24
บทที4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษากึ่งทดลอง ( Quasi–experimental design) แบบสองกลุ่ม วัด ก่อนและหลังการทดลอง ( Two group pretest–posttest design) มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบผลคะแนนความรู้และพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ มูลฝอยในครัวเรือน เพื่อเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ของกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูล ฝอยในครัวเรือนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมดาเนินการตั้งแต่เดือนธันวาคม 2558 ถึง เดือนเมษายน 2559 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษา ดังนีส่วนที1 ข้อมูลพื้นทั่วไปของผู้ตัวแทนครัวเรือน ตาบลพงศ์ประศาสน์ อาเภอบาง สะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ส่วนที2 ข้อมูลด้านความรู้ของตัวแทนครัวเรือนในเรื่องขยะมูลฝอยในครัวเรือน ส่วนที3 ข้อมูลด้านพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย ส่วนที4 การเปรียบเทียบผลคะแนนจากแบบวัดแรงจูงใจในการคัดแยกขยะมูลฝอย ภายในครัวเรือน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและผลการทดสอบสมมติฐาน ส่วนที5 ผลสรุปเนื้อหาจากแบบบันทึกการเรียนรู้ของตัวแทนครัวเรือนที่มีต่อการ เรียนรู้ตามโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยใน ครัวเรือนในการเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูล ฝอยในครัวเรือน เมื่อเสร็จสิ้นการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ในแต่ละครั้ง ส่วนที6 ผลการวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อโปรแกรมทาง พฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนตามแนวคิด ทฤษฎีการรู้คิดทางสังคม เมื่อเสร็จสิ้นการเข้าโปรแกรมฯ ทั้ง 6 ครั้ง ส่วนที7 สรุปข้อมูลการบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์เป็นข้อมูลการ จดบันทึกข้อมูลรายวัน ส่วนที8 เปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังเข้าโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ทั้ง 2 กลุ่ม ตอนที1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายมากว่าเพศหญิง ร้อยละ 68.2โดยมี อายุอยู่ระหว่าง 41-50 ปี ร้อยละ 46.94 รองลงมาคืออายุระหว่าง 31-40 ปีร้อยละ 26.38 ตามลาดับโดยส่วนใหญ่เป็น หัวหน้าครัวเรือน ร้อยละ 81.94 มีการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 89.16 โดยมีรายได้ต่อเดือน 5,001-10,000 บาท ร้อยละ 73.33 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย ร้อยละ 55 รับข้อมูลข่าวสารการ จัดการขยะ ร้อยละ 100 และได้รับข้อมูลข่าวสารการจัดการขยะจากวิทยุ ร้อยละ 40.83 รายละเอียดดังตารางที4.1

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษากึ่งทดลอง (Quasi–experimental design) แบบสองกลุ่มวัด ก่อนและหลังการทดลอง (Two group pretest–posttest design) มีวัตถุประสงค์ เพื่ อเปรียบเทียบผลคะแนนความรู้และพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของกลุ่มทดลอง ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน เพื่อเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของกลุ่มที่เข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด าเนินการตั้งแต่เดือนธันวาคม 2558 ถึงเดือนเมษายน 2559 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษา ดังนี ้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นทั่วไปของผู้ตัวแทนครัวเรือน ต าบลพงศ์ประศาสน์ อ าเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านความรู้ของตัวแทนครัวเรือนในเรื่องขยะมูลฝอยในครัวเรือน ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย

ส่วนที่ 4 การเปรียบเทียบผลคะแนนจากแบบวัดแรงจูงใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในครัวเรือน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและผลการทดสอบสมมติฐาน ส่วนที่ 5 ผลสรุปเนื้อหาจากแบบบันทึกการเรียนรู้ของตัวแทนครัวเรือนที่มีต่อการเรียนรู้ตามโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในการเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน เมื่อเสร็จสิ้นการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ในแต่ละครั้ง ส่วนที่ 6 ผลการวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนตามแนวคิดทฤษฎีการรู้คิดทางสังคม เมื่อเสร็จสิ้นการเข้าโปรแกรมฯ ทั้ง 6 ครั้ง ส่วนที่ 7 สรุปข้อมูลการบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์เป็นข้อมูลการจดบันทึกข้อมูลรายวัน ส่วนที่ 8 เปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังเข้าโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ทั้ง 2 กลุ่ม ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหข์้อมูลทั่วไป

กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายมากว่าเพศหญิง ร้อยละ 68.2โดยมี อายุอยู่ระหว่าง 41-50 ปี ร้อยละ 46.94 รองลงมาคืออายุระหว่าง 31-40 ปีร้อยละ 26.38 ตามล าดับโดยส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าครัวเรือน ร้อยละ 81.94 มีการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 89.16 โดยมีรายได้ต่อเดือน 5,001-10,000 บาท ร้อยละ 73.33 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย ร้อยละ 55 รับข้อมูลข่าวสารการจัดการขยะ ร้อยละ 100 และได้รับข้อมูลข่าวสารการจัดการขยะจากวิทยุ ร้อยละ 40.83 รายละเอียดดังตารางที่ 4.1

Page 2: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

86

ตารางที่ 4.1 จ านวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง

ข้อมูลทั่วไป จ านวน ร้อยละ เพศ ชาย หญิง อายุ (ปี)

ต่ ากว่า 30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี 51-60 ปี

มากกว่า 60 ปีขึ้นไป สถานะภายในครัวเรือน หัวหน้าครัวเรือน คู่สมรส บุตร ผู้อาศัย

122 262

21 95 169 74 1

295 29 36 0

31.8 68.2

5.83 26.38 46.94 20.55 0.3

81.94 8.05 10.01 0.00

ตาราง 4.1 (ต่อ)

ข้อมูลทั่วไป จ านวน ร้อยละ ระดับการศึกษา

ไม่ได้รับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา/อนุปริญญา ปริญญาตรี/สูงกว่า

รายได้ (บาท/เดือน) 1,000-5,000 บาท 5,001-10,000 บาท 10,001-15,000 บาท

0

321 9 30

12 264 71

0.00 89.16 2.5 8.34

9.33 73.33 19.72

Page 3: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

87

มากกว่า 15,000 บาท อาชีพ ท าสวน-ท าไร ่ ค้าขาย รับจ้าง แม่บ้าน การได้รับข้อมูลข่าวสาร เคย ไม่เคย แหล่งข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ หนังสือพิมพ ์ วิทย ุ โทรทัศน์ เอกสารสื่อสิ่งพิมพ ์ อสม. จนท. อบต.พงศ์ประศาสน ์

13

65 198 78 19

360 0

36 147 23 54 32 68

2.38

18.05 55.00 21.67 5.28

100.00 0.00

10.01 40.83 6.39 15.00 4.17 23.6

ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านความรู้ของประชาชนในการคัดแยกขยะมูลฝอย

ผลการศึกษาข้อมูลด้านความรู้ของตัวแทนครัวเรือนในต าบลพงศ์ประศาสน์ อ าเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พบว่าความรู้ของประชาชนในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน ส่วนใหญ่ มีความรู้เกี่ยวกับการแยกขยะเปียก ร้อยละ 78.89 รองลงมาคือ มีความรู้เกี่ยวกับขยะแห้ง ร้อยละ 92.78 และมีความรู้น้อยที่สุดเกี่ยวกับหน้าที่การจัดเก็บขยะในชุมชน ร้อยละ 81.95 รายละเอียดดังตารางที่ 4.2 ตาราง 4.2 ค่าเฉลี่ยความรู้ของประชาชนในการคัดแยกขยะมูลฝอย

ความรู ้จ านวนข้อที่ตอบ

ผิด ถูก รวม 1. ขยะอันตราย 2. ขยะเปียก 3. ขยะแห้ง 4. ขยะที่สามารถน ากลับมาใช้ใหม่ได้ (ขยะ Recycle) 5. ถังขยะที่ถูกสุขลักษณะ 6. ถังขยะที่เหมาะสม 7. ทุกครัวเรือนมีความจ าเปน็ที่จะต้องมีการจัด ภาชนะรองรับการทิง้ขยะ

19 (5.27) 76 (21.11) 26 (7.22) 54 (15.00)

64 (17.77) 41 (11.38) 52 (14.44)

341 (94.73) 353 (78.89) 334 (92.78) 306 (85.00)

296 (82.23) 319 (88.62) 308 (85.56)

360 (100.00) 360 (100.00) 360 (100.00) 360 (100.00)

360 (100.00) 360 (100.00) 360 (100.00)

Page 4: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

88

จ าแนกตามประเภทของขยะที่เกิดขึ้น 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบต่อสังคม 9. หน้าท่ีการจัดเก็บขยะในชุมชน 10. การคัดแยกขยะ

33 (9.17)

65 (18.05) 49 (13.61)

327 (90.83)

295 (81.95) 311 (86.39)

360 (100.00)

360 (100.00) 360 (100.00)

ส่วนที่ 3 พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย

พฤติกรรมของตัวแทนครัวเรือนในด้านการจัดการขยะ จากการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ พฤติกรรมการจัดการขยะของตัวแทนครัวเรือนในพื้นที่ต าบลพงศ์ประศาสน์ อ าเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จ านวน 360 คน จากค าถาม 10 ข้อ เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า พฤติกรรมในการจัดการขยะของกลุ่มตัวแทนในครัวเรือนในระดับต่ า โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.30 เมื่อน ามาพิจารณาเป็นรายประเด็นแล้ว พบว่า มีรายละเอียด ดังตอ่ไปนี้

ข้อที่ 1 ก่อนทิ้งขยะ ท่านจะท าการคัดแยกประเภทขยะที่ทิ้งจากในครัวเรือนก่อนทุกครั้ง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดับต่ า โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.38

ข้อที่ 2 ท่านจะท าการคัดแยกประเภทขยะที่ทิ้งจากในครัวเรือนก่อนทุกครั้ง พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดับต่ า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.42

ข้อท่ี 3 ท่านเก็บถุงพลาสติกที่ได้จากการใส่ของใช้และยังใช้งานได้อยู่น ากลับมาใช้อีก พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดับต่ า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.26

ข้อที่ 4 ท่านใช้กระติกน้ าแทนขวดน้ าพลาสติกทุกครั้งเมื่อต้องเดินทางไปนอกบ้าน พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดับต่ า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.93

ข้อที่ 5 ท่านได้น ากระดาษหนังสือพิมพ์หรือกล่องกระดาษที่เหลือมาเป็นวัสดุในการห่อของใช้ หรือใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะ อยู่ในระดับต่ า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.89

ข้อที่ 6 ท่านได้เก็บถุงขนมขบเคี้ยว กล่องโฟม น ามารีไซเคิลใหม่พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดับต่ า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.12

ข้อที่ 7 ท่านมีการทิ้งขยะลงในถังขยะทุกครั้ง พบว่า ส่วนใหญ่มี พฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดับสูงมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.66

ข้อที่ 8 ท่านได้ใช้กล่องข้าวส าหรับห่ออาหารแทนการใช้ถ้วยพลาสติกหรือกล่องโฟม พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดับต่ า มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.01

ข้อที่ 9 ท่านได้เก็บขยะรอบ ๆ บ้าน พบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู่ในระดบัต่ า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.83

Page 5: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

89

ข้อที่ 10 เมื่อท่านเห็นเศษขยะประเภทถุงขนม หรือแก้วน้ าอัดลม ท่านจะเก็บลงถังขยะทุกครั้งพบว่า ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะ อยู่ในระดับสูง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.54 ดังตารางที่ 4.3 ตารางที่ 4.3 ระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน �̅� S.D. ระดับพฤติกรรม

1. ก่อนทิ้งขยะ ท่านจะท าการคัดแยกประเภทขยะที่ทิ้งจากในครัวเรือนก่อนทุกครั้ง 2. ท่านได้น าขวดน้ าพลาสติกที่ผ่านการใช้แล้วน ากลับมาใช้ประโยชน์อีกครั้ง 3. ท่านเก็บถุงพลาสติกที่ได้จากการใส่ของใช้และยังใช้งานได้อยู่น ากลับมาใช้อีก 4. ท่านใช้กระติกน้ าแทนขวดน้ าพลาสติกทุกครั้งเมื่อต้องเดินทางไปนอกบ้าน 5.ท่านได้น ากระดาษหนั งสือพิมพ์หรือกล่องกระดาษที่เหลือมาเป็นวัสดุในการห่อของใช้ หรือใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ 6.ท่านได้เก็บถุงขนมขบเคี้ยว กล่องโฟม น ามารีไซเคิลใหม่ 7. ท่านมีการทิ้งขยะลงในถังขยะทุกครั้ง 8. ท่านได้ใช้กล่องข้าวส าหรับห่ออาหารแทนการใช้ถ้วยพลาสติกหรือกล่องโฟม 9. ท่านได้เก็บขยะรอบ ๆ บ้าน 10. เมื่อท่านเห็นเศษขยะประเภทถุงขนม หรือแก้วน้ าอัดลม ท่านจะเก็บลงถังขยะทุกครั้ง

2.38

2.42

2.26

1.93

1.89

2.12

3.66 2.01

1.83

2.54

0.904

0.852

0.902

0.993

0.760

0.875

0.553 0.995

0.873

0.933

ระดับต่ า

ระดับต่ า

ระดับต่ า

ระดับต่ า

ระดับต่ า

ระดับต่ า

ระดับสูงมาก ระดับต่ า

ระดับต่ า

ระดับสูง

รวม 2.30 0.860 ระดับต่ า การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแทนครัวเรือน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

กลุ่มตัวแทนครัวเรือนในกลุ่มทดลอง พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน เท่ากับ 57.87 และ 86.83 ตามล าดับ ดังตารางที่ 4.4

Page 6: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

90

ตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแทนครัวเรือน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

กลุ่มตัวอย่าง คะแนนแบบวัดแรงจูงใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในครัวเรือน

(100 คะแนน) ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง

กลุ่มทดลอง ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

57.87 1.21

86.83 1.02

กลุ่มตัวแทนครัวเรือนในกลุ่มควบคุม พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังให้ข้อมูลการ

จัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน เท่ากับ 46.40 และ 54.10 ตามล าดับ ดังตารางที่ 4.5 ตารางที่ 4.5 แสดงค่าเฉลี่ย เบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแทนครัวเรือน ก่อนและหลังให้ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

กลุ่มตัวอย่าง คะแนนแบบวัดแรงจูงใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในครัวเรือน

(100 คะแนน) ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง

กลุ่มควบคุม ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

46.40 2.76

54.10 2.19

ส่วนที่ 4 การเปรียบเทียบผลคะแนนจากแบบวัดแรงจูงใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในครัวเรือน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและผลการทดสอบสมมติฐาน

ภายหลังทดลอง ผู้วิจัยทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนแรงจูงใจที่ได้จากการเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของกลุ่มทดลอง พบว่า ก่อนทดลองมีค่าคะแนนเท่ากับ 57.87 ภายหลังทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 86.83 ดังตารางที่ 4.6

ตารางที่ 4.6 แสดงคะแนนจากแบบวัดแรงจูงใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในครัวเรือน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

Page 7: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

91

กลุ่มทดลอง (N=30)

คะแนนจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

58 55 56 55 35 58 59 55 54 66 69 58 67 59 69

85 98 87 86 87 84 85 89 89 98 85 87 86 85 83

ตารางที่ 4.6 (ต่อ)

กลุ่มทดลอง (N=30)

คะแนนจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง

Page 8: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

92

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

55 56 54 52 58 66 55 64 53 54 58 55 63 66 54

84 81 85 84 84 82 83 79 77 83 88 89 95 98 99

ค่าเฉลี่ย 57.87 86.83 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.21 1.02

ส่วนที่ 5 ผลสรุปเนื้อหาจากแบบบันทึกการเรียนรู้ของตัวแทนครัวเรือนที่มีต่อการเรียนรู้ตามโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนในการเข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน เมื่อเสร็จสิ้นการเข้าร่วมโปรแกรม ในแต่ละครั้ง

ผลสรุปจากการการเรียนรู้ของตัวแทนครัวเรือนที่มีต่อการเรียนรู้ตามโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ตั้งแต่ครั้งที่ 1 ถึงครั้งที่ 8 สรุปได้ดังนี ้

1) ครั้งที่ 1 แรงจูงใจและเป้าหมายของการคัดแยกขยะคืออะไร การเข้าร่วมโปรแกรมครั้งที่ 1 ผู้วิจัยได้สอบถามความเข้าใจของตัวแทนครัวเรือน

ว่าเข้าใจความหมายของแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนและเป้าหมายในการ

Page 9: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

93

จัดการขยะมูลฝอย จากนั้นผู้วิจัยได้อธิบายความหมายของแรงจูงและเป้าหมายในการคัดแยกขยะมูลฝอยในตัวแทนครัวเรือนเข้าใจ จากนั้นแจกใบงานให้ตัวแทนครัวเรือนเขียนแรงจูงใจและเป้าหมายในการคัดแยกขยะของตนเอง ดังที่สรุปไว้ ดังนี้

แรงจูงใจของผมส่วนใหญ่จะเน้นความสะอาดของบ้านเป็นหลัก เพราะขยะที่เกิดขึ้นภายในบ้านเกิดจากคนในครอบครัวเป็นคนท าให้เกิดขึ้น ถ้าเราจัดการให้ดูแยกประเภท เพื่อนบ้านหรือคนข้างเคียงจะได้เห็นว่าบ้านเราสะอาด ใครผ่านไปผ่านมาจะได้ชื่นชมเราด้วย

แรงจูงใจในการคัดแยกขยะเป็นการหารายได้พิเศษเข้าบ้าน เพราะขยะทุกอย่างเปลี่ยนเป็นเงินได้หมด นอกจากนี้ของเหลือจากในครัวก็น าไปใช้เป็นอาหารหมูได้

แรงจูงใจในการคัดแยกขยะคือ การฝึกนิสัยการรักษาความสะอาด การดูแลสุขภาพ ขยะมีปริมาณมากเท่าใด ปัญหาสุขภาพก็มีมากเท่านั้น

เป้าหมายในการคัดแยกขยะ ไม่มีขยะเหลือใช้ ขยะอันตราย แต่มีการจัดการขยะให้เกิดรายได้ภายในครอบครัว

2) ครั้งที่ 2 ความรับผิดชอบของเรากับการคัดแยกขยะ ในการเข้าร่วมโปรแกรมครั้งที่ 2 ผู้วิจัยได้ให้ตัวแทนครัวเรือนเล่นเกมส์ตอบ

ค าถามโดยแบ่งเป็นทีมๆ ละ 15 คน โดยให้แต่ละทีมวิ่งผลัดถือกล่องกระดาษขนาดเท่ากันคนละ 1 กล่อง พร้อมปากกาวิ่งวางต่อกันให้สูงขึ้น โดยมิให้ล้มและตอบค าถามเรื่องเรามีความรับผิดชอบในการจัดการขยะอย่างไรลงในกระดาษฟลิบชาร์ต เพื่อให้ตัวแทนเห็นความส าคัญของความส านึกในการรับผิดชอบในการจัดการขยะ ดังการสรุปจากแบบบันทึกการเรียนรู้ของตัวแทนกลุ่มทดลองกลุ่มนี้ ดังนี ้

กล่องที่วางซ้อนกันไว้ถ้าเราไม่รับผิดชอบภาระของเรา อาจท าให้กล่องของคนอ่ืนล้มคว่ าได้ แสดงให้เห็นว่าถ้าเรารับผิดชอบกล่องของเราโดยการวางให้เป็นระเบียบ กล่องของคนอ่ืนก็ไมล้่ม

การรับผิดชอบต่อการกระท าของตนเอง ท าให้การท างานใดๆ ก็ลุล่วง ประกอบกับการท างานด้วยความร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมท า จะส่งผลให้ความรับผิดชอบมีมากขึ้น และช่วยกันดูแลซึ่งกันและกัน

3) ครั้งที่ 3 Learning Style การเข้าร่วมโปรแกรมในครั้งที่ 3 นี้ผู้วิจัยให้ตัวแทนครัวเรือนเรียนรู้รูปแบบในการ

จัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของตนเอง ข้อดี ข้อเสีย รวมไปถึงวิธีในการปรับปรุงข้อเสียต่างๆ ให้ดีขึ้น ดังผลสรุปจากใบงาน Learning Style ของตัวแทนครัวเรือนกลุ่มทดลอง ดังนี ้

รูปแบบในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน คือ เก็บขยะที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ เช่น แก้วแตก ชามแตก ที่ไม่มีที่ทิ้งที่ถูกต้องมารวมกันและใส่ลงในถังปูน จากนั้นถมดิน ใช้ปลูกต้นไม้ ลดปัญหาเศษแก้วทิ้งไม่ถูกต้อง

รูปแบบในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน คือ การหารายได้ด้วยการแยกขยะแต่ละชนิดเก็บไว้ และขายให้กับผู้รับซื้อของเก่า พยายามท าให้ติดเป็นนิสัยจะได้ไม่สิ้นเปลืองเวลาในการคัดแยกขยะ จากนั้นจดบันทึกปริมาณขยะที่ได้ในแต่ละอาทิตย์ เก็บจ านวนเงินที่ได้เป็นเงินเก็บภายในครอบครัว (ส าหรับฉุกเฉิน)

ข้อดีของการจัดการขยะมูลฝอยของการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน คือ สร้างนิสัยการรักษาความสะอาด เพิ่มรายได้ให้ครอบครัว และเพิ่มสุขภาพดีให้กับคนในครอบครัว

Page 10: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

94

ข้อเสียของการจัดการขยะมูลฝอยของการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน คือ พฤติกรรมของคนปรับได้ยาก ถ้าไม่ฝึก เน้นฝึกฝนให้เป็นนิสัย

การปรับปรุงข้อเสียของการจัดการขยะมูลฝอยของการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน คือ ปรับปรุงที่หัวหน้าครอบครัว และแม่บ้านที่ต้องเป็นผู้จัดการขยะภายในบ้านเพราะว่า การมีคนคอยควบคุมการแยกขยะจะช่วยให้รู้หน้าที่ในการจัดการตัวเองได้ดี

4) ครั้งที่ 4 จัดการขยะอย่างนักวางแผน การเข้าร่วมโปรแกรมครั้งที่ 4 เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีการวางแผนในการ

จัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน และเพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนรู้จักวางแผนการบริการจัดการขยะมูลฝอยให้เกิดประสิทธิผลตามแผนที่วางไว้ ซึ่งหลังจากเข้าร่วมโปรแกรมที่แล้ว สรุปตามแบบเรียนรู้ได้ออกมาดังนี้

การวางแผนช่วยเตือนให้มีระบบการท างานภายในครอบครัว มองการท ากิจกรรมได้หลายรูปแบบ สามารถสับเปลี่ยนหมุนเวียนการท างานร่วมกันภายในครอบครัว

การวางแผนที่ดีช่วยให้เกิดพฤติกรรมที่ดี เช่น การเก็บขยะเป็นที่เป็นทาง แยกขยะชัดเจน มีการคัดแยกขยะเพื่อน าไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆ

เป็นกิจกรรมที่ดีที่ช่วยเปิดกว้างในการก าจัดขยะ ลงมือท า เรียนรู้ที่จะแก้ไขน่วมกัน

5) ครั้งที่ 5 การเรียนรู้ที่บริหารจัดการขยะมูลฝอย การเข้าร่วมโปรแกรมครั้งที่ 5 เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีการเรียนรู้ที่บริหาร

จัดการขยะมูลฝอย ซึ่งหลังจากเข้าร่วมโปรแกรมที่แล้ว สรุปตามแบบบันทึกการเรียนรู้ ได้ออกมาดังนี้

มีการจดบันทึกข้อมูลด้วยตนเองเพื่อเตือนให้มีการคัดแยกขยะก่อนน าไปทิ้งหรือก่อนขายให้กับรถรับซื้อของเก่า การน าขยะที่มีโอกาสรีไซเคิลได้ไปประดิษฐ์เป็นของใช้ภายในบ้าน การลดภาระการใช้ถุงพลาสติกด้วยการใช้ตะกร้าหรือถุงผ้า

การบริหารหนี้ภายในครัวเรือน หากมีหนี้ที่ต้องใช้เงินในการช าระ หนทางที่จะช่วยให้เกิดการหมุนเวียนเงินในครอบครัวคือ การน าวิธีการคัดแยกขยะออกมาใช้ในรูปแบบของขยะล้างหนี้ นอกจากจะช่วยให้บ้านสะอาด ขยะก็เป็นตัวช่วยในการหาเงินเข้าครอบครัวได้

6) ครั้งที่ 6 มีแรงจูงใจให้สัมฤทธิ์ผล ส าหรับโปรแกรมครั้งที่ 6 เป็นการทบทวนกิจกรรมี่ผ่านมาทั้ง 5 กิจกรรม ที่ได้ให้

กลุ่มตัวแทนครัวเรือนกลุ่มทดลองวางแผนการบริหารจัดการขยะมูลฝอยภายในครัวเรือนของตนเอง ซึ่งกิจกรรมครั้งนี้เป็นการให้ตัวแทนครัวเรือนสรุปและทบทวนตัวเองว่าได้ท าในสิ่งที่ได้วางแผนไว้ในข้างต้นไปแล้วหรือไม่ อย่างไร และควรปรับปรุงพฤติกรรมการจัดการขยะของตนเองอย่างไร ดังสรุปจากแบบเรียนรู้ของตัวแทนครัวเรือน ดังนี ้

บางครั้งคนจัดการขยะในครัวเรือนมีเพียง 1-2 คน ส่วนใหญ่ก็พ่อแม่ลูกหลานก็เป็นอีกส่วนหนึ่งที่ไม่เข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะให้ถูกต้อง คนที่มาอบรมจึงต้องพูดคุยและท าความเข้าใจในการคัดแยกขยะในครัวเรือนแก่เด็กๆ หรือการท าถังขยะรวมเพื่อให้เกิดการคัดแยกขยะ ปลูกฝังให้เด็กๆ เข้าใจเรื่องขยะ ปลูกฝังเรื่องขยะท าเงิน สร้างนิสัยการเก็บออมจากขยะ

การสร้างสุขนิสัยที่ดีต่อเพื่อร่วมบ้านและเพื่อนบ้าน การพูดคุยสร้างสัมพันธไมตรีในการจัดการขยะในครัวเรือนเป็นเรื่องที่สร้างมิตรภาพได้ลดปัญหาการทะเลาะเบาะแว้งในชุมชนได้เป็นอย่างดี

Page 11: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

95

ส่วนที่ 6 ผลการวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนตามแนวคิดทฤษฎีการรู้คิดทางสังคม เมื่อเสร็จสิ้นการเข้าโปรแกรมทั้ง 6 ครั้ง ตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความคิดเห็นของตัวแทนครัวเรือนกลุ่มทดลองที่มีต่อโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

ข้อความ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลความหมาย

1. ท่านเข้าใจวัตถุประสงค์ในการเข้าร่วมโปรแกรมฯ

2. ท่านท าความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงของการเข้าร่วมโปรแกรมฯ

3. ท่านมีความรับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าท่ีในการเข้าร่วมโปแกรมฯ นี้

4. ท่านรับฟังความคิดเห็น ความรู้สึกของตัวแทนครัวเรือนท่านอื่นๆ ด้วยความใส่ใจ

5. ท่ าน มี ค ว าม พึ งพ อ ใจที่ ได้ เข้ า ร่ ว มโปรแกรมฯ ในครั้งนี ้

6. ท่านตระหนักถึงความส าคัญของแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

7. ท่านได้รับประสบการณ์และการเรียนรู้ที่ช่วยให้ท่านมีแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น

8. ผู้วิจัยได้จัดเตรียมเอกสารและสื่อการสอนต่างๆ เพื่ อ เอื้ อให้ตัวแทนครัวเรือนได้เรียนรู้แนวทางในการพัฒนาแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

4.60

4.80

4.10

4.60

4.60

4.60

4.50

4.70

.51

.42

.31

.51

.69

.51

.52

.67

มากที่สุด

มากที่สุด

มาก

มากที่สุด

มากที่สุด

มากที่สุด

มาก

มากที่สุด

ตาราง 4.7 (ต่อ)

ข้อความ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลความหมาย

9. ท่านคิดว่ากิจกรรมที่จัดในโปรแกรมฯ นี้มีความเหมาะสม

10. ท่านคิดว่าโปรแกรมฯ นี้ เป็นการสร้าง

4.50

4.50

.70

.70

มาก

มาก

Page 12: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

96

แรงจูงใจให้เกิดการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้ส าเร็จ

11. ก่อนที่ท่านจะเข้าร่วมโปรแกรมฯ ท่านมีความเข้าใจถึงประโยชน์ในการจัดการขยะโดยอาศัยการสร้างแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

12. หลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ท่านสามารถเข้ า ใจถึ งการจั ดการขยะมู ลฝอยในครัวเรือนได้เป็นอย่างดี

13. ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ ท่านสามารถบอกได้ถึงการจัดการขยะในครัวเรือนได้ว่าเป็นอย่างไร

14. หลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ท่านสามารถบอกได้ว่าแรงจูงใจของท่านในการจัดการขยะในครวัเรือนเป็นอย่างไร

15. ก่ อนการเข้ าร่วม โป รแกรมฯ ท่ านมีแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

16. หลั งการ เข้ า ร่ วม โป รแกรม ฯ ท่ านมีแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนเพิ่มสูงขึ้น

3.30

4.80

3.40

4.50

3.20

4.70

.94

.42

1.26

.70

1.20

.67

ปานกลาง

มากที่สุด

ปานกลาง

มาก

ปานกลาง

มากที่สุด

ตาราง 4.7 (ต่อ)

ข้อความ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

แปลความหมาย

17. ผู้วิจัยมีการจัดกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม เอื้อต่อตัวแทนครัวเรือน

18. ผู้วิจัยพูดและอธิบายกิจกรรมต่างๆ ได้ตรงประเด็น

19. ท่านสามารถน าเอาเนื้อหาที่ผู้วิจัยจัด กิจจรรมให้ไปปรับใช้ใยการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน

20. ผู้วิจัยสามารถตั้งประเด็นและเชื่อมโยงสาระต่างๆได้อย่างชัดเจน

4.70

4.40

4.70

4.40

.69

.69

.48

.84

มาก

มาก

มากที่สุด

มาก

รวม 4.38 .67 มากที่สุด

Page 13: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

97

จากตารางที่ 4.7 ค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นของตัวแทนครัวเรือนที่มีต่อโปรแกรมฯ ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นทั้ง 6 ครั้ง พบว่า ตัวแทนครัวเรือนมีความเห็นต่อโปรแกรมอยู่ในระดับปานกลางถึงมากที่สุด (ระหว่างช่วงคะแนน 3.20-4.80) แสดงว่าตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยใช้แรงจูงใจในกาจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน เมื่อพิจารณารายข้อ เริ่มที่ข้อ 11 ก่อนที่ท่านจะเข้าร่วมโปรแกรมฯ ท่านมีความเข้าใจถึงประโยชน์ในการจัดการขยะโดยอาศัยการสร้างแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นเท่ากับ 3.30 แต่ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมตัวแทนครัวเรือนสามารถเข้าใจถึงการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้เป็นอย่างดี มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นเท่ากับ 4.80 ข้อที่ 13 ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ สามารถบอกได้ถึงการจัดการขยะในครัวเรือนได้ว่าเป็นอย่างไร มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นเท่ากับ 3.40 และภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ สามารถบอกได้ว่าแรงจูงใจของท่านในการจัดการขยะในครัวเรือนเป็นอย่างไร มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นเท่ากับ 4.50 ข้อ 15 ก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมฯ มีแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นเท่ากับ 3.20 หลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ มีแรงจูงใจในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนเพิ่มสูงขึ้น มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นเท่ากับ 4.70 นอกจากนี้ ข้อที่ได้คะแนนมากที่สุดในแบบสอบถามความคิดเห็นของตัวแทนครัวเรือน โดยมีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นเท่ากับ 4.80 คือ ข้อที่ 2 ท่านท าความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงของการเข้าร่วมโปรแกรมฯ และข้อ 12 หลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ท่านสามารถเข้าใจถึงการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้เป็นอย่างดี ส่วนที่ 7 สรุปข้อมูลการบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์เป็นข้อมูลการจดบันทึกข้อมูลรายวัน

จากการแจกแบบบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยให้ตัวแทนครัวเรือนจดบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยพบว่าปริมาณขยะมูลฝอยที่ท าการบริหารจัดการในแต่ละสัปดาห์มักไม่คงที่ ดูได้จากตารางที่ 4.9-4.14 ตาราง 4.9 ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์ของตัวแทนครัวเรือนสัปดาห์ที่ 1

คนที ่สัปดาห์ 1

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

1 2 3 4 5 6 7 8 9

9 5 8 7 8 9 10 15 10

5 7 8 7 9 15 10 9 8

5 6 5 5 8 9 9 5 8

10 9 5 8 8 10 10 9 9

5 7 8 7 9 15 10 9 8

5 6 5 5 8 9 9 5 8

10 9 8 9 10 5 10 9 8

49 49 47 48 60 72 68 61 59

Page 14: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

98

10 11 12 13 14 15

14 11 21 19 22 5

7 5 3 10 12 9

9 6 5 10 10 8

10 9 8 9 9 10

7 5 3 10 12 9

9 6 5 10 10 8

7 8 6 9 9 8

63 50 51 77 84 57

* มีตลาดนัดในชุมชน ตาราง 4.9 (ต่อ)

คนที ่สัปดาห์ 1

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

9 8 8 7 9 9 10 15 9 5 8 9 9 9 10

8 9 7 7 6 5 6 8 6 7 9 6 9 10 8

8 8 7 7 5 6 9 8 8 14 5 5 8 7 9

9 9 8 9 9 9 10 11 12 15 10 9 8 9 9

8 7 8 8 8 8 7 5 9 9 8 7 4 9 8

7 7 5 8 7 7 8 8 8 9 9 9 10 11 10

10 5 9 9 9 10 11 10 10 19 8 9 8 9 10

59 53 52 55 53 54 61 65 62 78 57 54 56 64 64

รวม 307 235 222 279 237 231 271 1,782 * มีตลาดนัดในชุมชน

Page 15: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

99

ตาราง 4.10 ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์ของตัวแทนครัวเรือนสัปดาห์ที่ 2

คนที ่สัปดาห์ 2

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

9 9 9 9 9 10 15 10 11 12 14 15 10 9 9

5 9 8 8 8 8 7 8 9 3 5 8 8 8 9

7 5 6 8 7 9 8 5 8 8 4 7 5 8 5

10 14 10 11 10 10 14 10 9 9 8 9 8 9 10

7 7 4 5 6 9 8 5 8 5 8 7 4 5 8

9 9 9 5 8 8 8 7 4 5 5 8 5 8 8

10 10 9 5 8 8 9 9 10 11 10 11 10 10 10

57 63 55 51 56 62 69 54 59 53 54 65 50 57 59

* มีตลาดนัดในชุมชน ตาราง 4.10 (ต่อ)

คนที ่สัปดาห์ 2

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

16 17 18 19

10 14 15 10

8 8 5 8

7 8 4 5

9 9 9 9

7 8 7 8

10 9 9 8

9 9 9 8

60 65 58 56

Page 16: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

100

20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

14 10 10 10 9 9 8 5 8 8 8

7 8 8 8 6 9 8 5 8 5 8

7 8 4 8 8 8 9 8 7 8 9

8 9 8 7 9 8 5 9 9 9 8

8 8 8 9 9 9 7 7 7 7 8

7 5 6 9 8 6 5 8 6 9 8

9 8 7 9 8 9 8 10 8 9 9

60 56 51 60 57 58 50 52 53 55 58

รวม 308 220 208 276 213 219 269 1,713 * มีตลาดนัดในชุมชน

ตาราง 4.11 ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์ของตัวแทนครัวเรือนสัปดาห์ที่ 3

คนที ่สัปดาห์ 3

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

10 14 10 9 9 9 9 7 7 9 9 9

9 9 9 9 8 9* 9 8 5 8 8 9

9 8 9 8 5 8 7 4 5 8 6 9

5 4 8 7 6 9 10 5 8 8 9 8

8 8 5 7 4 5 7 8 7 8 8 8

9 5 8 7 9 5 8 5 8 4 5 8

8 8 5 7 4 5 8 8 8 5 8 5

58 56 54 54 45 41 58 45 48 50 53 56

Page 17: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

101

13 14 15

8 8 8

8 8 8

8 6 8

9 8 9

8 9 8

5 4 5

8 8 8

54 51 54

* มีตลาดนัดในชุมชน ตาราง 4.11 (ต่อ)

คนที ่สัปดาห์ 3

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

8 9 8 4 8 7 5 8 5 9 9 9 10 14 10

8 9 8 9 5 2 5 4 7 8 5 8 5 5 5

5 8 7 8 5 8 8 9 9 9 9 8 7 5 5

8 5 4 7 5 8 5 8 5 9 5 8 5 5 5

8 4 5 7 10 2 5 5 5 9 5 8 5 5 5

7 5 8 5 5 5 5 5 8 6 6 8 8 9 8

5 8 6 8 5 4 7 5 5 5 6 5 8 5 5

49 48 46 48 43 36 40 44 44 55 45 54 48 48 43

รวม 258 208 218 205 196 193 1930 1,468 * มีตลาดนัดในชุมชน

Page 18: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

102

ตาราง 4.12 ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์ของตัวแทนครัวเรือนสัปดาห์ที่ 4

คนที ่สัปดาห์ 4

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

9 9 9 10 14 10 5 5 8 5 8 6 9 8 9

8 8 5 7 4 9 8 8 9 8 8 8 5 8 7

8 5 8 5 8 6 8 8 9 5 8 5 5 5 9

5 5 5 2 5 6 9 9 9 9 9 9 8 7 5

5 8 4 7 9 6 3 5 5 5 5 6 9 8 8

8 5 8 2 5 8 5 8 5 8 2 9 9 6 5

8 5 2 9 9 9 9 8 8 8 5 5 5 5 5

51 45 41 42 54 54 47 51 53 48 45 48 50 47 48

* มีตลาดนัดในชุมชน ตาราง 4.12 (ต่อ)

Page 19: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

103

คนที ่สัปดาห์ 4

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

9 5 2 5 8 8 5 5 5 9 5 8 5 5 5

8 7 4 5 5 5 6 9 8 5 8 7 5 8 5

8 5 8 7 4 9 5 8 5 8 5 8 7 4 5

9 8 5 8 5 4 7 5 5 5 5 5 6 6 5

8 5 4 7 5 8 6 5 5 5 8 5 5 8 5

8 5 4 5 6 9 8 5 5 5 5 5 7 9 8

9 8 5 7 9 6 5 2 4 8 7 5 5 5 5

59 43 32 44 42 49 42 39 37 45 43 43 40 45 38

รวม 213 205 198 190 182 187 190 1,365 * มีตลาดนัดในชุมชน ตาราง 4.13 ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์ของตัวแทนครัวเรือนสัปดาห์ที่ 5

คนที ่สัปดาห์ 5

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

1 2 3 4 5 6

5 9 8 8 8 8

8 5 2 5 4 7

9 9 5 5 5 8

8 5 4 7 5 8

8 5 5 4 5 6

4 5 5 5 6 8

5 2 5 4 7 5

47 40 34 38 40 50

Page 20: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

104

7 8 9 10 11 12 13 14 15

8 5 8 8 5 8 5 8 9

5 8 9 6 5 8 5 5 8

5 8 5 5 5 5 5 7 5

7 4 5 8 7 5 8 5 8

4 5 4 7 4 8 5 8 5

4 7 5 5 5 7 5 5 5

5 5 5 8 5 5 5 5 4

38 42 41 47 36 46 38 43 44

* มีตลาดนัดในชุมชน ตาราง 4.13 (ต่อ)

คนที ่สัปดาห์ 5

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

5 8 5 4 4 5 6 9 6 5 5 5 6 5

5 8 4 7 5 8 5 8 5 8 5 5 8 6

5 8 4 7 4 5 8 4 8 6 9 5 5 8

5 9 8 8 8 7 4 5 5 5 5 5 5 6

4 5 7 8 5 5 5 4 8 5 8 4 5 9

6 5 8 5 4 5 7 5 5 5 5 8 6 5

9 5 8 7 4 5 4 8 5 8 9 7 9 8

39 48 44 46 34 40 39 43 42 42 46 39 44 47

Page 21: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

105

30 5 9 7 6 8 5 5 45

รวม 193 186 184 185 173 165 176 1,262 * มีตลาดนัดในชุมชน

ตาราง 4.14 ข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยรายสัปดาห์ของตัวแทนครัวเรือนสัปดาห์ที่ 6

คนที ่สัปดาห์ 6

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

5 9 5 8 5 8 5 6 6 8 6 8 6 9 6

5 7 4 5 8 6 8 5 8 6 4 8 8 8 9

5 7 4 5 5 8 5 5 5 4 7 7 8 6 8

5 8 9 6 5 4 7 5 8 8 8 9 8 8 8

5 8 7 4 5 8 5 4 8 5 5 7 8 8 8

8 6 9 8 8 8 7 5 8 5 8 5 8 5 7

9 5 8 4 7 4 2 5 8 5 5 5 6 6 6

42 50 46 40 43 46 39 35 51 41 43 49 52 50 52

* มีตลาดนัดในชุมชน

Page 22: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

106

ตาราง 4.14 (ต่อ)

คนที ่สัปดาห์ 6

กิโลกรัม จ.* อ. พ. พฤ.* ศ. ส. อ.*

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

9 8 5 4 7 5 4 8 4 7 5 8 5 5 5

8 6 9 7 4 5 8 5 8 5 8 5 8 7 5

5 8 6 5 5 8 9 6 5 5 4 7 5 8 5

5 5 5 5 5 5 5 8 5 8 5 8 5 8 5

8 9 5 8 5 8 6 5 5 4 7 5 8 5 8

8 7 4 5 6 5 8 5 6 5 8 5 8 5 8

5 8 4 5 7 5 8 5 4 7 5 8 5 8 5

48 51 38 39 39 41 48 42 37 41 42 46 44 46 41

รวม 189 197 180 193 191 198 174 1,322 * มีตลาดนัดในชุมชน

จากตารางที่ 4.9-4.14 พบว่าจ านวนการบันทึกปริมาณขยะมูลฝอยหลังจากตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมโปรแกรมที่ผู้วิจัยคิดพัฒนาขึ้นนั้น ท าให้เห็นปริมาณของขยะมูลฝอยที่ ตัวแทนครัวเรือนจ านวน 30 คนในกลุ่มทดลองได้บันทึกไว้ในแต่ละสัปดาห์ โดยตัวแทนครัวเรือนจะต้องน าข้อมูลการจดบันทึกขยะมูลฝอยมาอภิปรายพูดคุยร่วมกันในการเข้าโปรแกรมแต่ละสัปดาห์จะเห็นได้ว่าในแต่ละครั้งที่มีการจดบันทึกจะมีจ านวนลดลงในแต่ละสัปดาห์ซึ่งมีบางวันที่มีตลาดนัดในชุมชนจะพบว่ามีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นลดลงตามแต่ละครั้งที่ตัวแทนครัวเรือนไปด าเนินกิจวัตรประจ าวันตามปกติ ซึ่งเป็นตัวแปรที่ต้องควบคุมเพิ่มเติมในภายหลัง ซึ่งในสัปดาห์แรกมีปริมาณขยะจ านวน 1 สัปดาห์ จ านวน 1,782 กิโลกรัม จากตัวแทนครัวเรือนที่ได้จัดการขยะมูลฝอยไป จากนั้นในสัปดาห์ 2,3,4,5,6 มีปริมาณขยะมูลฝอยในครัวเรือนเท่ากับ 1,713, 1,468, 1,365, 1,262 และ1,322 กิโลกรัม ตามล าดับโดยในสัปดาห์สุดท้ายตรงกับช่วงงานประจ าปีของชุมชนท าให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้น ดังตารางที่ 4.15

Page 23: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

107

ตาราง 4.15 ปริมาณขยะมูลฝอยในครัวเรือนที่บันทึกโดยตัวแทนครัวเรือน

สัปดาห์ที ่ ปริมาณขยะในครัวเรือนที่จดัการได ้ หน่วย

1 2 3 4 5 6

1,782 1,713 1,468 1,365 1,262

1,322***

กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม กิโลกรัม

รวม 8,912 กิโลกรัม *** มีงานประจ าปี ส่วนที่ 8 เปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังเข้าโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ทั้ง 2 กลุ่ม การเปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังเข้าโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ทั้ง 2 กลุ่ม พบว่า ในกลุ่มทดลองก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้เท่ากับ 11.77 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.09 หลังการเข้าร่วมโปรแกรมมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 19.23 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.89 ส าหรับกลุ่มควบคุมก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้เท่ากับ 6.96 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.73 หลังการเข้าร่วมโปรแกรมมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.50 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.84 ดังตารางที ่4.16

Page 24: ผลการวิเคราะห์ข้อมูลbook.pbru.ac.th/multim/thesis/83133/83133_chapter 4.pdf · 2019. 3. 5. · 8. การทิ้งขยะที่แสดงถึงการรับผิดชอบ

108

ตาราง 4.16 เปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังเข้าโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ทั้ง 2 กลุ่ม

ความรู้เกี่ยวกบัการจัดการขยะมูลฝอย n �̅� S.D t p-value

กลุ่มทดลอง ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง

30

11.77 19.23

4.09 0.89

-9.83

0.001

กลุ่มเปรียบเทยีบ ก่อนการทดลอง

หลังการทดลอง

30

6.96 8.50

1.73 0.84

-2.81

0.001

มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05