11

Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ปณิตา วรรณพิรุณ และโอภาส เกาไศยาภรณ์. (๒๕๕๕). การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง บูรณาการการเรียนรู้ออนไลน์ประชาคมอาเชียน: นโยบายและกระบวนการ ประจำปี ๒๕๕๕ (National e-Learning Conference 2012 Integrating ASEAN Online learning: Policy and Process) ๑๔-๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๕. นนทบุรี. หน้า ๑๙๖-๒๐๓.

Citation preview

Page 1: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]
Page 2: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

Session หนา การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อสังคมและปญหาเปนฐานเพื่อสงเสริมความสามารถในการเรียนรูโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad ของนิสิตสาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร Development of Activities by Using Social Media and Problem-Based Learning to Enhance The Geometer’s Sketchpad Program Learning Ability of Teaching Mathematics Students ชนิศวรา เลิศอมรพงษ

B2_4 177

A Study of Factors that Influence Students’ Intention to Enroll in an Online IELTS Course ธันยชนก หลอวิริยะนันท

B2_5 188

การพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education ปณิตา วรรณพิรุณ, โอภาส เกาไศยาภรณ

B2_6 196

พฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลน ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร ในมหาวิทยาลัยของรัฐ The Social Network Usage behavior of Undergraduate Students in Faculty of Education, Government University อรุณรัตน ศรีชูศิลป, อนิรุทธ สติมั่น

B2_7 204

การจัดการเรียนการสอนผานเครือขายสังคมออนไลน ในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนดาน ICT เรื่อง การสืบคนผาน Search engine เพื่อสงเสริมการคิดโดยใชแผนผังมโนทัศน พัฒนาการเรียนรูเตรียมสูประชาคมอาเซียน สําหรับนักเรียนชวงช้ันที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ The Development of Instructional Management through Social Online Media in ICT Activities Entitled “Using Search Engine to Enhance Thinking through Concept Map” Learning to prepare for the ASEAN Community for The Second Class Students at Watbost School อาทิตติยา ปอมทอง, สุรพล บุญลือ, สรัญญา เชื้อทอง

B2_8 212

Page 3: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

196

การพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือน เพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education

ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ1, ดร.โอภาส เกาไศยาภรณ2 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ([email protected])

2 ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ([email protected])

ABSTRACT The purposes of this research were 1) to develop a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education, and 2) to evaluate a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education. The study was divided into two stages: 1) developing a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education, and 2) evaluating a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education. The sample group in this study consisted of 50 administrators and instructors who teach in higher education and 5 experts. The research tools were the questionnaire, the virtual network model for knowledge sharing in multicultural education, and the virtual network model evaluation form. Data were analyzed by arithmetic mean and standard deviation. The research findings were as follows: 1) A virtual network model for knowledge sharing in multicultural education components consisted of 11 components as followed: 1) design of learning activities on a virtual network for multicultural education, 2) process of knowledge sharing, 3) scaffolding on virtual network for multicultural education, 4) factors causing of knowledge sharing, 5) students’ adoptation of cultural awareness on virtual network for multicultural, 6) reinforcement in student’s behavior, 7) interaction of students on virtual network for multicultural education, 8) support and management of virtual network for multicultural, 9) learning management system on virtual network for multicultural education, 10) Communications tools, and 11) Reflective tools. 2) A virtual network model for knowledge sharing in multicultural education components consisted of four steps: 1) preparing of a virtual

network education, 2) building up congeniality, 3) knowledge sharing in multicultural education, and 4) evaluating learning results with consisted of three components: 1) people 2) instructional media, and 3) blended classroom setting. 3. The experts agree that a virtual network model for knowledge sharing in multicultural education was appropriateness in an excellent level. Keywords: instructional model, virtual network, knowledge sharing, multicultural education

บทคัดยอ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2) ประเมินรับรองรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม วิธีดําเนินการวิจัยแบงออกเปน 2 ระยะ คือ 1) การพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิง เสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2) การประเมินรับรองรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม กลุมตัวอยางสําหรับการวิจัย คือ ผูบริหารและอาจารยที่สอนในระดับอุดมศึกษา 50 คน และผูทรงคุณวุฒิ 5 คน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถามเพื่อพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม และแบบประเมินรับรองรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือน สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Page 4: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

197

ผลการวิจัยพบวา 1) รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ประกอบดวย 11 องคประกอบ คือ 1) การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนบนเครือขายสังคมพหุวัฒนธรรม 2) กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูและติดตามพฤติกรรมของผูเรียน 3) ฐานการชวยเหลือผูเรียนในการเรียนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 4) ปจจัยที่กอใหเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 5) การยอมรับและการอยูรวมกันของผูเรียนในสังคมพหุวัฒนธรรมบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 6) การเสริมแรงดานพฤติกรรมของผูเรียน 7) ปฏิสัมพันธของผูเรียนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 8) การจัดการเครือขายบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 9)ระบบบริหารจัดการบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 10) เครื่องมือที่ติดตอส่ือสารบนสังคมเชิงเสมือน และ11) เครื่องมือสะทอนความรูของผูเรียน

2) รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการเตรียมความพรอมของหองเรียนบน เครื อข า ย สั งคม เ ชิ ง เสมื อน 2 ) ขั้ นก ารสร า งความคุนเคย 3) ขั้นการแลกเปล่ียนเรียนรู สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 4) ขั้นตอนดานการวัดและการประเมินผล โดยมีองคประกอบยอย ไดแก 4.1) บุคคล 4.2) ส่ือการเรียนการสอน และ 4.3) หองเรียนแบบผสมผสาน

3) ผูทรงคุณวุฒิประเมินรับรองรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม มีความเหมาะสมอยูในระดับเหมาะสมมาก

คําสําคัญ: รูปแบบการเรียนการสอน, เครือขายสังคมเชิงเสมือน, การแลกเปล่ียนเรียนรู, การศึกษาพหุวัฒนธรรม 1) บทนํา สภาพสังคมของประเทศไทยในปจจุบันประกอบไปดวยกลุมประชากรท่ีมีความหลากหลายทางดานชาติพันธุซ่ึงแมวาคนไทยเหลาน้ีจะมีวัฒนธรรมหลักที่เหมือนกันแตก็จะมีที่วัฒนธรรมยอยแตกตางกันออกไป เชน คนไทยเช้ือสายมลายูจะนับถือศาสนาอิสลาม พูดภาษามลายู มีการ

แตงกายและวิถีชีวิตเปนแบบมลายู คนไทยเช้ือสายจีนก็จะปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม ประเพณีดั้งเดิมของตน เชน การไหวเจา ไหวบรรพบุรุษในชวงเทศกาลตรุษจีน สวนคนไทยพื้นเมืองก็จะมีวัฒนธรรมเฉพาะของตนเอง เชน คนไทยภาคเหนือก็จะใชภาษาไทยเหนือในการติดตอส่ือสาร การนิยมรับประทานขาวเหนียว การแตงกายพ้ืนเมือง รวมทั้งผลงานศิลปะก็จะมีลักษณะเฉพาะเปนของตนเอง (บัญญัติ ยงยวน, 2551) ดังน้ัน นักการศึกษาจึงไมอาจจะมองขามความแตกตางและความหลากหลายทางวัฒนธรรมน้ีไปได การจัดการศึกษาในสังคมพหุวัฒนธรรมจึงควรมีรูปแบบเฉพาะที่เหมาะสมตอการพัฒนาผูเรียนจากทุกกลุมวัฒนธรรม โดยจะเรียกการจัดศึกษาในลักษณะน้ีวา การศึกษาพหุวัฒนธรรม (Multicultural Education) การจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมจึงมีความจําเปนและมีความสําคัญ โดยเปนรูปแบบการจัดการศึกษาท่ีตรงกับความตองการท่ีแทจริงของผู เรียนโดยสะทอนความเปนเอกลักษณทั้งด านศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี คานิยมตลอดจนการศึกษาโดยเฉพาะเม่ือนํามาประยุกตกับกระบวนการในการแลกเปล่ียนเรียนรูแลวจะยิ่งทําใหการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมชวยทําใหผู เรียนนอกจากจะไดความรูที่ เปนเนื้อหาสาระทางวิชาการแลว ยังไดรับความรูที่ เกี่ยวกับวัฒนธรรมของผูเรียนคนอ่ืนๆ อีกดวย

ทฤษฏีที่มีความสําคัญเกี่ยวกับหลักของการแลกเปล่ียนเรียนรูเพื่อนําไปสูการสรางความรู ก็คือ เกลียวความรู (Knowledge

Spiral: SECI) โดยหลักการคือการมีปฏิสัมพันธระหวางความรูโดยนัย (Tacit Knowledge) กับความรูที่ชัดแจง (Explicit Knowledge) โดยเริ่มตนจากการแลกเปล่ียนความรูที่เปนนัย (Socialization) เกิดจากการส่ือสารระหวางกันหรือถายทอดจากสมองคนๆ หนึ่งไปสูสมองคนอีกหลายๆ คน โดยจัดใหคนมามีปฏิสัมพันธกันในรูปแบบตางๆ จากน้ันเกิดการ เป ล่ียนความ รูที่ เ ปน นัยไป เปนความรู ที่ ชั ดแจ ง (Externalization) โดยการนําความรูที่เปนนัยออกมานําเสนอในรูปของการเลาเร่ือง การเปรียบเทียบและการนําเสนอเปนรูปแบบจนกระทั่ง เ กิดการแลกเปล่ียนความรูที่ ชัดแจง (Combination) ในรูปของเอกสาร การประชุม ตํารา ฐาน ขอมูลในคอมพิวเตอร ทายท่ีสุดเกิดการเปล่ียนความรูที่ ชัดแจงกลับไปเปนความรูที่เปนนัย (Internalization) อีกครั้ง

Nonaka, Toyama, and Konno เช่ือวากระบวนการ

Page 5: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

198

ปรับเปลี่ยนความรูนี้จะเปนกุญแจสําคัญของการสรางความรู ยิ่งไปกวาน้ันการมีปฏิสัมพันธของรูปแบบความรูที่ เปนนัยและความรูที่ ชัดแจง โดยผานกระบวนการปรับเปล่ียนความรูทั้ง 4 ขั้นตอนน้ีจะทําใหความรูมีการขับเคล่ือนไปสูระดับที่สูงขึ้น สวนการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติที่เรียกวา Interactive learning ถือเปนหัวใจสําคัญของการจัดการความรูเชนกัน เพราะการทําใหเกิดการสรางเครือขายระหวางคนกับคน คนกับกลุมคน กลุมคนกับกลุมคนจะ เปน เปนการกระตุนให เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน การสรางเวทีหรือกิจกรรมใหสมาชิกไดพบปะพูดคุยเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู จากประสบการณที่แตละคนไดรับมา สมาชิกจะตองมีความขยัน อดทนและพยายามแลกเปล่ียนเรียนรูซ่ึงกันโดยไมหวงความรู ผานกระบวนการจัดกิจกรรมที่หลากหลายซ่ึงจะทําใหเกิดสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรูมากขึ้น (ประพนธ ผาสุกยืด, 2547) การพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรมขึ้นเพ่ือชวยในการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาของแตสถาบันที่มีผูเรียนที่มีความแตกตางทางดานวัฒนธรรม

โดยการนําทรัพยากรและจุดแข็งของแตละสถาบันมาชวยเสริมซ่ึงกันและกันรวมไปถึงเพ่ือพัฒนาศักยภาพดานการเรียนรู การแลกเปลี่ยนเรียนรูของผูเรียนที่มีวัฒนธรรม วิถีชีวิตและวิธีการเรียนท่ีแตกตางกัน รวมไปถึงการเรียนรูวัฒนธรรมของผูเรียนซ่ึงอยูตางสถาบัน รวมไปถึงการพัฒนาองคความรูในดานตางๆ สรางความเขมแข็งใหสังคมอันจะนําไปสูการพัฒนาประเทศและเพ่ือเตรียมความพรอมในการที่จะกาวสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนตอไป

2) วัตถุประสงคของการวิจัย วัตถุประสงคทั่วไป เพื่อพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิง เสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

วัตถุประสงคเฉพาะ 2.1) เพื่อพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) เพื่อประเมินรับรองรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

รูปที่ 1: กรอบแนวคดิการพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

เครือขายสังคมเชิงเสมือน

(Virtual Community)

(Kollock, 1996; Preece, 2000; ใจทิพย ณ สงขลา, 2550)

การแลกเปล่ียนเรียนรู (Knowledge Sharing)

(Marquardt, 1996; Probst, et al,, 2000)

หองเรียนเชิงพหุวัฒนธรรม (Joint Classroom in Multicultural

Education) (Banks, 2002; Casey, 2008)

รูปแบบในการติดตอสื่ อสาร ซ่ึง มีการแบงปนความคิด ทัศนคติ ผลงานหรือผลลัพธบางประการ โดยที่บุคคลสามารถจะพัฒนาความสัมพันธระหวางกันผานทางระบบออนไลน โดยมีแรงจูงใจ 4 ประการ คือ 1)ความตองการในการท่ีจะไดรับความรูอ่ืนกลับมา 2) ความตองการมีชื่อเสียง 3)

ความรูสึกภาคภูมิใจ และ 4) ความตองการในการติดตอสื่อสาร

พฤติกรรมการเผยแพร แลกเปลี่ยนแบงปนความรู ทักษะ ประสบการณระหวางกันในขณะเขารวมกิจกรรมตามกระบวนการ 6

ขั้นตอน ไดแก 1) ขั้นแนะนําแนวทาง สรางกลุมสัมพันธ 2) ขั้นกําหนดความรู นําไปสูเปาหมาย 3) ขั้นพบปะแลกเปลี่ยน เพ่ือนเรียนเพ่ือนรู 4) ขั้นสืบเสาะแสวงหา 5) ขั้นสรางสรรคเผยแพร และ 6) ขั้นประเมินผลงาน

รูปแบบการจัดสภาพ แวดลอมสําหรับผู เรียนท่ีมีความแตกตางกันในเร่ืองของศาสนา สังคมและวัฒนธรรม เพ่ือใหเกิดการเรียนรูในเน้ือหาวิชาท่ีเรียนและยอมรับในเร่ืองความแตกตางทางดานวัฒนธรรม สัมพันธที่ เกิดข้ึนภายในหองเรียนฯ แบงออกเปน 3 ระดับ คือ 1) ปฏิสัมพันธกับตัวผูเรียนเอง 2) ปฏิสัมพันธกับผูเรียนดวยกันและเน้ือหาสาระ และ 3) ปฏิสัมพันธระหวางสาระการสอนกับตัวผูเรียนเอง

รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

Page 6: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

199

3) ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย ระยะท่ี 1 การพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่ อการแลก เป ล่ียน เ รียนรู สํ าห รับการ ศึกษาพหุวัฒนธรรม ดําเนินการตามขั้นตอน ดังน้ี 3.1.1) ศึกษา คนควา วิเคราะหและสังเคราะหขอมูล เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 3.1.2) ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับสภาพปจจุบันของการจัดการศึกษาในสังคมพหุวัฒนธรรม แนวคิดเก่ียวกับรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม โดยการสัมภาษณผูบริหาร จํานวน 10 คน โดยใชแบบสัมภาษณเชิงลึก และสอบถามอาจารยที่สอนในระดับอุดมศึกษา 40 คนโดยใชแบบสอบถาม 3.1.3) พัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู สําหรับการศึกษาพหุ วัฒนธรรม

กําหนดองคประกอบ กระบวนการ ขั้นตอนที่มีความเปนระบบ (System Approach) และแสดงความสัมพันธซ่ึงกันและกันเปนแผนภาพประกอบความเรียง ระยะที่ 2 การประเมินรับรองรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษา พหุวัฒนธรรม นําพัฒนารูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ที่พัฒนาขึ้น ไปใหผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คน ทําการประเมินรับรองรูปแบบ ไดจากการเลือกแบบเจาะจง โดย เปนผูบ ริหารในสถาบันอุดมศึกษาหรือเปนผูที่ มีประสบการณในการสอนระดับอุดมศึกษา อยางนอย 10 ป หรือมีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและมีตําแหนงทางวิชาการตั้งแตรองศาสตราจารยขึ้นไป เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบรับรองรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉล่ียและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

4) สรุปผลการวิจัย ตอนท่ี 1 รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสํ าห รับการศึกษาพหุ วัฒนธรรม ประกอบด วย 11

องคประกอบ คือ 1) การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนบนเครือขายสังคมพหุวัฒนธรรม 2) กระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรูและติดตามพฤติกรรมของผูเรียน 3) ฐานการชวยเหลือผูเรียนในการเรียนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 4) ปจจัยที่กอใหเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 5) การยอมรับและการอยูรวมกันของผูเรียนในสังคมพหุวัฒนธรรมบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 6) การเสริมแรงดานพฤติกรรมของผูเรียน 7) ปฏิสัมพันธของผูเรียนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 8) การจัดการเครือขายบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 9) ระบบบริหารจัดการบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 10) เคร่ืองมือที่ติดตอส่ือสารบนสังคมเชิงเสมือน และ 11) เครื่องมือสะทอนความรูของผูเรียน

รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ประกอบดวยการเตรียมดานกิจกรรมการเรียนการสอน 4 ขั้นตอน ไดแก 1) ขั้นการเตรียมความพรอมของหองเรียนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 2) ขั้นการสรางความคุนเคย 3) ขั้นการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม 4) ขั้นตอนดานการวัดและการประเมินผล โดยมีองคประกอบยอย ไดแก 4.1) บุคคล 4 .2) ส่ือการ เ รียนการสอน และ 4 .3 ) หอง เ รียนแบบผสมผสาน โดยมีลําดับและขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรม ดังนี้ 1.1) การเตรียมความพรอมใหกับผูสอนและผูเรียน โดยในขั้นตอนของการเตรียมความพรอมน้ี นอกจากจะเนนดานเนื้อหาสาระทางวิชาการแลว ผูสอนจะตองมีความเขาใจในเรื่องของวัฒนธรรมและกิจกรรมภายในบทเรียน รวมไปถึงการสงเสริมและจัดประสบการณในการเรียนท่ีเหมาะสมเพ่ือชวยใหผูเรียนพัฒนาทั้งทางดานทักษะ ความรูความเขาใจและเจตคติที่ดีตอสังคม

1.2) การรวมกันออกแบบวิธีการจัดการเรียนการสอน ส่ือการสอน วิธีการวัดและประเมินผล เพื่อใหการจัดการเรียน

Page 7: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

200

การสอน กิจกรรมภายในบทเรียน วิ ธีการวัดและประเมินผลเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีรายละเอียดของขั้นตอน ดังน้ี

1.2.1) ผูสอนตองรวมกันในการพัฒนาหลักสูตรท่ีมีความทาทาย และมีความหมายท่ีมีความเปนจริงตอผูเรียน

1.2.2) จัดกระบวนการประเมินการเรียนรูตามสภาพจริงของผูเรียนในระหวางภารกิจ

1.2.3) จัดเตรียมเคร่ืองมือตางๆ ใหมีความพรอมสําหรับการสรางประสบการณความรูใหกับผูเรียน

1.2.4) กําหนดเร่ืองราว กรอบระยะเวลาในการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมที่ผูสอนตองการจะสอดแทรกเรื่องราวเก่ียวกับวัฒนธรรมเขาไป เนื่องจากระยะเวลาและความถ่ีในการรับรูเน้ือหาหรือเรื่องราวที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมจะสงผลตอความตระหนักทางดานวัฒนธรรมของผูเรียนและลักษณะและรูปแบบของเร่ืองท่ีจะรับรูของผูเรียนจะสงผลตอความตระหนักทางดานวัฒนธรรมและยังเปนสวนที่ทํ าใหผู เรียนเกิดประเด็นในการแลกเปลี่ยนเรียนรู 1.2.5) จัดเตรียมส่ือการเรียนการสอนท่ีมีความหลากหลายและนาสนใจ

1.3) การจัดกลุมผูเรียนใหมีความหลากหลายท้ังดานวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศาสนาหรือวัฒนธรรมจะชวยใหผู เ รี ยน เ กิดการ เ รียนรู โดยเฉพาะจากการแลกเปลี่ยนเรียนรูจากเพ่ือนสมาชิกดวยกัน โดยการจัดกลุมผูเรียนนั้นมีเปาหมายหลักไดแก 1.3.1) ผูเรียนรวมกันเรียนรูโดยการแลกเปล่ียนทักษะซ่ึงกันและกันและมีการสนับสนุนทางสังคม การชวยเหลือซ่ึงกันและกันของสมาชิก

1.3.2) ผูเรียนทํางานรวมกัน โดยมีการสรางความรูและการแลกเปลี่ยนทักษะ รวมถึงการชวยเหลือซ่ึงกันและกันของสมาชิกในหองเรียน

1.3.3) ผูเรียนไดรับรูถึงความแตกตางทางเช้ือชาติและวัฒนธรรมที่เกิดข้ึนในหองเรียนและในสังคม

1.3.4) ปรับทัศนคติของผูเรียนเก่ียวกับการอยูรวมกับผูอืน่ที่มีความแตกตางทางดานวัฒนธรรม

1.3.5) สงเสริมและจัดประสบการณในการเรียนท่ีเหมาะสมเพ่ือชวยใหผู เรียนพัฒนาท้ังทางดานทักษะ ความรูความเขาใจและเจตคติที่ดีตอสังคม

1.4) การทําความเขาใจถึงขอตกลง วัตถุประสงค เปาหมายการเรียน บทบาทและกิจกรรมในการเรียน เพื่อใหผูสอนและผูเรียนมีเขาใจที่ตรงกัน

1.5) การแนะนําเคร่ืองมือและฝกการใชงานเคร่ืองมือตางๆ แกผูเรียน เพื่อใหผู เรียนเกิดความพรอมในการใชงานเคร่ืองมือตางๆ

2) ขั้นการสรางความคุนเคยของผูเรียนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม จะมีองคประกอบที่สําคัญสําหรับขั้นตอนนี้ดังนี้ 2.1) หองเรียนปกติ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนปกติในช้ันเรียน 2.2) การจัดการเรียนการสอนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน (หองเรียนออนไลน) หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลนบนหองเรียนเสมือนท่ีถูกจัดสภาพ แวดลอมทางการศึกษาและกิจกรรมบนเครือขายสังคมเชิงเสมือนสําหรับหองเรียนพหุวัฒนธรรม

2.3) การสรางความรูจักและทําความคุนเคยระหวางผูสอนและผูเรียน เนื่องจากสภาพแวดลอมในการเรียนรูที่ดีจะประกอบดวยสมาชิกที่มีทักษะแตกตางกันท้ังผูที่เริ่มเรียนรูไปจนถึงผูเช่ียวชาญ ดังน้ัน การท่ีสมาชิกทั้งผูสอน และผูเรียนไดทําความรูจักหรือคุนเคยกันจะชวยใหเกิดความกลาที่จะพูดคุยหรือแสดงความคิดเห็น

2.4) การใชประเด็นคําถามของผูสอนเพ่ือใหผูเรียนไดพูดคุยผานชองทางส่ือสารที่ไดจัดเตรียมไว เชน กระดานสนทนา (Forum) หรือหองสนทนา (Chat room) โดยการสรางบรรยากาศท่ีสนับสนุนใหผูเรียนเปดกลุมยอย การสนทนาเปนการสวนตัวและสรางทักษะการมีสวนรวมในสังคมเสมือน

2.5) การสะทอนความรูของผูเรียนผานกระดานสะทอนคิด (Reflective Journal) หรือบล็อก (Blog) โดยการสะทอนความรูนี้จะเปนวิธีการท่ีจะชวยในการกระตุนการเช่ือมโยงระหวางความรูเดิมและความรูใหมที่ผูเรียนไดรับเขามา 2.6) การติดตามพฤติกรรมผูเรียนโดยผูสอนผานกระดานสะทอนคิด (Reflective Journal) หรือ บล็อก (Blog) โดยขั้นตอนดังกลาวน้ีจะชวยใหผูสอนสามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอน การทํากิจกรรมและความกาวหนาทางการเรียนของผูเรียนได

Page 8: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

201

3) ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู หมายถึง เปนกระบวนการที่ผูสอนและผูเรียนไดทําการแลกเปลี่ยนความรูซ่ึงกันและกัน ทั้งความรูทางดานวิชาการท่ีเกี่ยวของกับเนื้อหาสาระในวิชาและความรูที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม

3.1) การแลกเปลี่ยนพูดคุยเกี่ยวกับเน้ือหาวิชาท่ีเรียนระหวางผูสอนและผูเรียน โดยอาจจะเปนการแลกเปล่ียนเรื่องราวในประเด็นใดประเด็นหน่ึงและมองหาความ

เหมือนรวมและความแตกตางในเรื่องราวน้ัน โดยใชความหลากหลายในดานมุมมองของผูเรียน

3.2) การสะทอนความรูของผูเรียนจากประเด็นท่ีไดมีการแลกเปลี่ยนพูดคุยกันผานกระดานสะทอนคิด (Reflective

Journal) หรือ บล็อก (Blog)

3.3) การติดตามพฤติกรรมผูเรียนของผูสอนผานการพูดคุยแลกเปล่ียนเ รียนรูของผู เรียนจากกระดานสะทอนคิด (Reflective Journal) หรือบล็อก (Blog)

รูปที่ 2:รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม

ตอนท่ี 2 ผลการประเมินรับรองรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม ผลการประเมินโดยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 5 คน พบวา รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรมท่ีพัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยูในระดับเหมาะสมมาก ( X = 4.30, S.D. =

0.81)

5) อภิปรายผลการวิจัย ผลการวิจัยคร้ังน้ี พบวา องคประกอบของ รูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู

สําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม สามารถท่ีจะแยกยอยออกไดเปน 11 องคประกอบ โดยสามารถที่จะสรุปรายละเอียดของแตละองคประกอบไดดังตอไปนี้ 1) องคประกอบดานการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนบนเครือขายสังคมพหุวัฒนธรรม เปนองคประกอบท่ีมุงเนนในดานการจัดสภาพแวดลอมเพ่ือการเรียนรูและการทํากิจกรรมของผูเรียนผานเครือขายสังคมพหุวัฒนธรรม โดยการจัดสภาพแวดลอมน้ีจะมุงเนนและสงเสริมรูปแบบการเรียนท่ีมีความหลากหลาย (Accommodate Divers Learning

Styles) ทั้งการใชรูปแบบกิจกรรมการเรียนท่ีเนนความรวมมือและมีความติดตอสัมพันธกันการใชกิจกรรมการเรียนที่เนนภาระงานหรือปญหา เพื่อใหผูเรียนสามารถท่ีจะอธิบาย

Page 9: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

202

ไดอยางชัดเจนวาตนเองไดเรียนรูอะไรไปบางและสามารถนํามาเช่ือมโยงหรือประยุกตกับชีวิตจริงไดอยางไรรวมไปถึงผูเรียนสามารถที่จะประยุกตความรูใหมที่ไดรับเขามาจากการทํากิจกรรมผานเครือขายสังคมเชิงเสมือนเขากับความรูเดิมของตนเอง

2) องคประกอบดานกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรูและติดตามพฤติกรรมของผูเรียน เปนกระบวนการที่มุงเนนการจัดการเรียนรูในสภาพท่ีเปนจริงและบริบทการแกปญหาท่ีตรงกับสภาพจริงของผู เรียน ดวยการสอดแทรกประสบการณทางสังคมเขาไปในกระบวนการจัดการเ รียนรู สง เสริมการคิดอยางมี วิจารณญาณ (Encourages Critical Thinking) การสรางประสบการณอยางลึกซ้ึงในรูปแบบที่หลากหลายเพ่ือเปดมุมมองใหกับผูเรียน จัดกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางผูเรียนและมีการจัดกระบวนการประเมินการเรียนรูตามสภาพจริงของผูเรียนในระหวางภารกิจ

3) องคประกอบดานฐานการชวยเหลือผูเรียนในการเรียนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน สามารถแบงลักษณะของฐานความชวยเหลือออกเปน 4 ประเภท ไดแก (1) ฐานการช วย เหลื อ เ กี่ ย วกั บ วิ ธี ก า รคิ ด ( Metacognitive

Scaffolding) (2) ฐานความชวยเหลือดานกลยุทธ (Strategic Scaffolding) (3) ฐานความชวยเหลือกระบวนการเรียนรู (Procedural Scaffolding) และ (4) ฐานความช วย เ ห ลือการสร า งความคิ ดรวบยอด (Conceptual Scaffolding)

4) องคประกอบดานปจจัยท่ีกอใหเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม เปนองคประกอบที่ชวยสรางบรรยากาศท่ีสนับสนุนใหผูเรียนเปดกลุมยอยและการสนทนา สรางทักษะการมีสวนรวมดวยการเปดโอกาสใหผูเรียนเขียนหรือสรางโครงการท่ีผูเรียนแตละคนสามารถตอเติมเร่ืองราวหรือขยายผลไปยังผูเรียนคนอื่นๆ ได ผู เรียนแลกเปลี่ยนเ ร่ืองราวในประเด็นใดประเด็นหน่ึงและมองหาความเหมือนรวมและความแตกตางในเร่ืองราวนั้น โดยใชความหลากหลายของมุมมองของผูเรียนและการใหความรวมมือของผูเรียนท้ังในดานการเรียนและการทํากิจกรรม

5) องคประกอบดานการยอมรับและการอยูรวมกันของผูเรียนในสังคมพหุวัฒนธรรมบนเครือขายสังคมเชิง

เสมือน ความตระหนักในคุณคาทางวัฒนธรรมน้ันสวนหนึ่งมีผลมาจากระยะเวลาและความถ่ีในการรับรูเนื้อหาหรือเรื่องราวที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม โดยจะสงผลตอพฤติกรรมของผูเรียน การรูจักคิดวิเคราะห สังเคราะห บูรณาการ และเช่ือมโยงบริบททางวัฒนธรรมเขากับชีวิตประจําวัน เขาใจและยอมรับถึงความแตกตางในดานของวัฒนธรรม ซ่ึงทั้งหมดจะชวยใหผูเรียนรูจักคิดสรางสรรคโดยไมขัดกับหลักความเช่ือของสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม

6) องคประกอบดานการเสริมแรงดานพฤติกรรมของผูเรียน

เปนกระบวนท่ีมุงเนนใหผูเรียนไดรับรูถึงความแตกตางทางเช้ือชาติและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในหองเรียนและในสังคม การปรับทัศนคติของผูเรียนเก่ียวกับการอยูรวมกับผูอื่นท่ีมีความแตกตางทางดานวัฒนธรรม รวมไปถึงการสงเสริมและจัดประสบการณในการเรียนท่ีเหมาะสมเพ่ือชวยใหผูเรียนพัฒนาท้ังทางดานทักษะ ความรูความเขาใจและเจตคติที่ดีตอสังคม

7) องคประกอบดานการมีปฏิสัมพันธของผูเรียนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน จะมุงเนนไปที่รูปแบบการเรียนรูควรเกิดขึ้นในบริบทที่เปนความรูที่ผูเรียนสามารถเช่ือมโยงหรือพัฒนามาจากสภาพชีวิตจริง การเช่ือมโยงประสบการณที่อยูนอกหองเ รียนของผู เรียนเขา กับการจัดกิจกรรมและประสบการณในหองเรียน โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหผูเรียนสามารถท่ีจะแลกเปล่ียนหรือบูรณาการความรูใหมเขากับความรูเดิมของตนเองได 8) องคประกอบดานการจัดการเครือขายบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน เปนองคประกอบที่จะชวยในการจัดการเครือขายในภาพรวมเพื่อใหผูสอนจะสามารถท่ีจะวางแผนในการจัดกิจกรรมตางๆ ได 9) องคประกอบดานระบบบริหารจัดการบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน เปนระบบท่ีจะชวยใหผูสอนสามารถท่ีจะบริหารและจัดการหองเรียนเสมือนบนเครือขายสังคมเชิงเสมือน 10) องคประกอบดานเคร่ืองมือที่ติดตอส่ือสารบนสังคมเชิงเสมือน เปนเคร่ืองมือที่จะชวยใหผูเรียนสามารถท่ีจะเขาสังคมออนไลนเพื่อพบปะเพ่ือนท่ีอยูตามสถานท่ีตางๆ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผู เรียนสามารถท่ีจะสรางเครือขายทางดานสังคม โดยเคร่ืองมือในดานน้ีจะประกอบไปดวย เ ฟ ส บุ ค ( Facebook) แ ล ะ อี เ ม ล ล (e-Mail)

Page 10: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

203

11) องคประกอบดานเครื่องมือสะทอนความรูของผูเรียน เปนการจัดเคร่ืองมือตางๆ ภายในเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือใหผูเรียนจะสามารถที่จะใชในการบันทึกความรูที่ไดในระหวางเรียน โดยเคร่ืองมือจะประกอบไปดวย กระดานสะทอนคิด (Reflective Journal) บล็อก (Blog) และกระดานสนทนา (Forum)

6) ขอเสนอแนะ

6.1) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช องคประกอบของรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม นี้สามารถท่ีจะปรับเปลี่ยนและยืดหยุนตามสถานการณการนําไปใชงาน ลักษณะของผูเรียนและวิชาที่เรียนเพื่อความเหมาะสมและการท่ีจะบรรลุตามวัตถุประสงคในการเรียนของผูเรียน

6.2) ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป

6.2.1 เพื่อทําใหองคประกอบของรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรม มีความสมบูรณยิ่งขึ้น จึงควรวิจัยพัฒนาส่ือการเ รียนรู เพื่อสงเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลนทั้งแบบในเวลาเดียวกัน (Synchonous) และแบบตางเวลา (Asynchonous) 6.2.2 ควรจะพัฒนาองคประกอบของรูปแบบเครือขายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรูสําหรับการศึกษาพหุวัฒนธรรมในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากอาจจะมีบางบริบทที่มีความแตกตางจากในการศึกษาในระดับอุดมศึกษา

7) เอกสารอางอิง ใจทิพย ณ สงขลา. (2550).วิธีวิทยาการออกแบบการเรียนการ

สอนอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพมหานคร:ศูนยตํารา และเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

บัญญัติ ยงยวน. (2551). การสงเสริมพัฒนาการเด็กในบริบทของความหลากหลายวัฒนธรรม. สืบคนเมื่อ 12

พฤศ จิ ก า ย น 2552, สื บ ค น จ า กhttp://www.cf.mahidol.ac.th/autopage/file/

WedJuly2008-22-18-5-4articel-004.pdf.

ประพนธ ผาสุกยืด. (2547). การจัดการความรูฉบับมือใหมหัดขบั. กรุงเทพฯ: ใยไหม

Banks, J.A. (2002). An Introduction Multicultural

Education. Boston: Allyn & Bacon.

Casey, D.M. (2008). The Historical Development of

Distance Education through. Technology .

TechTrends. 52 (2). 45-51.

Kollock, P. (1996). Design Principles for Online

Communities. Paper presented at the Harvard

Conference on the Internet and Society, Cambridge,

MA.

Marquardt, M. 1996. Building the Learning Organization.

New York : McGrawHill,

Nonaka, I., and Takeuchi, H. 1995. The knowledge creating

company: How Japanesecompanies create the

dynamics of innovation. New York: Oxford

University Press.

Probst, G., Raub, S., and Romhardt, K. 2000. Managing

knowledge: Building blocks for success. West

Sussex, England: John Wiley and Sons.

Preece, J. (2000). Online Communities: Supporting

Sociability, Designing Usability. Chichester: John

Wiley & Sons Ltd.

Page 11: Development of Virtual network Model for Knowledge Sharing in Multicultural Education. [NEC2012]

204

พฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลน ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร ในมหาวทิยาลัยของรัฐ

The Social Network Usage behavior of Undergraduate Students

in Faculty of Education, Government University

นางสาวอรุณรัตน ศรีชูศิลป ดร.อนิรุทธ สติมั่น ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร (E-mail address : [email protected])

(E-mail address : [email protected], [email protected]) ABSTACT

The purpose of this research were to 1) to study social network usage behavior of undergraduate students in faculty of education, government university 2) to study behavior exposure to information on social networks of undergraduate students in faculty of education, government university 3) to compare social network usage behaviors by considering personal and behavior exposure to information on social networks of undergraduate students in faculty of education, government university. The sample size was 382 of students. The questionnaire was constructed and used as tool for collected data. Analyzed the statistics of percentage, mean scores, standard deviation, t-test, one-way ANOVA.

Analysis results were concluded as follow : 1. The social network usage of undergraduate

students in faculty of education, government university were at high level in overall.

2. The study of behavior in exposure to information on social networks of undergraduate students in faculty of education, government university were the most of respondents use to a self-study, the purpose of using for entertainment, applications in communications, and usage in public identity (Identity Network) maximum, most of them were usefulness and satisfied in using of each application on social network was at a high level in overall.

3. The comparison of the social network usage behavior for undergraduate students in faculty of education, government university which classifying by gender, personal computer, GPA and income of the parents are not different but the institute and student’s level were social network usage behavior and behavior exposure to information was no signification different. KEY WORD : SOCIAL NETWORK, COMMUNICATION, EDUCATION, EDUTRAINMENT

บทคัดยอ การศึกษาคร้ัง น้ี มี วัตถุประสงค 1 ) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลน ของนักศึกษา

ปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปดรับขอมูลขาวสารบนเครือขายสังคมออนไลน ของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร 3) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลน จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล และพฤติกรรมการเปดรับขอมูลขาวสาร ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร ในมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควาคร้ังนี้ ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ที่กําลังศึกษาอยูใน คณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร ในมหาวิทยาลัยของรัฐ ภาคการศึกษาท่ี 2 ปการศึกษา 2554 ซ่ึงครอบคลุม 14 มหาวิทยาลัย จํานวน 382 คน โดยไดจากวิธีการสุมหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) เคร่ืองมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม (Questionnaire) และ แบบสอบถ ามออนไลน (E-Questionnaire) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถ่ี คารอยละ คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คาสถิติทดสอบทีแบบเปนอิสระตอกัน (t-test) และการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัย พบวา

1. พฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลน ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบวา โดยภาพรวม อยูในระดับมาก

2. พฤติกรรมการเปดรับขอมูลขาวสารบนเครือขายสังคมออนไลน ของนักศึกษา ปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร ในมหาวิทยาลัยของรัฐ พบวา มีพฤติกรรมการเปดรับขาวสารดวยการศึกษาดวยตนเอง มีวัตถุประสงคในการใชงาน เพื่อความบันเทิง ใชงานในดานการส่ือสาร และใชงานเว็บไซตเครือขายสังคมออนไลนในประเภทเผยแพร