19
 จดหมายข าว วิถี ชี  เพื  อสุ ขภาวะ www.thaiyogainstitute.com  ฉบ บเด อน สิ งหาคม 2553 คุยก นก อน 2 ปฏิทินกิ จกรรม อบรมครู รุ  14, โยคะในสวนธรรม 2 ระหว างทาง นใหม 5 จดหมายจากเพื อนครู  รายงาน สานจิตเสวนา 8  โลกอาสนะ 360 องศา 7 ดอก ยกกายา อย างผ าเผย 9 ปกิ ณกะ สุ ขภาพ อยาเครียด, อยากล วแดด, วิตามินอี 10 แนะนําหนงสื  เข็มทิ ศสุ ขภาพ 11 เลงเล าเรื  ่อง  ใครก นแน ... ที  าสงสาร 12 ตํ าราโยคะด  งเดิม -ความหมายของคํ  ความรู   -ความจริ งแท 13 เกร็ ดความรู    โยคะ เส นเอ็ นยึ ดกล ามเนื  อกบกระดู 15 สะกิด สะเกา เข็มทิ ศสุ ขภาพ 17 ประชาส มพ นธ   โยคะในงาน มหกรรมสมุนไพร คร  งที  ่ 7 18 จดหมายข าว  โยคะสาร ตถะ วิถี ชี ตเพื  อสุ ขภาวะ ที  ปรึกษา แก  รย เธี ยร ธี รเดช ยวิ ทยารตน  นพ.ยงย ทธ วงศ รมย ศานติ   นพ.สมศกดิ   ชุ ณหรศมิ   กองบรรณาธิการ กวี  คงภ กดี พงษ , จิ รวรรณ  งจิ ตเมธี , จี ระพร ประโยชน บูล, ชนาพร เหลื องระฆ , ตฐิ ยา ยมหนต , ฏฐ วรดี  ศิ ลภทรศรี , ธนว ชร  เกตน , ญยธรณ  อรณย ชลาล , ธี ริ นทร  ชชิ , พรจ นทร  นทนไพรว , ฐธนนท  ริ ยะ ลช, วรรณวิ ภา มาลยนวล, วลลภา ณะนวล, สาขา  ไผ งาม, ระพงษ   ไกรว ทย , นสนี  นิ ราม ษ , สมด ลย  หม  เพี ยรการ สถาบนโยคะวิ ชาการ ลนิ ธิ หมอชาวบ าน 201 ซอยรามคํ าแหง 36/1 บางกะป  กทม.10240  โทรศพท 02 732 2016-7, 081 401 7744  โทรสาร 02 732 2811 เมล [email protected] เว็ บไซท www.thaiyogainstitute.com สิ งตี พิ มพ  1008 1

Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 1/18

 

จดหมายขาว  วิถีชีวิต เพื ่อสุขภาวะ 

www.thaiyogainstitute.com  ฉบับเดือน สิงหาคม 2553

คุยกันกอน 2

ปฏิทินกิจกรรม  อบรมครรูุ น 14, โยคะในสวนธรรม 2

ระหวางทาง  คนใหม 5

จดหมายจากเพื ่อนคร ู รายงาน สานจติเสวนา 8

 โลกอาสนะ 360 องศา 7 ยืดอก ยกกายา อยางผาเผย 9

ปกิณกะ สุขภาพ  อยาเครียด, อยากลัวแดด, วิตามินอี 10

แนะนาํหนังสือ  เข็มทิศสุขภาพ 11

เลงเลาเร ื่อง   ใครกันแน... ที ่นาสงสาร 12

ตําราโยคะดั ้งเดิม  คํา-ความหมายของคํา ความรู -ความจริงแท 13

เกร็ดความร ู โยคะ  เสนเอ็นยึดกลามเนื ้อกับกระดูก 15

สะกิด สะเกา  เข็มทิศสุขภาพ 17

ประชาสัมพันธ   โยคะในงาน มหกรรมสมุนไพร ครั ้งที ่ 7 18

จดหมายขาว  โยคะสารัตถะ  วิถชีีวิตเพื ่อสุขภาวะ ที ่ปรึกษา  แกว วิฑูรยเธียร  ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน  นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานติ ์  นพ.สมศักดิ ์ ชุณหรัศมิ ์ กองบรรณาธิการ  กวี คงภักดีพงษ, จิรวรรณ ตั ้งจิตเมธี, จรีะพร ประโยชนวิบูล, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณัตฐิยา ปยมหันต, ณัฏฐวรดี ศิ

ริกุลภัทรศร,ี ธนวัชร เกตนวิมุต, ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย, ธีรนิทร อุชชนิ, พรจันทร จันทนไพรวัน, รัฐธนันท พิรยิะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา  ไผงาม, วีระพงษ  ไกรวิทย, ศันสนยี นิรามิษ , สมดุลย หมั ่นเพียรการ 

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 

201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240

 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 401 7744

 โทรสาร 02 732 2811

อีเมล [email protected]

เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com

สิ ่งตพิีมพ 

1008  1

Page 2: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 2/18

 

สวัสดีเพื ่อนๆ  ทกุทาน  หลังเหตุการณทางการเมอืงสงบลง ดูเหมอืนชวงนี ้งานจะยุ งมาก ฝนตกอีกตางหาก รักษาสมดุลชีวิตดวยนะ 

สถาบันเปดรับสมัครเพื ่อนรวมงาน  ทาํงานเต็มเวลา 1 คน  คุณสมบัติคือ 1) มีความสนใจเรื ่องการพัฒนาจิต  มีความสนใจเร ่ืองโยคะ 2) อยากจะเปนผู รวมพัฒนาสถาบันฯ  

นําพาองคกรบรรลุเปาหมายท ่ีตั ้งไว 

เนื ้องานท ่ีอยากไดคนมาชวยคือ  ประสานงาน 

กิจกรรมอบรมตางๆ  ประสานงาน  ผลิตหนังสือ  อารตเวอรค  โรงพิมพ ขอลิขสิทธ ์ิการพิมพ ประสานงาน  โยคะเด

ลิเวอรี ่ ประสานงาน จุลสาร เวบไซท ทําบัญชี ฯลฯ พูดงายๆ  กคื็อ  ชวยทําทุกเรื ่องนั ่นแหละ  สนใจสอบถามรายละเอยีด และ นัดสัมภาษณ  โทร กวี 081 684 1411

 ______________________________________________________________________________________________ 

คายอบรมครู 100 ชั ่วโมง รุ นท ่ี 14 ทําความเขาใจทาอาสนะ ดวยทาพื ้นฐาน 14 ทา  ทําความร ูจัก  ปราณ  มุทรา  พันธะ กรยิา  เรยีนทฤษฎีเกี ่ยวกับ  กายวิภาคสรีรวทิยา  ปรัชญาอินเดยี ประวัติศาสตร โยคะ  ตําราดั ้งเดิม ฝกสอนทั ้งนําปฏิบัติ 

และ บรรยายหนาชั ้น รวมทั ้งสอบขอเขียน คายเปด  วันจันทรท ่ี 11 – วันศุกรท ่ี 15 ตุลาคม  คายปดวันศุกรท ่ี 12 – วันอังคารท ่ี 16 พฤศจิกายน คาลงทะเบยีน 15,000 บาท 

---------------------------------------------------------

จิตสิกขา วันเสารที ่ 21 สิงหาาคม 9.00 – 12.00 น. คุยกัน  เร ่ืองของอภิธรรม (ตอ) ท ่ีเดมิ ซอยรามคําแหง 36/1

---------------------------------------------------------

 โยคะอาสนะขั ้นพื ้นฐานเพื ่อความสุข  สถาบันฯ  จัดอบรมอาสนะพื ้นฐานเดือนละครั ้ง  สําหรับเดือนสิงหาคมเต็มแลว 

ครั ้งตอไปเปนวันอาทิตยที ่ 12 กันยายน 2553 เวลา 9.00-

15.00 น.

----------------------------------------------------------

เชิญอัพเดทขาวสถาบันฯ  เปน fan  ในเฟสบุ  คท ่ี  http://www.

facebook.com/pages/thaiyogainstitute/208189084154

และทาง Twitter ท ่ี http://twitter.com/yogathai

---------------------------------------------------------

 โยคะในสวนธรรม  สถาบันฯ รวมกับ หอจดหมายเหตุพุทธทาส  อินทปญโญ  เชิญเขารวมกจิกรรม “ โยคะในสวนธรรม”

ทุกวันเสารท ่ีสองของเดือน  เวลา 10.00 – 12.00 น. ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส สวนวชิรเบญทศิ ถ.วิภาวดีรังสิต (หลัง

ตึก ปตท. หาแยกลาดพราว)มารวมฝกเทคนิคโยคะ  พรอมกับทาํความเขาใจ

 โยคะตามตําราดั ้งเดิม  ซึ ่งเปนวิถี ไปสู  โมกษะ  และทําความเขาใจวา  โยคะเช ่ือมโยง  เก ื้อกลูกับการปฏิบัติธรรมไดแค ไหน 

อยางไร ตามกําหนดการ*ดังนี ้ 14 ส.ค.  โยคะกับการผอนคลายกายใจ  โดย  ชนาพร  เหลือง

ระฆัง 11 ก.ย.  โยคะกับการนั ่งสมาธิ  โดย จีระพร ประโยชนวิบูลย 9 ต.ค.  โยคะ: การตามรู การเคลื ่อนไหวของรางกายใน

อิรยิาบถตางๆ  โดย อสมาพร สัตยาบรรณ 

13 พ.ย.  โยคะกับการดแูลสุขภาพภายใจ  โดย  ธนวไล  เจริญจันทรแดง 

11 ธ.ค.  โยคะกับการภาวนา  โดย ธนวัชร เกตนวิมุต 

 ไมเสียคาใชจาย  มีการตั ้งกลองรับบรจิาค  เพื ่อชวย

สมทบคาสาธารณูปโภคใหกับฝายอาคาร  และคาเดินทางวิทยากร แตงกายสบายๆ (เสื ้อยืด  กางเกงวอรมท ่ีสุภาพ)

 โปรดนําเสื ่อหรือผาหนาๆ   ไปรองตัว  ขณะฝก  สอบถามรายละเอยีด ลงทะเบยีนไดท ่ี สถาบันโยคะฯ 

ถามากับเดก็เล็ก  ควรมคีนมาดูแลเดก็ดวย  เพื ่อรักษาบรรยากาศอันสงบในขณะกําลังฝกโยคะ 

*กําหนดการอาจมีการปรับเปลี ่ยนตามความเหมาะสม-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1008  2

Page 3: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 3/18

"ศิลปะแหงการดําเนนิชีวิต : จิตงอกงาม"  จากบทเรยีนความเปนจริงของชีวิต  ผานทางงานศิลปะอยางงาย  วันอาทิตยท ่ี 8 สิงหาคม 2553 เวลา 13.00 - 15.00 น. ( ไมมี

คาใชจาย)

จัดโดย  กรนีไลฟ  ฟตเนส  รวมกับ  เครือขายชีวิตสิกขา องคกรเพื ่อการเรยีนร ูและพัฒนาชีวิต 

ผสานการสานใจอันออนโยน  การฟงเสียงของความร ูสึก  การมีสติรู เทาทัน  การเคารพและใหเกยีรติ ในพื ้นท ่ีของกันและกัน  ฝกการคนพบทางแกปญหาตามตนทุนภายใน

ของแตละคน  ลดภาระความเครียดทางใจ  และนําไปสู กระบวนการพัฒนาจิตใหเจริญงอกงามยิ ่งขึ ้น  สอบถามรายละเอยีดเพิ ่มเติม  โทร 082 455 7575

..............................................................................

“อาสาใจเติมใจเพื ่อผู  ปวย” ครั ้งท ่ี 4 เจริญสติดวยการร ูกาย 

ร ู ใจ  ผานงานฝมือท ่ีจะสงใจไปเยี ่ยมผู ปวยวันพุธที ่ 11

สิงหาคม  เวลา 9.00-16.00 น. เชิญชวนผู มีจิตอันเปนกุศล

รวมโครงการ 1. ทําห ุนมือ Puppet เพื ่อผู ปวยเด็ก 2. สมุดเยียวยาความเจ็บปวยดวยการเขียน 

รวมบรจิาคดวยการนําวัสดสิุ ่งของเหลือใชจากท ่ีบาน 

ท ่ีทาํงาน  เชน  รบิบ ิ้น,  โบว, เศษผา, กระดิ ่ง, ดินสอ, ปากกา ฯลฯ เพื ่อใชประโยชน ในการตกแตงทําห ุนมือและสมุดเยียวยา 

จะมาเด ่ียว  จูงมาเปนคู   หรอืมาเปนครอบครัวก็ ได (ทกุคนทําได ขอใหม ีใจ)

รวมแรงกายแรงใจ  เปนสวนหนึ ่งในบุญกศุลดวยกัน 

ณ หองประชมุใหญ  โรงเรยีนพระปริยัติธรรม  วัดระฆังโฆสิตาราม 

สมัครและสอบถามรายละเอียดไดที ่ ครูดล  โทร 087-

678-1669 / ครแูดง  โทร 089-983-4064

…………………………………………………………

 โครงการอบรม ธรรมะและโยคะเพื ่อผู  ปวย ครั ้งท ่ี 13 โดย 

เครือขายชีวิตสิกขา  ณ  วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร  วันเสารที ่ 21 สิงหาคม เวลา 8.30 – 17.00 น.

ภาวะเจ็บปวยทางรางกายท ่ีเกิดขึ ้น  ไมเพียงตองการ การดแูลเยียวยาทางกายภาพท ่ีดี และเหมาะสมกับโรคเทานั ้น 

หากยังตองการองคประกอบรวมทั ้งทางดานจิตใจ  สังคมและปญญา  เพื ่อชวยใหผู ปวยอยู  ไดอยางมีสุขภาวะท ่ีดีและสมศักดิ ์ศรีของความเปนมนุษย  เพราะถึงแมทางกายภาพอาจจะ ไมสมบรูณ แตศักยภาพทางดานจิตใจและปญญา  ยังสามารถ

พัฒนาได ไปจนถึงขั ้นสูงสุด  ดังนั ้นทั ้งตัวผู ปวยและผู ดูแลผู ปวยเองตางก็ตองการความร ู  ความเขาใจ  และทัศนคติ ในการรับมอืกับความเจ็บปวยที ่เกิดขึ ้น  เพื ่อใหสามารถวางใจไดวาแมกายจะปวยแต ใจไมปวยเลย คอย ๆ ถอดถอนจากผู เปนทกุข  สู ผู เหน็ทุกข  จวบจนกระทั ่งสามารถสรางเหตุปจจัยใน

การเตรยีมพรอม  ท ่ีจะเผชิญกับชวงเวลาเปลี ่ยนผานสําคัญที ่ 

สุดของชีวิตอยางเก ื้อกลู 

กระบวน การอบรม 

ฝกเจรญิสติภาวนา  ตามแนวทางหลวงพอเทยีน  และธรรมะในการวางใจรับมือกับความเจ็บปวย 

ฝกหายใจปราณายามะแบบโยคะเพื ่อการรู  ตื ่น ปลอยวาง กิจกรรมเรยีนร ู กับพลังกลุ มเพื ่อการเยียวยาความเจ็บปวย 

 ไมมีคาใชจายในการเขารวมอบรม  สามารถเขารวมไดทั ้งผู ปวย ผู ดูแลผู ปวย และผู สนใจทั ่วไป  

การเตรยีมตัว  เตรยีมเสื ่อหรือผาปูรองนอนเพื ่อฝกโยคะ (เครอืขายฯ มีเสื ่อเตรยีมไวจํานวนหนึ ่ง) มีอาหารกลางวัน (มีมังสวิรัติ) เคร ่ืองด ่ืม  และของวางตลอดการอบรม  สอบถามรายละเอยีดเพิ ่มเติมไดท ่ี 084-643-9245, 087-678-1669,

089-899-0094 

.............................................................................

 โยคะแหงสัญชาติญาณ THE INTUITIVE YOGA   โดย 

Diane Long วันท ่ี 11 – 12 กันยายน 2553

Diane Long  ใชเวลาสวนใหญท ุมเทพัฒนาและขัดเกลาโยคะ  โดยฝกกับ Vanda Scaravelli (ศิษยของ B.K.S.

Iyengar  และ Desicachar) เปนเวลาถึง 23 ป  จนกระทั ่ง Vanda  ไดจากโลกนี ้ ไปเมื ่อป 1999 ดวยอายุ 91 ป 

สิ ่งท ่ี Diane Long สอนนี ้เเปนการววิัฒนหรอืพัฒนาการฝกฝนทางกายเพื ่อนําไปสู ความกระฉับกระเฉง แก 

1008  3

Page 4: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 4/18

สวนที ่มีความสําคัญของชีวิต  นั ่นก็คือกระดกูสันหลัง   โดยมีแนวคิดวา  แนวกระดกูสันหลังจะแบงเปนสวนบน (ศีรษะ  คอ 

แขน  ไหล  ลําตัว) และ สวนลาง (ขา เทา สะโพก) ณ ตรงสวนของกระดกูสวนลําตัวขอที ่ 4 และ 5 (L4, L5) สวนบนจะมีความแข็งแกรงและเป ยมไปดวยความเบกิบาน  และสวนลาง

จะเปนสวนท ่ีเปนฐานและเปนมิตรกับแรงโนมถวง  หรอืหยั ่งรากลึกลงในดนิกอใหเกดิความมั ่นคง 

สิ ่งที ่จะไดรับร ูจากการสอนในการอบรมนี ้กคื็อ 

พัฒนาความรับร ู  เปดวสัิยทัศน ในการแสดงตัวตนอยางสอดคลองทั ้งความคิด คําพูด การกระทาํ  ใหถูกตองกลมกลืน 

เรยีนร ูแนวคิดการทาํทาโยคะแตละทา  อยางผอนคลายไมฝน  การเคลื ่อนไหวตางๆ  คลายกับเปนการรายรําไปตามจังหวะลีลาของรางกายอยางธรรมชาติ 

เปนการทาํสมาธ ิโดยผานการทําทาโยคะอาสนะ  และเปนการผสานกันของ  แรงโนมถวง  ลมหายใจ  และกระแสการสั ่น ไหวของแนวกระดกูสันหลัง ขณะอบรม  ครูจะสาธิตและอธิบาย และเขาไปดูแลใหผู ฝกแตละทาน  ไดรับรู ประสบการณของตัวเองในการเคลื ่อนไหวที ่

ละเอยีดออนในแตละการเคลื ่อนไหวในแตละทา  เปนตน 

Diane Long ปจจุบันอาศัยอยู ท ่ีกรงุโรม อิตาลี สอนประจําอยู ที ่  สหราชอาณาจักร  เดนิทางไปสอนยังประเทศตาง ๆ ทั ่วโลก ชมเวปไซท  ไดที ่ http://www.dianelongyoga.com/

อบรม ท ่ีพาสนา กาเดนท สุขุมวิท 63 คาอบรมทานละ 4,000 บาท 

ติดตอสํารองท ่ีลวงหนา  ไดที ่  สรรค (ฐนพล) รัตนการัณย  หมายเลขโทรศัพท 089 488 8891 รับ 22 ทาน 

……………………………………….………………..

ศิวะนันทะโยคะเวิรคชอบ   โดยครหูนูชมช ่ืน  สิทธิเวช 

Sivananda on Manduka Mat with Kru Noo

จัดโดย  โยคะคอนเนคชั ่นรวมกับ  โยคะโอม ณ  โยคะคอนเนคชั ่น ซอยลาซาล 53 สุขุมวทิ 105 บางนา  วันอาทิตยท ่ี 12 กันยายน 2553 เวลา 2 รอบ 9.00-11.30 น. และ 14.00-16.30 น. ราคา 1,200 บาท และ 1,500 บาท 

เนื ้อหาการสอน 1. อาสนะโยคะ เทคนิคของศิวะนันทะ ระดับพื ้นฐาน และระดับกลาง 2. การหายใจ เพื ่อสมาธิ 3.

การผอนคลาย อยางถูกตอง รายละเอยีดของการสอน ระดับพื ้นฐาน  อาสนะเพื ่อ

การดาํรงชีวิต  สามารถดูแลรางกายตนเองในชีวิตประจําวัน 

และทุกวถีิทาง  เชน  ขณะทาํงาน  เพื ่อแกหรอืบรรเทา  อาการ

ปวดขณะทาํงาน  เดนิทางโดยยานพาหนะ  เชน  บนเคร ่ืองบิน 

บนรถ  หรอืขณะทํางานบาน  เนนการปรับสภาพรางกาย 

ปรับทศันคติของผู เรยีน / ระดับกลาง  อาสนะเพื ่อเสรมิสรางรางกาย  ทั ้งแบบดั ้งเดิม  และแบบประยุกต  พัฒนารางกาย 

 โดยเฉพาะผู ที ่มีประสบการณของการฝกโยคะมาแลว  ระดับหนึ ่ง และไมมขีอจํากัดรางกาย และโรคประจําตัว 

หัวใจสําคัญของการสอน  เขมงวด  รูปแบบของการเคลื ่อนไหวรางกาย  และการหายใจ / ปรับปรงุรูปแบบ  ของการเคลื ่อนไหวรางกาย  และการคงทาใหสงางาม  และสงบ 

อยางมั ่นคง  สนใจโทร  โยคะคอนเน็คชั ่น 02-398 5746 /

081- 933 1242

 ____________________________________________________________________________________________ 

เดอืน กรกฏาคม 2553 มีผู บรจิาคสนับสนุนการทํางานของสถาบันฯ ดังนี ้ ครูครูชุติมา อรุณมาศ (ครูกลวย) 1,000.-บาท 

ครูเรัชนี วงศซารู (ครูออย) 340.-บาท 

เพื ่อนครูทุกทานท ่ีเขารวมกจิกรรมจิตสิกขาประจําเดือนกรกฎาคม 510.-บาท 

สรปุยอดบริจาคประจําเดือนกรกฎาคม 2553 ทั ้งสิ ้น 1,850 บาท 

และ ครูอาทิตยา (คร ูโอ) บรจิาคกาเนติพลาสติคใหจํานวน 50.- ใบ 

1008  4

Page 5: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 5/18

  โดย  ธีรเดช  อุทัยวิทยารัตน คนใหม 

‘ ชวงนี ้อากาํลังทําอยู หรือ?’ 

นจิเกต  ลูกชายคนเล็กของครชูาวอินเดยีของผมถาม

ขึ ้น ขณะที ่เรากาํลังกินอาหารเชาท ่ีปรุงดวยใจจากฝมือของแมเขา 

ท ่ีถามเชนนั ้น  เพราะเขาคงแปลกใจท ่ีนับตั ้งแตผมมาถึงบังกาลอร1กวาหนึ ่งสัปดาหแลว นอกจากนวดน้ ํามันและ

หยาดน้ ํามัน2 ใหพอของเขา  ซึ ่งเปนครูชาวอินเดียคนแรกของผม  รวมทั ้งนวดน้ ํามันใหเพื ่อนสนิทของพอแลว  ผมไม ไดยางกรายออกไปไหนเลย 

เรยีกวาวางจากการบําบัดเม ่ือไร  ผมใชเวลาสวน

 ใหญนั ่งอยู หนาโนตบุคท ่ีหิ ้วติดตัวมาจากเมื องไทย 

‘ เรากาํลังเอาหนังสือ  ที ่เคยเขียนไวเมื ่อสิบปกอนมาทบทวนแกไข หรือจะพดูใหถูก ตองบอกวา เอาเรื ่องเกามาเลาใหม – เกือบทั ้งเลม’  ผมบอกนจิเกต 

สิบปกอน ผมเรียบเรียงหนังสือเกี ่ยวกับเรื ่องของการเขาใจธรรมชาติของคนแตละคน  ซึ ่งเปนหนึ ่งในหัวใจสําคัญของอายุรเวท 

เปนหนังสือท ่ีผมเขียนขึ ้นดวยความร ูสึกวาเปนการบอกเลาเร ่ืองราวของการลองเลียบไปบนสายธารแหงความร ูอันเกาแกสายนี ้ 

1 บังกาลอรเปนเมอืงหลวงของรัฐกรรณตกะซึ ่งเปนที ่คอนไปทางตอนใตของ

อินเดีย 

2 การหยาดน้ ํามันเปนหนึ ่งในวิธีการเยียวยาตามหลักอายุรเวท ซึ ่งในภาษา

สันสกฤตวา ‘ไตละ ธารา’ (taila dhara) คาํวา ไตละ แปลวาน ้ํามัน สวนธารา หมายถงึการไหลที ่ตอเนื ่อง(flow) การหยาดน้ ํามัน – ตามวิธีของครูอายุรเวทของผม จะใชหมอเจาะรตูรงกนหมอ แลวเทน้ ํามันยาอุ นๆ ใสหมอ 

จากนั ้นผู  บาํบัดจะถอืหมออยู เหนือรางกายคนไขที ่นอนอยู บนเตียงบําบัด 

ปลอยใหน้ ํามันไหลผานรูที ่กนหมอลงบนรางกายของคนไข โดยน ้ํามันจะหยาดลงมาอยางตอเนื ่อง จึงเปนที ่มาของคาํวา ไตละ ธารา 

น ้ํามันที ่หยาดไหลเปนสายไปกระทบรางกาย ใหผลสองอยาง คือ 

แรงกระทบของน้ ํามันซึ ่งอยู เหนือรางกายคนไขประมาณหนึ ง่ถงึหนึ ่งฟตุครึ ่งเมื ่อลงไปกระทบกับรางกาย จะมีสวนในการกระตุ  นกลามเนื ้อและเซลลประสาทตามรางกาย 

นอกจากนี ้ น ้ํามันยา(ซึ ่งสวนใหญจะปรุงจากน้ ํามันงา)ยังนาจะแทรกซมึผานรูขมุขนและชองวางระหวางเซลลเขาสู รางกาย ซึ ่งอายุรเวทอธิบายวาน ้ํามันงามคีณุสมบัติที ่ละเอยีดสามารถซมึผานไปตามรางกายได 

เนื ่องจากวา  หนึ ่งอาทิตยกอนเดินทางออกจากเมือง  ไทย  มิตรสนิทของผมเสนอแนะแกมคาดคั ้นใหพิมพหนังสือเลมนี ้ซ้ ําอีกครั ้ง เพราะมีคนสนใจอยากอาน 

ผมแบงรับแบงสู  วาขอไปยอนดูเนื ้อหาท ่ีเคยเขียนไวเผื ่อมีสวนท ่ีนาจะแก ไขขัดเกลา  ในชวงที ่ผมมาบําบัดใหครูและเพื ่อนของครูท ่ีอินเดีย 

อาจเปนเพราะสิบปผานไป  หลักไมลบนทางชีวิตก็เพิ ่มขึ ้น  ขณะเดยีวกันเมล็ดพันธ ุแหงความร ูท ่ีครูหลายตอหลายคนท ุมเทกายใจหวานเพาะไว ในตัวผม  เริ ่มแทงยอดและหยั ่งราก  มุมมองและความเขาใจในเร ่ืองท ่ีเคยเขียนเลาจึงเปลี ่ยนไปพอสมควร 

หากเปรยีบเปนการเดินทาง  ก็คงประมาณวาเม ่ือ

ยอนกลับไปลองเสนทางสายท ่ีเคยเลียบมาอีกครั ้ง  ผมสังเกตและมองเหน็ทิวทัศนสองขางทางละเอียดขึ ้นกวาเม ่ือสิบปกอน 

จากเดิมท ่ีคิดวาคงจะขัดเกลาแก ไขไมมากเทาไร  ทํา ไปทํามากลายเปนวาผมเอาเร ่ืองเกามาเลาใหมแทบจะทั ้งเลม 

‘ ออ! อากําลังทํา research อยู นี ่เอง’  นจิเกตสรปุ 

 ไมร ูวาเขาตั ้งใจหรอืไม  แตวิธีออกเสียงคําวา research ของเขาทําใหผมนึกขามคําแปลเปนไทยของคําวา research วา ‘วิจัย’ ไป 

เพราะพลันท ่ีคําวา re-search ของเขากระทบโสตประสาทผม ราวกับมีอะไรไปกระแทกใหความคิดลุกโพลง จนผมโพลงออกมาดังๆ วา 

‘ โอโห  เราวาคาํนี ้ความหมายมันลึกมากเลยนะ re –

search ( กลับไปคนใหม )’ แมของนจิเกตซึ ่งนั ่งอยู ดวย เสริมขึ ้นมาวา ‘ นั ่นยอมหมายถึงวาเราไมไดคนหรือคิดเรื ่องใหมเลย

นะนี ่ แตเปนการกลับไปคนใหมในเรื ่องเดิมเทานั ้น’ 

ผมพยักหนาเหน็ดวยกับเธอแบบเต็มรอย 

หากไมนับหนังสือเร ่ืองเกา  ที ่ผมกําลังตั ้งหนาตั ้งตาและตั ้งใจ(เขียน)เลาใหม( ในช ่ือที ่เปลี ่ยนไป) ซึ ่งทําใหผมตองกลับไปคุ ยคนความร ูซึ ่งลวนซึมซับรับมาจากครูผู อารีอีก – ซึ ่ง ไมร ูวาเปนครั ้งท ่ีเทาไรแลว 

กลาวเฉพาะการเรยีนร ูของตัวเอง  ผมรู สึกวาตลอดหลายปท ่ีผานมา  นาจะพอกลอมแกลมพูดไดวาความร ูความเขาใจในศาสตรอายุรเวท  และการฝกอาสนะงอกเงยและงอกงามตามระยะกาวท ่ียาวไกลขึ ้น 

กระนั ้นก็ตาม  ทุกครั ้งท ่ีร ูสึกวาตัวเองเขาใจในบางเร ่ืองบางประเดน็ไดกระจางขึ ้น แตครั ้นกลับไปอานคัมภีรท ่ีถูกจารึกและสืบทอดมาแตบรรพกาล  บางครั ้งผมนึกอยากเคาะ

1008  5

Page 6: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 6/18

กระโหลกตัวเอง(เบาๆ)วาสิ ่งท ่ีตัวเอง(เพิ ่ง)ถึงบางออนั ้น  ท ่ีแทแลวโยคีและเมธีอายุรเวททานแจง  และแถลงบอกไวอยู แลว เพียงแตเราอาจยังกาวมาไกลไมพอท ่ีจะเขาใจในเร ่ืองนั ้น 

หรอืไมก็อาจเถลไถลอยู แถวบางพลัดจนเพลิน  กวาจะเดนิยอนกลับมาบางออกเ็ตลิดไปไหนตอไหน 

เชน  วันหนึ ่งระหวางท ่ีกลับไปชวยครูบําบัดคนไข ใน โรงพยาบาลของครูทางตอนใตของอินเดีย ผมไปเยี ่ยมพอของครูท ่ีบาน นั ่งตาโตหูผึ ่งฟงพอของครูเลาเร ่ืองอาศรมสี ่ 

ผมนั ่งพับเพียบอยู กับพื ้น  ขณะที ่พอของครูนั ่งอยู บนเกาอ ี้ ไมตัวเกา(ที ่อาจจะแกพอๆ  กับคนนั ่ง) ผมถามพอของครู ไปหนึ ่งคํา  พอของครูก็ตอบกลับมาหนึ ่งคํา – แตเติมศูนยตามหลังอีกสองตัวกวาๆ 

แววตาของทานผู เฒาเป ยมไปดวยเมตตา  ทวาการ

เนนเสียงของคําบางคําและสาระขณะอรรถาธิบายนั ้น  อัดแนนดวยพลังท ่ีฟงแลวทั ้งขรึมและขลังอยางบอกไมถูก 

ฟงพอของครูถึงชวงทายๆ  จู ๆ   ใจผมก็ปรีดาดวยความร ูสึกวา  ความหมายของคําวา ‘อุปนิษัท’ จริงๆ  แลว(นาจะ)มที ่ีมาอยางนี ้นี ่เอง 

แมจะพอร ูมาบางวาอุปนิษัทซึ ่งใชเปนคําเรียกคัมภีรดั ้งเดมิของอินเดียในยุคเกากอนแปลตามศัพทวา ‘นั ่งอยู  ใกล’(ครู) แตพูดตามตรงวาผมไมคอยมีความร ูสึกพิเศษอะไรกับคํานี ้เทาไร 

กระทั ่งได ไปนั ่งพับเพียบ(แต ไมคอยเรยีบรอยนัก)อยู ตรงปลายเทาของผู เฒา  ฟงพอของครูเลาในสิ ่งท ่ีผมสงสัย  ใจจึงสัมผัสและชัดเจนถึงท ่ีมาท ่ี ไปของอุปนิษัท – ท ่ีแปลวา ‘นั ่งอยู  ใกล’(ครู)

เปนการนั ่งอยู  ใกลแบบกายก ็ใกล  ใจก็ชิด  จิตนอมรับฟง  เลยยิ ่งทําใหเห็นคุณคาและความสําคัญอันยิ ่งยวดของการมีครูหรอืคุรุ – ซึ ่งมีความหมายวา ‘ผู นําจากความมืดไปสู ความสวาง’

ปุจฉาของผมท ่ีทานผู เฒาวิสัชนาใหฟงคราวนั ้น  ทาํ ใหผมเขาใจได ในอกีมุมหนึ ่งวา  อาศรมสี ่ซึ ่งเปนการแบงชวงชีวิตของคนอินเดียโบราณนั ้น  นาจะแบงตามวิถีและท ่ีทาง –

มากกวาท ่ีจะแบงตามชวงอายุท ่ีเปนตัวเลข 

แมแตคําวา ‘อาศรม’ โดยตัวมันเองก็แปลวา ที ่อาศัย 

อยู แลว3

  นี ่เปนเพยีงตัวอยางหนึ ่ง  ของการคนพบใหม ในเรื ่องเกาท ี่ผมรู สึกกับตัวเอง 

3 เรื ่องอาศรมสี ่ผมเคยเลาไปแลวในฉบับกอน(ซึ ่งนาจะยอนไปนานพอดู) จึง

ขอไมเลาซ้ ําอกี 

หรอือยางโศลกในโยคสูตรที ่พูดถึงอาสนะวา ‘อาสนะพงึมั ่นคงและเปนอิสระในที ่วาง’4  ยิ ่งกลับไปคนซ้ ําถึงความหมายของโศลกนี ้  (re-search)  ผมยิ ่งรู สึกวามีความหมายครอบคลุม  และสามารถประยุกต ใหเขากับทกุมิติของชีวติก็วาได 

เอาแคระดับของอาสนะ  –  ในความหมายของทวงทาตางๆ  ที ่ฝกอยู ทุกวี ่วัน5

  ผมคิดวาที ่ทานปตัญชลีบอกวา ‘มั ่นคงและเปนอิสระในที ่วาง’ (หรอืพดูแบบรวบรัด  – แตความลุ มลึกของความหมายคลายจางลง  – วาสบาย)นั ้น 

ผมเคยตีความ  ตามประสาคนท ี่อาการซุกซนทางความคิดมักกาํเริบวา  นาจะเปนแนวทางช ี้บอกวา  เราตองคนหาสมดุลระหวางความมั ่นคงกับความอิสระ - ที ่จะนิ ่งคาง ในทวงทาหรือเคลื ่อนไหวไปสู และออกจากทวงทา 

ซึ ่งไมจําเปน  และเอาเขาจริงแลวไมเหมอืนกันในแตละทาหรอืกระทั ่งทาเดยีวกันแตคนฝกคนละคน 

ผานมาไมนานเดอืน  วันหนึ ่งระหวางการคนซ้ ําเพื ่อหาความหมายที ่อาจแทรกอยู ระหวางคําสามคํานี ้  ผมพบวาหากจะพูดใหถึงท ี่สุด สถิระและสุขะ นาจะเปนคุณสมบัติที ่เปนคู ตรงกันขาม  ระหวางการปกหลักอยางมั ่นคง(ซึ ่งภาวะสุดโตงของมันคือการไมมีอิสระที ่จะขยับ) กับความสบาย(ซึ ่งภาวะสุดโตงของมันคืออิสระชนิดที ่ ไมอาจอยู นิ ่งหรอืมั ่นคงได) 

พูดอกีอยางวาหากมองจากอีกมุมหนึ ่ง  กระทั ่งสถิระและสุขะโดยตัวมันเองกคื็อทวลัิกษณแบบหนึ ่ง 

ที ่คิดเชนนี ้  เพราะผมดันไปคิดเชื ่อมโยงกับอีกสอง โศลกที ่ตอจากโศลกนี ้  โดยเฉพาะโศลกที ่ ๔๘ ของบทที ่ ๒ ที ่กลาววา 

‘ผู แสวงหาจะไปพน( หรือไมถูกกระทบ )จากคู ขัดแยงที ่ตรงกันขามกันสองแบบ’

 ในหนังสือโยคสูตร  ฉบับแปลเปนภาษาอังกฤษ หลายเลมเทาที ่ผมอานมา  มักยกตัวอยางวา  เชน  เราจะไมถูก

กระทบจากความเย็นความรอน ฯลฯ 

4 มาจากโศลกสันสกฤตวา ‘สถริํ สขุํ อาสนัม’  คําวา สขุะ หมออายุรเวทท ี่

เปนทั ้งมติรและครูอธิบายใหผมฟงวา มาจากรากศัพท ‘ส’ุ ที ่แปลวาดีหรืออสิระ และ ‘ขะ’ ซึ ่งแปลวา ที ่วา 5

 โดยสวนตัวแลว ผมไมกลาสรปุแตตั ้งขอสังเกตแบบเจียมตนวา คาํวาอาสนะที ่มหามนีุปตัญชลีจารึกในโยคสตูรนั ้น ไมแนวาอาจไมใชอาสนะใน

บรบิทของทวงทาโยคะที ่ฝกในหฐโยคะ – แตหมายถงึทานั ่ง(ซึ ่งเปนความหมายตามศัพทของคาํวาอาสนะ) โดยเฉพาะอยางเชน ปทมาสนะ สขุาสนะ เปนหลัก 

1008  6

Page 7: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 7/18

ทวาวันนั ้นผมรู สึกวา  แมแตสถิระและสุขะก็นาจะเปนคู ขัดแยงที ่ตรงกันขามอีกแบบหนึ ่งเชนกัน 

อีกเหตุผลหนึ ่ง  ที ่ทาํใหสะดุดจนคิดแบบหลุดไปจากตัวอยางที ่อานพบก็คือ  โศลกที ่ ๔๗ บทที ่ ๒ ที ่ถอดความตามประสาผมวา 

‘ เมื ่อผู แสวงหาปลอยวางจากความเพยีร ( หรือพูดอีกอยางวา  เปนการกระทาํที ่ไรความพยายามหรือดิ ้นรนตะเกียก 

ตะกาย ) เมื ่อนั ้นจะเขาถึง( หรือเปนหนึ ่งเดียวกับ )สภาวะอันไรขอบเขต( หรือไมมีที ่สิ ้นสุด )’ 

พดูอยางเปนรปูธรรม(ที ่คอนขางเปนนามธรรม – ฮา) ในกรณขีองการทําทวงทา(อาสนะ) ผมคิด(ขอย ้ําวา ‘คิด’ ไม ใชเขาถึง)วา  เมื ่อใดที ่เราคนพบความสมดุลระหวางความมั ่นคงกับอิสระภาพ  เราจะไมตองเกรง็รางกายสวนนั ้นหรือตองคอย

ระวังรางกายสวนนี ้ ทวงทาของเราจะเปนไปตามธรรมชาติ  และเราอาจประจักษหรอืสัมผัสกับสภาวะอันไรขอบเขต  ซึ ่งไมมี ใครบอก ได  – นอกจากตัวเราเอง  

นั ่นก็หมายความวาในหวงยามนั ้น  เราไปพนจากทวิลักษณหรอืคู ตรงกันขามระหวางสถิระและสุขะนั ่นเอง 

นอกจากนี ้ การคนใหม(ซ้ ํา) ในเรื ่องเดิมในกรณขีอง ‘สภาวะอัน ไรขอบเขตหรอืไมมีที ่สิ ้นสุด’  ทําใหเขาใจมากขึ ้นอีกนิดวา 

กระทั ่งอาสนะหรือทวงทาตางๆ  โดยตัวมันเองก็ ไมมีที ่สิ ้นสุด 

ที ่บอกวาเขาใจมากขึ ้นอีกนิดนั ้น  กเ็พราะความไมมีที ่สิ ้นสุดของอาสนะนั ้นถูกระบุ ไวแลวในศิวะ  สัมหิตา  ซึ ่งกลาววา  ‘อาสนะม(ี จาํนวน )เทากับสรรพสิ ่งที ่ถูกรังสรรคขึ ้น’  ซึ ่งใชหรอืไมวามีมากมายชนิดที ่ ไมอาจนับคํานวณได 

และที ่บอกวาเขาใจมากขึ ้นอีกนิด  ก็เพราะวันหนึ ่งระหวางท ี่ผมทําทวงทาท ี่เคยทํา  แตลองปรับการวางตําแหนงของขาใหม  และลองเขาสู ทวงทาโดยสลับระหวางหายใจออกกับหายใจเขา 

ผมพบวาการจัดวางตําแหนงแหงที ่เปลี ่ยนไป  ผลที ่ ไดก็เปลี ่ยนตาม 

มากไปกวานั ้น  พอยอนกลับไปทบทวนว าเกิดอะไรขึ ้นบาง  ผมกลับไดของแถมแบบไมคาดฝนวา  เมื ่อใดที ่เราไปพนจากกรอบคิดวาอาสนะแตละอาสนะตองทําอยางโนนอยางนี ้แบบตายตัว  เราสามารถดัดแปลงแตงทวงทาไดหลากหลาย 

และอาจชวยใหการฝกของเราสดใหม ได ผมคิดแบบเขาขางตัวเองวา  บางทีนี ่อาจเปนสภาวะ

อันไมมีที ่สิ ้นสุดของอาสนะในอีกแบบหนึ ่งก็เปนได 

หรอือยางเมื ่อไมกี ่วันกอน  นองคนหนึ ่งซึ ่งไปฟงผมแลกและเลาเรื ่องการฝกอาสนะกลุ มเล็กๆ  คอรสลาสุดเมื ่อสองเดอืนกอน เขียนอีเมลไปแลกและเลาใหฟงวา 

‘ ทกุๆครั ้งที ่ฝกอาสนะดวยตัวเอง  อัญ6 รู สึกถึงพลัง ของความเคารพ และความศรัทธาในตัวเอง  ที ่คอยๆ  เบงบาน 

และเติบโตขึ ้นเรื ่อยๆ 

รู สึกเคารพในขอจํากัดของรางกาย  ศรัทธาที ่จะรับ 

ฟงเสียงของรางกาย  ทุกๆ  การเคลื ่อนไหวเป ยมดวยความรัก 

และความเชื ่อมั ่น 

ความงามทั ้งหลาย  ที ่อยู ภายในตางทยอยเผยโฉม 

ออกมา  เพียงรับรู ดวยใจที ่แสนจะธรรมดา  ก็เห็นถึงความ 

ธรรมดาที ่เกดิขึ ้น’ 

อานแลวผมนึกถึงคําสอนของคร ูโยคะใจดี  ที ่ผมไป

ฝากตัวเปนศิษยเมื ่อยี ่สิบปกอน 

ทานบอกวา  เราควรเริ ่มตนฝกอาสนะโดยมองเหน็และยอมรับตัวเราอยางที ่เราเปน  ไม ใชเริ ่มตนอยางท ี่เราอยาก ใหเปน  ทวาภายใตการฝกที ่ตอเนื ่องสม่ ําเสมอ  สักวันหนึ ่งเราจะพัฒนาไปสู สภาวะที ่เรามุ งหมายจะไปใหถึงได 

มองในแงหนึ ่ง  การฝกอยางท ี่เราอยากใหเปนอาจเรยีกไดวาสภาวะอันถูกจํากัด - ดวยความคาดหวังที ่อยากใหทวงทาดูงดงาม ทั ้งที ่ความเปนจริงเราอาจยังทําไม ได 

เมื ่อใดที ่เราสามารถมองเหน็ และยอมรับตัวเราอยางที ่เราเปนได  เทากับวาเราสามารถสลัดตัวเองออกจากความคาดหวังที ่กุมขังเราไว 

ทันทีที ่เรากาวพนจากกรอบที ่จํากัดตัวเอง   ไมแนวามันเปนกาวยางที ่พาเราไปสู พรมแดนอันไรขอบเขต  ดังเชนประสบการณดานในของนองที ่เขียนเลาไปถึงผม 

นองอีกคนหนึ ่งที ่ ไปเขาคอรสในรุ นเดยีวกัน เขียนอีเมลไปถามผมวา  จําเปนไหมที ่จะตองรอยเรียงทวงทาลงในสมุดกอนที ่จะลงมือฝกจริงๆ 

นอกจากถามแลวเธอยังเลาตอสั ้นๆ  วา  วันที ่เธอเขียนไปถามนั ้น  เธอฝกทวงทา(ที ่เจาตัวใชคําวา  ‘รายรํา’) ไดอยางไหลลื ่นตอเนื ่องของมันเอง  โดยที ่ ไม ไดวางแผนลวงหนากอน 

พูดอกีอยางในความเขาใจของผมก็คือ  เจาตัวรายรําทวงทาตามแตลีลาแหงกายและจิต  ที ่ปลอยวางจากกรอบคิดหลักการใดๆ จะพาไป 

6 เปนนามสมมติุแตมีตัวจริงครับ 

1008  7

Page 8: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 8/18

อยางไรกต็าม  ผมควรอธบิายพอสังเขปตรงนี ้เพื ่อใหพอนึกออกวาเพราะเหตุ ใดนองคนนี ้จึงถามเชนนั ้น 

เรื ่องของเรื ่องก็คือ  แนวทางการฝกอาสนะที ่ผมร ่ําเรยีนมาจากครูและเก็บรับมาไดเทาที ่พอมีปญญา มีขอแนะนําวาวิธหีนึ ่งที ่จะชวยใหการฝกอาสนะมีประสิทธิภาพ  และเกิด

ประสิทธผิล  คือวางแผนและออกแบบการฝกใหเหมาะกับตัวเรา หรอืกระทั ่งสภาวะท ี่เปลี ่ยนไปในแตละวันของเรา 

 ไมวาจะเปนรางกาย จิตใจ หรอือารมณ นั ่นหมายถึงวาในแตละวัน  เราอาจตองมารอยเรียง

ทวงทาและลีลาในการฝก  ใหสอดคลองกับเงื ่อนไขท ี่เปลี ่ยนไปของปจจัยสามอยางขางตน 

คําถามของเธอก็คือ  จําเปนไหมที ่จะตองมารอยเรียงทวงทา( โดยใชสมอง)ลงสมุด กอนที ่จะลงมือฝกจริง 

จนบัดนี ้ผมยังไม ไดเขียนอีเมลตอบเธอเลยวา  ผมอยากจะอางถึงสิ ่งที ่ทานไอเยนการเขียนไว ในหนังสือ  Light

on Life  โดยมาเขียนใหม ในสไตลผมวา  เวลาฝกอาสนะเราควรใหสมองเปนเพยีงเข็มทิศ  ทวาตองสดับฟงรางกายและหัวใจ 

เชนนั ้นแลว หากเชาไหนที ่กายและใจของเธอสื ่อสารถึงกันได โดยตรง   ในหวงยามเชนนั ้นบางทีสมองอาจเหมาะท ี่

จะวางตัวเองเปนเพยีงแคเฝามองเฉยๆ ก็พอ หากเปนเชนวาได  ผมคิดวาการฝกอาสนะของเรา

นาจะมีชีวิตชีวาและสดใหมเป ยมพลัง  ยิ ่งกวาการวาดภาพทวงทาท ี่ดูสวยงามลงบนสมุดเปนไหนๆ 

คิดดังๆ  ถึงบรรทัดนี ้แลว  ทําใหผมคนพบอกีครั ้ง(re – search)วา ที ่ผมไม ไดตอบอเีมลของนองคนนั ้น  เพราะแทที ่จริงแลวมันเปนคําถามเชิงเลาและแลก  – ที ่ ไมจําเปนตองตอบเปนขอความใหเธออาน 

เพราะคําตอบปรากฏอยู แลวจากการรายรําของเธอ ในเชานั ้น 

 __________________________________________________________________________________________ 

โดย นันทกา ปฏิวัติจิตสํานึก  บรรยายโดย นพ. ประเวศ วะสี 

 ไดม ีโอกาสไปงานสานจิตเสวนา   โรงแรมมริาเคิล แกรนด  ไปฟงคุณหมอประเวศบรรยายเรื ่องการพัฒนาจิต 

คุณหมอบอกวา  คําวา  ปฏิวัติ  ตามรูปศัพทแปลวา “

หมุนกลับ”

การปฏิวัติจิตจึงตรงกับการพลิกจิตท ่ีสุด 

คือ 

พลิกหรอืกลับจากคว ํ่าเปนหงาย หรอื  เปลี ่ยนแปลงทันทีทันใดจากจิตเล็กและคับแคบ เปนจิตใหญและกวางขวาง 

เมื ่อพูดถึงการพัฒนาจิตกด็ูเปนเร ่ืองยากและชา  เปนขั ้นตอนและลําดับๆไป คนจํานวนนอยเทานั ้นท ่ีจะทําได จึงไมทันการเสียแลว  เพราะวกิฤตการณมันรุนแรง  เราตองการเปลี ่ยนแปลงจิตอยางรวดเรว็และไม ใชของคนสวนนอย  แตเปนของคนทั ้งหมด 

เราตองการอะไรที ่ทาํงาย  ไดผลเร็ว  ไดผลใหญ และ

คนทั ้งหมดทาํได  การปฏิวัติจิตหรอืการพลิกจิตใหมโนภาพท ่ีเปนรูปธรรม  วาพลิกจากคว ํ่าเปนหงาย  ไมนายาก  ทําไดทกุคน อยู ที ่วาแรงจูงใจคืออะไร ความสุขแบบฉับพลัน (Instant Happiness) แรงจูงใจท ่ียิ ่งใหญ 

แรงจูงใจท ่ี ใหญที ่สุดสําหรับมนุษยและสัตว  คือ 

ความสุข  ถาร ูวาอะไรที ่ทาํใหมีความสุขก็อยากทําสิ ่งนั ้น  และทําซ้ ําๆ  เพราะความไมร ู  มนุษยคิดวาการสนองตัณหาคือความสุข  เราจึงพากันทําอะไรเพื ่อสนองตัณหาความอยาก 

อยากได 

อยากมี 

อยากเดน(

เชน 

อยากไปงานพัฒนาจิต 

 ไปลงช ่ือไว พอได ไปกส็มอยาก เสร็จแลวกต็องมานั ่งทุกข เพราะตองสงรายงานใหเพื ่อนอานดวย  สงแลวกก็ลัววาท ่ีเขียนนะ  ดี

 ไหม คนอ ่ืนจะร ูเรื ่องไหม ทุกขอีก) ซึ ่งเราจะพบวามันไม ใชสุขแทและไมยั ่งยืน เวลาไมสมอยากก็ทกุขอีก เราไมเทาทันกิเลส 

 ไมรู วาธรรมชาติของกิเลสมันจะไหลลงสู ท ่ีต่ ํา แตถามนุษยรู วา  ความสุขฉับพลันเปนไปไดงายและ

ทันทีเหมอืนหงายกะลานั ้นคือพลิกจิต 

จากคว ํ่าเปนหงาย 

จากจิตเล็กและแคบ  คิดถึงแตตนเอง  กลายเปนจิตใหญท ่ีเหน็แกคนอ ่ืน สวนรวม จะเกิดเปนความสุขทันที 

การสรางจิตสํานึกใหม  เปนระเบยีบวาระของคนทั ้งมวลรวมกันคนทุกคนเทาท ่ีจะเปนไปได  ทุกกลุ มในทุกพื ้นท ่ีดวยใจท ่ีเปดกวางไมวาจะเรียกอะไร  วธิีทั ้งเกาและใหม  เชน 

การพัฒนาจิต , การเจรญิสติ , จิตวิวัฒน , จิตตปญญาศึกษา ,

การปฏิวัติจิตสํานึก , การปฏิวัติทางจิตวญิญาณ , การเรยีนร ูเพื ่อเปลี ่ยนแปลงขั ้นพื ้นฐาน ( Transformative Learning )

สุนทรีสนทนา , โยคะ , ไทเกก็ , ศิลปะจิตวญิญาณ เปนตน 

 ในปจจุบันเราพบวา  มีผู สนใจการพัฒนาจิตในรูปแบบตางๆ  มากช ึ้นเร ่ือยๆ  หนังสือที ่ขายดทีี ่สุดในตระกลูพัฒนาการทางจิตวิญญาณ  หรือการสรางจิตสํานึกใหม  เปนกระแสอาจเรยีกวา New consciousness megatrend หรอื 

กระแสใหญจิตสํานึกใหม ชาติวิกฤต หรอื มนุษยชาติวิกฤต ควรใชเปนโอกาส

ที ่มนุษยจะใชเปนการเปลี ่ยแปลงขั ้นพื ้นฐาน  ปฏิวัติจิตสํานึก 

จากจิตเล็กใหเปนจิตใหญ 

เพื ่อยกระดับการพัฒนาไปสู ระนาบที ่สูงขึ ้น  เพื ่อมนุษยจะอยู รวมกันอยางประสานสอดคลอง  เปนสังคมสงบ รมร ่ีน (สังคมนิพพาน) ไปชั ่วกาลนาน 

1008  8

Page 9: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 9/18

  โดย  ธาํรงดลุ ประสบการณเรียนร ูแบบ East Meets West

บทที ่ ๗ ยืดอก ยกกายา อยางผาเผย 

ครั ้งกอนเราทาํความเขาใจการเขาสู ทวงทาและผลท ่ี

เกดิจากการเหยียดยืดรางกายดานตะวันตก(ดานหลัง) (West

side back stretch) ตามแบบที ่คนตะวันออกเรยีกขาน ซึ ่งเปนการเคลื ่อนไหวรางกายท ่ีมีทิศทางไปดานหนา (Forward

bending) ตามแบบท ่ีตะวันตกที ่เราคุ นปาก 

แลวถาจะยืดรางกายดานตรงขาม  ตามแบบท ่ีหนอกําเนิดโยคะ (อนิเดีย) เรยีกวา  ปูรวะตานาสนะ  หรอืการเหยียดยืดรางกายดานตะวันออก (Stretching the East) หรอือีกนัยหนึ ่งคือ การเหยียดยืดรางกายดานหนา หรอือีกนัยหนึ ่งคือ  การแอนรางกายดานหลังนั ้น (กลับทิศไปมา  จนงง  ไหมครับ) คุณวามีความนัยใดแอบซอนอยู  ในอาสนะหมวดนี ้บาง 

และกเ็ชนเดมิ  พี ่เละแนะนําใหเรา  ตามร ูถึงผลท ่ีเกดิขึ ้นทั ้งตอรางกาย ลมหายใจ และจิตใจของเรา  เม ่ือปฏิบัติอาสนะในหมวดนี ้  หลังจากนั ้นก็กลับมาสวาธยายะ  หรอืวิเคราะหทบทวนกันตอ 

การเหยียดยืดรางกายดานหนาหรือการเขาสู ทวงทาท ่ีมีทศิทางการเคลื ่อนไหวแอนไปดานหลังนั ้น  เปนการทาํเพื ่อเสรมิสรางความแข็งแรงของกลามเนื ้อหลัง  กลามเนื ้อหลักๆที ่

เกี ่ยวของไดแก psoas muscle, Iliac muscle กลามเนื ้อใตสะดอืถึงตนขา   ใหผลทั ้งความยืดหยุ นและความแข็งแรงของกลามเนื ้อไปพรอมๆกัน 

การเหยียดยืดดานหนา  จากการทํางานของกลามเนื ้อทรวงอก  ทําใหเกดิการเปดทรวงอก  และลําตัวดานหนา  ท ่ีเอ ื้อตอการหายใจเขา  หรอืที ่เรียกในภาษาสันสกฤตวา  ปูรกะ  ซึ ่งหมายถึงการเติมใหเต็ม   โดยนัยจึงเปรียบเหมอืนการเติมพลังชีวิต หรอืปราณให ไหลเวยีนทั ่วราง ไดอยางเต็มท ่ี  สอดคลองกับมุมมองทางสรีรวทิยาตามตําราตะวันตก  ท ่ีวาการหายใจเขาเปนการนําออกซิเจนเขาสู รางกายซึ ่งมีผลตอระบบหายใจและการไหลเวยีนโลหิต 

นอกจากนี ้  ยังสงผลใหเกิดการกดนวดอวัยวะภายในชองทองอีกดวย 

ผลทางจิตใจนั ้น   ใหอารมณตรงขามกับอาสนะในทากมตัวไปดานหนา  นั ่นคือ  การเหยียดยืดรางกายดานตะวันออก (ดานหนา) หรือแอนลําตัวนั ้นใหผลทางจิตวิทยาในแงของความเช ่ือมั ่น  องอาจ  มั ่นใจ  ภูมิอกภมู ิใจ  และยังเปน

การเพิ ่มรชัส (rajas) ในความหมายเชิงบวกอกีดวย 

เห็นคุณคาในการเหยียดยืดขนาดนี ้แลว  อยาเพิ ่งผลีผลาม แอนลําตัวกันจนขาดสติเสียกอนละ เพราะอยาลืมวา จะเขาสู ทวงทาครั ้งใด ตองอาศัยความตระหนักรู ของเราคนหา

จุดพอดรีะหวางความมั ่นคง (สถิระ) และผอนคลาย (สุขะ) อยู เสมอ ตามหลักปรัชญา อาสนะพอเพียร นั ่นเอง อวัยวะสําคัญที ่ตองดแูลอยางใกลชิดขณะแอนลําตัว

คือ  กระดกูสันหลัง  ท ่ีรอยเรียงกันตั ้งแตสวนคอ  สวนอกซึ ่งเช ่ือมตอกับกระดกูซี ่ โครงทางดานหนา, หลังสวนบน  สวน 

กลาง สวนลาง จนถึงระดับเอว สะโพกที ่ตอเนื ่องไปกับกระดกูเชงิกราน 

เพราะภายในกระดกูสันหลังนั ้น  ม ีไขสันหลัง  และเสนประสาทรอยผาน  ตั ้งแตฐานกะโหลกศีรษะไปจนสุดปลาย 

ทาง  ในขณะเดยีวกัน กระดกูซี ่ โครงชองทรวงอกดานหนา  ยังบรรจุอยู ดวยอวัยวะสําคัญตางๆ  ทั ้งปอด  และหัวใจซึ ่งสูบฉีดพลังชีวิตให ไหลเวยีนไปทั ่วราง  การแอนลําตัวจึงตองอาศัยความเขาใจและระมัดระวังอยู ม ิใชนอย 

แลวจะเหยียดยืดอยางไรใหปลอดภัยกันละ พี ่เละแนะกฎ กติกา มารยาท  เม ่ือเริ ่มเขาสู ทวงทาท ่ี

มกีารเหยียดยืดรางกายดานหนาทุกครั ้งตอง  “ยืดอก  ยกซ ่ี โครง“ นั ่นคือ  เร ่ิมโดยหายใจเขาขยายทรวงอก (อันวาการ

ขยายทรวงอกของเรานี ้ รางกายของเรามีกลามเนื ้อหลายๆมัดท ่ีทรวงอกและที ่เกาะระหวางกระดูกซี ่ โครง  เปนตัวชวยเปดพื ้นท ่ี   โดยไมตองพึ ่งยันฮี  สวยดวยแพทย  แตอยางใด..ฮา)จากนั ้น  แขมวทองเล็กนอยเพื ่อปองกันไม ใหกระดกูเชงิกรานเคลื ่อนไปดานหนา ยกอกขึ ้น ระวังไมเผลอหอไหล ดวยการรั ้ง ไหลลง  และแบะไหล ไปดานหลัง (ถาจะแหงนคอใหทําในชวงสุดทายของการหายใจเขา  หลังจากเขาสู ทวงทาโดยปฏิบัติตาม  กฎ  กติกา  มารยาท  ขางตนจนครบถวนแลว) ผอนลมหายใจออกแขมวทองพรอมกับยืดกระดกูสันหลังใหตรงขึ ้น 

บางคนท ่ีกลามเนื ้อหลังยังมีความแข็งแรง  และยืดหยุ นไมเพียงพอ  เม ่ือแอนและยืดจนสุดกาํลัง  แตนางมารมีเขาสวมชุดแดง หรือความร ูสึกดานมืดที ่มีอยู ภายในหวงสํานึกมักยุยงใหเราแอนอีกนิด อีกนิด เพื ่อใหภาพภายนอกดูมอีงศาของการแอนตัวท ่ีมากขึ ้น ผลก็คือ ท ่ีเราแอนไปนั ้น  เปนคอ ที ่แหงนจนเกินพอดี  ทั ้งๆท ่ีจริงๆแลว  รางกายดานหลัง  ก็เหยียดยืดไดเทาเดิม  แตกลับไดการกดทับกระดกูสวนคอ 

รวมถึงหมอนรองกระดกูที ่อยู ระหวางกระดกูคอแตละขอ  เปน

 โปรโมชันพิเศษ  (ที ่ ไมพึงประสงค) แถมเพิ ่มมาอีกดวย !

1008  9

Page 10: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 10/18

นอกจากนี ้  ยังทําใหยืดทรวงอกได ไมเต็มท ่ี  ผิดจุดม ุงหมายของทวงทาไปเสียไกลโยชน 

นั ่นเปนขอควรระวังลําดับตนๆ  สําหรับบางคนท ่ีมีวาสนา (ภาษาสันสกฤต  หมายถึงความคุ นชิน  ไม ใชสิ ่งที ่มาพรอมกับลาภลอย) จะแอนคอนํามากอนการแอนสวนอ ่ืนเสีย

ดวยซ้ ํา  แตบางคนท ่ี โครงสรางของลําตัวมกีารรั ้งตึงของเอ็นบริเวณกระเบนเหน็บ  อาจเปนวาสนาท ่ีทําใหแอนเอวหรอืมี

แนวโนมเคลื ่อนกระดกูเชงิกรานไปดานหนามากเกินไป ก็ตองระวังการกดทับของกระดกูสันหลังชวงเอว  ท ่ีมากเกนิไปอีก 

(วาสนาเหลานี ้ ใครอยากยืดอกรับไวบางหนอ)

จะ  ยืดอก ยกรางกาย  ไดอยางสงาผาเผย สมคุณคาแหงทวงทา จึงตองอาศัยความร ูความเขาใจท ่ีถูกตองเปนฐาน 

คําเตือน : อยาเพิ ่งเช ่ือจนกวาจะลงมือปฏิบัตินะครับ 

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

โดย  สดใส   ไมเครียด มะเร็งไมถามหา 

การศึกษาใหม  จากศูนยมะเรง็  มหาวิทยาลัยรัฐ โอไฮโอ  นักจิตวทิยาพบวา  ผู หญงิท ่ีมีความสุข  จะมีภมูิคุ มกันท ่ีด ี ซึ ่งสามารถปองกันมะเรง็ได  และเปนผลดีแมกับผู ที ่เคยเปนมะเรง็มากอน 

 ในงานศึกษาผู หญงิ 227 คน  ที ่ตรวจพบมะเร็งเตานม  นักวจัิยไดสอนทักษะทางจิตวิทยาเพื ่อลดระดับความเครียดใหกับคนไขจํานวนคร ่ึงหนึ ่ง  ประมาณ 110 คน 

พวกเขาพบวา รอยละ 45 ของคนไขท ่ีผานการอบรมจิตวิทยา

คลายเครียด  ไมกลับมาเปนมะเรง็อีก  แมเวลาผานไปกวา 11ป  ดานคนไขอีกสวนที ่กลับมาเปนอีก อาการก็ ไมรนุแรง และ ไมถึงกับเสียชีวิตจากมะเรง็ 

การวจัิยนี ้  แสดงถึงความเช ่ือมโยงโดยตรงระหวางความเครียดกับภูมิคุ มกัน 

(Source: Clinical Cancer Research, 2010; doi:

10.1158/1078-0432.CCR-10-0278).

----------------------------------------------------------------

อยากลัวแดด 

กลุ มเครือขายมะเร็งในอังกฤษเริ ่มยอมรับวาพวกเขาอาจจะตื ่นตูมเกินไป  ท ่ีแนะนําใหคนหลบแดด  เพื ่อปองกันมะเรง็ผิวหนัง  ซึ ่งกลับกลายเปนวา  ปจจุบัน  ผู คนกวารอยละ 40 มีอาการขาดวติามินดี 

แสงอาทิตยคือตนกาํเนิดของวติามินดี  งานวิจัยรายงานประโยชนตางๆ  เชน  คนท ่ีมีวติามินดีสูง  เปนโรค

ความจําเสื ่อมนอยกวา  วติามินดีชวยปองกันโรคพารคินสัน 

มะเรง็  โรคหัวใจ เบาหวานประเภท 2 ฯลฯ 

จากท ่ีเคยแนะนําใหคนเลี ่ยงแดดกลางวัน   ใสเสื ้อผามดิชิด  ใชเคร ่ืองบังแดด  ศูนยวิจัยมะเรง็  ประเทศอังกฤษ   ไดออกคําแนะนําใหมวา  เราควรโดนแดดกลางวัน (11  โมง  ถึง บาย 3) สัก 15 – 30 นาที รางกายจะไดรับวติามินดีขณะที ่ผิวเริ ่มแดง แต ไมถึงกับการไหมแดด 

(Source: The Independent, July 5, 2010)

------------------------------------------------------------------

วิตามินอี อาหารสมองปองกันความจําเสื ่อม 

นักวจัิยทําการศึกษาเปรยีบเทียบ วติามินอี กับ สารตานอนุมูลอิสระ 3 ตัว  วิตามินซี  เบตาแคโรทีน  และ  เฟลโวนอยด (รู จักกันในนามวิตามินพี  พบในผลไมรสเปรี ้ยว  ชาเขียว  ชอคโกแลต)) กับคน 5,395 คน  อายุ 55 ป  ขึ ้นไป 

ตอเนื ่องเปนเวลา 9 ป พบวา 465 คน เปนโรคความจําเสื ่อม 

และ 365 คน เปนอัลไซเมอร 

พวกเขาพบวา ผู ท ่ี ไดรับวติามินอ ีในอาหาร เชน เนย 

น้ ํามันเมล็ดทานตะวัน  น้ ํามันจากถั ่วเหลือง  มคีวามเสี ่ยงตอการเปนโรคความจําเสื ่อมนอยกวาคนท ่ีรับวิตามินอีนอย  ถึงรอยละ 25

นักวจัิยยังไมร ูวาทําไมวิตามินอีถึงดีตอสมอง  แตดูเหมอืนมันจะมีความสามารถในการตอสู กับอาการอักเสบ  ซึ ่งเปนลักษณะพื ้นฐานของโรคอัลไซเมอร (Source: Archives of Neurology, 2010; 67: 819-25).

---------------------------------------------------------------------------------------------------------

1008  10

Page 11: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 11/18

  โดย  กองบรรณาธกิาร 

 

เข็มทศิสุขภาพ 

The User’s Manual for Human Body

อเล็กซ ว ูเขียน 

อมร ทองสุก แปลเรียบเรยีง ซีเอ็ดจัดจําหนาย 259 บาท 

2 อาทิตยที ่แลว  คร ูโยคะทานหนึ ่งสงหนังสือ “เข็มทิศสุขภาพ” มาใหอาน  ปรากฏวา  วางไมลง  อานจบเลยขอแนะนําใหเพื ่อนครูทานอ ่ืนๆ  ไดร ูจัก  ไดหาอานกัน 

เปนหนังสือเกี ่ยวกับแพทยแผนจีน  เขียนโดย 

อเล็กซ  วู  ท ่ีนาสนใจคือ  ผู เขียนไม ใชหมอ  แตเปนนักวทิยาศาสตร ทํางานวิจัยหุ นยนต ในสถาบันวิจัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมแหงไตหวัน  เมื ่อป 2002 ผู เขียนไดนําความชํานาญในวิชาการแพทยแผนจีน  เขียนเปนเอกสารเผยแพรทางอินเตอรเนท  ปรากฏวา  สรางความฮือฮา  ผู แตงจึงรวบรวมบทความและตีพิมพออกมาเปนหนังสือ  เข็มทศิสุขภาพ  ในป 2005 ทํายอดขายกวา 2 ลานเลม  แปลเปนภาษาเกาหลี ญี ่ปุ น  ไทย และกําลังจะไปเผยแพรทางตะวันตกเปนภาษาอังกฤษ  เยอรมัน และ  โปแลนด ในอนาคตอันใกลนี ้ 

หนังสือเลมนี ้บอกอะไรคนอาน  เขาบอกวา  แพทยแผนปจจุบัน  แมจะดูทันสมัยสุดๆ  แต ไมมีความนาเช ่ือถือ

เพียงพอ  เทยีบกับแพทยแผนจีน  ซึ ่งดูฝุ นเขอระ  คร ํ่าครึ  แตกลับมองมนุษยใดอยางเปนองครวม ครบถวนกวามาก 

มีความผิดปกติ ใดในแพทยแผนปจจุบันหรือ?  ไมผิดหรอก  เอาเปนวาไมสมบรูณละกัน  ผู เขียนบอกวา  เพราะแพทยศาสตรปจจุบันมีฐานคิดมาจากกายวิภาคศาสตร  ซึ ่งยอมรับเฉพาะสิ ่งท ่ีรปูธรรม  มองเหน็ไดดวยตา  สิ ่งท ่ีหมอปจจุบันมองขามไปกคื็อ พลังชีวิต  ซึ ่งนาเสียดายท ่ีมองไมเหน็ 

ทั ้งไมอาจศึกษาจากศพอาจารยใหญแตอยางใด 

ดวยความเปนคนคุ นเคยกับคอมพิวเตอร  ในบทแรก 

ผู เขียนก็เลยยกตัวอยางการซอมคอมพิวเตอร สิ ่งแรกท ่ีชางทําคือ ตรวจดวูาแรงดันไฟฟาของเคร ่ืองปกติ ไหม? เพราะสาเหตุของการเสียสวนมากมาจากจุดนี ้  เมื ่อพบวามันรวน  ชางก็เปลี ่ยนตัวพาวเวอรซัพพลาย (กลองสี ่เหลี ่ยมๆ  ที ่มีพัดลมติดอยู ดวยนั ่นแหละ) แลวเครื ่องกม็ักจะกลับไปทํางานไดเปนปกติ  จะเห็นวา  ชางไม ไดตองลงไปจัดการแผงวงจรภายใน 

การดตางๆ  ฮารดแวรทั ้งหลาย  ที ่แสนจะละเอียด  ปราณีต 

สลับซับซอนแตอยางใดเลย 

แตแปลกท ่ีหมอแผนปจจุบัน  เวลาเขาซอมคนไข  เขาไมเช็คพลังชีวิตเราเลย (เพราะหมอไมเช ่ือวามันมีอยู ) หมอกลับลง ไปจัดการกับอวัยวะอันแสนจะละเอียดออน  ประณตี  บรรจง 

สลับซับซอนของเรา  ทั ้งลาง (ฆาเช ื้อ) ทั ้งขูด  ทั ้งลอก  ทั ้งผาสารพัด  ที ่อาจจะเสื ่อมลงไปบางเพราะไดรับพลังชีวิตไมเพียงพอ  ซึ ่งผลก็เปนอยางท ่ีเราเห็น กลาวคือ  ในหลายๆ  โรค 

 โดยเฉพาะโรคเรื ้อรัง ที ่หมอจีนเช ่ือวามีสาเหตุมาจากพลังชีวิตบกพรอง  แพทยแผนปจจุบัน  แทบจะรักษาไมหายเลย  หรอืหายไปชั ่วคราว ก็กลับมาเปนอีก กเ็พราะไม ไดจัดการที ่ตนตอ 

คือ พาวเวอรซัพพลายนั ่นเอง  ในบทนี ้  ผู เขียนยังทาทายแพทยแผนปจจุบัน  เรื ่อง 

การหมกมุ นอยู กับผลการตรวจจากหองแหลบ  ที ่ฉาบฉวยเกินไป  ทุกวันนี ้  จะเหลือสักกี ่คนท ่ี ไมยอมจํานนตอการตรวจสุขภาพประจําป  เราบูชามันดั ่งแผนท ่ีขุมทรัพยวิเศษ   ผู เขียนตั ้งคําถามในทํานองวา สมมุติ ทุก 6 โมงเย็น คุณพอบาน เอาขยะออกมาทิ ้ง 2 ถุงกอปแกป ขวดเปลาอีกสัก 2 ใบ ซึ ่งถือซะวาเปนมาตรฐานของการกําจัดของเสียออกจากบาน  และเจาหนาท ่ีของหม ูบานก็จะมารับขยะวันละ 2 ถุง  เปนประจํา ครั ้นเย็นวันหนึ ่งคนเก็บ  เจอขยะ 4 ถุง  เราควรจะตีความและจัดการมันอยางไร?

แพทยแผนปจจุบัน  มีแนวโนมจะสรุปวา  บานผิดปกติ และตองรีบใหยา ซึ ่งก็คือเพิ ่มปรมิาณขยะในบานมากขึ ้นอีก  ขณะที ่หมอจีนมองกวางกวานั ้น  เชน  ก)  ในบานมีกจิกรรมสังสรรค  ขยะจึงมากกวาวันธรรมดา  เด ๋ียวพรุ งนี ้ก็คืนสู ภาวะปกติ  ไมตองทําอะไร  ควรจะใหพอบานพักมากๆ  ดวยซ้ ํา  ข) พอบานทําความสะอาดบานครั ้งใหญ  ขยะจึงมากกวาวันธรรมดา และสภาพในบานจะดีกวาปกติดวยซ้ ํา  ไมตองทําอะไร  ใหพอบานพักมากๆ หรอื ค) บานผิดปกติ ตองใหยา 

นอกจากจะใหแงคิดตางๆ  ที ่ทาทายความเคยชินเดมิๆ ของเราตอเรื ่องสุขภาพแลว บทที ่ 6 ยังแนะนําการดูแลสุขภาพในชีวิตประจําวันท ่ีทําไดเอง คือ 1) นอนเร็ว ตื ่นเชา 2)

การไม โกรธ 3) หมั ่นนวดเสนของตัวเอง  เพื ่อใหพลังชีวิตทํางานไดเปนปกติ และ 4) การรักษาความสะอาดของอาหารท ่ีเรากนิเขาไป 

อานจบยิ ่งกลาคิด กลาขบถ  วา  สุขภาพของเราเปนเร ่ืองที ่เราควรพึ ่งตนเองใหมากที ่สุดเสียกอน ลองหาอานดูนะ 

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1008  11

Page 12: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 12/18

  โดย  ล.เลง เสียงกระดิ ่งหยก ( ไมใชมังกรบิน )  ใครกันแน.......ท ่ีนาสงสาร Happiness is here and now

I have dropped my worries

No where to go, nothing to do

No longer in a hurry.

Happiness is here and now

I have dropped my worries

Some where to go, something to do

But I don’t need to hurry.

เลงไดเนื ้อเพลงนี ้มาจาก  ซีดีเพลง ชุด A Basket of 

Plums ของหม ูบานพลัม  ท ่ี  อ.ปากชอง  จ.นครราชสีมา  ตองขอบคุณพี ่นก – พี ่หมอฟน  จาก  รพ.กรงุเทพ  ท ่ีชวนเลงไปชวยกันแปลปากเปลาใหคายสุขภาพของหมอเขียว  ท ่ีจัด ใหกับพระเวียตนาม 150 รปู  เม ่ือวันที ่ 21-25 กรกฎาคม 

2553 ปรากฏวา  งานนี ้เลงไมคอยไดแปลสักเทาไร (แต ไดอยางอ ่ืน กลับมามากกวา) เพราะวามี หลวงพี ่นิรามิสา – พระภิกษณุีของหม ูบานพลัม และคนแปลอีกหลายคนท ่ีเกงมาก ๆ 

ชวยกันทํางานนี ้อยู แลว พอไดเห็นคนท ่ีทํางานเกงกวา ดีกวาเรามาก ๆ ตอน

แรกกจิ็ตตกเหมอืนกัน / แลววชิา Positive Thinking ก็ชวย

 ใหเราไดคิดวา  ถาเราไมเดนิออกมาจากกะลาของเรา  เราคง ไมม ีโอกาสไดเหน็ยอดฝมือเคาทํางานกัน  ท ่ีเคยคิดวา  ฉันทํางานไดดีแลว (เพราะเพื ่อน ๆ คอยบอกวาอยางนี ้ เพื ่อนเคาคงอยากใหกําลังใจ ) มันยังทาํใหด ีไดกวาเดิมอีกนะ และท ่ีเคย 

คิดเอาเอง  วา ทําไมไมแปล  ไทย- เวยีตนาม  โดยตรง ทําไมตองแปลไทย- อังกฤษ  – เวยีตนาม  ใหมันยุ งยากซับซอนตั ้ง 2 ทอด 3 ทอด พอถึงเวลาแปลกันจริง ๆ  ถึงไดรู วา  เม ่ือตอง ใชศัพยยาก ๆ คนไทยก ็ไมร ู คําศัพท เวียตนาม มากพอ  การแปลผานภาษาอังกฤษ   กลับงายกวา  และ  รวดเรว็กวาการแปลไทย- เวยีตนาม กเ็ลยไดเรียนร ูวา เรื ่องท ่ีคิดวาเราร ู  เอาเขาจริงแลว เราไมรู ด ีไปกวา เจาตัว (เจาของเร ่ือง) เคาหรอก 

ยังมี....ตอนท ่ีพี ่นกบอกวา “สงสารพระเวียตนาม” ท ่ีตองพลัดบานพลัดเมอืง  มาอยู ท ่ีนี ่  และบางสวนก็รอเวลาที ่จะยายไปหม ูบานพลัม  ในประเทศฝรั ่งเศส และประเทศอื ่น ๆ  ในตอนนั ้น  เลงรู สึกวาตัวเองผิดปกติ  ท ่ีตอมสงสารคนไมทาํงาน 

ทําไมเราไมเหน็สงสารเคาเลยคะ  ตอนกลับบานมาแลวถึงได แวบ ! ขึ ้นมาวา ท ่ี ไมสงสารหนะถูกตองแลว 

ขณะที ่  พระเวยีตนามท ่ีเจริญสติตลอดเวลา  ทั ้งตอน 

นั ่ง  ยืน  เดิน นอน  และทาํงาน  มีความสุขอยู กับปจจุบันขณะ

อยู เสมอ  ตัวเราก็มี  ตอมคิด  ตอมกังวล (ซึ ่งทํางาน  เกอืบตลอดเวลา) ท ่ีพาเราเรรอนไปกับความคิดคํานึง ถึงอดตีท ่ีผาน ไปแลว  คอยเปรียบเทียบวา  งานนี ้ทําได ไมดีเทางานเกาบาง 

เราทาํงานไมดเีทาคนอ ่ืนบาง  เราจะจัดการกับงานคางท ่ียังทาํไมเสรจ็ และตองสงวันพร ุงนี ้ (หมายรวมถึง  ตนฉบับ...ท ่ีกําลังป นอยู นี ่ดวย )

 ใน 24 ชั ่วโมง ของวันที ่อยู  ในกทม. นอกจากชั ่วโมงที ่ฝกโยคะอาสนะแลว  กม็ักจะเผลอหลุดเขาไปในวังวน  แหงความคิดตลอดเวลา .... แม ใขณะหลับก็ ไมแนใจวา จะไมฝน 

เพราะ  บางวันตื ่นมาแลวกร็ู สึกวาไมสดช ่ืน  ยังนอนไมเต็มอ ่ิม 

เหมือนสมองยังไม ได charge battery  ไวเต็มที ่  แตเม ่ือมาอยู ที ่หม ูบานพลัม ทกุ ๆ ครั ้ง ท ่ี ไดยินเสียง ระฆัง หรือนาฬิกา คุณปู ตีบอกเวลา ทุก 15 นาที จะตองหยุดพูด หยุดเดนิ หยุดงานท ่ีกําลังทําคางอยู   กลับมาอยู กับลมหายใจ  เคาทําแบบนี ้กันตลอดทั ้งวัน  เพื ่อเรียกสติกลับคืนมา  ถากําลังเครียดอยู ก็ ไดคลายทัน  ไมตองรอไวตอนเย็น  เลิกงาน 5  โมง  แลวคอย 

มาร ูสึกตัววาเครียด เม ่ือยลา สรุปวา  ระหวางตัวเรา (ที ่มีคิ ้วผูกโบว  เปน

เคร ่ืองประดับใบหนา) กับพระเวยีตนามท ่ียิ ้มแยม  แจมใส ทาทางมีความสุข   ไม ได  แสดงอาการ  วิตกกังวลถึงชีวิตใน

อนาคตเลยนั ้น  ใครกันแนท ่ีนาสงสารกวากัน 

มันไม ไดขึ ้นอยู กับวาเรากําลังเผชิญอยู กับเหตุการณอะไรแลวถึงจะนาสงสาร แตปฎิกิรยิาของเราท ่ีมีตอสิ ่งท ่ีเราพบเจอตางหาก  ท ่ีทําใหเรารู สึกวาเราทุกข  เรานาสงสารหากเราตกทกุข  ไดยาก แต ใจไมทุกข  กลับคิดวา นี ่เปนโอกาสใหเรา ไดเรียนร ู ในอกีรูปแบบหนึ ่ง 

เชนถาพระเวียตนาม   ไมถูกบบีใหออกจากประเทศของตัวเอง  กค็งไมมี โอกาสไดเรียนภาษาไทย  ร ูจักคนไทยที ่นารัก (อยางพวกเรา) แถมยังจะได ไปใชชีวิตในยุ โรปอกีดวย 

 ไดประโยชน 2-3 เดง เลยนะเนี ่ย !

ก็เลยอยากชวนเพื ่อน  ๆ  กลับมามีความสุขอยู กับปจจุบันขณะ อาจจะหายใจเขา ชา ๆ หายใจออกยาว ๆ สัก 3

รอบ  ทุกครั ้งท ่ี ไดยินเสียงโทรศัพท  เสียงนกหวีดของ  รปภ 

BTS และคุณตํารวจจราจร  เสียงท ่ีทําใหเราโกรธ  ตกใจ เครียด  เม ่ือมคีวามทุกข  รู สึกกลามเนื ้อ  ตึงเกรง็  เปนลําขึ ้นมา เซ็งเปด  เซ็งหาน  หยุดหลายวันตองกลับมา Clear  งานเต็ม โตะอีกแลว...หายใจเขาไปคะ...แลวจะไดร ูสึกวา...เฮอ! ยังดีนะ

ท ่ียังมีลมหายใจอยู  

 ___________________________________________________________________________________________________________________________ 

1008  12

Page 13: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 13/18

  โดย  วีระพงษไกรวิทยและจริวรรณ ตั ้งจิตเมธี  แปลและเรียบเรียง คํา ความหมายของคํา และความรู   กับ ความจริงแท 

 โศลกที ่  ๑:๔๒  ของโยคสูตรกลาววา  “ตะตระ  ศัพทารถชญานวิกัลป ไปห  สังกีรณา  สวิตรรกา  สมาปตติห” 

ซึ ่งมีความหมายวา “ ในโศลกนี ้สวิตรรกาสมาปตติเปนการผสมผสานของวิกัลปะทั ้งในสวนของคํา  ความหมายของคํา และความร ู เปนเหตุ ใหเกดิความเขาใจหรือการรับรู ท ่ีสับสน”

นิยามทั ่วไปของกระบวนการสมาปตติ   ไดกลาวไวแลวในโศลกที ่ผานมา (๑:๔๑) สวนขั ้นตอนแหงความสําเรจ็หรอืความหลากหลายของสมาปตติ  กาํลังจะไดรับการกลาวถึงในโศลกท ่ี  ๑:๔๒  นี ้จนถึง  ๑:๔๔  ในโศลกนี ้คําวาศัพทะ อรรถะ และชญานะ ถูกรวมเรยีกวาวิกัลปะ เพราะวาอรรถ

กาจารยเชื ่ออยางหนักแนนวา 

ปตัญชลี ไมเคยใชศัพทเฉพาะ ในความหมายท ่ีหละหลวม  คําวาวิกัลปะนี ้ ไดอธบิายไวอยางเปนท ่ีเขาใจแลวในโศลกที ่  ๑:๙  ของโยคสูตร  ซึ ่งหมายความวาคําตางๆ  ความหมายของคําตางๆ  และความร ูท ่ีมาจากคําและความหมายของคําเหลานั ้น (หรอืสิ ่งที ่เราเขาใจจากคําและความหมายเหลานั ้น) ทั ้ง 3 อยางนี ้ลวนเปนเพียงสิ ่งท ่ีจินตนาการขึ ้นไม ไดมคีวามจริง(แท)มารองรับแตอยางใด  แตหากลองคิดจริงจังขึ ้นสักนิดหนึ ่ง  จะพบวาประโยคท ่ีกลาวมานั ้นเปนความจริง  ยกตัวอยางงายๆ  เพื ่อใหเหน็ชัดขึ ้นโดยใช

กรณชี ่ือของวัตถุสิ ่งของอยางหนึ ่งนั ่นคือ หมวก (a cap) คํานี ้ ในภาษาอังกฤษ   หมายถึงสิ ่งท ่ี โดยปกติแลวใชปกคลุมศีรษะ คนอังกฤษนั ้นมีความเช ่ือที ่คลุมเครือวา  คํานี ้มีความหมายท ่ีแนนอนและใกลชิดกับสิ ่งของท ่ีแทนคํา (นั ่นคือเม ่ือพูดถึงคําวา a cap ก็ตองนึกถึงหมวกหรอืสิ ่งท ่ี ใชปกคลุมศีรษะเสมอ-ผู แปล) แตสิ ่งนี ้ ไมเปนความจริงเสมอไป  คน(อินเดีย)ท ่ีพูดภาษาฮินดีเรยีกสิ ่งเดียวกันนี ้วา “ โฏป” (topi) คนฝรั ่งเศสจะเรียกมันวา “บอนนิท” (bonnet) และคนเยอรมันเรยีกวา “muetze”

นี ่เปนขอพิสูจนที ่ชัดเจนวาของสิ ่งหนึ ่งสิ ่งเดียวกันอาจจะสัมพันธหรอืทาํใหคนเรานึกถึงคําตางๆ   ไดหลายคํา(แลวแตวาคนๆ  นั ้นใชภาษาอะไร) มันเปนความไมมีเหตุผล ในทางภาษาท ่ี ใชคําตางๆ   ในการกลาวถึงสิ ่งใดสิ ่งหนึ ่ง โดยเฉพาะ (มันไมมีกฎเกณฑแนนอนวาจะเรียกสิ ่งนั ้นสิ ่งนี ้วาอะไร เชนเรยีกสิ ่งท ่ีปกคลุมศีรษะวา “หมวก” หรอืเรยีกอากาศท ่ีเคลื ่อนท ่ีวา “ลม” เปนตน) ดังนั ้นในภาษาอังกฤษเองก็เชนกัน  คําวา a cap ก็ ไมจําเปนตองหมายถึงสิ ่งท ่ีปกคลุมศีรษะเสมอไป  จุกท ่ีปดปากขวดกเ็รยีกวา a cap หรอืแมแต

สวนหลังของลูกปนไรเฟล (ปลอกกระสุนปน) กเ็รยีกวา a cap

เชนกัน แตนี ่ ไม ได ใชเฉพาะกับกรณขีองคําวา cap เทานั ้น แต

 ใชกับคําเกือบทุกคํา  และไม ไดเปนเฉพาะในภาษาอังกฤษ เทานั ้น แตเปนกับทกุๆ ภาษาในโลก นั ่นเปนเหตุที ่วาทําไมจึงมีความจําเปนตองใชพจนานุกรม  เพื ่อหาความหมายท ่ี

แตกตางกันของคําๆ หนึ ่งในภาษาเดยีวกัน  ในพจนานุกรมนั ้นจะมีความหมายท ่ี ใหกับคําๆ  หนึ ่งแตกตางกันหลายความหมาย  และความหมายเหลานั ้นก็มีนัยยะท ่ีแตกตางกันออกไปอยางกวางขวาง  มากเสียจนกระทั ่งความหมายสองอยางอาจจะเปนไปในทางตรงขามกันเลยก็ ได  เชน  คําวา accident  โดยปกติแลวหมายถึง “อุบัติเหตุ  โชคราย  ความเสียหาย” แต ในประโยคที ่วา “He became a rich man by

accident” ซึ ่งคําๆ  เดียวกันกลับหมายถึงโชคดีก็ ได  อีกตัวอยางหนึ ่งก็เหมอืนกัน  วลีที ่วา “out of”  ในประโยคที ่วา “This is out of my power” วลี out of  หมายถึง  เกินหรือนอกเหนือ แต ในประโยค “Three out of seven were good”

วลีดังกลาวกลับแปลวา  ในหรอืในจํานวน ซึ ่งมีความหมายตรงขามกันอยางชัดเจน   ในภาษาสันสกฤตก็มีตัวอยางเชนนี ้อยู มาก  คําวา “อปวฤ” หมายถึงเปดเผย  และมีความหมายตรงกันขามวาปด ซอน อยู ดวย  ตัวอยางตางๆ ท ่ีกลาวมานั ้นจึงเปนสิ ่งท ่ีพบเห็นกันทั ่วไปในทกุๆ ภาษา 

ดังนั ้นเราจะเหน็วาคํา (ศัพทะ) กับความหมายของ

คํา(อรรถะ) โดยธรรมชาติแลวไมจําเปนตองสัมพันธกัน  แตเปนเรื ่องท ่ีมนุษยสรางสรรคคําและความหมายขึ ้นมาอยางไรกฎเกณฑเหตุผล 

คําวา “ชญานะ” คือความร ู  ซึ ่งโดยตัวมันเองไม ไดมีความสัมพันธอันแทจริงกับสองคําแรก  คือศัพทะ(คํา) และอรรถะ(ความหมายของคํา) ลองอธิบายโดยใชตัวอยางเดมิคือคําวา cap เมื ่อผู พูดพูดคําวา cap ผู ฟงสามารถท ่ีจะคิดถึงสิ ่งท ่ีเกี ่ยวกับเคร ่ืองแตงกาย(หมวก) หรอืจุกท ่ีปดขวด  หรอืปลอกกระสุนปน หากมีคนหนึ ่งกลาวกับอีกคนหนึ ่งวา “put on the

cap” อาจเปนไปไดวาผู พูดตองการใหผู ฟง  ๑) สวมหมวก 

หรอื  ๒) ปดจุกขวด  สถานการณเชนนี ้อาจจะเกิดขึ ้นจริงในสถานท ่ีอยางเชนหองแล็บ  รานขายยา  หรอืสถานท ่ีผสมยา เปนตน  แมวาผู พูดจะมคีวามคิดอยู  ในใจวาตองการใหผู ฟงปดจุกขวด   ในขณะที ่ผู ฟงอาจคิดไปวาผู พูดตองการใหเขาสวมหมวก  และเขาอาจจะหยิบหมวกขึ ้นมาสวมแทนการปดจุกขวดก็ ได  ดังนั ้นเราจะเหน็วาความร ู (ชญานะ) กคื็อผลของความเขาใจอาจแตกตางกันไปในแตละบุคคล  แมจะมาจาก

คําๆ  เดยีวกันก็ตาม  ตัวอยางท ่ีแสดงถึงสถานการณซึ ่งกอใหเกิดความสับสน  และความเขาใจผิดดังกลาวนั ้นสามารถ

1008  13

Page 14: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 14/18

เกดิขึ ้นกับคําอ ่ืนๆ  ไดอีกมากมาย  ซึ ่งผู อานอาจลองนึกถึงคําอ ่ืนๆ ท ่ีกอใหเกิดความสับสนเชนเดียวกันนี ้ดวยตนเองไดอีก 

เหตุการณอาจจะเกิดขึ ้นอีกวา  ผู พูดใชคําท ่ีมีความหมายเฉพาะ  และผู ฟงหลายคนก็เขาใจในความหมายเดยีวกันนั ้น แตความคิดหรอืภาพท ่ีเกดิขึ ้นในใจของผู ฟงแตละ

คนอาจจะแตกตางกันในรายละเอียด  ยกตัวอยางเชนเม ่ือผู พูดพูดถึงคําวา cap ผู พูดอาจจะหมายถึง Gandhi-cap

7(หมวก

คานธี) ขณะท ่ีผู ฟงคนหนึ ่งอาจนึกถึงภาพหมวกขนสัตว ขณะที ่อีกคนหนึ ่งอาจนึกถึงภาพหมวกแบบตะวันตกท ่ีเรยีกวาหมวกสักหลาด (Felt-hat) ดังนั ้นจึงเหน็ไดวาทั ้งสามคนนี ้อาจมีความเขาใจหรือมีภาพในใจท ่ีแตกตางกันไป  เม ่ือไดฟงคําๆ 

เดยีวกันท ่ีมีความหมายท ่ี ใชกันทั ่วไปเหมอืนๆ  กัน  การสรางภาพหรือความนึกคิดที ่แตกตางกันไปไดอยางมากมายนี ้  ทํา

 ใหเห็นวาความร ูท ่ีมีอยู  ในใจของแตละคนนั ้น  ยอมแตกตางหลากหลายไดมากเชนเดียวกัน  ดังนั ้นเราจะพบวาคํา ความหมายของคํา  และความเขาใจท ่ีเกดิขึ ้นในจิตใจซึ ่งเราเรยีกวาประสบการณ (pratyaya) หรอืความร ู (ชญานะ) นั ้น ไม ไดมีความสัมพันธกันตามธรรมชาติที ่แทจริง  แตคนทั ่วไปกลับร ูสึกวาความสัมพันธของสิ ่งเหลานี ้มีอยู จริง  แมจะไม ไดเช ่ือเชนนั ้นอยางหนักแนนก็ตาม  ความสัมพันธท ่ี ไม ไดมอียู จริงเชนนี ้แทนดวยคําวา “วิกัลปะ” นี ่คือเหตุผลท ่ีวาหลายครั ้งความเขาใจผิดเกดิขึ ้นได  ผู พูดหมายถึงบางสิ ่งแตผู ฟงเขาใจและตีความตางออกไปอยางสิ ้นเชิง  ซึ ่งโดยธรรมชาติแลวจะนําไปสู ความสับสน สถานการณเชนนี ้อาจจะเกิดขึ ้นหลายครั ้งแมแต ในชีวติประจําวันตามปกติของเรา  แต ในมุมมองทาง โยคะและปรัชญา  แมแตสิ ่งท ่ีเราเขาใจไดอยางถูกตองจากคําและความหมายของคําเหลานั ้น  ก็ยังเปนสิ ่งท ่ีเขาใจผิดจรงิๆ 

เพราะวาความจริงของวัตถุ  หรอืปรากฏการณธรรมชาติ ไมสามารถอธิบายไดอยางแทจริงดวยถอยคําทั ้งหลาย  นี ่เปนเพราะวาความจริงสูงสุดหรอืความจริงแท(Ultimate Reality)

นั ้นอยู เหนือกาลเวลาและสถานท ่ี(time and space) ขณะที ่ถอยคําตางๆ  เปนสิ ่งท ่ีมนุษยสรางขึ ้น(สมมุติบัญญัติ) ทั ้งถอยคําและความหมาย  ตางก็เปนสิ ่งท ่ีขึ ้นอยู กับกาลเวลาและ

 

7 หมวกคานธี (Gandhi-cap) คอืหมวกสขีาวที ่มีปลายแหลมที ่ดานหนาและ

ดานหลัง มีขอบกวาง ทาํจากผา khadi (ผาทออนิเดียชนิดหนึ ่ง) หมวกนี ้เรยีกตามชื ่อของมหาตมะคานธี ซึ ่งเปนคนแรกที ่ใชระหวางเรยีกรองเอกราชของอินเดีย โดยทั ่วไปนักตอสู  เพื ่ออสิรภาพของอนิเดียจะใสหมวกนี ้ และกลายเปน

ประเพณทีี ่นักการเมอืงหรอืนักเคลื ่อนไหวทางการเมอืงจะใสหมวกนี ้เปนสัญลักษณในวันที ่อนิเดียไดเอกราช หมวกคานธีนี ้มคีวามคลายคลงึกับหมวก 

กะปเยาะห (taqiyah) ที ่ชาวมสุลมิสวมใสกันทั ่วโลก 

สถานท ่ี8  จากมุมมองนี ้ความร ูของเราทั ้งหมดที ่แสดงผานถอยคําจึงทําใหเกิดความเขาใจผิด และเกดิความสับสนได ซึ ่งแทนดวยคําวา “สัมกรีณา”9 (การผสมผสานกันของถอยคํา ความหมาย  และความเขาใจตามอําเภอใจนําไปสู ความสับสน ได)

ภาพ : เยาวหราล เนหรู นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดียซึ ่งไดรับตําแหนงหลังจากที ่อินเดีย ไดรับอิสรภาพคืนจากอังกฤษ  สวมหมวกคานธี 

(ที ่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/Gandhi_cap) 

อยางท ่ีเคยอธิบายไว ในโศลกที ่ ๑:๑๗  คําวาวิตรรกะและคําอ ่ืนๆ  ที ่มาจากคํานี ้  เชน  สวติรรกาในโศลกนี ้  เปนคําศัพทเฉพาะ  ความหมายของคําวาวิตรรกะควรจะไดรับการอธบิายเหมือนกันตลอดทั ้งโยคสูตรซึ ่งกห็มายถึง  ความคิดที ่ ไมดหีรอืชั ่วราย ความคิด(อ ่ืนๆ) อารมณ และการกระทาํ เปนตน  ดังนั ้น สวิตรรกา สมาปตติ  จึงหมายถึง สมาปตติที ่วิตรรกา10กําลังครอบงําอยู   และยังช ี้วาวิตรรกะไม ไดเกี ่ยวของกับวัตถุที ่เลือกใช ในการทําสมาธิ  วิตรรกากาํลังเกิดขึ ้นมาจากท ่ีกักเกบ็สัมสการะ (สังขาร-ผลท ่ีคงคางอยู หรอืประทับติดอยู  ในจิตใจ) เปนกรรมตางๆ  ในอดีตท ่ีถูกเกบ็ไว ในจิตเรยีกวา  กรร

มาศยะ เม ่ือผู ฝกโยคะเริ ่มฝกสมาธิซึ ่งเปนกระบวนการควบคุมหรือกาํกับการรับร ูเขาสู ดานในนั ้น  ประสบการณแรกจะพบวิตรรกะ (ความคิด) จํานวนมากกําลังผุดขึ ้นมาสู การรับรู ของจิตสํานึกจากที ่กักเกบ็  แมวาผู ฝกสมาธิจะเลือกวัตถุอันศักดิ ์สิทธิ ์มากเพื ่อใชทําสมาธิ  ตลอดกระบวนการฝกกต็าม 

ตามการนําเสนอของปตัญชลี โยคสูตร  สวนแรกหรอืขั ้นตอนแรกของกระบวนการทาํสมาธิคือ  สมาปตติ  ซึ ่งเร ่ิมตนจากขั ้นยอยแรกคือ  สวิตรรกา  สมาปตติ (ดแูผนผังจากบทความใน

 

8 ๑) ความหมายของคาํ ๆ หนึ ่ง เมื ่อเวลาผานไป ความหมายกอ็าจเปลี ่ยนไปได 

เชนคําวา “แหว” หมายถงึพชืหัวชนิดหนึ ่ง แตเมื ่อเวลาผานไปกเ็กดิความหมายใหมขึ ้นมา นั ่นคือหมายถงึความผิดหวัง หรือการพลาดโอกาส เปนตน 

๒) หรือคาํๆ หนึ ่งเมื ่อยุคสมัยเปลี ย่นไป คําอาจมกีารเปลี ่ยนแปลงไป เชนคาํวา สะบาย (ที ่เคยใชในสมัย ร.๕) ปจจุบันเปลี ่ยนมาเขยีนเปน สบาย 

๓) หรือในกรณขีองสถานที ่เปลี ่ยนไป เชนคาํวา ยานัด คนภาคใตหมายถงึสับปะรด แตคนที ่ภาคกลางเขาใจวาเปน ยานัตถ ที ่ใชเปาเขาจมกู 

9

 สังกรีณา (sankirna) ตามหลักไวยากรณสันสกฤตเปนคาํเพศหญงิของคาํวา สัมกีรณา (samkirna) 10

 วิตรรกา ตามหลักไวยากรณสันสกฤตเปนคาํเพศหญงิของคําวา วิตรรกะ 

1008  14

Page 15: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 15/18

ฉบับท ่ีแลวประกอบ - ก.ค. ๕๓) วิตรรกาเหลานี ้เก ่ียวของกันอยางใกลชิดกับคํา(ศัพทะ) ความหมายของคํา(อรรถะ) และการตีความหรอืความเขาใจ(ชญานะ) โดยจิต  ความจริงแลววิตรรกาคือผลแหงความสับสน  ท ่ีเกดิจากขอจํากัดของการ ใชศัพทะ-อรรถะ-ชญานะ   ในมุมมองทางปรัชญาขั ้นสูงนั ้นสิ ่ง

ตางๆ   โดยตัวมันเองแลวไม ไดเปนทั ้งสิ ่งดีหรอืไมดี  มันเปนมุมมองของปจเจกบุคคลโดยเฉพาะกลาวคือ  การจะเขาใจอยางไรนั ้น  เปนผลมาจากคําและความหมายท ่ีเขามีอยู  ในใจตามความเขาใจของเขาเอง  ซึ ่งอาจนําไปสู ความดีหรอืความชั ่วของสิ ่งตางๆ  นี ่เปนเหตุผลท ่ีวาทําไมบุคคลตางกันจึงคิดถึงบุคคลเดียวกัน  หรือวัตถุเดียวกัน  หรอืเรื ่องเดยีวกัน   ไดแตกตางกันทั ้งในแงดหีรอืในแงราย  สําหรับเรื ่องนี ้มคํีาอธิบายเพื ่อใหเหน็ภาพชัดเจนขึ ้นมาจากเร ่ืองมหาภารตะ (มหากาพย

อันมีช ่ือเสียงของอินเดยี)ตอนหนึ ่งวา  เม ่ือพระกฤษณะขอใหทุรโยธน  และธรรมราช  เฟนหาคนดีท ่ีสุดและคนชั ่วที ่สุดตามลําดับจากเหลานักปราชญ กษัตริย และประชาชนท ่ีอยู  ใน

ฝูงชนขนาดใหญนั ้น  ผลปรากฏวาเม ่ือทุรโยธนตรวจสอบคนทั ้งหมดแลวรายงานวา ทุกๆ  คนเปนคนเลว  ขณะท ่ีธรรมราชตรวจสอบและรายงานวาทุกๆ  คนเปนคนดีทั ้งๆ  ท ่ีเปนคนในฝูงชนเดียวกัน 

การกาวพนจากวิตรรกาไปสู วิจารา  และพนจาก

พื ้นท ่ีของการคิด(ทางเชาวปญญา)  ไปสู พื ้นท ่ีของการร ูสึก 

กลาวคือ  จากพื ้นท ่ีของอานันทะและอัสมิตาและกาวสูงขึ ้นไปอีกเกิดขึ ้นไดอยางไรนั ้นไดเคยอธิบายไวแลวในโศลกที ่  ๑:๑๗ 

และอาจอธิบายใหชัดเจนเพิ ่มเติมในโศลก ท ่ีกลาวถึงสมาปตติเหลานี ้ เอกสารอางอิง : 

Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA

SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration,

Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama. 

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ณั ฏฐวรดี ศิริกลุภัทรศรี, สันสนียนิรามษิ  แปลและเรียบเรียง 

การทาํงานของเน ้ือเยื ่อเกี ่ยวพัน (ตอ)

เสนเอ็นยึดกลามเนื ้อกับกระดูก (Tendon) และเสนเอ็น

ยึดกระดูกกับกระดูก (Ligament)ตามนิยามแลว Tendons หมายถึงเสนเอ็นท ่ียึด

ระหวางกลามเนื ้อกับกระดูก  สวน Ligaments คือเสนเอ็นท ่ีเช ่ือมตอระหวางกระดกูกับกระดกู  เสนเอ็นทั ้งสองจะเหนียว,แข็งแรง, หนาแนน, เปนเสนใยของกลามเนื ้อเกี ่ยวพันท ่ี ไมยืดหยุ น  และมีเซลลกระจายเล็กนอยระหวางกลุ มเสนใยขนาด ใหญ  ถาดูจากกลองจุลทรรศนเอ็นยึดกลามเนื ้อและเอ็นยึดกระดกูมีลักษณะที ่เกอืบจะเหมอืนกัน  แมวาลักษณะเสนใยของเอน็ยึดกระดกู  จะไมจัดกลุ มเชนเดยีวกับเอ็นยึดกลามเนื ้อ 

เสนใยของเอ็นยึดกลามเนื ้อ  จะยืดมาจากกลามเนื ้อของทอง ไปยึดกับกระดกู  สานตอกันไปเรื ่อยๆจนเกิดความหนาแนนขึ ้น  เอ็นยึดกระดกูจะยึดกระดกูที ่อยู  ใกลเช ่ือมเขาดวยกันทั ้งรางกาย   โดยใหสามารถเคลื ่อนไหวไดเล็กนอย  และจะตึงขึ ้น ในตอนทายของการเคลื ่อนไหว 

เอน็ยึดกระดกูและเอน็ยึดกลามเนื ้อจะไมสามารถยืดความยาวออกไปไดมากกวา 4% หลังจากท ่ีเอ็นฉีกขาดซึ ่งอาจจะเปนปญหาท ่ีสําคัญได  เพราะเสนใยของเนื ้อเยื ่อ

เกี ่ยวพันภายนอกเซลลของเอ็นทั ้งสองชนิด  จะขึ ้นอยู กับเซลลท ่ีซอมแซมและทดแทนท ่ีกระจายอยู  ในเซลลเพียงเล็กนอย อีกทั ้งเลือดที ่มาเลี ้ยงเนื ้อเยื ่อมีจํานวนนอย  ดังนั ้นการรักษาการ

บาดเจ็บจึงเปนไปไดชา  อาการท ่ีเกดิขึ ้นทั ่วไปที ่สุดคือเอ็นอักเสบ  ซึ ่งเกดิจากการท ่ีเสนใยท ่ีอยู ระหวางเอ็นกลามเนื ้อและ

กระดกูฉีกขาด 

ถาใครยังคงฝนใชงานตําแหนงท ่ีบาดเจ็บซ้ ําๆ 

 ไมวาจะเปนการพิมพคอมพิวเตอร, ตีเทนนิส  หรอืพยายามบังคับฝกโยคะ  อาการบาดเจ็บอาจจะนานเปนปหรอืมากกวานั ้น 

จุดประสงคหลักของเอน็ยึดกระดกู  คือการควบคุมการเคลื ่อนไหวของขอตอ  ซึ ่งมีสวนเก ่ียวของอยางมากเม ่ือเราตองการเหยียดยืดที ่สุดขณะฝกโยคะ  เราอาจคิดจะบรหิารรางกาย  และเหยียดยืดตัวกอนจะได ไมตึงจนเกินไปขณะฝก 

แตเอ็นยึดกระดกูจะไมหดกลับเม ่ือมีการเหยียดยืดไป (อยาง

นอยตองไมมากกวา 4%) ดังนั ้นหากเรายังฝนเหยียดตัวออกไปมากกวาขอจํากัดของเอ็น  ก็จะยิ ่งทําใหเปนผลเสียมากกวาผลดี  และหากเราเหยียดเอ็นยึดกระดกูมากไปจนเอ็นหยอนจนทําใหขอตอท ่ีเอน็ยึดไวเคลื ่อนจนบาดเจ็บ  เอน็ยึดกระดกูกจ็ะยังคงปลอยใหเปนอยางนั ้น   ไมหดตัวกลับ  ดังนั ้นเพื ่อใหการฝกโยคะพัฒนาดวยด ีก็ควรจะสนใจการเคลื ่อนไหวและการยืดหยุ นจากการเหยียดยืดของกลามเนื ้อดวย 

แคปซูลขอตอ(Joint Capsules)

แคปซูลขอตอ  หรอื Joint Capsules คือถุงห ุมเนื ้อเยื ่อเกี ่ยวพัน  ท ่ีลอมรอบไปดวยชั ้นการทาํงานของขอตอ

1008  15

Page 16: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 16/18

ตางๆ ท ่ีรู จักกันวา Synovial joints หรอืขอตอแบบซินโนเวียล 

ประกอบไปดวยขอตอที ่เคลื ่อนไหวคลายบานพับ , ขอตอแบบเดอืย  และขอตอแบบเบา  แคปซูลขอตอสําหรับขอตอแบบซิน โนเวยีลมีหนาท ่ีหลายอยาง  คือบรรจุของเหลวภายในสําหรับน้ ําไขขอ (synovial fluid) ท ่ีเปนตัวหลอลื ่นระหวางผิวหนาท ่ี

ชนกันของกระดกู ขอตอแบบซินโนเวียลนี ้ยังเปนที ่อยู ของเยื ่อบุขอตอ (synovial membrane) ซึ ่งหลั ่งน้ ําไขขอออกมา  และยังเปนเนื ้อเยื ่อปลอก  ที ่สามารถหอห ุมเอน็ยึดกระดกูและเอน็ยึดกลามเนื ้อได  ท ่ีนาสนใจสําหรับเรากคื็อขอตอนี ้ยังทํางานรวมกับเอน็ยึดกระดกูที ่เปนคร ่ึงหนึ ่งท ่ีตานการเคลื ่อนไหว 

ขอตอหัวไหล  เปนตัวอยางท ่ีดีของแคปซูลขอตอซึ ่งคลายกับขอตอสะโพก  ขอตอหัวไหลเปนขอตอแบบเบา  จะมีสวนหัวของกระดกูตนแขนเปนลูกบอลและมีแองกลีนอยดของ

กระดกูสะบักเปนเบา (ตามรูป 1.13) แคปซูลขอตอจะลอมรอบไปดวยเอ็นยึดกลามเนื ้อท ่ีสลับซับซอน  ซึ ่งพาดผานหรอืกลมกลืนไปตามแคปซูลขอตอ  เชนเดียวกันกับเอ็นยึดกระดกูที ่สนับสนุนอยู ดานนอก  เพื ่อใหรู สึกถึงขอจํากัดของการเคลื ่อนไหว   ใหลองยกแขนขึ ้นเหนือศีรษะและดงึแขนไปดานหลังใหมากท ่ีสุดเทาท ่ีจะทําได  บรเิวณหัวไหลคุณจะรู สึกถึงแคปซูลขอตอและเอ็นยึดกระดกูที ่ตึงขึ ้น 

รปู 1.13 (รปูบน) ภาพดานหนาของขอตอหัวไหลดานขวา,(รปูกลาง) ภาพดานหนาของขอตอหัวไหลดานขวาพรอมแคปซูล, (รปูลาง) ภาพดานหลังของขอตอหัวไหลดานขวาพรอมแคปซูล  ลองนึกภาพของหนาอกท ่ีอยู บริเวณดานหนาของกระดกูสะบักประกบกับดานขวาของสองภาพบน (ผิวหนา

ของกระดกูสะบักท ่ีเปน  จะประกบกับดานหลังของหนาอก)

ตามรูปดานลาง  ลองนึกภาพของหนาอกท ่ีอยู บริเวณดานหนาของกระดกูสะบักประกบกับดานซายของภาพ  จะเหมอืนรปู 

1.1 ที ่เคยแสดงไป  เคร ่ืองหมายดอกจัน (*) แสดงถึงตําแหนงของเอน็ยึดกระดกูที ่คงท ่ี  และตรงลูกศรช ี้ ใหเห็นถึงตําแหนงหมนุของเอ็นยึดกลามเนื ้อ 

เอน็ที ่ยืดออกได (Extensile Ligaments)

ท ่ีจริงแลว Extensile ligament หรอื เอ็นที ่ยืดออกได ไม ไดเปนเสนเอ็นยึดกระดูก  แตเปนกลามเนื ้อที ่ตอมาจากเซลลประสาทสั ่งการ (Motor Neuron) ที ่มีการสงกระตุ นกระแสประสาทอยางตอเนื ่อง  เอ็นชนิดนี ้จะมีความยืดหยุ นมากกวาเอ็นของเนื ้อเยื ่อเกี ่ยวพันชนิดอื ่น  เพราะจะมีลักษณะของความเปนกลามเนื ้อเปนหลัก  และมากไปกวานั ้นเอ็นที ่ยืดออกไดนี ้จะทําหนาท ่ีเหมอืนเอ็นยึดกระดูกอ ่ืนท ่ีชวยใหรางกายของเราคงอยู  ในทาตางๆได  สิ ่งท ่ีเอน็ท ่ียืดออกไดทําไม ไดก็คือการเคลื ่อนที ่ของขอตอเมื ่อมีการเคลื ่อนไหว  ซึ ่งเปนสิ ่งท ่ีเรา

เหน็จากการทํางานของกลามเนื ้อ  จากท ่ีกลาวมาขางตนเอ็นท ่ียืดออกไดจะอยู มีผลตอกลามเนื ้อบริเวณลําตัว  ขณะท ่ีเปลี ่ยนอริิยาบถเปนสวนใหญ  แต ไดมีขอโตแยงวาขณะท ่ีรางกายอยู นิ ่งเพื ่อบําบัดนั ้น กลามเนื ้อทุกๆสวน (ยกเวนกลามเนื ้อท ่ีชวยหายใจ) ก็เปนเอน็ท ่ียืดออกไดเชนกัน 

สิ ่งท ่ีตางไปจากเอ็นของกลามเนื ้อเกี ่ยวพันคือความยาวของเอ็นท ่ียืดออกไดจะปรับเปลี ่ยนไปตามความถี ่ของการกระตุ นกระแสประสาทของกลามเนื ้อ  และเนื ่องจากวา

กลามเนื ้อทุกๆ  สวนจะทาํงานรวมกันกับลําตัวและกระดกูสันหลังซึ ่งเปนตัวแทนของรางกายทั ้งสองดาน  ดังนั ้นกลามเนื ้อ ในแตละคู   ควรไดรับจํานวนครั ้งของการกระตุ นประสาทตอวินาท ีในแตละดานซึ ่งสมมาตรกันเท ากัน  ถาจํานวนครั ้งของการกระตุ นไมเทากัน  คู กลามเนื ้อนั ้นจะมีความยาวไมเทากันซึ ่งมีผลตอการสะทอนกลับตลอดแกนกลางของรางกาย   ในหัตถโยคะ  เราจะสังเกตเห็นเงื ่อนไขนี ้ ไดงายเพราะเปนองคประกอบหลักของการทรงตัวดานซายและดานขวา 

รางกายท ่ี ไมสมดุล  จะพบเห็นไดตลอดลําตัวและ

กระดกูสันหลัง  โดยเฉพาะบรเิวณคอท ่ีมีกลามเนื ้อบรเิวณทายทอยซึ ่งมีเอ็นท ่ียืดออกไดเปนสวนสําคัญในการตั ้งศีรษะ  ถา

1008  16

Page 17: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 17/18

คุณเกดิอาการหันศีรษะไม ไดหรอืเอยีงไปดานใดดานหนึ ่ง  นั ่นอาจเปนเพราะ  คู กลามเนื ้อของคุณทั ้งสองดานมีความยาวไมเทากันเปนระยะเวลานาน  เซลลประสาทสั ่งการคุ นเคยกับการกระตุ นประสาทที ่ ไมเทากัน  กลามเนื ้อบรเิวณชองทองมีความยาวสั ้นขางยาวขาง  ทําใหเสนใยของเนื ้อเยื ่อเก ่ียวพันท ่ีอยู 

ภายในและรอบๆกลามเนื ้อนั ้นยาวไมเทากันดวย วิธกีารแก ไขคือ  ตองฝนรางกายไมวาทั ้งกลามเนื ้อชองทองหรือเสนใยของเนื ้อเยื ่อเก ่ียวพันเพื ่อใหยาวขึ ้นหรอืหดกลับไดอยางรวดเรว็ 

พังผืด (Fasciae)

พังผืดคือแผนของเนื ้อเยื ่อเก ่ียวพัน  ท ่ีม ีโครงสรางพยุงเนื ้อเยื ่อและอวัยวะทั ้งรางกาย, ยึดเกาะทกุอยางเขาดวยกัน  และชวยให โครงสรางทั ้งหมดคงท ่ี  พังผืด

เปรียบเสมอืนถุงมือหนัง  ท ่ีชวยหอหุ มไปรอบมอืของคุณ 

ภายใตผิวหนังและเนื ้อเยื ่อเกี ่ยวพัน  พังผืดจะทําการจัดสรรและรวมกลุ มกลามเนื ้อ, กลามเนื ้อเฉพาะสวน  และกลุ มของเนื ้อเยื ่อในแตละสวนเขาดวยกัน  พังผืดยังจัดตัวเปนถุงหอหุ ม ไปรอบๆโพรงตางๆทั ่วรางกาย  พังผืดยังเปนถุงเนื ้อเยื ่อเกี ่ยวพันท ่ีเหนียวมากรอบๆ  หัวใจซึ ่งประกอบไปดวยเสนใยท ่ีหอห ุมหัวใจอีกดวย  เรามีพังผืดอยู ตื ้นๆใตผิวหนังและมีชั ้นลึกลงไปอยู  ใตกลุ มของกลามเนื ้อ 

พังผืดสามารถยืดหยุ นได  ขณะที ่เราเคลื ่อนไหว,

เหยียดยืด  และหายใจ  แตถาเราอยู นิ ่งไมขยับเขยื ้อนอวัยวะสวนใด  พังผืดสวนนั ้นก็จะมีความยืดหยุ นนอยและจํากัดการเคลื ่อนไหวของเราในท ่ีสุด  เปรยีบเหมือนถุงมือท ่ีบีบแนนเกนิไปจนทําใหขยับมือไม ได 

เนื ้อเย ่ือเกี ่ยวพันชนิดโปรงบาง (Loose Connective

Tissue) และสารพื ้นฐาน (Ground Substance)

เนื ้อเยื ่อเกี ่ยวพันชนิดโปรงบาง (Loose Connective

Tissue) ประกอบไปดวยสารพื ้นฐาน (Ground Substance),

เสนใยท ่ีกระจายรอบๆ  และเซลล  ซึ ่งจะอยู ตามชองวางระหวางเนื ้อเยื ่อหลักที ่เก ่ียวกับเซลล 3 ชนิดคือ  กลามเนื ้อ,

เนื ้อเยื ่อบุผิว และเนื ้อเยื ่อของประสาท และอยู ระหวางชองวาง

ของเนื ้อเยื ่อเกี ่ยวพันทั ้งหมด  รวมถึงกระดกูและกระดกูออน,

เลือดและน้ ําเหลือง, เอ็นยึดกลามเนื ้อและเอน็ยึดกระดูก, ขอตอและแคปซูลขอตอ, พังผืด,  ไขมัน  และเนื ้อเยื ่อของน้ ําเหลือง  เนื ้อเยื ่อเกี ่ยวพันยังทําหนาท ่ีมากกวาแคเปนสิ ่งเติมเต็ม  สารพื ้นฐานของเนื ้อเยื ่อเกี ่ยวพันสารมาเปรียบเทยีบคราวๆไดกับกลีเซอรนี  มันจะหลอลื ่นและเคลื ่อนไปอยางเรียบๆทั ่วทั ้งรางกาย สารพื ้นฐานยอมให โครงสรางท ่ีอยู ติดกันลื ่นไหลไดดีพอๆ  กับการลื ่นไหลของเสนใยของเนื ้อเยื ่อ

เกี ่ยวพันแตละสวนท ่ีเกี ่ยวเนื ่องไปถึงเอน็ยึดกลามเนื ้อและเอน็ยึดกระดกู  ถาไมเปนเพราะเสนใยของเนื ้อเยื ่อเก ่ียวพันและสารเล็กๆท ่ีติดอยู กับเสนใยกลามเนื ้อ, เสนใยของประสาท 

และเนื ้อเยี ่อบผิุว  สารพื ้นฐานจะยอมใหทกอยางลื ่นไหลและเลื ่อนแยกออกจากกัน  ซึ ่งมันเปนสิ ่งท ่ี ไมนาพอใจ  ดังเชนน้ ํามันท ่ีหกรดบนพื ้นถนนน้ ําแข็ง 

 โดยทั ่วไปสารพื ้นฐานจะมีลักษณะเปนของเหลว  แตถาเนื ้อเยื ่อรอบๆไมทํางาน  สารพื ้นฐานจะแข็งตัวและสูญเสียความช ื้นจนทําให ไมสามารถหลอลื ่นได  ทุกสวนของรางกายก็

จะแนนขึ ้น  เอน็ยึดกลามเนื ้อ, เอ็นยึดกระดกู  และแคปซูลขอตอจะเปราะบาง  กลามเนื ้อจะสูญเสียความยืดหยุ นและความสามารถในการทํางานอยางราบลื ่น  เนื ้อเยื ่อจะไวตอการบาดเจ็บได  และทั ้งหมดนี ้คือเหตุผลหลักที ่อธิบายไดวาทําไมตอนเชารางกายถึงแข็งตึง  สิ ่งเหลานี ้เปนแรงกระตุ นใหวาควรฝกหัตถโยคะทุกเชา  เพื ่อใหสารพื ้นฐานไดรับความช ุมช ื้นคืน ในระยะสั ้น  การเกยีจครานการฝกจะมีผลในระยะยาวและทาํ ใหรางกายไมกระฉับกระเฉง  เพื ่อประโยชนของสุขภาพท ่ีดี 

เราควรจะหมั ่นฝกฝนและเหยียดยืดสม่ ําเสมอ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 โดยสดใส 

“สิ ่งแทจริงท ่ีเยียวยารางกายของเรานั ้น หาใชยาไม หากแตคือความสามารถของรางกายเองตางหาก”

“หากเสนลมปราณเปนทางดวนของขอมลูขาวสารจริงอยางท ่ีเราสันนิษฐาน  ถาเชนนั ้น  กายวิภาคศาสตรอาจจะตกหลนสิ ่งสําคัญที ่สุดของรางกายไป”

“การแยกแยะวา  อาการไหนเปนอาการที ่เกิดจากโรคภัยไขเจ็บ  และ  อาการอยางไรเปนอาการท ่ีเกดิจากการทาํหนาท ่ีปกติของรางกาย เปนเร ่ืองท ่ีสําคัญมากเปนอยางยิ ่ง”

เม ่ือรู สึกไมสบายตัว 

เราควรที ่จะพิจารณาดูวาไดมีการพักผอนอยางดีพอในระยะเวลานี ้หรอืไม 

และรางกายกําลังทําการซอมแซมรักษาตนเองอยางไร  โดยไม ใชตั ้งธงสงสัยกอนวารางกายไดปวยแลว”จากหนังสือ เข็มทิศชีวิต  โดย อเล็กซ วู 

1008  17

Page 18: Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

8/8/2019 Yoga Saratta -Aug 2553 (Vol.1008)

http://slidepdf.com/reader/full/yoga-saratta-aug-2553-vol1008 18/18

ขอเชิญเพื ่อนคร ูโยคะรวมงาน มหกรรมสมุนไพรแหงชาติครั ้งท ่ี 7 วันท ่ี 1 – 5 กันยายน 2553 ณ อิมแพค เมอืงทองธานี สถาบันฯ รวมจัดอบรมโยคะ 4 หลักสูตร ตลอดทั ้ง 5 วัน รวม 10 คาบ  ใครที ่อยากเขารวมอบรมให ไปสมัครท ่ีกองกลาง ซึ ่งจะไดเอกสารประกอบงานดวย 

หัวขอการอบรม  วันท ่ี  ทัศนคติ วิถีชีวิต การปฏิบัติ 

 โยคะเพื ่อคนไฟแรง Flow

Yoga รวมนําคุณคนหาพลังอันยั ่งยืนท ่ี ใหคุณไดมากกวาคําวาแรง 

พุธท ่ี 1 ก.ย.

1700-1900 น 

รัฐธนันท พิริยะกลุชัย 

นําโยคะมาผสมผสานกับวิถีชีวิตของคนทํางานไฟแรง 

ประกอบดวยอาสนะพื ้นฐาน ชุดไหวพระอาทติย การหายใจดวยหนาทอง สมาธิ การผอนคลายอยางลึก 

ออฟฟศโยคะ Yoga for 

Office Syndrome นั ่งทํางานก็ฝกโยคะได! แลวทําไมยังบอกวาไมมีเวลา 

อาทิตย 5 กย.

1600-1800 น 

สมดลุย หมั ่นเพียรการ 

ศาสตรแหงการพึ ่งตนเอง ชวยพัฒนานิสัยท ่ีเอื ้อตอสุขภาพ ลดนิสัยที ่ ไมพึงประสงค ชวยใหเราเผชิญทกุอปุสรรคอยางมีสติ 

เชน จัดการอริยิาบถดวยอาสนะ ดูแลความเครียดดวยลมหายใจ ดูแลคนรอบขางดวยศีล และจัดระเบยีบการกินเสียใหม 

 โยคะและเทคนิคหายใจกับ

การเยียวยาผู ปวย 

Breathing with Yoga

พฤหัส 2 ก.ย.

1700–1900 น 

ธนวัชร เกตนวิมุต 

แมทางกายภาพจะไมสมบรูณ แตจิตใจและปญญา ยังพัฒนาได ไปจนถึงขั ้นสูงสุด 

คือคอย ๆ ถอดถอนจากผู เปนทุกข สู ผู เห็นทกุข   โดยใชการหายใจของโยคะชวย ใหผู ปวยหายใจชาลง การสันดาปลดลง คลื ่นสมองลดลง สรางความผอนคลาย 

สงบ สมดุลและเปนสมาธิซึ ่งเปนผลด ีในการเยียวยาผู ปวย 

 โยคะบําบัด บําบัดไดอยางไร Yoga Therapy

ศุกรท ่ี 3 ก.ย.

1400-1600

กวี คงภักดีพงษ 

การฝกทาโยคะก็ด ีการฝกลมหายใจแบบโยคะก็ด ีลวนสงผลด ีไปสู  จิต ซึ ่งโยคะถือวาเปนแกนของสุขภาพ  ไมเพียงเทานั ้น ผู ฝกโยคะยังไดสุขภาพกายท ่ีดเีปนผลพลอยไดอกีดวย 

 โยคะสมาธิกับการ ตระหนักในคุณคาเวลาของชีวิต Yoga & Elderly

ศุกรท ่ี 3 ก.ย.

1700-1900 น 

ธนวัชร เกตนวิมุต 

 โยคะใหความสําคัญกับความเช ื่อมรวมของกายและจิต  เราจะนาํจิตมาพิจารณาความเปนจรงิของชีวิต ทาํใหตระหนักรู  ในคุณคาเวลาของชีวิต ผานจังหวะของลมหายใจที ่เราคุ นชนิและอยู กับเรามาตั ้งแตวินาทีแรกที ่เราเกิด และจะอยู กับเราไปจนวินาทสุีดทายท ี่เราจะจากโลกนี ้ ไป 

 โยคะสมาธิเพื ่อ ความสุขสมดลุ และผอนคลาย 

Yoga Harmony and

Relaxation for Stress

เสารที ่ 4 ก.ย.

1700-1900 น 

ธนวัชร เกตนวิมุต 

ความเรงรีบ แขงขัน กอใหเกดิความเครียด ทําใหจิตตก ทอแท หาทางออกไมเจอ 

 โยคะเปนการปฏิบัติเพื ่อเขาสู สมาธิ ท ่ีเอื ้อตอสุขภาพ ทั ้ง สุขภาพกาย อารมณ สุขภาพจิต การเผชญิความเปนจริงของชีวิต และสุขภาพทางปญญา 

ดูแลหัวใจดวยโยคะ Yoga

for Your Heart โยคะท ่ีผู  ( ไมอยาก) ปวยโรคหัวใจ ตองร ู 

อาทิตย 5 กย.

1000-1200 น 

สมดลุย หมั ่นเพียรการ 

วทิยาการกาวเร็ว แคเรยีนร ูเทคโนโลยี ใหมๆ ก็แยแลว นับประสาอะไรกับการเรยีนร ู “ภายในตนเอง” เม ่ือไปไมทันกับสิ ่งนอกตัว จิตกถู็กทอดทิ ้ง  โรคภัยก็มาเยือน   โยคะคือองครวม Integration การฝกโยคะคือการฝกมสีติ มคีวามสมดุล มีจิตอิสระจากการปรงุแตง ทําใหจิตรับรู สิ ่งตางๆความเปนจริง 

 โยคะท ่ีบาน Yoga at

homeเสารที ่ 4 ก.ย.

1000-1200 น 

พิมพชนา หิรัญบวรทิพย 

สําหรับครอบครัวยุคใหมที ่มีเวลาจํากัด มาสรางชวงเวลาแหงคุณภาพ ที ่สมาชิกมีความสุข มีความสัมพันธแนนแฟน และเกิดประโยชนทั ้งรางกายและจิตใจ เราสามารถนําโยคะมาประยุกต ฝกปฏิบัติภายในบานของเรากับสมาชิกในครอบครัวของเราได สรางชั ่วโมงพักผอนของครอบครัว นิทานกอนหนนูอน และการสวดมนตของคุณพอคุณแม รดน้ ําเมล็ดพันธุ แหงสตแิละสมาธิ ใหกับทุกคน 

 โยคะในทุกๆ ที ่ Yoga

Everywhere

4 ก.ย. 1400-

1600 น พิมพชนา หิรัญบวรทิพย 

เทคนิคโยคะงายๆ ตั ้งแตตื ่นนอน เดนิทาง  ในท ่ีทํางาน ตอนกนิขาว จนเขานอน 

 ไดแก นอนฝกหายใจ สมาธิ ในรถไฟฟา นั ่งทํางานไปฝกทาโยคะไป กนิแบบโยคะ 

 โยคะกับธรรมชาติของเด็ก 

Yoga for Children

อาทิตย 5 กย.

1300-1500 น 

ภัทราพร นิยม ไทย 

เดก็เรยีนร ูทุกอยาง ผานทุกๆ สิ ่ง  โยคะชวยใหเดก็เรยีนร ูผานทาอาสนะ การยืดตัว การผอนคลาย ผานการหายใจ การใชประสาทสัมผัส และผานนิทานท ่ีสอดแทรกจรยิธรรม เปนกระบวนการเรยีนร ูที ่สนุก สงบ ทาทาย และ สดชื ่นไปพรอมๆ กัน  โดยไมมกีฎตายตัว 

1008 18