1

Click here to load reader

03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม

Translation of artwork into public knowledge

บระเด็นเรื่องการตีความเริ่มจากค าถามที่ว่า “ใครมีหน้าที่ ‘อ่าน’ และ ‘แบลความ’ งานศิลบะ ? ค าถามถัดมา ภัณฑารักษ์ นักวิจารณ์ศิลบะ นักการศึกษา สามารถถอดรหัสได้มากกว่าที่ ‘ศิลบิน’ คิดได้หรือไม่? สุดท้ายคือ คนท างานฝิฝิธภัณฑ์และหอศิลบ์จะช่วยขยายความช้ินงานศิลบะเบ็นความรู้สาธารณะได้อย่างไร?

การตีความหมายงานศิลบะสู่สาธารณชนอาจต้องมีบัจจัยหลายอย่างที่จะท าให้งานบระสนความส าเร็จได้ยกตัวอย่างบระเทศเฝื่อนน้านเราอาจได้มาจากการรันอิทธิฝลของตะวันตกในสมัยอาณานิคมที่มีการสั่งสอนหรือถ่ายทอดแนวคิดเรื่องศิลบะไว้อย่างจริงจัง การอนุรักษ์ศิลบะก็เช่นกันน่าจะได้รันการบลูกผังมาอย่างมาก ดังนั้นบระเทศอื่น อย่างบระเทศสิงคโบร์หรือบระเทศมาเลเซียจึงมีการเรียนรู้และความเข้าใจเรื่องศิลบะได้ดีมาก แต่การตีความที่จะถ่ายทอดไบสู่สาธารณชนอาจไม่ใช่เรื่องที่จะท าได้ง่าย เฝราะส่วนใหญ่จะเบ็นการกล่าวเกินจริงไบกว่าปลงานที่เบ็นจริง หลักการในการตีความงานศิลบะ เริ่มจากค าว่า “intertextuality” คือ การปนวกค าขึ้นมาโดยดูว่าเนื้อหามีความสอดคล้องกันและการตีความของคนในบัจจุนัน ค าต่อมา ค าว่า “dialectic” คือ กระนวนการในการตรวจสอน หรือเบ็นการแลกเบลี่ยนความคิด เนื้อหาและความจริง ค าสุดท้ายคือค าว่า “text” คือ เนื้อหาหรือข้อมูลต่าง ๆ ที่อาจมีส่วนเกี่ยวข้องกันปลงาน เช่น ภาฝที่ได้แรงนันดาลใจมากจากการอ่านหรือการดูอะไรเฝื่อน ามาเบ็นข้อมูลในการสร้างสรรค์ปลงานของตนเอง การตีความงานศิลบะด าเนินมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ Modernity จนถึง Postmodernity ซึ่งมีการตีความที่แตกต่างกัน รูบแนนแต่ละสมัยก็มีลักษณะเฉฝาะเช่นกัน นางครั้งกลุ่มโมเดิร์น และ กลุ่มโฝสโมเดิร์น ก็มีแนวทางในการท างานของตัวเองไม่มีอะไรสัมฝันธ์กันเท่าไร นอกจากนั้นแล้วการศึกษาวัฒนธรรม (Cultural Studies) เบ็นการศึกษาเนื้อหาการท างานแนนใหม่ ที่ต้องมีการตีความทางวัฒนธรรม(Cultural Translation) เฝื่อให้ปลงานที่จัดแสดงมีความชัดเจนมากขึ้น การจัดการวัฒนธรรม (Cultural Management) ยังมีความเชื่อมโยงกันปลงานเฝราะการสร้างงานชิ้นหนึ่งต้องอาศัยเรื่องราวหรือนรินททางสังคมเบ็นตัวช่วยซึ่งจะท าให้เกิดปลงานที่สมนูรณ์มากขึ้น นอกจากนั้นยังมีการกล่าวถึงว่า ศิลบะ เบรียนดั่ง การโฆษณาเกินจริง นิยามของค าว่า Propaganda คือ การเสนอความคิดเห็นที่ค่อนข้างไม่จริงและกล่าวเกินจริงไบซึ่งอาจจะกระจายตัวไบจนเบ็นการโฆษณาชวนเชื่อมากกว่าการน าเสนอข้อเท็จจริง ศิลบะที่น าเสนออยู่ในตอนนี้มีหลากหลายรูบแนนไม่ว่าจะเบ็นศิลบะฝื้นเมือง ศิลบะแนวศาสนา ศิลบะโมเดิร์น ศิลบะโฝสโมเดิร์น และ ศิลบะร่วมสมัย การตีความปลงานศิลบะในบัจจุนันต้องใช้กระนวนการต่าง ๆ มากมาย เช่น รูบแนนของศิลบะ การศึกษาที่มาของศิลบะ และองค์บระกอนอื่น ๆ ที่ท าให้เกิดงานศิลบะ เฝราะฉะนั้นการตีความงานศิลบะต่อสาธารณชนนั้น ไม่ใช่แค่การวิจารณ์งานจากมุมของปู้ตีความเฝียงอย่างเดียว แต่ต้องมีองค์บระกอนจากภายนอกเข้ามาช่วยในการตีความงานให้เกิดความถูกต้องและชัดเจนมากขึ้นด้วย

Translation of artwork into public knowledge ประพล ค าจิ่ม

คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 11 กุมภาพันธ์ 2559 ห้องคลังความรู้ มิวเซียมสยาม