงการฝกอบรมพัฒนาบุคลิกภาพและศิลปะการพูด 3.1.2 โครงการประชุมสัมมนาผูบริหารสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา 3.1.3 โครงการอบรมผูนําเยาวชน 3.2 ผูรับผดิชอบโครงการ เปนการบอกใหทราบวา กลุมบุคคลใด หรือหนวยงานใดเปนผูรับผิดชอบในการเสนอและดําเนินงานตามโครงการ ท้ังนี้เพื่อสะดวกแกการประสานงานและการตรวจสอบ 3.3 ระยะเวลาในการดําเนนิการ เปนการระบุระยะเวลาต้ังแตเร่ิมตนโครงการจนกระท่ังส้ินสุดโครงการ โดยระบุเวลาท่ีใชเร่ิมตนตัง้แตวนัเดือนป และส้ินสุดหรือแลวเสร็จในวันเดือนปอะไร 3.4 หลักการและเหตุผล หรืออาจจะเรียกวาความเปนมาหรือภูมิหลังของโครงการ หลักการและเหตุผลเปนสวนท่ีแสดงถึงปญหาหรือความจําเปนท่ีตองจัดโครงการข้ึน โดยผูเขียนหรือผูเสนอโครงการจะตองระบุถึงปญหา เหตุผลและขอมูลสนับสนุนใหปรากฏชัดเจน นอกจากนีย้ังตองแสดงใหเห็นวาโครงการท่ีเขียนข้ึนนั้น สอดคลองกับแผน นโยบายของหนวยงานและเปนการเตรียมไปสูสภาพท่ีตองการในอนาคต ผูเขียนตองพยายามหาเหตุผล หลักการและทฤษฏีตาง ๆ สนับสนุนโครงการอยางสมเหตุสมผล เพื่อใหผูบริหารหรือผูมีหนาท่ีอนุมัติโครงการเห็นชอบตามท่ีเสนอ การเขียนหลักการและเหตุผลมักเขียนเปนความเรียง ไมนยิมเขียนเปนขอ ๆ 3.5 วัตถุประสงค การเขียนวัตถุประสงคตองระบุใหชัดเจน รัดกุมและสามารถปฏิบัติไดจริง การเขียนวัตถุประสงคตองครอบคลุมเหตุผลท่ีจะทําโครงการ โดยจดัลําดับแยกเปนขอ ๆ เพื่อความเขาใจงายและชัดเจน 3.6 เปาหมาย เปาหมายของโครงการเปนการบอกถึงความตองการ หรือทิศทางในการปฏิบัติงานท่ีระบุในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพหรือพื้นท่ีในการปฏิบัติงาน

- เชิงปริมาณ - เชิงคณุภาพ

3.7 วิธีดําเนินการ เปนการกลาวถึงลําดับข้ันตอนการทาํงาน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามท่ีกําหนดในโครงการ วิธีดําเนินการมักจําแนกเปนกิจกรรมยอย ๆ โดยแสดงใหเห็นชัดเจน ตั้งแตเร่ิมตน

Page 341: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

239

3.8 สถานท่ีดาํเนินการ คือ สถานท่ี บริเวณ พื้นท่ี อาคาร ท่ีใชจัดกจิกรรมตามโครงการ 3.9 งบประมาณหรือคาใชจาย การดําเนนิงานตามโครงการตองใชงบประมาณ หรือคาใชจาย ท่ีระบุถึงจํานวนเงิน จํานวนวัสดุครุภณัฑหรือจํานวนบุคคลและปจจัยอ่ืน ๆ ท่ีจําเปนตอการดําเนนิการสําหรับงบประมาณควรระบุใหชัดเจนวานํามาจากท่ีใด เชน จากงบประมาณหรือเงินบริจาค เปนตน 3.10 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ เปนการกลาวถึงผลประโยชนท่ีพึงจะไดรับจากความสําเร็จ ของโครงการ เปนการคาดคะเนผลท่ีจะไดรับเม่ือส้ินสุดการปฏิบัติโครงการ ซ่ึงผลที่ไดรับตองเปนไปในทางท่ีดี ท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ 3.11 การประเมินผล เปนการประเมินผลการดําเนินงานตามโครงการ ซ่ึงตองระบุวธีิการประเมินผลใหชัดเจนวาจะประเมินโดยวิธีใด อาจเขียนเปนขอ ๆ หรือเขียนรวม ๆ กนัก็ได เชน จากการสังเกตและตอบแบบสอบถาม เปนตน นอกจากโครงการจะมีสวนประกอบสําคัญ 11 ประการ ตามท่ีกลาวมาแลว การเขียนโครงการอาจจะมีสวนประกอบเพ่ิมเติมอีกได เชน ปญหาและอุปสรรคขอเสนอแนะ ผูเขียนโครงการ ผูอนุมัติโครงการ เปนตน

ภาพท่ี 42 การเขียนโครงการเกษตรยั่งยนืภายใตแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ

Page 342: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

240

ตัวอยางแบบฟอรมการเขยีนโครงการ

1. ชื่อโครงการ…………………………………………………………………………………… 2. ผูรับผดิชอบโครงการ…………………………………………….…………………………… 3. ระยะเวลาดําเนินการ……………………………………………..…………………………… 4. หลักการและเหตุผล…………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 5. วัตถุประสงค……………………………………………….………………………………… 6. เปาหมาย

- เชิงปริมาณ …………………………………………………………………………… - เชิงคณุภาพ……………………………………………………………………………

7. วิธีดําเนินการ………………..……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………….……………………………………………………… 8. สถานท่ีดําเนินการ……………………..…………………………………………………… 9. งบประมาณท่ีใช ……………………….…………………………………………………… …………………………………………….…………………………………………………… 10. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………..………………………………………………… 11. การติดตามและประเมินผล …………….…………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………

Page 343: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

241

4. ลักษณะของโครงการท่ีดี โครงการเปนกิจกรรมท่ีจัดทําข้ึน เพื่อการปฏิบัติภารกิจใหบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ โครงการท่ีดียอมมีผลตอบแทนหนวยงานหรือองคการอยางคุมคา ลักษณะของโครงการท่ีดีมีดังนี ้ 4.1 สามารถแกปญหาองคกรหรือหนวยงานได 4.2 มีประสิทธิภาพและกอใหเกิดผลตอบแทนคุมคา 4.3 รายละเอียดของโครงการตองสอดคลองและสัมพันธกัน 4.4 วัตถุประสงคและเปาหมายตองชัดเจนและมีความเปนไดสูง 4.5 สามารถสนองความตองการขององคกรและหนวยงานไดอยางด ี 4.6 สามารถนําไปปฏิบัติไดสอดคลองกับแผนงาน 4.7 กําหนดข้ึนจากขอมูลท่ีมีความเปนจริงและไดรับการวิเคราะหอยางรอบคอบ 4.8 ตองไดรับการสนับสนุนดานทรัพยากรหรือคาใชจายอยางเหมาะสม 4.9 ตองมีระยะเวลาการดําเนินโครงการชัดเจน

5. ประเภทของโครงการ โครงการแบงออกไดหลายประเภทตามความตองการและความเหมาะสม ไดแก แบงตามระยะเวลา เชนโครงการระยะส้ัน โครงการระยะยาว หรือแบงตามความสําคัญ เชน โครงการหลัก โครงการเสริม เปนตน แตท่ีนิยมกนัโดยท่ัวไปมักจะแบงประเภทของโครงการตามลักษณะของผูเสนอโครงการ ดังตอไปนี ้ 5.1 โครงการที่เสนอโดยตัวบุคคล หมายถึงโครงการท่ีริเร่ิมข้ึนโดยบุคคลใดบุคคลหน่ึง ท้ังนี้อาจเปนความคิดริเร่ิมของตัวผูเขียนโครงการเอง หรือไดรับการมอบหมายจากผูอ่ืนใหเปนผูเขียนโครงการก็ได 5.2 โครงการที่เสนอโดยกลุมบุคคล หมายถึงโครงการท่ีริเร่ิมข้ึนโดยบุคคลมากกวา 2 คนข้ึนไป ท่ีมีความเหน็พองตองกันในวัตถุประสงค วิธีการและมีเจตนาที่จะทํางานรวมกนั ซ่ึงสวนประกอบของโครงการจะตองไดรับการอภิปรายจนเปนท่ีพอใจของกลุม การเขียนโครงการโดยกลุมบุคคลมีผลดี เพราะนอกจากจะไดรับประสบการณจากการเขียนโครงการแลว ยงัไดมีการประชุม อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และการใชเหตุผลพรอมกับการเรียนรูวิธีการทํางานรวมกันเปนหมูคณะ ดังน้ันโครงการนําเสนอโดยกลุมบุคคลจึงมีความสมบูรณและรัดกุมมากกวาการเขียนโครงการโดยตัวบุคคล

Page 344: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

242

5.3 โครงการท่ีเสนอโดยหนวยงาน หมายถึงโครงการท่ีอาจจะเร่ิมโดยตัวบุคคล หรือกลุมบุคคลก็ได แตเปนโครงการท่ีดําเนินการในนามของหนวยงาน ซ่ึงหมายความวาทุกคนในหนวยงานนั้นจะตองเห็นดวยและรวมกันรับผิดชอบ โครงการที่เสนอโดยหนวยงานจึงจัดเปนโครงการใหญท่ีตองประสานงานและรวมมือกันทุกฝาย นับวาเปนโครงการท่ีมีความสมบูรณมากกวาโครงการประเภทอ่ืน

6. การใชถอยคําสํานวนในการเขียนโครงการ ผูเขียนโครงการตองมีความรู ความเขาใจในเร่ืองการใชถอยคํา สํานวนภาษาเปนอยางดี เพราะโครงการจะบรรลุเปาหมายหรือประสบผลสําเร็จ ข้ึนอยูกับการใชถอยคําภาษาเปนสําคัญ ถาใชถอยคําภาษาถูกตอง ชัดเจน สละสลวย ยอมส่ือความหมายไดงายและรวดเร็ว ดังนั้นผูเขียนโครงการจึงตองรูจักเลือกใชถอยคํา ท่ีมีลักษณะดังตอไปนี ้ 1. ใชภาษาใหถูกตอง คือใชใหถูกตองตรงตามความหมาย และเขียนใหถูกตองตามอักษรวิธี ท้ังตัวพยัญชนะ สระ วรรณยุกต ตวัสะกดและการันต 2. ใชภาษาใหกะทัดรัด คือใชถอยคํากระชับรัดกุม ไมเยิน่เยอยืดยาว ประหยดัถอยคํา แตตองไดใจความสมบูรณ 3. ใชภาษาใหชัดเจน คือ ใชถอยคําท่ีมีความหมายตรงไปตรงมาหรือตรงตามตัว ทําใหผูรับสารเขาใจทันที ไมใชถอยคําคลุมเครือหรือกํากวม 4. ใชภาษาใหเหมาะสม คือใชภาษาใหเหมาะสมกับเนื้อความ หรือเหมาะสมกับกาลเทศะ 5. ใชภาษาใหสุภาพ คือใชภาษาเขียนเปนภาษาที่มีแบบแผน ไมใชภาษาพดูในการเขียนโครงการ

สรุป การเขียนโครงการเกษตร ผูเขียนจะตองจัดทําข้ึนอยางมีระบบเพราะวาเปนกิจกรรมท่ีรวมกัน

อยู ซ่ึงตองใชทรัพยากรในการดําเนินงานและคาดหวังจะไดผลตอบแทนอยางคุมคาโดยมีจดุเร่ิมตน และจุดล้ินสุด เพราะวาโครงการจะชวยช้ีใหเห็นถึงปญหาและภูมิหลังของการทํางาน, ชวยใหการปฏิบัติงานตามแผนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ, ชวยใหแผนงานมีความชัดเจน โดยบุคคลท่ีเกี่ยวของมีความเขาใจและรับรูถึงปญหารวมกัน, ชวยใหแผนงานมีทรัพยากรใชเพียงพอเหมาะสมกับสภาพปฏิบัติจริงเพราะมีรายละเอียดการใชท่ีชัดเจน, ชวยใหแผนงานมีความเปนไปไดสูงเพราะมีผูรับผิดชอบและมีความเขาใจในการดําเนนิงาน, ชวยลดความขัดแยงและขจัดความซํ้าซอนในหนาท่ีความรับผิดชอบของหนวยงาน, สรางทัศนคติท่ีดีตอบุคลากรในหนวยงานเปนการเสริมสรางสามัคคีธรรมและความรับผิด

Page 345: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

243

โครงการเกษตรท่ีดี ตองเปนเปนกิจกรรมท่ีจัดทําข้ึนเพื่อการปฏิบัติภารกิจใหบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ มีผลตอบแทนหนวยงานหรือองคการอยางคุมคา แกปญหาองคการใหผลตอบแทนคุมคา ตองสอดคลองและสัมพันธกันวัตถุประสงคและเปาหมายตองชัดเจน สามารถสนองความตองการขององคการสามารถนําไปปฏิบัติได สอดคลองกับแผนงานท่ีกําหนดข้ึน

การเขียนโครงการตามลําดับข้ันตอน ผูเขียนโครงการจะตองทําการศึกษาขอมูลมาเปนอยางดีแลวเขียนตามลําดับ จะทําใหการดําเนินกจิกรรมบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงประกอบดวยลําดับข้ันตอนดังนี ้ 1. ช่ือโครงการ 2. ผูรับผิดชอบโครงการ 3. ระยะเวลาในการดําเนินการ 4. หลักการและเหตุผล 5. วัตถุประสงค 6. เปาหมาย 7. วิธีดําเนนิการ 8. สถานท่ีดําเนินการ 9. งบประมาณหรือคาใชจาย 10. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 11. การประเมินผล

************************************

Page 346: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

244

แบบฝกหัด หนวยท่ี 9 โครงการธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อทบทวนความรูท่ีไดเรียนมาแลว ****************************************************************************** 1. โครงการคืออะไร มีความสําคัญอยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. โครงการแบงออกเปนกีส่วน อะไรบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

Page 347: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

245

3. จงบอกข้ันตอนของการเขียนโครงการ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 4. ลักษณะของโครงการท่ีดี มีอะไรบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................

******************************

Page 348: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

246

แบบประเมนิผลกอน-หลังเรียน หนวยท่ี 9 การเขียนโครงการธุรกิจเกษตร วัตถุประสงค เพื่อประเมินความรูกอนเรียนและหลังเรียน ****************************************************************************** คําสั่ง จงเลือก X คําตอบท่ีทานเห็นวาถูกตองท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว1. โครงการธุรกิจ หมายถึง ก. เปนสารท่ีเรียบเรียงข้ึนอยางรอบคอบ เปน ข้ันเปนตอน พรอมกับมีแนวทางปฏิบัติ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามเปาหมาย ของแผนงานท่ีไดกําหนดไว ข. เปนแผนการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ท่ีมี หนวยงานรับผิดชอบ มีจุดเริ่มตนและ สิ้นสุด ค. เปนแผนการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ท่ีมี ผูรับผิดชอบ มีการใชทรัพยากรตาง ๆ ใน การทํางาน มีจุดเริ่มตนและสิ้นสุด ง. เปนแผนการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ท่ีมี จุดเริ่มตนและส้ินสุด 3. โครงการธุรกิจเกษตร หมายถึง ก. เปนแผนการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทาง การเกษตรท่ีมีหนวยงานรับผิดชอบ มี จุดเริ่มตนและส้ินสุด ข. เปนสารทางการเกษตรท่ีเรียบเรียงข้ึนอยาง รอบคอบ เปนข้ันเปนตอน พรอมกับม ี แนวทางปฏิบัติเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค ตามเปาหมายของแผนงานท่ีไดกําหนดไว ค. เปนแผนการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ทาง การเกษตรท่ีมีจุดเริ่มตนและสิ้นสุด

ง. เปนแผนงานเกี่ยวกับการเกษตร ท่ีจัดทํา ข้ึนอยางมีระบบ มีการใชทรัพยากร มี จุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุด มีจุดประสงค

ชัดเจน มีพื้นท่ี มีผูรับผิดชอบ 3. จงเรียงลําดับความสําคัญกอนกอนหลัง ของแผนงาน-โครงการ-โครงงาน ก. แผนงาน-โครงงาน-โครงการ ข. แผนงาน-โครงการ-โครงงาน ค. โครงการ-โครงงาน - แผนงาน ง. โครงงาน- แผนงาน-โครงการ

4. ขอใด ไมตรงกับลักษณะท่ีสําคัญของโครงการ ก. เปนการทํางานช่ัวคราว ข. มีลักษณะเปนงานท่ีเรงดวน ค. มีระยะเวลาท่ียืดหยุนไมจํากัด ง. ตองมีตนทุนการผลิตตํ่า

5. โครงการธุรกิจมีความสําคัญในเร่ืองใด บาง ก. ชวยช้ีใหเห็นถึงปญหา และภูมิหลังของ การทํางาน ข. ชวยลดความขัดแยงและขจัดความ ซ้าํซอนในหนาท่ีความรับผิดชอบ ค. สามารถควบคุมการทํางานไดสะดวก ไม ซ้าํซอน ง. ถูกทุกขอ

Page 349: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

247

6. สวนประกอบโครงการ แบงไดเปนกี่สวน ก. 2 สวน ข. 3 สวน ค. 4 สวน ง. 5 สวน

7. สวนประกอบของโครงการดานใด ท่ีบอกถึงความเปนมาท่ีจัดทําโครงการ

ก. สวนนํา ข. สวนเนื้อความ ค. สวนขยายความ ง. ทุกสวน

8. สวนสาระสําคัญของโครงการ อยูในสวนใด ก. สวนนํา ข. สวนเนื้อความ ค. สวนขยายความ ง. อยูไดทุกสวน

9. ขอใด เปนการกําหนดระยะเวลาของโครงการท่ีถูกตองท่ีสุด

ก. ภายใน 1 ป ข. ไมเกิน 5 ป ค. ไมจําเปนตองกําหนดระยะเวลา ง. จะกี่ปก็ได ใหมีเวลาเร่ิมตนและส้ินสุด

10. การนําเอาหลักการและทฤษฎีตาง ๆ มาสนับสนุนโครงการ เพื่อใหผูบริหารเห็นชอบอยูในลําดับข้ันตอนใดของการเขียนโครงการ

ก. ช่ือโครงการ ข. หลักการและเหตุผล ค. วัตถุประสงค ง. เปาหมาย

11. การระบุทิศทางการปฏิบัติงานของโครงการ ไปในทางเชิงคุณภาพและปริมาณ จัดอยูในลําดับขัน้ตอนใดของการเขียนโครงการ

ก. ช่ือโครงการ ข. หลักการและเหตุผล ค. เปาหมาย ง. วัตถุประสงค

12. ความหมายใดเปนไปในลักษณะเชิงคุณภาพ

ก. เกษตรกรมคุีณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ข. เพิ่มรายไดสูงข้ึน 20 % ภายในส้ินป ค. นักศึกษาทุกคนจบการศึกษาแลว มีงาน ทํา ทุกคน ง. เกษตรกรในตําบลราชกรูดทุกคน หลุด พนจากการเปนหนี้สิน

13. การแสดงรายละเอียดของกิจกรรมตั้งแตเร่ิมตนจนส้ินสุดกระบวนการ อยูในขอใด

ก. วิธีดําเนินการโครงการ ข. การประเมินผลโครงการ ค. แผนโครงการ ง. วัตถุประสงคโครงการ

14. เม่ือเรา เพิม่ขอเสนอแนะ และปญหาอุปสรรค ควรจะเพิ่มอยูในสวนประกอบใดของโครงการ

ก. สวนนํา ข. สวนเนื้อความ ค. สวนขยายความ ง. เพิ่มไดทุกสวน

Page 350: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

248

15. การประเมินผลโครงการ จะดําเนินการโดยวิธีใดท่ีดีท่ีสุด

ก. แบบสอบถาม ข. แบบสังเกต ค. แบบสัมภาษณ ง. ข้ึนอยูกับลักษณะของโครงการ

16. ลักษณะของโครงการท่ีดีจะตอง ก. แกไขปญหาไดแมจะเปนการลงทุนท่ี ไมคุมคา ข. รายละเอียดของโครงการตอง สอดคลองสัมพันธซ่ึงกันและกัน ค. ตองมีการสนับสนุนคาใชจายอยางเต็มท่ี ง. ไมตองระบุระยะเวลาใหชัดเจน สามารถยืดหยุนในเร่ืองเวลาได

17. โครงการท่ีแบงตามลักษณะประเภทของของผูเสนอ เราสามารถแบงไดอยางไรบาง

ก. โดยบุคคล ข. โดยกลุมบุคคล ค. โดยหนวยงาน ง. ถูกทุกขอ

18. ประเภทของผูเสนอโครงการใด ท่ีจัดไดวาเปนโครงการท่ีสมบูรณท่ีสุด

ก. โดยบุคคล ข. โดยกลุมบุคคล ค. โดยหนวยงาน ง. ถูกทุกขอ

19. การใชถอยคําสํานวนในการเขียนโครงการจะตองมีลักษณะใด

ก. ใชภาษาใหถูกตอง ข. ใชภาษาท่ีกะทัดรัด ค. ใชภาษาใหสุภาพ ง. ถูกทุกขอ

20. ผูเสนอโครงการและผูอนุมัติโครงการ เราไวในสวนประกอบใดของการเขียนโครงการ

ก. สวนนํา ข. สวนเนื้อความ ค. สวนขยายความ ง. อยูไดทุกสวน

****************************

Page 351: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

249

ใบงานท่ี 9

หนวยท่ี 9 โครงการธุรกิจเกษตร ****************************

เร่ือง โครงการธุรกิจเกษตร

จุดประสงคการเรียนรู 1. สามารถเขียนโครงการธุรกจิเกษตรได

จุดประสงคดานคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษา 1. ดานมนุษยสัมพันธ ในการมีสวนรวม รบัฟงคนอื่น เปนผูนําและผูตามท่ีดี 2. ดานความรับผิดชอบ ตอสวนรวมและสวนบุคคล คือ การตรงตอเวลา เขาหองเรียนทันเวลา การสงงานตามกําหนด ความสะอาดและถูกตองของผลงาน 3. ดานความมีวินัยในตนเอง ความซ่ือสัตยสุจริต แตงกายถูกตองตามระเบียบ 4. ดานความรูและทักษะวิชาชีพ มีความสํานึกดีในการจัดการธุรกิจเกษตรในทุกเรื่องท่ีเกี่ยวของ

วัสดุ เคร่ืองมือ และอุปกรณ 1. กระดาษ A4 2. แบบประเมินผลงานท่ีมอบหมาย 3. เอกสารประกอบการสอนหนวยท่ี 9

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ใหผูเรียนทุกคน เขียนโครงการธุรกิจเกษตรมาคนละ 1 โครงการ ตามแบบฟอรมในเอกสาร หนวยท่ี 9 เรื่อง โครงการธุรกิจเกษตร 2. เขียนโครงการธุรกิจเกษตรในเวลา 2 ช่ัวโมง 3. นําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน 4. ผูสอนและผูเรียนสรุปวิพากษวิจารณความเปนไปไดของโครงการ 5. สงผลงานใหครูผูสอน 6. ประเมินผลตามแบบฟอรม

แหลงคนควา 1. หนังสือเอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการธุรกิจเกษตรและตัวอยางโครงการ 2. ทางอินเตอรเน็ต 3. หนังส่ือและตําราเก่ียวกับการบริหารจัดการท่ัวไป

******************************

Page 352: ชุดการสอนkasetranong.ac.th/sompoch/Agribusiness_Management.pdf · 2019. 4. 16. · การจัํดทาชุดการสอนสํ็าเรจไดวยด

250

เฉลยขอสอบ หนวยท่ี 9 การเขียนโครงการธุรกิจเกษตร

**************************** ขอ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ตอบ ก ง ข ค ง ข ก ข ง ข ขอ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ตอบ ก ค ก ค ง ข ง ค ง ค

***************************************