34
กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น สาหรับนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ศรัถ สกุลรัตน์ ส่วนนิติการ สานักงานอธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง First Published : 18 Feb 2016, Faculty of Architecture, KMITL

กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น ส าหรับนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร ์

ศรัถ สกุลรัตน์ ส่วนนิติการ ส านักงานอธิการบดี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

First Published : 18 Feb 2016, Faculty of Architecture, KMITL

Page 2: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ทรัพย์สินทางปัญญาคืออะไร ?

ทรัพย์สินทางปัญญา เป็นสิทธิตามกฎหมายที่มีอยู่เหนือผลงานการสร้างสรรค์ทางปัญญาของบุคคล

ทรัพย์สินทางปัญญา ต้องเป็นผลงานทางปัญญาของบุคคล หากไม่ได้เกิดจากการสร้างสรรค์ทางปัญญา แต่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ย่อมไม่ใช่ทรัพย์สินทางปัญญา

ผลงานทางปัญญาที่กฎหมายให้การรับรองเท่านั้น จึงจะมีสภาพเป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ตามนัยค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 837/2507)

Page 3: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ทรัพย์สินทางปัญญามีกี่ประเภท ?

องค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (World Intellectual Property: WIPO) ได้จ าแนกทรัพย์สินทางปัญญาออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

(1) ประเภทลิขสิทธิ์ (Copyright) ซึ่งเป็นรูปแบบของงานสร้างสรรค์ทางวรรณกรรมและศิลปกรรม เช่น หนังสือ ดนตรี ภาพยนตร์ งานศิลปะ เป็นต้น

Page 4: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ทรัพย์สินทางปัญญามีกี่ประเภท ?

(2) ประเภททรัพย์สินอุตสาหกรรม (Industrial Property) ซึ่งเป็นงานที่สร้างขึ้นและสามารถน าไปใช้ประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรมได้ เช่น สิทธิบัตรการประดิษฐ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ ผังภูมิของวงจรรวม สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ เป็นต้น

Page 5: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

แล้วกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาของไทยล่ะ ?

กรมทรัพย์สินทางปัญญา :

(1) พระราชบัญญัติลิขสทิธิ์ พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธิ ์(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2558 และพระราชบัญญัติลิขสิทธิ ์(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. 2558

(2) พระราชบัญญัติสิทธิบตัร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธบิัตร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. 2542

(3) พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติลิขสิทธิ ์(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2543

Page 6: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

แล้วกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาของไทยล่ะ ?

(4) พระราชบัญญัติคุ้มครองแบบผงัภูมิของวงจรรวม พ.ศ. 2543

(5) พระราชบัญญัติความลับทางการค้า พ.ศ. 2545

(6) พระราชบัญญัติคุ้มครองสิง่บ่งชีท้างภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546

กรมวิชาการเกษตร :

(1) พระราชบัญญัติคุ้มครองพนัธุ์พืช พ.ศ. 2542

Page 7: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

องค์ประกอบของงานอันมีลิขสิทธิ ์

(1) เป็นงานทีแ่สดงออกซึ่งความคิด (Expression of idea)

(2) เป็นงานที่กฎหมายรับรอง (Type of work)

(3) เป็นงานทีร่ิเริ่มสร้างสรรคด์้วยตนเอง (Originality)

(4) ไม่เป็นงานที่ขัดต่อกฎหมาย (Non-illegal work)

Page 8: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

การคุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ ์

คุ้มครองโดยอัตโนมัติ (Automatic protection)

คุ้มครองอย่างไม่มีแบบพิธี (Non-formality)

ไม่ต้องน าไปจดทะเบียน

ไม่จ าเป็นต้องแสดงการสงวนสิทธิไว้บนตัวงาน (Rights reserved)

Page 9: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับลิขสิทธิ์

สาธารณชนทั่วไปมักเข้าใจผิดว่า กฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครองความคิด หรือแนวความคิด แท้จริงแล้วกฎหมายลิขสิทธิ์มุ่งคุ้มครองการแสดงออกซึ่งความคิด

Copyright Idea Copyright Expression of idea

Page 10: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับลิขสิทธิ์

สาธารณชนทั่วไปมักเข้าใจผิดว่า การได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ จะต้องน างานไปจดทะเบียนเสียก่อน แต่สิ่งที่ถูกต้องคือ กฎหมายลิขสิทธิ์คุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์โดยอัตโนมัติอยู่แล้ว หากเข้าเงื่อนไขครบถ้วนตามกฎหมาย และไม่มีระบบการจดทะเบียนแต่อย่างใด

ลิขสิทธิ์ จดทะเบียน

Page 11: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

สิ่งที่ถูกต้อง & ควรจดจ า

จดแจ้ง ลิขสิทธิ์

จดทะเบียน เครื่องหมายการค้า

ขอรับ สิทธิบัตร

Page 12: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

เงื่อนไขการได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ของไทย

มีสองหลักการ*

(1) หลักสัญชาติ

ผู้สร้างสรรค์มีสัญชาติไทย หรืออยู่ในราชอาณาจักร หรือเป็นผู้มีสัญชาติหรืออยู่ในประเทศที่เป็นภาคีแห่งอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองลิขสิทธิ์ซึ่งประเทศไทยเป็นภาคีอยู่ด้วย ตลอดระยะเวลาหรือเป็นส่วนใหญ่ในการสร้างสรรค์งาน *พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ฯ, มาตรา 8

Page 13: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

เงื่อนไขการได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ของไทย

มีสองหลักการ

(2) หลักการโฆษณางานครั้งแรก

โฆษณางานครั้งแรกขึ้นในราชอาณาจักรหรือในประเทศที่เป็นภาคีแห่งอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองลิขสิทธิ์ซึ่งประเทศไทยเป็นภาคีอยู่ด้วย หากโฆษณางานครั้งแรกนอกราชอาณาจักรหรือประเทศดังกล่าว สามารถได้รับความคุ้มครองโดยการโฆษณางานในราชอาณาจักรหรือประเทศดังกล่าวภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้มีการโฆษณางานครั้งแรก

Page 14: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

สิ่งที่ไม่เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ของไทย

(1) ข่าวประจ าวัน และข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารอันมิใช่งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ

(2) รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย

(3) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ค าสั่ง ค าชี้แจง และหนังสือตอบโต้ของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น

Page 15: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

สิ่งที่ไม่เป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ของไทย

(4) ค าพิพากษา ค าสั่ง ค าวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ

(5) ค าแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม (1) – (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่นจัดท าขึ้น

Page 16: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ของไทย

(1) งานวรรณกรรม (Literary works)

(2) งานนาฏกรรม (Dramatic works)

(3) งานศิลปกรรม (Artistic works)*

(4) งานดนตรีกรรม (Musical works)

(5) งานโสตทัศนวัสดุ (Audio-visual works)

*งานจิตรกรรม งานประติมากรรม งานภาพพิมพ์ งานสถาปัตยกรรม งานภาพถ่าย งานภาพประกอบ แผนท่ี โครงสร้าง โครงร่าง ฯลฯ และงานศิลปประยุกต์ (7 ชนิดงาน)

Page 17: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ของไทย

(6) งานภาพยนตร์ (Cinematographic works)

(7) งานสิ่งบันทึกเสียง (Sound recording)

(8) งานแพร่เสยีงแพรภ่าพ (Broadcasting works)

(9) งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ

(Any other works in the literary and domestic domain)

Page 18: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

สิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์

สิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์เป็นไปตามกฎหมายของแต่ละประเทศ และอาจแตกต่างกันบ้างในรายละเอียด ทั้งนี้ อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม 1886 ซึ่งเป็นกฎหมายระหว่างประเทศได้แบ่งสิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์ออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ

(1) สิทธิในทางเศรษฐกิจ (Economic Rights)

(2) สิทธิของผู้สร้างสรรค์ (Author's Rights)

Page 19: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

สิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์ตามกฎหมายไทย

ประเทศไทยได้รับหลักการ แนวความคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวกับลิขสิทธิ์ พร้อมด้วยพันธกรณีตามความตกลงระหว่างประเทศ มาบัญญัติไว้ในกฎหมาย ซึ่งสิทธิในทางเศรษฐกิจกับสิทธิของผู้สร้างสรรค์จะปรากฏอยู่ในกฎหมายลิขสิทธิ์ของไทย ดังนี้

(1) สิทธิแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive Rights)*

(2) ธรรมสิทธิ์ (Moral Rights)**

*พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ฯ, มาตรา 15 / **เรื่องเดียวกัน, มาตรา 18

Page 20: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของเจ้าของลิขสิทธิ์

สิทธิแต่เพียงผู้เดียว ได้แก*่

(1) ท าซ้ าหรือดัดแปลง

(2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน

(3) ให้เช่าต้นฉบับหรือส าเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง

*พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ฯ, มาตรา 15

Page 21: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของเจ้าของลิขสิทธิ์

(4) ให้ประโยชน์อันเกิดจากลิขสิทธิ์แก่ผู้อื่น

(5) อนุญาตให้ผู้อื่นใช้สิทธิตาม (1) (2) หรือ (3) โดยจะก าหนด เงื่อนไขอย่างใดหรือไม่ก็ได้ แต่เงื่อนไขดังกล่าวจะก าหนดใน ลักษณะที่เป็นการจ ากัดการแข่งขันโดยไม่เป็นธรรมไม่ได้

Page 22: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ธรรมสิทธิ์

ธรรมสิทธิ์ ได้แก่*

(1) สิทธิในการแสดงว่าตนเป็นผู้สรา้งสรรค์ผลงาน

(Right of Paternity) และ

(2) สิทธิในการห้ามกระท า การปรับเปลี่ยนงานอันจะเป็นที่ เสียหายต่อเกียรติและชือ่เสียงของผูส้ร้างสรรค์ หรือที่เรยีกว่า สิทธิในการคงไว้ซึ่งบูรณภาพของงาน (Right of Integrity) *พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ฯ, มาตรา 18 / อนุสัญญากรุงเบิร์นฯ, ข้อ 6 ทว ิ

Page 23: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ตัวอย่าง กรณีการละเมิดธรรมสิทธิ์

พระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี โดย นายนิติกร กรัยวิเชียร นายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

(การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ท าการดัดแปลงโดยไม่ได้รับอนุญาต)

Page 24: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ตัวอย่าง กรณีข้อตกลงเรื่องธรรมสิทธิ์

ภาพพื้นหลังรูปปลากัดบนโทรศัพท์มือถือ iphone 6s / iphone 6s Plus กรณี นายวิศรุต อังคทะวานิช

(ข้อตกลงในการห้ามเปิดเผยซึ่งรายละเอียดการสร้างสรรค์และชื่อของผู้สร้างสรรค์)

Page 25: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ความคุ้มครองคาบเกี่ยว

ความคุ้มครองคาบเกี่ยว (Concurrent Protection) การเข้าเงื่อนไขตามกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญามากกว่าหนึ่งความคุ้มครอง

Page 26: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ตัวอย่าง ความคุ้มครองคาบเกี่ยว

(ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 6379/2537)

“…..แบบปากกาเคนดี้คอมแพค และแบบปากกาแลนเซอร์คาเดท เป็นงานสร้างสรรค์อันเกิดจากการน าเอาการสร้างแบบพิมพ์รูปลักษณะของปากกาและแบบแม่พิมพ์ ซึ่งเขียนด้วยลายเส้นประกอบเป็นรูปทรงอันเข้าลักษณะศิลปกรรมประเภทงานจิตรกรรม และการสร้างแม่พิมพ์กับหุ่นจ าลองของปากกาดังกล่าว ซึ่งเป็นงานสร้างสรรค์รูปทรงที่เกี่ยวกับปริมาตรที่สัมผัสและจับต้องได้ เข้าลักษณะศิลปกรรมประเภทงานประติมากรรมมาประกอบเข้าด้วยกัน

Page 27: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ตัวอย่าง ความคุ้มครองคาบเกี่ยว

(ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 6379/2537)

และสร้างขึ้นเป็นปากกาเพื่อน าไปใช้ประโยชน์ในการขีดเขียน เพื่อประโยชน์ทางการค้าอันเป็นประโยชน์อย่างอื่นนอกเหนือจากการชื่นชมในคุณค่าของตัวงานจิตรกรรมและประติมากรรมดังกล่าว งานสร้างสรรค์แบบปากกาทั้งสองแบบจึงเป็นงานศิลปประยุกต์อันอาจได้รับความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2521 ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีคุณค่าทางศิลปหรือไม่”

Page 28: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ตัวอย่าง ความคุ้มครองคาบเกี่ยว

(ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 6379/2537)

จ าเลยถูกตัดสินว่าละเมิดลิขสิทธิ์ในงานศิลปประยุกต์ของโจทก์

ศิลปประยุกต์ & สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

Page 29: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

หลักการใช้ที่เป็นธรรม

หลักการใช้ที่เป็นธรรม (Fair use) คือ ข้อยกเว้นของกฎหมาย มุ่งเปิดโอกาสให้บุคคลอื่น เข้าถึงงานอันมีลิขสิทธิ์ได้โดยไม่ต้องมีการขออนุญาต เพื่อให้สาธารณชนเข้าถึงงานได้เท่าที่จ าเป็น และพอสมควรแก่เหตุแห่งวัตถุประสงคใ์นการน างาน อันมีลิขสิทธิ์ไปใช้

Page 30: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

หลักการใช้ที่เป็นธรรม

หลักการใช้ที่เป็นธรรม (Fair use) (1) ต้องมีวัตถุประสงค์ที่สุจริต ไม่เป็นการแสวงหาก าไร (2) ไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสทิธิ์ (3) ไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของ เจ้าของลิขสทิธิ์เกินสมควร *พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ฯ, มาตรา 32

Page 31: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ตัวอย่าง การอ้างหลักการใช้ที่เป็นธรรม

(ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 1732/2543) จ าเลยมีอาชีพรับจ้างถ่ายเอกสาร ได้ท าส าเนาจาก ต้นฉบับหนังสือซึ่งเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ของโจทก์ทั้งสาม โดยท าเข้าเล่มไว้จ านวน 71 เล่ม และยังไม่เข้าเล่มจ านวน 290 ชุด และเอกสารเป็นแผ่นอีกจ านวน 185 ชุด (6,162 แผ่น) จ าเลยต่อสู้ว่าจ าเลยรับจ้างถ่ายส าเนาเอกสารตาม ค าสั่งของนักศึกษาซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างที่จะน าไปใช้ศึกษาหรือ วิจัย จึงได้รับการยกเว้นมิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์

Page 32: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ตัวอย่าง การอ้างหลักการใช้ที่เป็นธรรม

(ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 1732/2543) จ าเลยไม่มีพยานหลักฐานมาแสดงให้ศาลเห็นได้ว่ามี นักศึกษามาว่าจ้างให้จ าเลยถ่ายส าเนาเอกสารเพื่อ น าไปใช้ในการศึกษาหรือวิจัยงาน โดยมิใช่การกระท าเพื่อ การแสวงหาก าไร จ าเลยมีความผิดฐานท าซ้ างานอันมีลิขสิทธิ์ของโจทก์ ร่วมทั้งสองตามฟ้อง

Page 33: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

ตัวอย่าง การอ้างหลักการใช้ที่เป็นธรรม

(ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 1908/2546) จ าเลยที่ 1 เพียงแต่อ้างอิงถึงชื่อโจทก์และบุคคลอื่น พร้ อ ม ง าน เ ขี ยน ร วม 2 6 ร า ยก า ร ไ ว้ ใ น หั ว ข้ อ เอกสารอ้างอิงที่ท้ายเล่มในกรณีเช่นนี้ ผู้อ่านย่อมไม่ สามารถที่จะทราบได้ว่าข้อความส่วนใดของงานดังกล่าว เป็นงานเขียนของโจทก์ซึ่งจ าเลยที่ 1 คัดลอกมา จึงไม่เข้า หลักเกณฑ์ของข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา 33 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

Page 34: กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น161.246.35.43/images/IP/Coppyright Law.pdf · 2017-01-27 · กฎหมายลิขสิทธิ์เบื้องต้น

Thank you for your attention

Q & A