10
PMP8- 1 ชุดลักษณหินของหินคารบอเนต ในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลําภูและพื้นที่ใกลเคียง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย Lithofacies of Carbonate Rocks in Changwat Nong Bua Lumphu and Adjacent Areas, Northeastern Thailand ณัฐพงษ ฐานเจริญ (Nuttapong Thancharoen)* ณัฐวิโจน ศิลารัตน (Natthawiroj Silaratana)** นุศรา สุระโคตร (Nussara Surakotra)** บทคัดยอ การศึกษาและจําแนกชุดลักษณหินของหินคารบอเนตในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลําภู และพื้นที่ใกลเคียง อาศัย การศึกษาทางดานศิลาวิทยา (Petrology) และศิลาวรรณนา (Petrography) สามารถจําแนกชุดลักษณหินตามลักษณะ ปรากฏยอยได 8 ชนิด ไดแก ไบโอมิไครตชนิดสปารซ ไบโอสแปไรตชนิดพุรลี -วอช ดิสมิไครต หินปูนเนื้อผลึกแรแคล ไซต หินแคลซิติกโดโลไมต หินโดโลไมต หินออน และหินปูนเนื้อซิลิกา ลักษณะปรากฏเหลานีแสดงถึงสภาวะการ สะสมของตะกอนคารบอเนตตั้งแตบริเวณไหลคารบอเนต (Carbonate Shelf) จนถึงบริเวณใกลชายฝงระดับตื้น หรือ บริเวณสมุทรระดับตื้นจํากัดตัวชั้นใน (Restricted Platform Interior) ที่ไดรับอิทธิพลจากคลื่นทะเลและระดับน้ําขึ้น-น้ํา ลง ABSTRACT The lithofacies studies and classifications of carbonate rocks in Changwat Nong Bua Lumphu and adjacent areas of Northeastern Thailand are base on petrological and petrographical study. Lithofacies of carbonate rocks can be classified into 8 microfacies; sparse biomicrite, poorly-washed biosparite, dismicrite, crystalline limestone, calcitic dolomite, dolomite, marble and silicified limestone. These microfacies were deposited in carbonate shelf to restricted platform interior zone which preferably influence by the wave and the tide. คําสําคัญ : หินคารบอเนต ชุดลักษณหิน ลักษณะปรากฏยอย Key Words : Carbonate Rocks, Lithofacies, Microfacies * นักศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน ** ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน 491

PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 1 ชุดลักษณหินของหินคารบอเนต ในพื้นท่ีจังหวัดหนองบัวลําภูและพืน้ท่ีใกลเคียง

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย Lithofacies of Carbonate Rocks in Changwat Nong Bua Lumphu and Adjacent Areas,

Northeastern Thailand

ณัฐพงษ ฐานเจริญ (Nuttapong Thancharoen)* ณัฐวิโจน ศิลารัตน (Natthawiroj Silaratana)** นุศรา สุระโคตร (Nussara Surakotra)**

บทคัดยอ การศึกษาและจําแนกชุดลักษณหินของหินคารบอเนตในพื้นที่จังหวัดหนองบัวลําภู และพื้นที่ใกลเคียง อาศัย

การศึกษาทางดานศิลาวิทยา (Petrology) และศิลาวรรณนา (Petrography) สามารถจําแนกชุดลักษณหินตามลักษณะปรากฏยอยได 8 ชนิด ไดแก ไบโอมิไครตชนิดสปารซ ไบโอสแปไรตชนิดพุรลี-วอช ดิสมิไครต หินปูนเน้ือผลึกแรแคลไซต หินแคลซิติกโดโลไมต หินโดโลไมต หินออน และหินปูนเน้ือซิลิกา ลักษณะปรากฏเหลาน้ี แสดงถึงสภาวะการสะสมของตะกอนคารบอเนตต้ังแตบริเวณไหลคารบอเนต (Carbonate Shelf) จนถึงบริเวณใกลชายฝงระดับต้ืน หรือบริเวณสมุทรระดับต้ืนจํากัดตัวช้ันใน (Restricted Platform Interior) ที่ไดรับอิทธิพลจากคล่ืนทะเลและระดับนํ้าขึ้น-นํ้าลง

ABSTRACT The lithofacies studies and classifications of carbonate rocks in Changwat Nong Bua Lumphu and adjacent areas of Northeastern Thailand are base on petrological and petrographical study. Lithofacies of carbonate rocks can be classified into 8 microfacies; sparse biomicrite, poorly-washed biosparite, dismicrite, crystalline limestone, calcitic dolomite, dolomite, marble and silicified limestone. These microfacies were deposited in carbonate shelf to restricted platform interior zone which preferably influence by the wave and the tide.

คําสําคัญ : หินคารบอเนต ชุดลักษณหิน ลักษณะปรากฏยอย Key Words : Carbonate Rocks, Lithofacies, Microfacies

* นักศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวทิยาลัยขอนแกน ** ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน

491

Page 2: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 2

บทนํา หินปูนหรือหินคารบอเนต (Carbonate Rock)

นับวาเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจสูง สามารถใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมหลายอยาง เชน อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมกอสราง และอุตสาหกรรมเคมี เปนตน นอกจากน้ีหินคารบอเนตยังมีความสําคัญในแงของแหลงแร และแหลงปโตรเลียม ในบางพ้ืนที่พบหินคารบอเนตเปนหินเหยา (Host Rock) ของสินแรและจัดเปนแหลงแรที่สําคัญอีกประเภทหน่ึง นอกจากน้ียังเปนหินตนกําเนิด (Source Rock) และเปนหินกักเก็บปโตรเลียม (Reservoir Rock) การนําทรัพยากรธรรมชาติแหลงหินประเภทน้ีมาใชประโยชน ยังไมคุมคาในทางเศรษฐกิจมากนัก จึงเปนจุดเริ่มแนวความคิดในการศึกษาวิจัยเพื่อการอนุรักษ และพัฒนาทรัพยากรแหลงหิน ใหมีประโยชนอยางสูงสุดตามหลักวิชาการ การศึกษาครั้ง น้ี เนนการศึกษาหินคารบอเนต ธรณีวิทยาของหินคารบอเนต ซึ่งจะเปนประโยชนในดานการจัดการใชทรัพยากรชนิดน้ีตอไป

วัตถุประสงคการศึกษา การศึกษานี้ เปนเพียงสวนหน่ึงของการศึกษารายละเอียดทางดานตะกอนวิทยาและกระบวนการกอตัวใหมของหินคารบอเนต ซึ่งการศึกษาน้ีจะมุงเนนการศึกษาศิลาวิทยา (Petrology) และศิลาวรรณนา (Petrography) ของหิน เพ่ือแบงและจําแนกชุดลักษณหินของหินคารบอเนตที่กระจายอยูในพ้ืนที่จังหวัดหนองบัวลําภูและพื้นที่ใกลเคียง

พื้นท่ีศึกษา พ้ืนที่ ศึ กษา ต้ั งอ ยู ทางตะ วันตกของจั งห วัดหนองบัวลําภู และจังหวัดเลยบางสวน โดยอยูในเขตพ้ืนที่อําเภอเอราวัณ อําเภอนาวัง และอําเภอนากลาง ครอบคลุมพ้ืนที่ศึกษาประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิสัณฐานวิทยาในพ้ืนที่ศึกษาและพ้ืนที่

ใกลเคียงเปนภูเขายอดแหลม ทั้งที่เปนเทือกเขาแนวยาว และภูเขาลูกโดด ซึ่งสวนใหญแสดงลักษณะภูมิประเทศแบบคาสต (Karst Topography) ความสูงของยอดเขาประมาณ 620 ถึง 660 เมตร จากระดับนํ้าทะเล การเขาถึงพ้ืนที่ศึกษาสามารถใชเสนทางหลวงหมายเลข 210 (วังสะพุง-อุดรธานี) (ภาพที่ 1) และแยกเขาพ้ืนที่ศึกษายอย พ้ืนที่ศึกษาแบงออกเปนพ้ืนที่ศึกษายอยได 4 พ้ืนที่ยอย ไดแก พ้ืนที่ศึกษายอยถํ้าเอราวัณ (หมายเลข 1) พ้ืนที่ศึกษายอยภูผาผีถอน (หมายเลข 2) พ้ืนที่ศึกษายอยภูเหล็ก (หมายเลข 3) และพ้ืนที่ศึกษายอยวัดพุทธบรรพต (หมายเลข 4) เขตพ้ืนที่ศึกษายอยทั้ง 4 พ้ืนที่แสดงในแผนที่ ลักษณะภูมิประ เทศ มาตราสวน 1:50,000 ของกรมแผนที่ทหาร (2542) ภาพท่ี 1

ธรณีวิทยาท่ัวไป หินปูนหรือหินคารบอเนตพบกระจายทั่วไปในประเทศไทย โดยสวนใหญเปนหินในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนบน โดยเฉพาะในยุคเพอรเมียน และกลุมหินสระบุรีจัดเปนหินปูนหรือหินคารบอเนตยุคเพอรเมียน ที่กระจายตัวอยูขอบทางดานตะวันตกของท่ีราบสูงโคราช (Khorat Plateau) เปนแนวยาวตอเน่ือง จากจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลําภู ลงมาจนถึงจังหวัดขอนแกน กลุมหินตะกอนคารบอเนตที่พบในพ้ืนที่ศึกษาและพ้ืนที่ใกลเคียง เปนกลุมหินมหายุคพาลีโอโซ-อิกตอนบน มีการสะสมตัวในชวงต้ังแตยุคคารบอนิ-เฟอรัสตอนบนตอเน่ืองมาจนถึงยุคเพอรเมียนตอนกลาง มีซากดึกดําบรรพจํานวนมาก ไดแก แบรคิโอพอด ฟูซู-ลินิด สาหราย และปะการัง เปนตน โดยพบวากลุมหินน้ีมีการกระจายตัวเปนแนวเขาทางดานตะวันตก และพบเปนเขาลูกเล็ก ๆ กระจายอยูทางตอนใตของพ้ืนที่ศึกษา(ภาพท่ี 1 และ 2) กลุมหินดังกลาวประกอบดวย 3 หมวดหิน คือ หมวดหินนํ้ามโหฬาร (Nam Maholan Forma-tion) หมวดหินอีเลิศ (E-Lert Formation) และหมวดหินผาเด่ือ (Pha Dua Formation) โดยหมวดหินนํ้ามโหฬารประกอบ ดวยหินปูนเปนสวนใหญ สวนหมวดหินอีเลิศ

492

Page 3: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 3

ภาพท่ี 1 แผนที่แสดงลักษณะภูมิประเทศและเสนทางคมนาคม การเขาถึงพ้ืนที่ศึกษา (ดัดแปลงจาก กรมแผนที่ทหาร, 2542)

ภาพท่ี 2 แผนที่ธรณีวิทยาแสดงการกระจายตัวของหินในบริเวณพ้ืนที่ศึกษา และพื้นที่ใกลเคียง (ดัดแปลงจาก กรมทรัพยากรธรณี, 2547)

1

2 3

4

820000 840000

1940

000

1920

000

1900

000

Trhl Pnm Ppn

C1 C1-2

C2 DC SD

Qa

Trgr

Trv

ตะกอนน้ําพา หมวดหินหวยหนิลาด ยุคไทรแอสซิก

หมวดหินน้าํมโหฬาร ยุคเพอรเมียน หมวดหินผานกเคา ยุคเพอรเมียน

หมวดหินวังสะพงุ ยุคคารบอนิเฟอรัส

หมวดหินปากชม ยุคไซลูเรียน-ดีโวเนียน

หินแกรนิต ยุคไทรแอสซิก หินอัคนีภูเขาไฟ ยุคไทรแอสซิก

สัญลักษณ

พื้นท่ีศึกษา

2 กิโลเมตร 2

1

493

Page 4: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 4 ประกอบดวย หินดินดาน หินเชิรต และเลนสขนาดใหญของหินปูน และหมวดหินผาเ ด่ือ ประกอบ ดวย หินดินดาน หินทราย และเศษหินภูเขาไฟ มีซากดึกดําบรรพของ พืชโบราณมีอายุ อยู ในยุ ค เพอร เมี ยนตอนกลางสวนบน (อดุลย และธนิศร, 2519)

วิธีการศึกษา การศึกษาหินคารบอเนตในพื้นที่จังหวัดหนองบัว-ลําภูและพื้นที่ใกลเคียง ไดแบงวิธีการศึกษาออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก การศึกษาภาคสนาม และการศึกษาขั้นรายละเอียด การศึกษาภาคสนาม เปนการสํารวจเพ่ือดูสภาพโดยท่ัวไปและขอบเขตพ้ืนที่ศึกษาโดยรอบ และเก็บตัวอยางเปนตัวแทนของหินในแตละจุด มาศึกษารายละเอียดดานศิลาวิทยาและศิลาวรรณนาของหิน สวนการศึกษาขั้นรายละเอียดเปนการศึกษาทางศิลาวิทยาและศิลาวรรณนาทั่วไปของหิน (General Litholo-gy) ไดแก ลักษณะเน้ือหิน แรองคประกอบ การกระจาย ตัวและการเรียงตัวของเม็ดแร ซากบรรพชีวิน รวมถึงโครงสรางขนาดเล็ก (Microstructures) ซึ่งจะศึกษาจากแผนหินบาง (Thin Section) ผานกลองจุลทรรศนชนิดแสงสองผาน (Polarized Light Microscope) และกลองจุลทรรศนชนิดแสงสะทอนและปรับกําลังขยายได (Bi-nocular Microscope with Reflected Light) การศึกษาน้ีจะศึกษาที่หองปฏิบัติการหินและแร ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแกน

ผลการศึกษา การศึกษาชุดลักษณหินของหินคารบอเนตและเพ่ือใหขอมูลมีความนาเช่ือถือและถูกตอง จําเปนตองศึกษาขั้นรายละเอียดโดยอาศัยหลักการและทฤษฎีการจําแนกหินคารบอเนตของ Folk (1962) (ภาพท่ี 3) หินคารบอเนตในพ้ืนที่จังหวัดหนองบัวลําภู และพื้นที่ใกลเคียง สามารถจําแนกชุดลักษณหินตามลักษณะ

ปรากฏยอยได 8 ชนิด ไดแก ไบโอมิไครตชนิดสปารซ (Sparse Biomicrite) ไบโอสแปไรตชนิดพุรลี-วอช (Poorly-Washed Biosparite) ดิสมิไครต (Dismicrite) หินปูนเน้ือผลึกแรแคลไซต (Crystalline Limestone) หินแคลซิติกโดโลไมต (Calcitic Dolomite) หินโดโลไมต (Dolomite) หินออน (Marble) และหินปูนเน้ือซิลิกา (Silicified Limestone) ลักษณะปรากฏยอยชนิดท่ี 1 ไบโอมิไครตชนิด สปารซ (ภาพท่ี 4 ก และ ข) เปนลักษณะปรากฏยอยในหินคารบอเนตที่มีองคประกอบเปนเศษสิ่ งมี ชี วิต (Bioclast) มากกวารอยละ 40 ถูกตรึงเอาไวดวยฝุนคารบอเนต (Micritic Matrix) มากกวาสารเช่ือมประสานแคลไซต (Sparry Calcite Cement) ซากสิ่งมีชีวิตประกอบดวย ฟูซูลินิด แกสโทรพอด ไบโอซัว แบรคิ โอพอด สาหร าย และไครนอยด เปนตน นอกจากนี้ยังมีกลุมมวลรวมคารบอเนต (Allochem) ชนิดอื่นประมาณรอยละ 5 สะสมตัวดวย ไดแก เม็ดกลมเล็ก (Pelloid) เม็ดแบบเม็ดไขปลา (Ooid) และอินทราคราสต (Intraclast) หินปูนที่เน้ือหินมีฝุนคารบอเนตเปนสวนประกอบหลัก น่ันแสดงถึงสภาวะแวดลอมการสะสมตัวของตะกอนในบริเวณที่มีระดับพลังงานตํ่า นอกจากนี้ยังพบซากสิ่งมีชีวิตหลายหลากชนิด แสดงถึงสภาวะแวดลอมการสะสมตัวบริเวณไหลคารบอเนต (Carbonate Shelf) และการพบเศษสาหราย บงช้ีถึงบริเวณใกลชายฝงระดับต่ืน ลักษณะปรากฏยอยชนิดท่ี 2 ไบโอสแปไรตชนิดพุรลี-วอช (ภาพที่ 5 ก และ ข) ลักษณะปรากฏยอยชนิดน้ีมีมวลรวมคารบอเนตชนิดมีโครงรางของสิ่งมีชีวิตมากกวามวลรวมคารบอเนตชนิดอื่น ๆ โดยมีประมาณรอยละ 20-30 ถูกตรึงไวในเน้ือพ้ืนสแปรี่แคลไซต ที่มีฝุนคารบอเนตเพียงเล็กนอยซากสิ่งมีชีวิต ไดแก ฟูซูลินิด ไบโอซัว แกสโทรพอด ไครนอยด และสาหราย เปนตน การพบซากสิ่งมีชีวิตหลากหลายเปนการบงช้ีถึงสภาวะแวดลอมการสะสมตัวในบริเวณไหลคารบอเนต และในเน้ือหินมีสแปร่ีแคลไซตเปนสารเช่ือมประสานน่ัน แสดงวาตะกอนคารบอเนตมีการสะสมตัวใน

494

Page 5: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 5 สภาพแวดลอมบริเวณที่มีระดับพลังงานสูง เชน บริเวณเหนือฐานคล่ืน (Over Wave Base) ลักษณะปรากฏยอยชนิดท่ี 3 ดิสมิไครต (ภาพที่ 6 ก และ ข) เปนลักษณะของเน้ือหินปูนที่มีเน้ือพ้ืนเกือบ ทั้งหมดเปนเน้ือฝุนคารบอเนต และมีกลุมมวลรวมคารบอเนตเปนองคประกอบนอยกวารอยละ 5 ซึ่งประกอบดวย ซากสิ่งมีชีวิตพวกแบรคิโอพอด และสาหราย และยังมีเม็ดกลมเล็กที่ถูกแทนที่ดวยแรแคลไซต ขนาดของเม็ดกลมเล็กมีต้ังแต 0.06 – 0.1 มิลลิเมตร

หินปูนที่มีเน้ือหินเปนเน้ือฝุนคารบอเนตน้ี มักเกิดในสภาพแวดลอมบริ เ วณสมุทร ต้ืนจํ า กัด ตัว ช้ันใน (Restricted Platform Interior) มีลักษณะเปนที่ลุมนํ้าขึ้นถึง (Tidal Flat) ลักษณะปรากฏยอยชนิดท่ี 4 หินปูนเน้ือผลึกแรแคลไซต (ภาพที่ 7 ก และ ข) เปนลักษณะของเนื้อหินปูนที่มากไปดวยผลึกแรแคลไซต ขนาดต้ังแตเล็กละเอียดจนถึงหยาบ (Microcrystalline to Mesocrystal-line) เน้ือฝุนคารบอเนต (Matrix) แสดงลักษณะสปาร

ภาพท่ี 3 ประเภทและการจําแนกหินคารบอเนต โดย Folk (ดัดแปลงจาก Folk, 1962)

Micrite มิไครต

Fossiliferous Micrite

มิไครตชนิดซากดึกดําบรรพ

Sparse Micrite มิไครต

ชนิดสปารซ

Packed Micrite

มิไครตชนิดแพค

Poorly-Washed Sparite

สแปไรตชนิดคัดชนิดไมด ี

Unsorted Sparite สแปไรตชนิดไมคัด

Sorted Sparite สแปไรตชนิดคัด

Rounded Sparite สแปไรตชนิดมน

Lime Mud Matrix: ฝุนคารบอเนต Sparry Calcite Cement: สารเช่ือมประสานสแปร่ี

Over 2/3 Lime Mud Matrix Over 2/3 Spar Cement

0-1% 0-10% 10-50% Over 50%

Subequal Spar &

Lime MudSorting

Poor Sorting Good

Rounded & Abraded

ภาพท่ี 4 ลักษณะปรากฏยอยชนิดไบโอมิไครตชนิดสปารซ (ก) ซากสิ่งมีชีวิตถูกตรึงดวยฝุนคารบอเนต (ข) Pseudo- fusunila sp.(F) และฟอแรมินิเฟอรา

F

1 mm 1 mm

ก ข

495

Page 6: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 6

ภาพท่ี 7 ลักษณะปรากฏยอยชนิดหินปูนเน้ือผลึกแรแคลไซต (ก) และ (ข)

1 mm 1 mm

ก ข

ภาพท่ี 6 ลักษณะปรากฏยอยชนิดดิสมิไครต (ก) และ (ข) Chalcedonic Quartz (Q) แทรกจะถูกตรึงในฝุน

คารบอเนต

Q

1 mm 1 mm

ก ข

ภาพท่ี 5 ลักษณะปรากฏยอยชนิดไบโอสแปไรตชนิดคัดชนิดไมดี (ก) Neofusulinella sp. (N) ถูกตรึงดวย สารเช่ือมประสานสแปรี่แคลไซต (ข) Eoschubertella sp. (E) และฟอแรมินิเฟอรา

N E

1 mm 1 mm

ก ข

496

Page 7: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 7 เทียม (Pseudospar) หรือสปารขนาดเล็ก (Microspar) ผลึกแรแคลไซตที่ปรากฏสวนใหญเปนผลมาจากการกอตัวใหม (Diagenesis) หรือการตกผลึกแรใหม (Neomorphism) ลักษณะปรากฏยอยชนิดท่ี 5 หินแคลซิติกโดโลไมต (ภาพท่ี 8 ก และ ข) เปนลักษณะปรากฏในหินคารบอ-เนตที่มีผลึกแรโดโลไมต และแรแคลไซตประมาณรอยละ 70 และ 30 ของผลึกแรทั้งหมด ตามลําดับ ผลึกโดโรไมตมีขนาดใหญ (Mesocrystalline) ลักษณะรูปผลึกมีต้ังแตก่ึงผลึกสมบูรณ (Subhedral Crystal) จนถึงผลึกไมสมบูรณ (Anhedral Crystal) ในบางบริเวณพบก า ร เ ช่ื อ ม กั น แบบหล ว ม ( Loosely-Interlocking Network) ของผลึกสมบูรณของแรโดโลไมต และผลึกขนาดหยาบของแรแคลไซต (Adam et al., 1984) โครงสรางของซากดึกดําบรรพโดยสวนใหญถูกแทนที่ดวยแรแคลไซตและแรโดโลไมต แรโดโลไมตที่พบเปนแรโดโลไมตทุติยภูมิ (Secondary Dolomite) ซึ่งเปนผลจากการกอตัวใหม (Diagenesis) ลักษณะปรากฏยอยชนิดท่ี 6 หินโดโลไมต (ภาพที่ 9 ก และ ข) เปนลักษณะปรากฏในหินคารบอเนตที่มีผลึกแรโดโลไมตมากกวารอยละ 95 ผลึกโดโรไมตมีขนาดปานกลางถึงหยาบ (Medium to Coarsely Crystalline) ลักษณะรูปผลึกมีต้ังแตก่ึงผลึกสมบูรณ (Subhedral Crystal) จนถึงผลึกไมสมบูรณ (Anhedral Crystal) ในบางบริเวณพบการเชื่อมกันแบบหลวม (Loosely-Interlocking Network) ของผลึกสมบูรณของแรโดโลไมต และผลึกไมสมบูรณขนาดหยาบของแรแคลไซต (Adam et al., 1984) โครงสรางของซากดึกดําบรรพโดยสวนใหญถูกแทนที่ดวยแรแคลไซตและแรโดโลไมต แรโดโลไมตที่พบเปนแรโดโลไมตทุติยภูมิ (Secondary Dolomite) ซึ่งเปนผลจากการกอตัวใหม (Diagenesis) หรือการเกิดแรโดโลไมต (Dolomitization) ลักษณะปรากฏยอยชนิดท่ี 7 หินออน (ภาพที่ 10 ก และ ข) ลักษณะปรากฏยอยน้ีเปนลักษณะของหินคารบอเนตที่ถูกแปรสภาพ แรที่พบเปนแรแคลไซตที่มี

ขนาดผลึกหยาบ (Mesocrystalline) ผลึกแคลไซตสวนใหญเปนผลจากการเกิดผลึกใหม (Recrystallization) พบลักษณะการเช่ือมติดกันของผลึกแรแบบชิด (Close Boundary) และแนวฟนในหิน (Stylolite) ซึ่งเปนผลจากการละลายจากแรงแรงดัน (Pressure Solution) (Adam et al., 1984) ลักษณะปรากฏยอยชนิดท่ี 8 หินปูนเน้ือซิลิกา (ภาพท่ี 11 ก และ ข) ซึ่งเปนลักษณะของหินคารบอเนตที่แรแคลไซตและแรโดโลไมตในหินถูกแทนที่ดวยแรซิลิกา ซึ่งเปนแรชนิดคาลซิโดนิคควอตซ (Chalcedonic Quartz) เปนแรประกอบหลัก ทั้งน้ีหินปูนที่มีลักษณะปรากฏดังกล าว อาจ เปนหินคารบอเนตที่มีการตกสะสมตัว บริเวณกนทะเล ซึ่งเปนผลจากการกอตัวใหมชวงตน (Early Diagenesis)

สรุปผลการวิจัย การศึกษาชุดลักษณหินของหินคารบอเนตในพ้ืนที่จังหวัดหนองบัวลําภู และพื้นที่ใกลเคียง โดยอาศัยการศึกษาทางดานศิลาวิทยาและศิลาวรรณนา จากแผนหินบางกวา 90 แผน สามารถจําแนกชุดลักษณหินตามลักษณะปรากฏยอยได 8 ชนิด ไดแก ไบโอมิไครตชนิดสปารซ ไบโอสแปไรตชนิดคัดชนิดไมดี ดิสมิไครต หินปูนเน้ือผลึกแรแคลไซต หินแคลซิติกโดโลไมต หินโดโลไมต หินออน และหินปูนเน้ือซิลิกา และจากการแปลความสภาวะแวดลอมการสะสมตัวของตะกอนโดยอาศัยลักษณะปรากฏยอย สามารถบงช้ีไดวาตะกอนคารบอเนตในพ้ืนที่ศึกษามีการสะสมตัวในบริเวณต้ังแตขอบไหลคารบอเนต (Carbonate Shelf) จนถึงบริเวณใกลชายฝงระดับต้ืนหรือบริเวณสมุทรต้ืนจํากัดตัวช้ันใน (Restricted Platform Interior) ซึ่งในแตละบริเวณไดรับอิทธิพลจากคลื่นทะเลและระดับนํ้าขึ้น-นํ้าลงแตกตางกัน นอกน้ียังพบการกอตัวใหมของหินคารบอเนตต้ังแตชวงตนจนถึงชวงปลาย (Early Diagenesis to Late Diagenesis) ของการแทนที่ดวยแรซิลิกาถึงการแทนที่แรแคลไซตโดยแรโดโล

497

Page 8: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 8 ไมต (Silicification to Dolomitization) ตามลําดับ เปนตน

ภาพท่ี 9 ลักษณะปรากฏยอยชนิดหินโดโลไมต (ก) และ (ข)

1 mm 1 mm

ก ข

ภาพท่ี 8 ลักษณะปรากฏยอยชนิดหินแคลซิติกโดโลไมต (ก) และ (ข) แสดงลักษณะ Loosely-Interlocking Network ระหวางแรแคลไซต (C) และแรโดโลไมต (D)

C

C

D

D

1 mm 1 mm

ก ข

498

Page 9: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 9

ภาพท่ี 10 ลักษณะปรากฏยอยชนิดหินออน (ก) และ (ข) แสดงลักษณะชิดติดกันระหวางผลึกแรแคลไซต

1 mm 1 mm

ก ข

ภาพท่ี 11 ลักษณะปรากฏยอยชนิดหินปูนเน้ือซิลิกา โครงรางของซากบรรพชีวินของ Eoschubertella sp. (E) และ Yangchenia sp. (Y) ถูกแทนท่ีดวยแรซิลิกา (ก) รูปจากแสงสองผานปรกติ (PPL) และ (ข) รูปจาก

การ Cross-Analyzer (XPL)

E

E

Y

E

1 mm 1 mm

ก ข

499

Page 10: PMP8- 1 - gsbooks.gs.kku.ac.th · ประเทศไทย โดยส วนใหญ เป นหินในมหาย ุคพาลีโอโซ อิกตอนบน

PMP8- 10

ขอเสนอแนะ การศึกษาครั้งน้ีไมมุงเนนศึกษาทางดานบรรพชีวินวิทยา (Paleontology) ซึ่งซากบรรพชีวินบางชนิด สามารถบงช้ีถึงสภาวะแวดลอมและบริเวณที่สะสมตัวของตะกอนคารบอเนตได ทําใหผลการศึกษามีความนาเช่ือถือและถูกตองมากยิ่งขึ้น

เอกสารอางอิง กรมทรัพยากรธรณี. 2547. แผนที่หนวยหิน จังหวัด หนองบัวลําภู ระบบฐานขอมูลแผนที่ธรณีวิทยา. กรุงเทพฯ: สํานักธรณีวิทยา. กรมแผนที่ทหาร. 2542. แผนที่ภูมิประเทศ มาตรา สวน 1:50,000: ระวาง 5343 I (อําเภอวังสะพุง) 5443 IV (อําเภอนากลาง). กรุงเทพฯ: กองบัญชาการทหารสูงสุด.

อดุลย เจริญประวัติ และธนิศร วงศวานิช. 2519. ธรณีวิทยาเบื้องตนแผนจังหวัดเลย (ND47- 12). กรมทรัพยากรธรณี. กรุงเทพฯ: กอง ธรณีวิทยา: 61. Adam, A.E., Mackenzie, W.E. and Guilford, C. 1984. Atlas of Sedimentary Rocks under Microscope: Essex, Longman Group Limited: 104. Barr, S.M. and MacDonald, A.S. 1991. Toward a Late Paleozoic – Early Mesozoic Tectonic Model for Thailand. Journal of Thai Geosciences. 1: 11-22. Folk, R.L. 1962. Spectral Subdivision of Limestone Types. In: Classification of Carbonate Rocks, Ham W.E. (ed.). Mem. Am. Ass. Petrol. Geol. 1: 62-84.

500