2
a font a month 80 ปริญญา โรจน์อารยานนท์ www.dbfonts.biz 81 ดีบี พอเพียง การระเบิดของช่องว่าง 1 Serif typeface (Garamond โดย Jean Jannon ,1615) 2 Sans serif typeface (Gill Sans โดย Eric Gill ,1928) วามคิดในการที่จะปรับปรุงตัวเนื้อไทยให้ดูเรียบง่ายโดย ไม่สูญเสียความอ่ายง่ายไปด้วยนั้น ถือเป็นเรื่องยากมาก สำหรับผมเลยทีเดียว เพราะเป็นงานที่ต้องสัมผัสใจ มวลชนจำนวนมาก ไม่ใช่เฉพาะแต่กลุ่มสังคมนักออกแบบด้วยกัน เท่านั้น. ฟอนต์ตัวเนื้อที่ไม่ดีพอ ถ้าถูกใช้ในงานพาณิชยศิลป์ย่อม ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการ. ยิ่งถ้าถูกใช้ในบทบาทการสร้าง สรรค์สังคมด้วยแล้วผลเสียหายจะยิ่งใหญ่หลวง เพราะฟอนต์ทีอ่านยากเกินไป ย่อมเป็นอุปสรรคทั้งการถ่ายทอดภูมิปัญญา องค์ความรู้สู่คนรุ่นใหม่ และการถ่ายทอดจินตนาการใหม่ๆ สู่คนทีสามารถเข้าถึงจนนำไปประยุกต์ใช้ในทางสร้างสรรค์สังคมได้. การ จินตนาการถึงตัวพิมพ์เนื้อไทยในแนวทางใหม่ของผมก็เช่นเดียวกัน คงล่องลอยและคลาดเคลื่อนจากความน่าจะเป็น หากไม่เริ่มต้นจาก การย้อนรอยกลับไปศึกษาวิวัฒนาการของตัวพิมพ์ ทั้งจากนักออก แบบของชาติตะวันตกและของไทยเราเอง. ถ้าจะถามว่า อะไรคือลักษณะเด่นของตัวพิมพ์เนื้อ (text type) ที่เป็นมรดกทางศิลปะวัฒนธรรมของชาวยุโรป? คำตอบคือ ลักษณะขาหรือ serif ตรงส่วนปลายเส้นของตัวอักษร ที่ยืนอยู่บน เส้นฐาน (ดูภาพที่ 1). ลักษณะของ serif นี้ถูกเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งเริ่มหดหายไปตอนต้นศตวรรษที่ 20. ตามประวัติศาสตร์ งานพิมพ์ในโลกตะวันตกนั้น ตัวพิมพ์ที่ไม่มีขา (sans serif typeface) ในยุคต้นๆ ถูกใช้เป็นตัวพาดหัว, ตัวโปรย และคำบรรยายเล็กๆ น้อยๆ. จนเมื่อผู้อ่าน (รวมถึงคนออกแบบจัดหน้าสิ่งพิมพ์เองด้วย) เริ่มคุ้นเคยกับมันมากขึ้น จึงถูกใช้เป็นตัวเนื้อ (text type) แทนตัวพิมพ์ ที่มีขา (serif typeface) มากขึ้นเป็นลำดับ. Gill Sans ถือเป็นแบบ ตัวพิมพ์ชุดแรกๆ ที่ไม่หลงเหลือ serif อยู่เลย (ดูภาพที่ 2) แต่อย่างไร ก็ตาม, Gill Sans ยังคงมีสัดส่วนและลีลา ของรูปอักษร (glyph) ที่ใกล้เคียงตัวพิมพ์ยุค Renaissance อยู่มาก ซึ่งน่าจะมีส่วนช่วย ให้คนอ่านในยุคสมัยนั้นค่อยๆ ยอมรับตัวพิมพ์ที่ไม่มี serif ได้ ในช่วงเวลาต่อมา. DB PorPiang คือความสมานฉันท์ระหว่างรูปแบบ (เรียบง่ายพอประมาณ) กับเนื้อหา (อ่านง่ายพอประมาณ). ถ้าจะถามว่าแนวทางตัวเนื้อไทยแบบใหม่ๆ ในอนาคตควรเป็นอย่างไร นี่อาจเป็นคำตอบที่ต้องอาศัยช่วงเวลา ในการสร้างความคุ้นชินเป็นเครื่องพิสูจน์. ในบรรดาตัวอักษรไทยมาตรฐานที่เราใช้อ่านอยู่ในชีวิต ประจำวันนั้น ถ้าลองไล่เรียงสังเกตดูให้ครบจะพบว่า รูปอักษรที่เป็น เส้นเปิดโล่งจริงๆ มีเพียง 5 ตัวเท่านั้น คือ ก, ธ, า, ่ และ ๋ นอกนั้น ล้วนแต่มีหัวกลมๆ. บางตัวนอกจากหัวยังมีขมวดม้วนที่เส้นฐานบ้าง (เช่น น, ม), เส้นบนบ้าง (เช่น ห), ปลายล่างบ้าง (เช่น ฎ, ฏ ) ฯลฯ เกิดพื้นที่ตาบอดเล็กๆ ที่ถูกเส้นปิดล้อมเต็มไปหมด. เราจึงสามารถ ชี้ชัดได้ว่า นี่เป็นลักษณะเด่นที่ทำให้ตัวพิมพ์มาตรฐานของเรา แตกต่างจากชาติอื่น (ยกเว้นของลาวซึ่งคล้ายกับไทยมาก). เมื่อเทียบหัวและขมวดม้วนในอักษรไทยกับ serif ในอักษร โรมันแล้ว ของเรามีบทบาทสำคัญในการช่วยจดจำลักษณะเด่น ของแต่ละตัวอักษรสูงกว่าของฝรั่ง. อธิบายให้เข้าใจได้ง่ายๆ คือ ทิศทางการหันของหัวเป็นวิธีการสร้างความแตกต่างในหมู่ตัว อักษรไทย. มันทำให้ พ ดูต่างจาก ผ, ด ต่างจาก ค, ภ ต่างจาก ถ. ส่วนการเปลี่ยนตำแหน่งขมวดม้วน ทำให้ น ต่างจาก ม และ ณ ต่างจาก ฌ อย่างชัดเจน เป็นต้น. ต่างกันกับตัวอักษรโรมัน ที่แม้จะมีหรือไม่มี serif ก็ตาม ตัวอักษรแต่ละตัวก็สามารถแยก แยะออกจากกันได้ง่ายอยู่แล้ว. ดังนั้น ถ้าเราจะปรับปรุงตัวเนื้อไทยใหทันสมัยดูเรียบง่ายขึ้น ก็คงไม่ใช่ทำกันง่ายๆ แบบแค่ตัดหัวและ ขมวดม้วนทุกตัวออกไปดื้อๆ อย่างแน่นอน. จำเป็นต้องศึกษา ความคลี่คลายของแบบตัวพิมพ์ทั่วๆ ไปของไทย รวมทั้งอุปสรรคและ ปัญหาในการใช้งานเท่าที่ผ่านมาให้ถ่องแท้เสียก่อน. ถ้าจะว่าไปแล้ว ตัวพิมพ์ภาษาไทยได้แตกหน่อออกไปมาก มายตามกระแสคลั่งไคล้โลกตะวันตกมานานโดยเฉพาะตัวประเภท ที่ใช้พาดหัวมีจำนวนไม่น้อยที่เป็นการยืมรูปอักษรโรมันมาปรับ แปลง. นั่นอาจเป็นเพราะส่วนหนึ่งตัวพิมพ์มาตรฐานไทยหลายตัว บังเอิญมีลักษณะใกล้เคียงตัวพิมพ์โรมัน เช่น น กับ u, ท กับ n, พ กับ W, ร กับ S และ บ กับ U เป็นต้น. ผมเคยพบเห็นป้ายโฆษณาทีเขียนย่อๆ ว่า WSU แล้วทำให้ต้องผงะอยู่ 2-3 วินาที กว่าจะอ่านออกว่า “(ที่นี่รับทำ)พรบ.”. ความสับสนยิ่งมีมากขึ้นเมื่อถูกใช้ในขนาดเล็ก ลง ขมวดม้วนที่แทบไม่เหลือเค้าโครงเดิมให้เห็นของฟอนต์ไทย เสมือนโรมันกลุ่มนี้จะทำให้เราแยกแยะตัวอักษรสำคัญหลายตัวที่มี ความถี่ในการใช้งานสูงอย่าง น, บ, ม ออกจากกันได้ยาก (ดูภาพที่ 3) ตัวพิมพ์เหล่านี้เกิดขึ้นมากมายและแน่นอน มันมีมากกว่าตัวไทยแท้ๆ เสียอีก เนื่องจากใช้เวลาสร้างน้อยกว่า. 3 ฟอนต์ไทยสไตล์โรมันทั่วๆไป (บน) อ่านได้ยากในขนาดเล็ก เทียบกับ DB PorPiang (ล่าง) ซึ่งอ่านได้ง่ายกว่า Just as the serif in the Roman character form which, by the early twentieth century, was completely eliminated in the sans serif faces, the loops in traditional Thai letter form have been reduced to tiny nibs in DB PorPiang SL, just sufficient for visual recognition of each letter. Note: “PorPiang” means “sufficient”. SL, or “sans loop”, denotes the style of this face. การใช้ font ไทยที่ดูคล้ายๆ โรมันเป็นตัวพาดหัวหรือตัวโปรย ประมาณ 36 point ขึ้นไปก็เหมือนพูดไทยปนฝรั่งนิดๆ ซึ่งเป็นธรรมดาของภาษา ที่บ่อยครั้งเราหาคำไทยที่กระชับ ได้ความหมายหรือให้อารมณ์ตรงกันไม่ได้. แต่ถ้าเราใช้เป็นตัวเนื้อให้อ่านกันยาวๆ ผลจะ different ออกไป คล้ายๆ กับพูดไทยคำอังกฤษสองคำ ซึ่ง efficiency ในการ communicate กับ audience จะถูก interrupt!

ดีบี พอเพียง PorPiang SL.pdf80 a font a month ปร ญญา โรจน อารยานนท 81 ด บ พอเพ ยง การระเบ ดของช

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

a font a month 80

ปรญญา โรจนอารยานนทwww.dbfonts.biz

81

ดบ พอเพยงการระเบดของชองวาง

1 Serif typeface (Garamond โดย Jean Jannon ,1615)

2 Sans serif typeface (Gill Sans โดย Eric Gill ,1928)

วามคดในการทจะปรบปรงตวเนอไทยใหดเรยบงายโดย

ไมสญเสยความอายงายไปดวยนน ถอเปนเรองยากมาก

สำหรบผมเลยทเดยว เพราะเปนงานทตองสมผสใจ

มวลชนจำนวนมาก ไมใชเฉพาะแตกลมสงคมนกออกแบบดวยกน

เทานน. ฟอนตตวเนอทไมดพอ ถาถกใชในงานพาณชยศลปยอม

สงผลกระทบตอผประกอบการ. ยงถาถกใชในบทบาทการสราง

สรรคสงคมดวยแลวผลเสยหายจะยงใหญหลวง เพราะฟอนตท

อานยากเกนไป ยอมเปนอปสรรคทงการถายทอดภมปญญา

องคความรสคนรนใหม และการถายทอดจนตนาการใหมๆ สคนท

สามารถเขาถงจนนำไปประยกตใชในทางสรางสรรคสงคมได. การ

จนตนาการถงตวพมพเนอไทยในแนวทางใหมของผมกเชนเดยวกน

คงลองลอยและคลาดเคลอนจากความนาจะเปน หากไมเรมตนจาก

การยอนรอยกลบไปศกษาววฒนาการของตวพมพ ทงจากนกออก

แบบของชาตตะวนตกและของไทยเราเอง.

ถาจะถามวา อะไรคอลกษณะเดนของตวพมพเนอ (text type)

ท เปนมรดกทางศลปะวฒนธรรมของชาวยโรป? คำตอบคอ

ลกษณะขาหรอ serif ตรงสวนปลายเสนของตวอกษร ทยนอยบน

เสนฐาน (ดภาพท 1). ลกษณะของ serif นถกเปลยนแปลงอยางตอเนอง

จนกระทงเรมหดหายไปตอนตนศตวรรษท 20. ตามประวตศาสตร

งานพมพในโลกตะวนตกนน ตวพมพทไมมขา (sans serif typeface)

ในยคตนๆ ถกใชเปนตวพาดหว, ตวโปรย และคำบรรยายเลกๆ

นอยๆ. จนเมอผอาน (รวมถงคนออกแบบจดหนาสงพมพเองดวย)

เรมคนเคยกบมนมากขน จงถกใชเปนตวเนอ (text type) แทนตวพมพ

ทมขา (serif typeface) มากขนเปนลำดบ. Gill Sans ถอเปนแบบ

ตวพมพชดแรกๆ ทไมหลงเหลอ serif อยเลย (ดภาพท 2) แตอยางไร

กตาม, Gill Sans ยงคงมสดสวนและลลา ของรปอกษร (glyph)

ทใกลเคยงตวพมพยค Renaissance อยมาก ซงนาจะมสวนชวย

ใหคนอานในยคสมยนนคอยๆ ยอมรบตวพมพท ไมม serif ได

ในชวงเวลาตอมา.

DB PorPiang คอความสมานฉนทระหวางรปแบบ (เรยบงายพอประมาณ) กบเนอหา (อานงายพอประมาณ). ถาจะถามวาแนวทางตวเนอไทยแบบใหมๆ ในอนาคตควรเปนอยางไร นอาจเปนคำตอบทตองอาศยชวงเวลาในการสรางความคนชนเปนเครองพสจน.

ในบรรดาตวอกษรไทยมาตรฐานท เราใชอานอย ในชวต

ประจำวนนน ถาลองไลเรยงสงเกตดใหครบจะพบวา รปอกษรทเปน

เสนเปดโลงจรงๆ มเพยง 5 ตวเทานน คอ ก, ธ, า, และ นอกนน

ลวนแตมหวกลมๆ. บางตวนอกจากหวยงมขมวดมวนทเสนฐานบาง

(เชน น, ม), เสนบนบาง (เชน ห), ปลายลางบาง (เชน ฎ, ฏ ) ฯลฯ

เกดพนทตาบอดเลกๆ ทถกเสนปดลอมเตมไปหมด. เราจงสามารถ

ชชดไดวา นเปนลกษณะเดนททำใหตวพมพมาตรฐานของเรา

แตกตางจากชาตอน (ยกเวนของลาวซงคลายกบไทยมาก).

เมอเทยบหวและขมวดมวนในอกษรไทยกบ serif ในอกษร

โรมนแลว ของเรามบทบาทสำคญในการชวยจดจำลกษณะเดน

ของแตละตวอกษรสงกวาของฝรง. อธบายใหเขาใจไดงายๆ คอ

ทศทางการหนของหวเปนวธการสรางความแตกตางในหมตว

อกษรไทย. มนทำให พ ดตางจาก ผ, ด ตางจาก ค, ภ ตางจาก

ถ. สวนการเปลยนตำแหนงขมวดมวน ทำให น ตางจาก ม และ

ณ ตางจาก ฌ อยางชดเจน เปนตน. ตางกนกบตวอกษรโรมน

ทแมจะมหรอไมม serif กตาม ตวอกษรแตละตวกสามารถแยก

แยะออกจากกนไดงายอยแลว. ดงนน ถาเราจะปรบปรงตวเนอไทยให

ทนสมยดเรยบงายขน กคงไมใชทำกนงายๆ แบบแคตดหวและ

ขมวดมวนทกตวออกไปดอๆ อยางแนนอน. จำเปนตองศกษา

ความคลคลายของแบบตวพมพทวๆ ไปของไทย รวมทงอปสรรคและ

ปญหาในการใชงานเทาทผานมาใหถองแทเสยกอน.

ถาจะวาไปแลว ตวพมพภาษาไทยไดแตกหนอออกไปมาก

มายตามกระแสคลงไคลโลกตะวนตกมานานโดยเฉพาะตวประเภท

ท ใชพาดหวมจำนวนไมนอยทเปนการยมรปอกษรโรมนมาปรบ

แปลง. นนอาจเปนเพราะสวนหนงตวพมพมาตรฐานไทยหลายตว

บงเอญมลกษณะใกลเคยงตวพมพโรมน เชน น กบ u, ท กบ n, พ

กบ W, ร กบ S และ บ กบ U เปนตน. ผมเคยพบเหนปายโฆษณาท

เขยนยอๆ วา WSU แลวทำใหตองผงะอย 2-3 วนาท กวาจะอานออกวา

“(ทนรบทำ)พรบ.”. ความสบสนยงมมากขนเมอถกใชในขนาดเลก

ลง ขมวดมวนทแทบไมเหลอเคาโครงเดมใหเหนของฟอนตไทย

เสมอนโรมนกลมนจะทำใหเราแยกแยะตวอกษรสำคญหลายตวทม

ความถในการใชงานสงอยาง น, บ, ม ออกจากกนไดยาก (ดภาพท 3)

ตวพมพเหลานเกดขนมากมายและแนนอน มนมมากกวาตวไทยแทๆ

เสยอก เนองจากใชเวลาสรางนอยกวา.

3 ฟอนตไทยสไตลโรมนทวๆไป (บน)

อานไดยากในขนาดเลก

เทยบกบ DB PorPiang (ลาง) ซงอานไดงายกวา

Just as the serif in the Roman character form which, by the early twentieth century, was completely eliminated in the sans serif faces, the loops in traditional Thai letter form have been reduced to tiny nibs in DB PorPiang SL, just sufficient for visual recognition of each letter.

Note: “PorPiang” means “sufficient”. SL, or “sans loop”, denotes the style of this face.

การใช font ไทยทดคลายๆ โรมนเปนตวพาดหวหรอตวโปรยประมาณ 36 point ขนไปกเหมอนพดไทยปนฝรงนดๆ ซงเปนธรรมดาของภาษา ทบอยครงเราหาคำไทยทกระชบไดความหมายหรอใหอารมณตรงกนไมได. แตถาเราใชเปนตวเนอใหอานกนยาวๆ ผลจะ different ออกไป คลายๆ กบพดไทยคำองกฤษสองคำ ซง efficiency ในการ communicate กบ audience จะถก interrupt!

8382

อนทจรง ประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกจของโลกในเอเชย

อยางจน, ญปน ทมตวอกษรเปนของตวเองใชนน กไดรบอทธพล

จากสอตะวนตกเหมอนกบเรา. แตอาจตางกนตรงทวา ตวอกษร

ของจนและญปนมลกษณะทแตกตางจากตวโรมนมาก กลาวคอสวน

ใหญมรายละเอยดมากจนไมสามารถ “แปลงราง” เปนตวโรมนได

สะดวกเหมอนตวอกษรไทย. นเองเปนเหตใหตวพมพท ใชเปน

text ของจนและญปนจำตองคงเอกลกษณทางมรดกวฒนธรรมไว

มาก แตนกออกแบบของเขากไดแสดงใหโลกยอมรบแลววา text ทด

ยงเหยงของเขาไมไดเปนอปสรรคตอการทำงานใหออกมาดถงแต

ประการใด.

ปญหาของประเทศทประชากรยงอานหนงสอกนเฉลย

วนละไมกบรรทดอยางเมองไทยนน กลบอยทวานกออกแบบไทย

บางคนใชตวพมพไทยเสมอนโรมนดงกลาวในขนาดทเลกลงเรอยๆ ซง

บอยครงใชในปรมาณทตองอานมากๆ ในรายละเอยดโฆษณาสนคา.

ทเลวรายสดๆ คอใชแทนเปนตวเนอทำหนงสอกนเปนเลมๆ !

ถาจะวาไปแลว ไมตางกนนกกบดารานกรองหรอพธกรบางคนท

ไมใชทงลกครง, ไมไดเรยนโรงเรยนนานาชาต, ไมไดจบจากนอก,

ภาษาองกฤษกไมคอยกระดก ทวากลบพยายามหลอกตวเองและคน

อนดวยการพดไทยสำเนยงฝรงเพอกลบเกลอนปม (ทคดไปเองวา)

ดอย. ความจรงตวอกษรมหวของเราท เปนอย ในทกวนนนน

ไมใชอปสรรคมากมายทจะทำใหงานออกแบบสงพมพของเรา

ดอยกวาชาตอนแตประการใด. อปสรรคสำคญทแทจรงนาจะเปน

ความไมนบถอตวตนรากเหงาของเราเองมากกวา. อยางไรกตาม

ฟอนตไทยเสมอนโรมนเหลาน ถาใชกนในปรมาณนอยๆ เชนตว

โปรยพอหอมปากหอมคอในงานนตยสาร. งานหวจดหมาย, หรอ

ในรายละเอยดโฆษณาทมใหอานไมมากจนเกนไป ถอเปนเครอง

ชรสทยอมรบกนได. เพยงแตนกออกแบบควรพถพถนเลอกฟอนต

ทมชองไฟหางพอไมตดกนจนดแยกแยะตวอกษรออกจากกนไดยาก

กจะถอเปนพระคณตอทานผอานเลยทเดยว!

ในฐานะทเปนทงนกออกแบบเรขศลปและนกออกแบบตวพมพ

ผมคดวานาจะถงคราวแลวทเราจะหนมาใสใจพฒนาตวเนอของไทย

ใหมทางเลอกมากยงขน โดยเรมจากแนวคดเดยวกบการเปลยน

แปลง style ของตวพมพโรมนทม serif มาเปนตวเกลยงเกลาไมม

serif (ดภาพท 4). ถาเราตดทอนลกษณะหวและขมวดมวนใน

อกษรของเราลงเสยบางดวยวธการของเราเอง ยอมเปนไปไดวา

คนไทยจะเกดความยอมรบมนในฐานะตวเนอมากกวาตวทหยบยม

ของคนอนมาปรบใช. ปเสฉวนทไมมเปลอกเปนของตวเองตองเทยว

เรรอนเปลยนเปลอกหอย, กระปองนำอดลม ฯลฯ ไปเรอย

ดไมเทเลย. สเตาทคอยๆ เตบโตไปพรอมกบกระดองทเปนของตว

เองไมได ถงจะชาแตมนคงและยงยนกวา.

เพอจะกาวไปขางหนา เราลองมองยอนหลงไปหาตวพมพ

ไทยแทๆ ดจากหนงสอเกาๆ จะพบวามการเปดหวมานานแลวใน

บางตวอกษร เชนตว ข และ ด, ต ของตว ฝ.ศ.หนา (ดภาพท 5). การ

ระเบดชองวางทถกปดลอมออกนเปนไปเพอปองกนอาการหวทบ

จากภาวะหมกทวมตน (เปนขอจำกดของกระดาษและแทนพมพใน

ยคนน).

การคลายหวออกทงชดกม ใหเหนมานานแลวเชนกนในตว

พมพตะกวรน “โปงแซ” (ดภาพท 6 แถว 3) ทถอเปนหนงในตวพมพ

พาดหวทงดงามทสดของไทย นยมใชกนอยางกวางขวางในสอสง

พมพยคนน. อยางไรกตามแทบไมพบการตดทอนสวนขมวดมวน

อนๆ ในชดตวพมพเนอยคตวเรยงตะกวเลย. ลวงเลยมาจนกระทง

ถงยคเรยงพมพดวยแสง (phototypesetting) จงปรากฏ

การลดรปขมวดมวนเฉพาะทหางของ ฬ ใน “ชวนพมพ” (ดภาพท

6 แถว 5) ทออกแบบโดย อาจารย เชาวน ศรสงคราม ดวยความ

ตงใจใหดเรยบๆ เปนกลางอยาง Helvetica. ดงนน หากมชด

ตวพมพไทยใดทนำตวมหวกลมๆ, มขมวดมวนกลมบางรบาง

มาเปดชองวางใหคลายออกทงหมด กนาจะพออนโลมใชเปนตว

เนอเชงทดลองได. ชอ DB PorPiang จงเกดขนจากการลดรปท

คดวาพอด ไมนอยไปจนดรงรง และไมมากไปจนอานลำบาก. นอกจาก

หวและขมวดมวนทถกลดรปแลว (ดภาพรวมจากรปท 7) ยงใสราย

ละเอยดปลกยอยเขาไปเพอชวยใหตวพมพชดนดโปรงสบายขน

ไปอก ดงน :-

• ตว ก เลอกจาก DB FongNam มาปรบใชเพราะ ลกษณะปากนน

ถกตดทอนลง เหลอแคเสนหยกออกไมมเสนหยกเขา (เปนแนวคด

เดยวกบการตดทอนหวและขมวดมวน).

• ตว อ, ย รวมทง บ, ป เลอกใชเสนโคงแทนเสนตรงทฐาน

เพอลดความหนาแนนในแนวเสนฐานลง (ในตวพมพเลกของฝรงม z

ตวเดยวเทานนทมเสนตรงนอนเปนฐาน).

กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ ะ า ำ เ แ โ ใ ไ

5 ตวพมพตะกว ฝรงเศส หนา. สงเกตหวตว ข และ ต คลายออกเพอลดความหนาแนน (จากหนงสอ "ศลปแหงอาณาจกรไทยโบราณ" ของ น. ณ ปากนำ พ.ศ. 2520)

6 การเปลยนแปลงหวและขมวดมวนในตวอกษรไทย

หวกลม ขมวดหางร

หวกลม ขมวดหางกลม

หวเปดขมวดปม ขมวดหางร

หวครงวงกลม ขมวดหางครงวงกลม

หวกลม ขมวดหางเปด

หวเปด, ขมวดหางเปด

DB PorPiang ประเดมใชครงแรกในงานสอสงพมพของ TCDC ออกแบบโดย "คณะบคคล บอาวเฟรนด"

Oldstyle Transitional Modern Square serif Sans serif

4 การเปลยนแปลงรปแบบ serif ในตวอกษรโรมน

• ตว ข ช และ ซ ยงคงใชเสนฐานตรงยนกงออกไปดานหนากนหว

คะมำหนา (หลงจากลองพยายามใชฐานโคงแลวพบวาดคะมำหนา

อย อาจเปนเพราะแมแตผมเองกยงไมคน!).

• ตว ร, ธ ใชเสนทะแยงเชอมตอเสนตงเขากบเสนโคงบน

(แทนทจะเปนเสนนอนเหมอน ร, ธ ในฟองนำ).

• ตว พ เสนหยกกลาง ถกลดระดบลงเลกนอย ชวยเพมองศามม

แหลมทฐานไมใหดเขมเปนจำ.

• ตว ท และ ห เสนทะแยงถกเลอนขนทำมมเหนอฐานของ

เสนหนาเพอลดความเขมจากมมแหลม (เปนลกษณะเดนทพบใน

ตว ท ของ "ศรชนะ" ทออกแบบโดยอาจารยวนชย ศรชนะ)

มผลใหตวพมพดโปรงขน.

• ตว ค, ด เลอกแบบของตวพมพ ฝ.ศ. มาใช เพอเลยง

มมบรรจบทเสนฐาน.

• ตว จ เอาลกษณะเดนคอ เสนหนาดงทตงฉากกบฐานของตว จ

ในชด DB Soda มาใช ดวยเหตผลเดยวกนกบ ท, ด. จงทำให จ, ท,

และ ด ดกลมกลนเปนกวนเดยว.

• สระบนโดยเฉพาะพวกสระ ถกลดรปเหลอเพยง

ปลายมวนลง (เลยนแบบวธเขยนดวยพกนแบนในงานโปสเตอรผา)

แตยงคงวงกลมของสระ รวมทงสระ ำ ไวเพอใหอานไดงาย.

• ในชดตวโรมนและเลขอารบคนน ยกชดมาจากตว DB Soda.

สวน ear ของ g และ spur ของพวก b, q รวมทง descender ของ y

ลวนถกดดใหโคง ใหดกลมกลนกบหวและขมวดมวนอยางยอของ

ตวพมพภาษาไทย. พนททถกปดลอมบางตวในตวอกษรนำและตว

เลขอารบคกถกเปดออกพอเปนพธ.

การลดรป, ทอนรายละเอยดของเสน, ลดความหนาแนนของมวล ทำให “ความเปนไทย” ลดความรงรงลงไปไดไมนอย แตยงคง รกษาความชดถอยชดคำไวไดคอนขางครบ. ถาอยากจะไดฟอนตทจะ เอาไปใชเปนตวเนอกดผอนคลาย, จะเอาไปใชพาดหวหรอเปนตว โปรยกดแปลกตารวมสมย ตวพมพชดนนาจะเปนชองวางทระเบด ออกมาเตมเตมงานออกแบบไทยไดเปนอยางด.

เอกสารอางอง

กำธร สถรกล ; ลายสอไทย ๗๐๐ ป, ๒๕๒๗ John Kane ; A type primer, 2002

กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮกขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ 7 DB PorPiang SL (SL ยอมาจาก Sans Loop)