6
โครงการ ค่ายเยาวชนนักสารวจรักษ์แมงมุม (Youth Spider Camp) สนองกลยุทธ์โรงเรียน ( ) ข้อที2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึก ในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ( ) ข้อที3 ขยายโอกาสทางการศึกษาครอบคลุมและพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ ( ) ข้อที5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สนองมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อที2 ผู้เรียนมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ข้อที4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิด สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ ข้อที6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง สนองตัวชี้วัดของ WCSS นักเรียนมีทักษะความ สามารถในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีจิตสานึกใน การส่งเสริม พิทักษ์และปกป้องสิ่งแวดล้อม หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายศิริวุฒิ บัวสมาน *************************************************************************************************** หลักการและเหตุผล ประเทศไทยเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงเพราะอยู่ในเขตร้อนชื้น แต่ยังขาดการ สารวจอย่างจริงจัง โดยเฉพาะความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง แมงมุมเป็นสัตว์ผู้ล่าที่มีความสาคัญใน ระบบนิเวศ ซึ่งช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชตามธรรมชาติในระบบนิเวศเกษตร รวมทั้งสร้างความสมดุลให้กับระบบนิเวศ ป่าไม้ ปัจจุบันความรู้ด้านแมงมุมยังไม่แพร่หลายและขาดนักวิจัยในการค้นคว้าและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ ซึ่งแมงมุมเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่ยังขาดการสารวจและได้รับความสนใจน้อยมาก ทั้งที่แมงมุมมีบทบาทสาคัญ ในระบบนิเวศ และยังเป็นอาหารสาหรับคนในบางท้องถิ่นของประเทศ ในประเทศไทยมีการคาดการณ์ว่าน่าจะพบ แมงมุมประมาณ 6,000– 10,000 ชนิด ซึ่งในปัจจุบันเท่าที่มีรายงานพบเพียง 600-700 ชนิด เท่านั้น สะท้อนให้เห็น ว่ายังมีแมงมุมอีกหลายชนิดที่ยังรอการค้นพบ นาไปสู่การพัฒนาการต่อยอดความรู้ในอนาคตต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้วิธีการสังเกต การสารวจ การศึกษาลักษณะ การจาแนก การระบุชื่อและประโยชน์ของแมงมุมจากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์และบทบาทของแมงมุมในระบบนิเวศ 3. เพื่อจัดทาฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ที่พบในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา และชุมชน พร้อมทั้งหาแนวทางในการอนุรักษ์ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมที่มีประโยชน์กับชาวบ้านและ ชุมชน 4. เพื่อสร้างแรงบันดาลในการเรียนรู้ธรรมชาติรอบตัว สามารถปรับตัวอย่างเหมาะสมกับ สิ่งแวดล้อม

โครงการค่ายเยาวชนนักสำรวจรักษ์แมงมุม (Youth spider camp)2015

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โครงการค่ายเยาวชนนักสำรวจรักษ์แมงมุม (Youth spider camp)2015

โครงการ ค่ายเยาวชนนักส ารวจรักษแ์มงมุม (Youth Spider Camp) สนองกลยุทธ์โรงเรียน ( ) ข้อที่ 2 ปลูกฝังคณุธรรม ความส านึก ในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

( ) ข้อที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาครอบคลมุและพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ

( ) ข้อที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจดัการศึกษา เน้นการมสี่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

สนองมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อที่ 2 ผู้เรียนมีจติส านึกในการอนรุักษ ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

ข้อที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มวีิจารณญาณ มีความคดิ สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวสิยัทัศน ์

ข้อที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรยีนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง

สนองตัวชี้วัดของ WCSS นักเรียนมีทักษะความ สามารถในการศึกษาเรยีนรู้ด้วยตนเอง และมจีิตส านึกใน การส่งเสริม พิทักษ์และปกป้องสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นายศิริวุฒิ บัวสมาน *************************************************************************************************** หลักการและเหตุผล ประเทศไทยเป็นหนึ่งในพ้ืนที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงเพราะอยู่ในเขตร้อนชื้น แต่ยังขาดการส ารวจอย่างจริงจัง โดยเฉพาะความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง แมงมุมเป็นสัตว์ผู้ล่าที่มีความส าคัญในระบบนิเวศ ซึ่งช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชตามธรรมชาติในระบบนิเวศเกษตร รวมทั้งสร้างความสมดุลให้กับระบบนิเวศป่าไม้ ปัจจุบันความรู้ด้านแมงมุมยังไม่แพร่หลายและขาดนักวิจัยในการค้นคว้าและพัฒนาองค์ความรู้เพ่ือน าไปใช้ประโยชน์ ซึ่งแมงมุมเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่ยังขาดการส ารวจและได้รับความสนใจน้อยมาก ทั้งที่แมงมุมมีบทบาทส าคัญในระบบนิเวศ และยังเป็นอาหารส าหรับคนในบางท้องถิ่นของประเทศ ในประเทศไทยมีการคาดการณ์ว่าน่าจะพบแมงมุมประมาณ 6,000– 10,000 ชนิด ซึ่งในปัจจุบันเท่าที่มีรายงานพบเพียง 600-700 ชนิด เท่านั้น สะท้อนให้เห็นว่ายังมีแมงมุมอีกหลายชนิดที่ยังรอการค้นพบ น าไปสู่การพัฒนาการต่อยอดความรู้ในอนาคตต่อไป วัตถุประสงค ์

1. เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมโครงการไดเ้รียนรู้วิธีการสังเกต การส ารวจ การศึกษาลักษณะ การจ าแนก การระบุชื่อและประโยชน์ของแมงมุมจากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง

2. เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์และบทบาทของแมงมุมในระบบนิเวศ 3. เพ่ือจัดท าฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ที่พบในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา

และชุมชน พร้อมทั้งหาแนวทางในการอนุรักษ์ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมที่มีประโยชน์กับชาวบ้านและชุมชน

4. เพ่ือสร้างแรงบันดาลในการเรียนรู้ธรรมชาติรอบตัว สามารถปรับตัวอย่างเหมาะสมกับ สิ่งแวดล้อม

Page 2: โครงการค่ายเยาวชนนักสำรวจรักษ์แมงมุม (Youth spider camp)2015

เป้าหมาย เชิงปริมาณ 1. นักเรียนชุมนุมนักส ารวจแห่งท้องทุ่งและนักเรียนที่มีความสนใจ จ านวน 40 คน 2. ครูที่ปรึกษาและครูที่สนใจ จ านวน 10 คน

เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนและครูที่เข้าร่วมโครงการไดเ้รียนรู้วิธีการสังเกต การส ารวจ การศึกษาลักษณะ การจ าแนก การระบุชื่อ บทบาทความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ประโยชน์และการอนุรักษ ์ แมงมุม 2. นักเรียนและครูที่เข้าร่วมโครงการมีแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ มีประสบการณ์และ ทัศนคติที่ดเีกี่ยวกับแมงมุมและธรรมชาติรอบตัว จากผู้เชี่ยวชาญด้านแมงมุมโดยตรง

การด าเนินงาน

ข้อ ขั้นตอน จ านวนเงิน (บาท)

ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ

1 ขั้นตอนการเตรียม(Plan) 1.1 ขออนุมัติโครงการ 1.2 ออกค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน 1.3 ประชุมวางแผนงานและแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 1.4 เขียนก าหนดการและกิจกรรม 1.5 ส่งหนังสือเชิญและติดต่อวิทยากร

300

เม.ย. 2558

ถึง พ.ค. 2558

นายศิริวุฒิ บัวสมาน

2 ขั้นตอนด าเนินงาน(Do) 2.1 ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัคร 2.2 ส่งหนังสือขออนุญาตผู้ปกครอง 2.3 ลงทะเบียนนักเรียนและครูที่สนใจเข้าร่วม 2.4 ด าเนินกิจกรรมตามแผนและก าหนดการ (3 วัน 2 คืน)

20,500

พ.ค. 2558 ถึง ต.ค. 2558

นายศิริวุฒิ บัวสมาน และคณะกรรมการ

3 ขั้นตอนการตรวจสอบ(Check) 3.1 ประเมินการจัดกิจกรรมถึงความจ าเป็น 3.2 ประเมินผลการด าเนินกิจกรรมในโครงการ 3.3 จัดท าเอกสารรายงานผลการด าเนินโครงการ

1,000

ต.ค. 2558

นายศิริวุฒิ บัวสมาน และคณะกรรมการ

4 ขั้นตอนการปรับปรุง(Adjustment) 4.1 น าผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนา

200

ต.ค. 2558

นายศิริวุฒิ บัวสมาน และคณะกรรมการ

สถานที่ด าเนินการ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อ าเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ต าบลสวนจิก อ าเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด ระยะเวลาด าเนินการ วันที่ 12 พ.ค. 2558 ถึงวันที่ 31 ต.ค. 2558 งบประมาณที่ใช้ เงินอุดหนุน จ านวน 22,000 บาท (สองหมื่นสองพันบาทถ้วน)

Page 3: โครงการค่ายเยาวชนนักสำรวจรักษ์แมงมุม (Youth spider camp)2015

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นายยงยุทธ จิระกาล รองผู้อ านวยการ ประธานกรรมการ 2. นายชวน ปรุงเรณู หัวหน้ากลุ่มสาระฯ รองประธานกรรมการ 3. นายสมปอง อินละคร คร ู กรรมการ 4. นายมานิตย์ หงษ์อุดร คร ู กรรมการ 5. นายยืนยง จันทนาม คร ู กรรมการ 6. นายชิณวัฒน์ ภูดรโพธิ์ คร ู กรรมการ 7. นางล าแพน วงศ์ค าจันทร์ คร ู กรรมการ 8. นายอนิวัตร อุปไพร คร ู กรรมการ 9. นางสาวสุกัญญา ผุยปุโรย คร ู กรรมการ 10. นางสาวดอกไม้ ขาวศรี คร ู กรรมการ 11. นางสายทอง ถิตย์กิจ คร ู กรรมการ 12. นางกรนันท์ วรรณทวี คร ู กรรมการ 13. นายเด่นศักดิ์ สุทธิบาก คร ู กรรมการ 14. นางวรรณภา อ่างทอง คร ู กรรมการ 15. นางพันลัย ปรุงเรณู คร ู กรรมการ 16. นางสาวพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม ครอัูตราจ้าง กรรมการ 17. นางสาวชัดชนพ เนียมเล็ก ครอัูตราจ้าง กรรมการ 18. นายศิริวุฒิ บัวสมาน คร ู กรรมการและเลขานุการ 19. นางธีร์กัญญา พลนันท์ คร ู กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

1. ดร. พัชนี วิชิตพันธุ ์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก าแพงแสน 2. นายประสิทธิ์ วงษ์พรม ผู้อ านวยการศูนย์ธรรมชาติศึกษาไทย (ก าลังศึกษาในระดับปริญญาโท

ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอยู่ระหว่างการท าวิทยานิพนธ์เรื่อง อนุกรมวิธานแมงมุมวงศ์ย่อย gasteracanthinae ในประเทศไทย)

3. นายชวลิต ส่งแสงโชติ ผู้อ านวยการศูนย์ Spiders Planet Research Center 4. นิสิต ป.โท และ ป.เอก ด้านแมงมุมโดยเฉพาะ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ มหาวิทยาลัย

ศิลปากร

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้วิธีการสังเกต การส ารวจ การศึกษาลักษณะ การจ าแนก การระบุชื่อ

บทบาทความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ประโยชน์และการอนุรักษแ์มงมุม

Page 4: โครงการค่ายเยาวชนนักสำรวจรักษ์แมงมุม (Youth spider camp)2015

2. ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ มีประสบการณ์และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับแมงมุมและธรรมชาติรอบตัว จากผู้เชี่ยวชาญด้านแมงมุมโดยตรง

3. เพ่ือจัดท าฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ที่พบในโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา 4. ได้เรียนรู้การท างานร่วมกันระหว่างบุคลากรโรงเรียน หน่วยงานของรัฐ/เอกชนและสถาบันอุดมศึกษาที่มี

ผู้เชี่ยวชาญด้านแมงมุม

……………………………………………………. ผู้เสนอโครงการ (นายศิริวุฒิ บวัสมาน)

ต าแหน่ง ครู

……………………………………………………. ผู้เห็นชอบโครงการ (นายยงยุทธ จิระกาล)

รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

……………………………………………………. ผู้อนุมัติโครงการ (นายพัชรินทร์ หยาดไธสง)

ผู้อ านวยการโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา

Page 5: โครงการค่ายเยาวชนนักสำรวจรักษ์แมงมุม (Youth spider camp)2015

1. โครงการค่ายเยาวชนนักส ารวจรักษ์แมงมุม (Youth Spider Camp) 2. สนองกลยุทธ์โรงเรียน : ข้อที่ 2, 3 ,5 3. สนองมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ข้อที่ 2 ผู้เรียนมีจิตส านึกในการอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ข้อที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิด ไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์

ข้อที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. สนองตัวชี้วัดของ WCSS :

นักเรียนมีทักษะความ สามารถในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีจิตส านึกในการส่งเสริม พิทักษ์และปกป้องสิ่งแวดล้อม 5. วัตถุประสงค์ 5.1 เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ แ ม ง มุ ม จ า กผู้เชี่ยวชาญโดยตรง 5.2 เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์และบทบาทของแมงมุมในระบบนิเวศ 5.3 เพ่ือจัดท าฐานข้อมูลเกี่ยวกับแมงมุมสายพันธุ์ต่างๆ ที่พบในโรงเรียนและชุมชน พร้อมทั้งหาแนวทางในการอนุรักษ์แมงมุมที่มีประโยชน์กับชาวบ้านและชุมชน 5.4 เพ่ือสร้างแรงบันดาลในการเรียนรู้ธรรมชาติรอบตัว สามารถปรับตัวอย่างเหมาะสมกับ สิ่งแวดล้อม

6. เป้าหมาย 6.1 นักเรียนและครูที่เข้าร่วมโครงการ ได้ เ รี ยนรู้ วิ ธี การสังเกต การส ารวจ การศึกษาลักษณะ การจ าแนก การระบุชื่อ บทบาทความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ประโยชน์และการอนุรักษแ์มงมุม 6.2 นักเรียนและครูที่เข้าร่วมโครงการมีแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ มีประสบการณ์และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับแมงมุมและธรรมชาติรอบตัวจากผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ด้ า น แ ม ง มุ มโดยตรง

7. วิธีด าเนินการ 7.1 ขออนุมัติโครงการ 7.2 ออกค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ 7.3 ประชุมวางแผน 7.4 ส่งหนังสือเชิญและติดต่อวิทยากร 7.5 ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัคร 7.6 ส่งหนังสือขออนุญาตผู้ปกครอง 7.7 ด าเนินกิจกรรมตามแผน (3 วัน 2 คืน) 7.8 ประเมินผล 7.9 จัดท ารายงานผลการด าเนินโครงการ

8. ระยะเวลา 12 พ.ค. 2558 ถึง 31 ต.ค. 2558 9. งบประมาณ

เงินอุดหนุน จ านวน 22,000 บาท

(สองหมื่นหนึ่งพันห้าร้อยบาทถ้วน)

10. สถานที่ด าเนินการ 10.1 โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์-พัฒนาวิทยา อ าเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด 10.2 ดอนปู่ตาสาธารณประโยชน์ต าบลสวนจิก อ าเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด

11. คณะผู้รับผิดชอบ 1. กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์ 2. นายศิริวุฒิ บัวสมาน 3. นางธีร์กัญญา พลนันท์

12. ผู้ที่เกี่ยวข้อง 1.ดร. พัชนี วิชิตพันธุ์ 2.นายประสิทธิ์ วงษ์พรม 3.นายชวลิต ส่งแสงโชติ

13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ มีประสบการณ์และทัศนคติท่ีดีเกี่ยวกับแมงมุมและธรรมชาติรอบตัว

14. ผู้เสนอโครงการ (นายศิริวุฒิ บัวสมาน) ต าแหน่ง คร ู

15. ผู้เห็นชอบโครงการ (นายยงยุทธ จิระกาล) รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการ

16. ผู้อนุมัติโครงการ (นายพัชรินทร์ หยาดไธสง) ผู้อ านวยการโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา

Page 6: โครงการค่ายเยาวชนนักสำรวจรักษ์แมงมุม (Youth spider camp)2015

รายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย

โครงการค่ายเยาวชนนักส ารวจรักษแ์มงมุม (Youth Spider Camp) หน่วยงานที่รับผิดชอบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้รับผิดชอบ นายศิริวุฒิ บัวสมาน งบประมาณท่ีขอ (เงินอุดหนุน) ภาคเรียนที่ 1/2558 22,000 บาท ภาคเรียนที่ 2/2558 บาท งบประมาณท่ีอนุมัติ ภาคเรียนที่ 1/2558 บาท ภาคเรียนที่ 2/2558 บาท ที ่ รายการ จ านวน

(หน่วย) ราคาต่อหน่วย

(บาท) จ านวนเงิน

(บาท) 1 กระดาษถ่ายเอกสาร เอ4 80 แกรม/500 แผ่น Double A 5 รีม 140 700 2 กระดาษท าใบประกาศปั๊มทองสี เอ4 1 ห่อ 250 250 3 กระดาษ photo เอ4 180 แกรม/100 แผ่น 1 ห่อ 350 350 4 โอวัลติน 3 in 1 (20ซอง) 4 ห่อ 150 600 5 เนสกาแฟ 3in1 ออริจินอล (20 กรัมx30 ซอง) 5 ห่อ 120 600 6 ขนมยูโร่คัสตาร์ดเค้ก (กล่อง 12 ชิ้น) 5 กล่อง 60 300 7 เชือกฟาง 5 ม้วน 20 100 8 ยาทากันยุง ซอฟเฟล (30 มล.) 5 ขวด 50 250 9 ค่าน้ าดื่มพิมพ์พัฒน์ ขวดขุ่น 10 โหล 32 320 10 ค่าอาหารและค่าจ้างประกอบอาหาร (3 วัน 2 คืน) 7 มื้อ 1,500 10,500

11 ค่าน้ าแข็ง 2 ถังใหญ่ 200 400 12 ค่าแก้วน้ าพลาสติก 4 ห่อ 20 80 13 ค่าของที่ระลึก 4 ชิ้น 150 600 14 ค่าตอบแทนวิทยากร 4 คน 1,500 6,000 15 ค่าน้ ามันเชื้อเพลิง (ดีเซล) 16.67

ลิตร 30 500

16 ค่าถ่ายเอกสารและเข้าเล่มรายงานโครงการ 3 เล่ม 150 450

รวม - - 22,000 หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยทุกรายการ