13
นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน Bangpa-in Industrial Estate ประจาปี 2555

นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

นิคมอุตสาหกรรมบางปะอินอิน Bangpa-in Industrial Estate

ประจ าปี 2555

Page 2: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

ค ำน ำ

สถานการณ์น ้าท่วม ปี พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมา นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ได้ประสบภาวะวิกฤตเหตุการณ์น ้าท่วมในระดับรุนแรงและมีแนวโน้มที่จะทวีความถี่ของการเกิดและมีความรุนแรงมากยิ่งขึ น อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรทางธรรมชาติ จึงเป็นปัญหาที่ต้องเตรียมการป้องกันและแก้ไข เพ่ือเตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาน ้าท่วมอย่างยั่งยืน นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน จึงได้น้าผลการศึกษาข้อมูลอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ใช้ในการจัดท้าแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย ส้าหรับเป็นคู่มือการเตรียมความพร้อม การป้องกัน การวางแผนการท้างาน การตัดสินใจ และการสั่งการ โดยความร่วมมือของผู้ศึกษาออกแบบระบบป้องกันน ้าท่วม ผู้ด้าเนินการก่อสร้าง ผู้ประกอบการ ตลอดจนหน่วยงานทุกภาคส่วนที่ประสานด้านข้อมูลต่างๆ เพ่ือให้การจัดท้าแผนมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด

นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน 21 กันยายน 2555

Page 3: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

สารบัญ

หน้า

ข้อมูลทั่วไป 3

แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย 4

- แผนเตรียมความพร้อม (ก่อนอุทกภัย) 4 - แผนเผชิญเหตุอุทกภัย (ขณะเกิดเหตุ) 6 - มาตรการอพยพ 8 - การกอบกู้ / หลังจากที่ภัยเกิด 8 - มาตรการฟื้นฟบููรณะ 9

ภาคผนวก

- การจัดผังองค์กร/ก้าหนดภารกิจ/บทบาทและความรบัผิดชอบ

- ข้อมูลระบบสถานีสบูน า้ เครื่องสูบน า้ และเครื่องก้าเนิดระบบไฟฟ้าสา้รอง

- ข้อมูลการติดต่อสื่อสาร

- ข้อมูลระบบป้องกันน ้าท่วม

- ข้อมูลอุทกภัยปี พ.ศ. 2554

- ผังแสดงทีต่ั ง/พื นที่ นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน

- ผังแสดงลุ่มน า้เจ้าพระยาและแนวป้องกันน ้า

- ผังแสดงจุดอพยพ/รวมพล/ศนูยพ์ักพิง

- ผังแสดงความสา้คัญที่เกี่ยวข้องกับอุทกภัย

- แบบฟอร์มที่ใช้ในการตรวจสอบ การรายงาน

Page 4: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย

นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน

1. ข้อมูลทั่วไป

สภาพพื นที่โดยทั่วไปของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพื นที่ราบลุ่มภาคกลาง มีเนื อที่ประมาณ 1,608,981 ไร่ มีแม่น ้าหลักส้าคัญ 4 สาย ได้แก่ แม่น ้าเจ้าพระยา แม่น ้าป่าสัก แม่น ้าลพบุรี และแม่น ้าน้อย มีคลองชลประทานและคลองธรรมชาติ รวมทั งสิ น 1,261 สาย หากเกิดฝนตกชุกหนาแน่นในทุกภาคของประเทศไทย และมีฝนตกหนักถึงหนักมากในพื นที่ต่างๆ โดยเฉพาะภาคเหนือ ภาคกลาง สถานการณ์ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบให้ปริมาณน ้าในแม่น ้าต่าง ๆ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีระดับสูงขึ นและก่อให้เกิดภาวะอุทกภัย สร้างความเสียหายขึ นได ้นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ต้องเฝ้าระวังติดตามปริมาณน ้าจากเขื่อนเจ้าพระยา เขื่อนพระรามหก และระดับน ้าเส้นทางน ้าโดยรอบนิคมฯ เช่น คลองขุด คลองหนองหอย ประตูน ้าคลองจิก ประตูน ้าเปรมประชากร เป็นต้น

สถานการณ์อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ไดป้ระสบกับปัญหาน ้าท่วมเข้าสู่พื นที่ท้าให้เกิดความเสียหาย ระดับรนุแรง ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนในภาคอุตสาหกรรม ซ่ึงนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน จัดตั งขึ นเมื่อปี พ.ศ. 2532 ตั งอยู่ในพื นที่ต้าบลคลองจิก และต้าบลบางกระสั น อ้าเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพื นที่ทั งหมด 1,962 ไร่ ปัจจุบันมีผู้ประกอบการ 90 ราย ประกอบด้วย นักลงทุนไทย ญี่ปุ่น อเมริกา และสัญชาติอ่ืนๆ ทั งนี มีการลงทุนประมาณ 60,000 ล้านบาท อุตสาหกรรมส้าคัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมเครื่องยนต์ เครื่องจักรและอะไหล่ อุตสาหกรรมยางพลาสติก และหนังเทียม เป็นต้น โดยมีประชากรและแรงงานไม่น้อยกว่า 50,000 คน

2. วัตถุประสงค์

เพ่ือเป็นแนวทางส้าหรับการเตรียมพร้อมในเรื่องของการเฝ้าระวังและเผชิญเหตุอุทกภัยให้สามารถด้าเนินการอย่างถูกวิธีเมื่อเผชิญเหตุ รวมถึงสร้างความมั่นใจต่อระบบป้องกันน ้าท่วมของนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน กรณีเกิดเหตุอุทกภัย และเป็นการบรรเทาความเสียหายให้ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด

3. ขอบเขต

เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมในเรื่องการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการเผชิญเหตุกรณีเกิดอุทกภัยของนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน และเป็นแนวทางในการประสานความร่วมมือ ของทุกภาคส่วนทั งองค์กรภาครัฐ ผู้ประกอบการ และประชาชน ในการให้ความช่วยเหลือบรรเทาภัย ตลอดจนล้าดับขั นตอน แนวทางการปฏิบัติ การประสานงาน การสั่งการ และการติดต่อสื่อสาร ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน

Page 5: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

4. แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย

เนื่องจากการเกิดพิบัติของเขื่อนป้องกันน ้าท่วมสามารถสร้างความสูญเสียต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิต ส่งผลโดยรวมทางเศรษฐกิจ แรงงาน ตลอดจนความเชื่อมั่นนักลงทุน ดังนั นเพ่ือเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงต้องมีการเตรียมการตั งแต่การส้ารวจ ออกแบบ การก่อสร้าง การใช้งาน และการซ่อมบ้ารุงเพ่ือให้ระบบคันป้องกันน ้าท่วมอยู่ในสภาพที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง และก้าหนดแผนการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย เป็น 5 ขั นตอน ได้แก่ แผนเตรียมความพร้อม (ก่อนเกิดอุทกภัย) แผนการเผชิญเหตุอุทกภัย มาตรการอพยพ การกอบกู้/การฟื้นฟูหลังเกิดเหตุ และมาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี

4.1 แผนเตรียมความพร้อม (ก่อนเกิดอุทกภัย)

4.1.1 การเตรียมความพร้อมด้านระบบเขื่อนป้องกันน าท่วม

- การสร้างระบบเขื่อนป้องกันน ้าท่วม นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ได้ท้าการก่อสร้างเขื่อนป้องกันน ้าท่วมล้อมรอบพื นที่โครงการ เพ่ือป้องกันน ้าจากบริเวณรอบนอกไหลเข้าสู่พื นที่ภายใน โดยเขื่อนได้ออกแบบเป็นวัสดุดินเหนียวบดอัด ทีค่วามสูงระดับ + 4.40 MSL. และเสริมความสูงระดับคันดินด้วย R.C. Flood Wall จนถึงระดับ + 6.00 MSL. และท้า Concrete Slope Protection เพ่ือป้องกันการกัดเซาะ ทั งด้านหน้าและด้านหลังเขื่อน โดยออกแบบที่รอบปีการเกิดซ ้า (Design Return Period ) 100 ปีเป็นเกณฑ์

- การออกแบบระบบระบายน ้า ในพื นที่นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ได้ออกแบบให้ระบบน ้าฝนแยกจากระบบระบายน ้าเสีย โดยระบบระบายน ้าฝนได้ออกแบบเป็นคลองระบายโดยให้ไหลไปตามความลาดเอียงของคันคลองน ้าจากซอยภายในโครงการจะไหลมายังคลองสายใหญ่ของโครงการฯ แล้วมารวมกันที่สถานีสูบน ้า 3 แห่ง

- การจัดเตรียมความพร้อมสถานีสูบน ้า ส้าหรับการป้องกันน ้าท่วมในพื นที่ นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน จะท้าการสูบน ้าออกจากคลองโดยรักษาระดับความสูงในช่วงฤดูฝนไม่ให้สูงกว่า + 0.55 MSL.

4.1.2 ส ารวจและเตรียมความพร้อมด้านเครื่องมือ อุปกรณ์ และยานพาหนะ

- รายงานเครื่องจักรประจ้าโครงการ / เครื่องมือหนักประจ้าโครงการ

- จัดเตรียมวัสดุที่ใช้ส้าหรับการซ่อมแซมคันป้องกันน ้าท่วม เช่น หินคลุก ทราย แผ่นเหล็ก Sheet Pileกระสอบทราย ฯลฯ

- จัดเตรียมยานพาหนะ เรือส้าหรับตรวจสอบคันกั นน ้ารอบนอกนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน

- จัดเตรียมรถยนต์ส้าหรับตรวจสอบคันกั นน ้าด้านในนิคมฯ และอพยพคนออกจากพื นที่เสี่ยงภัย

- อาหาร และน ้าดื่ม และอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื องต้น

- อุปกรณ์ดับเพลิง และอุปกรณ์ที่จ้าเป็นแก่การปฏิบัติงาน เช่น ไฟฉาย เครื่องปั่นไฟ น ้ามันเชื อเพลิง

- จัดเตรียมเครื่องสูบน ้าส้ารอง Standby ทั งใน/นอกพื นที่

Page 6: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

4.1.3 ก าหนดความพร้อมด้านการติดต่อสื่อสาร และเครื่องมือสื่อสาร

- หมายเลขโทรศัพท์กลาง ส้าหรับติดต่อสื่อสาร 035-258-200

- ก้าหนดรายชื่อผู้ประสานงานกรณีฉุกเฉิน

- ก้าหนดช่องทางการสื่อสารผ่าน SMS

- รายงานข้อมูลข่าวสารผ่าน www.bldc.co.th

- จัดเตรียมวิทยุสื่อสารก้าลังสูงส้าหรับทีมปฏิบัติงาน รถประกาศ และไซเรน

4.1.4 ความพร้อมด้านบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน

- ทีมฉุกเฉินป้องกันน ้าท่วม นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่นิคมฯ , บริษัท ที่ดินบางปะอิน จ้ากัด ประมาณ 70 คน ท้าหน้าที่ประสานงานส่วนราชการที่เก่ียวข้อง ประสานผู้ประกอบการโรงงานตรวจสอบระบบคันป้องกันน ้าท่วม และให้การสนับสนุนทีมก่อสร้าง

- ทีมก่อสร้างคันป้องกันน ้าท่วมและระบบระบายน ้า นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน คือ บมจ. ช. การช่าง ประมาณ 155 คน ประกอบด้วย วิศวกร ช่างตรวจสอบคุณภาพ ผู้ควบคุมงาน คนงาน ท้าหน้าที่ตรวจสอบประเมินสภาพคันป้องกันน ้าท่วม แก้ไขซ่อมแซมคันป้องกันน ้าท่วม

4.1.5 ก าหนดพื นที่ระดมและจัดสรรทรัพยากร

- กองอ้านวยการกลาง บริเวณส้านักงานนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน

- ส้านักงานก่อสร้างระบบคันป้องกันน ้าท่วม บริเวณส้านักงานฝ่ายสาธารณูปโภค

4.1.6 ความพร้อมด้านเส้นทางอพยพ และจุดอพยพ

- สถานที่ที่จัดเตรียมเป็นจุดอพยพในสถานการณ์อุทกภัยที่มีความเสี่ยง ภายในพื นที่นิคมฯ ให้ใช้อาคารส้านักงาน โรงงานที่มีความสูง มากกว่า 1 ชั น เป็นที่พักพิงชั่วคราว

- สถานที่ภายนอกนิคมฯ ให้ใช้พื นที่ที่กระทรวงอุตสาหกรรมก้าหนดเป็นพื นที่รองรับการอพยพ ได้แก่ ตลาดโรงเกลือ ประตูน ้าพระอินทร์ เป็นต้น

- กรณีท่ีโรงงานจัดเตรียมพื นที่ภายนอกนิคมฯ เป็นจุดอพยพไว้แล้ว โรงงานปฏิบัติตามแผนของโรงงานนั นๆ โดยส่งข้อมูลมาที่นิคมฯ เพ่ือประสานเส้นทางคมนาคม การขนส่ง จุดรับส่งของการล้าเลียงเครื่องจักร ผู้ปฏิบัติงาน ผู้อพยพ ต่อไป

- จัดเตรียมสถานที่ในนิคมฯ เป็นที่จอดเฮลิคอปเตอร์เพื่อการล้าเลียงผู้บาดเจ็บ และ/หรือ สิ่งของมีค่า ตามความจ้าเป็น

Page 7: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

4.1.7 ความพร้อมด้านการเฝ้าระวัง / รายงานผล

- ติดตามข้อมูลปริมาณน ้าจากจังหวัดนครสวรรค์

- ติดตามข้อมูลปริมาณการระบายน ้าจากเข่ือนเจ้าพระยา และเข่ือนพระรามหก

- ติดตามข้อมูลระดับความสูงของน ้า

จุดเฝ้าระวังที่ 1 บริเวณแม่น ้าเจ้าพระยา (หน้าสถานีต้ารวจภูธรบางปะอิน) ด้านทิศตะวันตกของนิคมฯ

จุดเฝ้าระวังที่ 2 ประตูน ้าคลองจิก บริเวณด้านทิศเหนือของนิคมฯ

จุดเฝ้าระวังที่ 3 ประตูน ้าคลองเปรมประชากร บริเวณด้านทิศใต้ของนิคมฯ

จุดเฝ้าระวังที่ 4 บริเวณถนนอุดมสรยุทธ์

- ประสาน / ติดตามข้อมูลด้านอุทกวิทยากับหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ตลอด 24 ชั่วโมง

- ตรวจสอบสภาพ/ความมั่นคงแข็งแรงระบบเขื่อนป้องกันน ้าท่วมโดยรอบนิคมฯ เครื่องสูบระบายน ้า พื นที่ระบายน ้า และประตูน ้าที่เก่ียวข้อง ตลอด 24 ชั่วโมง

อนึ่ง กรณทีีร่ะบบป้องกันอุทกภัยนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ประเมินแล้วมีความปลอดภัยสามารถป้องกันอุทกภัยได้ จะพิจารณาให้การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยรอบๆ นิคมฯ อาทิเช่น มอบถุงยังชีพ จัดตั งศูนย์รองรับผู้อพยพ / ศูนย์พักพิง

4.2 แผนเผชิญเหตุอุทกภัย (ขณะเกิดเหตุ)

4.2.1 จัดตั งศูนยบ์ริหารสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉิน

เมื่อเกิดอุทกภัย หรือคาดการณ์ว่าจะเกิดอุทกภัย ให้จัดตั งศูนย์บริหารสถานการณ์และคณะท้างานในภาวะฉุกเฉิน โดยมีผู้อ้านวยการส้านักงานนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน เป็นผู้อ้านวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน

4.2.2 การสั่งการในภาวะฉุกเฉิน

เพ่ือให้การสั่งการเพ่ือควบคุมและโต้ตอบภาวะฉุกเฉินในนิคมอุตสาหกรรมบางปะอินเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ จึงก้าหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามผังโครงสร้างควบคุมภาวะฉุกเฉินดังนี

(1) ผู้อ้านวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน (2) ผู้ประสานงานภาวะฉุกเฉิน (3) ผู้ควบคุมภาวะฉุกเฉิน (4) ฝ่ายเทคนิคและบริการ (5) ฝ่ายข้อมูลข่าวสารและประสานงาน (6) ฝ่ายรักษาความปลอดภัย

Page 8: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

4.2.3 ระดับความรุนแรงของอุทกภัยและการด าเนินการ

ระดับ สถานการณ์ / การแจ้งเตือน ผู้ประกอบการ การด าเนินการของนิคมฯ

1

สีเขียว - ปริมาณน ้าจากเข่ือนเจ้าพระยา

และเข่ือนพระรามหกรวมกันตั งแต ่ 2,500 -3,000 ลบ.ม./ วินาที

-เพ่ือเฝ้าระวังและติดตามข้อมูลข่าวสารจากนิคมฯ ทาง www.bldc.co.th

- จัดเตรียม ส้ารวจความพร้อมเครื่องมือ/อุปกรณ์ -ตรวจสอบระดับน ้า ณ จุดเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด

2

สีเหลือง - ปริมาณน ้าจากเข่ือนเจ้าพระยา

และเข่ือนพระรามหกรวมกัน ตั งแต่ 3,000-3,500 ลบ.ม./วนิาที

-เตรียมการขนย้ายทรัพย์สิน มีค่าไว้ในที่ปลอดภัย

-เตรียมการป้องกันระบบไฟฟ้า เครื่องจักร สารเคมี หรือวัตถุที่ก่อให้เกิดอันตราย

- จัดตั งศูนย์บริหารสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉิน - สื่อสารข้อมูล/ข่าวสาร ไปยังผู้ประกอบการอย่างต่อเนื่อง -ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3

สีส้ม

- ปริมาณน ้าจากเข่ือนเจ้าพระยาและเข่ือนพระรามหกรวมกัน มากกว่า 3,500 ลบ.ม./วินาที หรือ

- ระดับน ้าประตูน ้าคลองจิก/คลองเปรมประชากรมีความสูง +3.30 MSL หรือ

- ระดับน ้าภายนอกนิคมฯ เริ่ม ท่วมถึงไหล่ทางถนนอุดมสรยุทธ์

- กรณรีะดับน ้าภายนอกนิคมฯ เพ่ิมสูงขึ นจนถึงก่ึงกลางถนน อุดมสรยุทธ์ (+3.85 MSL)

-พิจารณาเคลื่อนย้ายพาหนะ และอพยพแรงงาน ทรัพย์สิน สินค้า วัตถุดิบ ข้อมูลส้าคัญออกไปไว้ในที่ปลอดภัย และ/หรือ สถานประกอบกิจการชั่วคราวนอกนิคมฯ โดยอาจใช้สถานที่ตามแผน BCM ของโรงงานเอง หรือ สถานที่ทีก่ระทรวงอุตสาหกรรมจัดเตรียมไว้ (ตลาดโรงเกลือ) โดยแต่ละโรงงานพิจารณาเหตุผลความจ้าเป็นด้านการคมนาคมขนส่ง เป็นส้าคัญ

- ในกรณีที่ไม่อพยพออกจากนิคมฯ โรงงานจัดเตรียมเสบียงอาหาร น ้าดื่ม ของใช้จ้าเป็นส้าหรับการอุปโภค บริโภค ฯลฯ

- กนอ. แจ้งผู้ประกอบการพิจารณาหยุดประกอบกิจการ - เมื่อระดับน ้าภายนอกท่วมถึงไหล่ทางถนนอุดมสรยุทธ์ (+3.30 MSL) และมีแนวโน้มเพ่ิมขึ น นิคมฯ ประกาศเตือนให้รถเล็กออกจากพื นที่ - เมื่อระดับน ้าภายนอก ท่วมถึงก่ึงกลางถนนอุดม สรยุทธ์ (+3.85 MSL) และมีแนวโน้มเพ่ิมขึ นนิคมฯ ประกาศเตือนให้รถทุกขนาดทยอยออกจากพื นที่นิคมฯ และจะปิดการจราจรฝั่ง ขาเข้าเมื่อระดับน ้าท่วมที่ +4.00 MSL

Page 9: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

4

สีแดง - ระดับน ้ามีความสูง +4.20 MSL

(เท่ากับระดับสูงสุดในปี 2554) ปิดการจราจรเข้า-ออกนิคมฯ

- ติดตามข้อมูลข่าวสารจากนิคมฯ อย่างใกล้ชิด

- เตรียมอพยพผู้ปฏิบัติงานที่Stand by อยู่ในโรงงานขึ น ที่สูง กรณีที่ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้

-นิคมฯ ปิดการจราจรทางเข้าและออก

- จัดท้าท่าเทียบเรือเพ่ือใช้เป็นจุดขนถ่ายสิ่งของบริเวณด้านหน้านิคมฯ

- จัดเรือฉุกเฉิน Stand by ภายนอกนิคมฯ

4.3 มาตรการอพยพ

ก้าหนดเกณฑ์เพ่ือการสื่อสาร การแจ้งเตือน โดย ผู้ควบคุมภาวะฉุกเฉินนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน ประชาสัมพันธ์ หรือ ประกาศภาวะฉุกเฉิน แบ่งสถานการณ์ไว้ ดังนี

4.3.1 การประชาสัมพันธ์ประกาศเตรียมพร้อม ให้ผู้ประกอบการหรือผู้อยู่อาศัยภายในนิคมอุตสาหกรรมเตรียมพร้อมส้าหรับการอพยพที่อาจจะมีขึ น ซึ่งจะต้องพิจารณาความเหมาะสมกับสภาพการเกิดน ้าท่วม เช่น ประชุมร่วมกับผู้ประกอบการ หรือ ออกหนังสือแจ้งเตือนภัยพร้อมให้ข้อแนะน้าการเตรียมขนย้ายเอกสารส้าคัญ วัตถุดิบ สารเคมี สินค้า ผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรที่สามารถเคลื่อนย้ายได้

4.3.2 กรณีไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้เมื่อน ้าเริ่มล้นระบบป้องกันน ้าท่วม หรือระบบป้องกันน ้าท่วม ได้รับความเสียหายจนน ้าเข้ามาในพื นที ่ และประเมินสถานการณ์แล้วมีความเสี่ยงอยากต่อการควบคุมได้การประกาศแจ้งให้ท้าการอพยพโดยทันที โดยให้อพยพพนักงานบริษัทและประชาชนไปอยู่ในที่ท่ีปลอดภัย เช่น ตึก อาคารที่มีความสูงเกินหนึ่งชั น หรือมีชั นลอย ฯลฯ

และประสานงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคบางปะอิน ให้ท้าการตัดกระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้นิคมฯ โดย การพิจารณาความปลอดภัยระดับน ้าท่วมที่ส่งผลกระทบต่อสถานีไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า จากผู้เชี่ยวชาญของการไฟฟ้าฯ กรณผีู้ต้องการใช้ไฟฟ้าและการไฟฟ้าเห็นว่ามีความปลอดภัยจะไม่ท้าการตัดกระแสไฟฟ้า

4.4 การกอบกู้ฟื้นฟู/หลังจากที่ภัยเกิด (กรณีน ้าท่วมพื นที่นิคมอุตสาหกรรม)

4.4.1 จัดตั งศูนย์กอบกู้ฟ้ืนฟู โดย มอบหมายภารกิจให้หน่วยปฏิบัติ บมจ. ช.การช่าง

4.4.2 จัดทีมดูแลตรวจความปลอดภัย ทรัพย์สิน ภายในนิคมอุตสาหกรรม โดย ชุดลาดตะเวนเรือเร็วก้าลังพลของหน่วยทหาร และ/หรือ ทีมนิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน

4.4.3 จัดหาอุปกรณ์อ้านวยความสะดวก เช่น เครื่องปั่นไฟฉุกเฉินระบบน ้าประปาส้ารองหากไม่เพียงพอ

4.4.4 ตรวจสอบความเสียหาย ซ่อมแซมระบบป้องกันน ้าท่วม และพิจารณาจัดหาเพิ่มเติมตามความจ้าเป็น เช่น ปั๊มสูบน ้าพญานาค ระบบเชื อเพลิง โป๊ะเคลื่อนย้ายเครื่องจักร ติดตั งนั่งร้านทางเดินเข้าศูนย์ฯ

Page 10: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท

4.4.5 จัดหาเรือเพ่ิมเติมให้มีความเพียงพอ ต่อการใช้งานในการกอบกู้ ในการรับส่ง หรืออพยพกลับ

4.4.6 จัดทีมดูแลด้านสิ่งแวดล้อม ออกเก็บวัสดุ ขยะ และป้องกันคราบน ้ามัน

4.4.7 ประสานหรือบริการหน่วยงานภาครัฐ เช่น กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมควบคุมมลพิษ กรมควบคุมโรค ในการจัดเก็บตัวอย่างน ้าหรือตรวจวัดวิเคราะห์คุณภาพน ้า

4.4.8 ด้าเนินการซ่อมแซมระบบเขื่อน/ก้าแพงป้องกันน ้าระบบปั๊มสูบน ้า และสูบน ้าออกภายนอกนิคม อุตสาหกรรมบางปะอิน โดย การวางแผนงานกอบกู้ ก้าลังคน เครื่องจักร/อุปกรณ์ ระยะเวลาสูบน ้า

4.5 มาตรการฟ้ืนฟบููรณะ (การฟ้ืนฟูสภาพแวดล้อมภายหลังน ้าลดลงเข้าสู่ภาวะปรกติ)

ผู้อ้านวยการควบคุมภาวะฉุกเฉิน มีอ้านาจสั่งการให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายด้าเนินการตามความเหมาะสมของสถานการณ์ดังนี

4.5.1 จัดตั งศูนย์ประสานงานจ่ายกระแสไฟฟ้าภายในนิคมอุตสาหกรรม โดยประสานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และด้าเนินการบ้ารุงรักษา แก้ไข ดัดแปลง จัดหาสิ่งอ้านวยความสะดวกในด้านการให้แสงสว่าง ตลอดจนซ่อมแซมฟ้ืนฟูบูรณะ ให้คืนสู่สภาพปกติตามเดิม

4.5.2 ประสานการซ่อมแซมฟ้ืนฟูบูรณะ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม ภายในนิคมอุตสาหกรรม

4.5.3 จัดตั งศูนย์บริการกากอุตสาหกรรมให้ค้าแนะน้าและการขนย้ายไปก้าจัดอย่างถูกหลักวิชาการตามกฎหมายก้าหนด โดย ร่วมมือกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

4.5.4 ส้ารวจ/ประเมินความเสียหายของบริษัท โรงงาน ผู้ประกอบการต่างๆใน เบื องต้น

4.5.5 รายงานผลความเสียหายที่ได้รับ เช่น ผวจ.อยุธยา, ผวก.กนอ. , รมว.อก. เป็นต้น

4.5.6 ท้าความสะอาดพื นที่ในนิคมฯ เช่น การจัดงาน BIG CLENING DAY โดยการร่วมกันท้าความสะอาด ถนนส่วนกลาง อาคารหรือโรงงาน หรือท่ีอยู่อาศัย ฯลฯ

4.5.7 ปลูกเสริมต้นไม้ใหม่ทดแทนต้นไม้ที่ตาย

4.5.8 ตกแต่งอาคารที่ท้างานให้มีทัศนียภาพสวยงามพ้นสภาพจากการถูกอุทกภัย เช่น ทาสีอาคาร ใหม่ จัดหาไม้สวยงามมาประดับอาคาร เป็นต้น

Page 11: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท
Page 12: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท
Page 13: นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน อินBangpa -in ...¹ผน...ค ำน ำ สถานการณ น าท วม ป พ.ศ. 2554 ท