13
1 รายวิชาฟสิกสพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที4 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

Motion Law of Newton

Embed Size (px)

DESCRIPTION

กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

Citation preview

Page 1: Motion Law of Newton

1

รายวิชาฟสิกสพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

Page 2: Motion Law of Newton

เซอร ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac

Newton) เปนนักวิทยาศาสตรท่ีคนพบกฎ

การเคลื่อนท่ีของวัตถุ ซ่ึงมี 3 ขอ เกี่ยวของ

กับความเรงของวัตถุและแรงท่ีกระทําบน

วัตถุนั้น สรุปได ดังนี้

กฎขอที่ 1 เม่ือไมมีแรงมากระทําบน

วัตถุ หรือแรงลัพธเปนศูนย วัตถุจะคง

สภาพเคลื่อนที่ นั่นคือวัตถุจะอยูนิ่งกับที่

หรือเคลื่อนที่เปนเสนตรงดวยความเร็ว

คงที่ 2

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 3: Motion Law of Newton

กฎขอท่ี 1 นี้แสดงวา วัตถุมีความเร็วคงท่ี

ไมมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว นั่นคือความเร็ว

ตน (u) เทากับความเร็วปลาย (v) แสดงวา

ความเรงมีคาเปนศูนย (a=0) ดังสมการ

3

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

vu ; 0t

uu

tuva

==−

=

−=

ความเรง = ความเร็วที่เปลี่ยนไป

เวลา

Page 4: Motion Law of Newton

กฎขอที่ 2 เม่ือแรงลัพธที่กระทํา

บนวัตถุไมเปนศูนย วัตถุจะมีความเรง

แรงลัพธ (ΣF) คือ แรงท่ีกระทําบนวัตถุ

ทุกแรงรวมกันแบบเวกเตอร แรงลัพธทําให

วัตถุเปลี่ยนความเร็ว เราทดลองไดโดย

ปลอยใหวัตถุตกลงมาในแนวดิ่ง ซ่ึงมีแรง

โนมถวงของโลกเปนแรงลัพธ จะพบวาวัตถุ

มีความเร็วเพ่ิมขึ้น

4

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 5: Motion Law of Newton

ดังนั้นเราสามารถ หาความเรงได ถาเราทราบมวลของวัตถุ

และแรงลัพธท่ีมากระทําตอวัตถุนั้น โดยทิศทางของความเรงจะมี

ทิศเดียวกับทิศของแรงลัพธ

5

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 6: Motion Law of Newton

ดังนั้นเราสามารถ หาความเรงได ถาเราทราบมวลของวัตถุ

และแรงลัพธท่ีมากระทําตอวัตถุนั้น โดยทิศทางของความเรงจะมี

ทิศเดียวกับทิศของแรงลัพธ

6

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 7: Motion Law of Newton

กฎขอที่ 3 เม่ือออกแรงกระทําตอวัตถุ

จะมีแรงโตตอบ เราเรียกแรงกระทํานี้วา

แรงกิริยา (action) และเราเรียกแรงโตตอบ

นี้วา แรงปฏิกิริยา (Reaction) โดยแรงทั้ง

สองนี้จะตอง

มีขนาดเทากัน

มีทิศทางตรงขามกัน

อยูบนเสนตรงเดียวกัน

7

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 8: Motion Law of Newton

รูปนี้แสดงแรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา ซ่ึงเกิดขึ้นกับวัตถุท่ีสัมผัสกัน

8

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 9: Motion Law of Newton

รูปนี้แสดงแรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา ซ่ึงเกิดขึ้นในจรวด

9

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 10: Motion Law of Newton

รูปนี้แสดงแรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา ซ่ึงเกิดขึ้นในลูกโปง

10

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 11: Motion Law of Newton

แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา เกิดขึ้นกับวัตถุท่ีไมสัมผัสกันก็ได เชน

แรงโนมถวงของโลก ระหวางดาวเทียมโคจรรอบโลก เปนตน

11

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 12: Motion Law of Newton

แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยา เกิดขึ้นกับวัตถุท่ีไมสัมผัสกันก็ได เชน

แรงโนมถวงของโลก ระหวางดาวเทียมโคจรรอบโลก เปนตน

12

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

Page 13: Motion Law of Newton

13

นายสมพร เหลาทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ สพม. 26

เอกสารอางอิง

นิรันดร สุวรัตน. คูมือสาระการเรียนรูพ้ืนฐาน ฟสิกส ม.4 - ม.6. กรุงเทพฯ :

สํานักพิมพ พ.ศ. พัฒนา , 2553.

พูลศักด์ิ อินทวี และจํานง ฉายเชิด. หนงัสือเรียน สาระการเรียนรูพ้ืนฐาน

สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร : ฟสิกส แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน

ม.4 - ม.6 ชวงชั้นที่ 4. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน, 2550.