20
บทความเรื่อง การศึกษาแนวคิดและจัดทากรอบแนวคิดการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบัติการบินของระบบอากาศยานไร้คนขับของประเทศไทย (The Study of Unmanned Aircraft System Concept of Operation for implementation in Thailand)

(The Study of Unmanned Aircraft System Concept of

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

บทความเรื่องการศึกษาแนวคิดและจัดท ากรอบแนวคดิการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการบินของระบบอากาศยานไร้คนขับของประเทศไทย(The Study of Unmanned Aircraft System Concept of Operation for implementation in Thailand)

เพื่อศึกษากรอบแนวคิดการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการบินของระบบอากาศยานไร้คนขับของประเทศหรือกลุ่มประเทศที่มีแนวทางปฏิบัติที่ดี

เพื่อศึกษากรอบแนวคิดการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการบินของระบบอากาศยานไร้คนขับของประเทศไทยในปัจจุบัน

เพื่อเสนอกรอบแนวคิดการด าเนินงานท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการบินของระบบอากาศยานไร้คนขับทีเ่หมาะสมส าหรับประเทศไทย

Objective

Scope of Work

1) การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

(Rules to Apply for Permission and Condition to Control and Launch Unmanned Aircraft System)

2) การศึกษาการจัดการจราจรระบบอากาศยานไร้คนขับ (UAS Traffic Management)

USA AUSTRALIAEUROPE SINGAPORE THAILAND

การศึกษาแนวคิดและจัดท ากรอบแนวคิดการด าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการบินของระบบอากาศยานไร้คนขับของประเทศไทย

1) การให้บริการ

2) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

3) ระบบที่พึงมีที่เข้าร่วมการด าเนินงานการ

จัดการของระบบอากาศยานไร้คนขับ

1. การแบ่งประเภทของการปฏิบัติการบิน

2. ข้อก าหนดระบบอากาศยานไร้คนขับ และ

การข้ึนทะเบียนของระบบอากาศยาน

3. ข้อก าหนดการปฏิบัตกิารบนิ

4. ข้อก าหนดการด าเนินงานบนหว้งอากาศ

5. ข้อก าหนดผู้ควบคุมการบินภายนอกอากาศยาน

6. ข้อก าหนดผู้ประกอบระบบอากาศยานไร้คนขับ

การศึกษาการจัดการจราจรระบบอากาศยานไร้คนขับ

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

1) การแบ่งประเภทของการปฏิบัติการบิน

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

ประเภทของการปฏิบัติการบิน

ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป สิงคโปร์ ออสเตรเลีย

แบ่งประเภทตามการด าเนินงานของอากาศ

ยาน

แบ่งประเภทตามการด าเนินงานของอากาศ

ยาน

แบ่งประเภทตามระดับความเสี่ยง

แบ่งประเภทตามการด าเนินงานของอากาศ

ยาน

แบ่งประเภทตามการด าเนินงานของ

อากาศยาน

1) การแบ่งประเภทของการปฏิบัติการบิน

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

ประเภทที่ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการเล่นเปน็งานอดิเรก เพื่อความบันเทิง หรือเพื่อการกีฬา มีการแบ่งน าหนักออกเป็น 2 ประเภทดังนี - อากาศยานที่ควบคุมการบินจากภายนอกที่มีน าหนักไม่เกิน 2 กิโลกรัม ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในการเล่นเป็นงานอดิเรก (Hobby) ความบันเทิง (Recreation) หรือ

เพื่อการกีฬา (Sport)- น าหนักไม่เกิน 2 กิโลกรัมแต่ติดตั งชุดอุปกรณ์การถ่ายภาพ การบันทึกภาพและเสียง หรือน้ าหนักเกิน 2 กิโลกรัม แต่ไม่เกิน 25 กิโลกรัม

โดยใช้เพื่อวัตถุประสงค์เพื่อเลน่เป็นงานอดิเรก (Hobby) เพื่อความบันเทิง (Recreation) หรือเพื่อการกีฬา (Sport)

ประเภทที่ใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่นนอกจากวัตถุประสงค์ในการเล่นเป็นงานอดิเรก เพื่อความบันเทิง หรือเพื่อการกีฬา น้ าหนักไม่เกิน 25 กิโลกรัม ดังนี

- เพื่อการรายงานเหตุการณ์หรือรายงานการจราจร (สื่อมวลชน)- เพื่อการถ่ายภาพ การถ่ายท าหรือการแสดงในภาพยนตร์หรือรายการโทรทัศน์- เพื่อการวิจัยและพัฒนาอากาศยาน- เพื่อการอื่น ๆ

น าหนักเกินมากกว่า 25 กิโลกรัมจะเป็นกรณีที่ยื่นเรื่องขออนุญาตจะต้องยื่นเรื่องพิจารณากับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นรายกรณีไป

2 ) ข้อก าหนดระบบอากาศยานไร้คนขับและการขึ้นทะเบียนของระบบอากาศยาน

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

ข้อก าหนดระบบอากาศยานไร้คนขับและการขึ้นทะเบียนของ

ระบบอากาศยาน

ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป สิงคโปร์ ออสเตรเลีย

≥ 2 กิโลกรัม หรือ

มีการติดตั้งกล้อง≥0.25 kg. ≥0.25 kg. ≥0.25 kg. ≥0.25 kg

2 ) ข้อก าหนดระบบอากาศยานไร้คนขับและการขึ้นทะเบียนของระบบอากาศยาน

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

ขั นตอนการขึ นทะเบียนผู้บังคับหรือปล่อยอากาศยานโดรน

Source: https://uav.caat.or.th/

3) ข้อก าหนดการปฏิบัติการบิน

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

ระดับเพดานความสูง

ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป สิงคโปร์ ออสเตรเลีย

300 ฟุต AGL 400 ฟุต AGL

Open Category400 ฟุต AGL

กิจกรรมนันทนาการหรือการวิจัย200 ฟุต MSL

การด าเนินงานนันทนาการ/เชิงพาณิชย์/เชิงพาณิชย์ใน

พื นที่ของตน น าหนัก ≤ 2 kg 400 ฟุต AGL

Special Category ไม่ได้ก าหนดระดับความสูง

นอกเหนือจากกิจกรรมนันทนาการหรือการ

วิจัยไม่ได้ก าหนดระดับความสูงไว้อย่างชัดเจน

การด าเนินงานเชิงพาณิชย์ >2 กิโลกรัม

ไม่ก าหนดระดับความสูงไว้ชัดเจน

3) ข้อก าหนดการปฏิบัติการบิน

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

Airspace classes as illustrated

Operations by altitudes

(Source: FAA’s Aviation handbook, 2016)

(Source : Global UTM Association)

4) ข้อก าหนดการด าเนินงานบนห้วงอากาศ

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

การด าเนินงานบนห้วงอากาศ

ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ ออสเตรเลีย

รัศมีระยะ > 9 กิโลเมตร จากสนามบิน

รัศมีระยะ > 8 กิโลเมตร จากสนามบิน

รัศมีระยะ > 5 กิโลเมตรจากสนามบิน

รัศมีระยะ > 5.5 กิโลเมตรจากสนามบิน

4) ข้อก าหนดการด าเนินงานบนห้วงอากาศ

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

Permitted areas for flying UA in Singapore

(Source: CAAS, 2017)

4) ข้อก าหนดการด าเนินงานบนห้วงอากาศ

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

AIP -Thailand พื นที่ห้ามท าการบินภายในกรุงเทพมหานคร

4) ข้อก าหนดการด าเนินงานบนห้วงอากาศ

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

Application Can I fly there? (Source: itunes.apple.com/app/can-i-fly-there, 2018)

5) ข้อก าหนดผู้ควบคุมการบินภายนอกอากาศยาน

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

ผู้ควบคุมการบินอยู่ภายนอกอากาศยาน

ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย

การข้ึนทะเบียนผู้บังคับโดรน

การด าเนินงานเชิงพาณิชย์ หรือนอกเหนือจาก FAA Standard Operating Condition • Knowledge Test at

an FAA-approved Knowledge Testing Center.

• Remote Pilot Certificate

กรณีน้ าหนัก >900 g.• Online Training • Online Test การด าเนินงานเชิงพาณิชย์ที่มีน้ าหนัก

> 2 kg. หรือ Outside the drone safety rules• Training through a certified

training provider• Remote pilot licence

กรณีน้ าหนักมากกว่า > 4 kg. • + Theoretical Test in a

Centre Recognized by Aviation Authority

6) ข้อก าหนดข้อก าหนดผู้ประกอบการระบบอากาศยานไร้คนขับ

การศึกษาหลักเกณฑ์การขออนุญาตและเงื่อนไขในการปฏิบัติการบินระบบอากาศยานไร้คนขับ

ผู้ประกอบการระบบอากาศยานไร้คนขับ

สิงคโปร์ ออสเตรเลีย

กิจกรรมนันทนาการที่มีน้ าหนัก > 7 kg หรือกิจกรรมเชิงพาณิชย์• Operator Permit • Class 1 Activity Permit

RPA Operator’s Certificate• Employ Remote pilot licence• RPAS operations manual

The State-related with ICAO UTM Framework

การศึกษาการจัดการจราจรระบบอากาศยานไร้คนขับ (UAS Traffic Management)

Source: https://www.icao.int/safety/UA/Documents/UTM-Framework.en.alltext.pdf

Different Countries, Similar Approaches

การศึกษาการจัดการจราจรระบบอากาศยานไร้คนขับ (UAS Traffic Management)

UNITED STATES- UTM (NASA) EUROPE — U-SPACE (SESAR)

In NASA’s model, private Unmanned Air-craft Systems Service Suppliers (USS) arecertified by the Federal Aviation Administra-tion (FAA). Each one takes responsibility forexchanging data and coordinating with theothers. Data needed for coordination withthe ATM system passes through an informa-tion exchange called System Wide Infor-mation Management (SWIM), which is runby the FAA and stores information such asflight plans. At the same time the FAA alsoruns the Flight Information ManagementSystem (FIMS) that coordinates betweenUSS providers, traditional air traffic man-agement, and the national airspace system.

Key functions are provided by U-spaceService Providers (USP) which may be required to exchange certain information and coordinate through a SWIM system. They may also communicate with a U-space system manager—similar to the Single European Sky’s current network manager. This acts as a centralized coordinator in a manner much like NASA’s FIMS, as well as manages traffic. Other providers are responsible for non–safety–critical services, as well as data on weather and terrain.

Source: Airbus_UTM_Blueprint

Unmanned Aircraft System Traffic Management Services

การศึกษาการจัดการจราจรระบบอากาศยานไร้คนขับ (UAS Traffic Management)

REGISTRATION, IDENTIFICATION AND TRACKINGเพื่อสามารถระบุและติดตามอากาศยานไรค้นขับแต่ละลาได้ในเวลาปฏิบัติการบิน รวมถึงระบุ

เจ้าของหรือผู้ปฏิบัติการบินและสถานีบังคับอากาศยานระยะไกล

COMMUNICATIONS SYSTEMSเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการชนระหว่างอากาศยานไรค้นขับและมีคนขับ รวมถึงสิ่งกีดขวางอื่นๆ

GEOFENCING-LIKE SYSTEMSการจ ากัดพื นที่ไม่ให้อากาศยานไรค้นขับเข้าไปในเขตห้าม เขตจากัด เขตอันตราย โดยระบบจะ

สามารถปรับข้อมูลให้เป็นข้อมูลลา่สดุได้อัตโนมัติ

THANK YOU