15
คู่มือ การเข้าใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการสืบค้นข้อมูลประกัน คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรระดับคณะ จัดทาโดย นางสาวธิดารักษ์ รัตนมณี ตาแหน่ง นักวิชาการศึกษา สังกัด งานนโยบาย แผน และประกันคุณภาพ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ประจาปี 2562

คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

คู่มือ

การเข้าใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการสืบค้นข้อมลูประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรระดับคณะ

จัดท าโดย

นางสาวธิดารักษ์ รัตนมณี ต าแหน่ง นักวิชาการศึกษา

สังกัด งานนโยบาย แผน และประกันคุณภาพ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

ประจ าปี 2562

Page 2: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

ค ำน ำ

การจัดท าคู่มือการเข้าใช้งานระบบสารสนเทศเพ่ือการสืบค้นข้อมูลประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรระดับคณะ เพ่ือการศึกษาข้อมูลในการจัดรวบรวม ให้เป็นแนวทางในการด าเนินงาน และตระหนักถึงความส าคัญของการจัดท า รวบรวม ข้อมูลที่ส าคัญเกี่ยวกับการการประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ระดับคณะ ให้มีแนวทางและระบบการด าเนินงานตามหลักการ นอกจากนี้เพ่ือสร้างความมั่นใจแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเข้ารับการศึกษา และในระดับองค์กร ทั้งนี้ การปฏิบัติงานเกี่ยวกับการการประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ระดับคณะ ไม่เพียงแต่ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากรภายในคณะ แต่หมายรวมถึงนักศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับคณะอีกด้วย ดังนั้น ข้าพเจ้าเห็นว่าการจัดท าคู่มือการเข้าใช้งานระบบสารสนเทศเพ่ือการสืบค้นข้อมูลประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรระดับคณะ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย หากมีข้อผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้

ธิดารักษ์ รัตนมณี

Page 3: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

สำรบัญ หน้า

ค ำน ำ ก สำรบัญ ข ความส าคัญของระบบสารสนเทศกับการประกันคุณภาพการศึกษา 1 บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษา 3 แนวคิดเก่ียวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา 3 การสืบค้นข้อมูลประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรระดับคณะ 4 ในระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (ERP) - คุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ - ต าแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ - การพัฒนาบุคลากร - จ านวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจ านวนอาจารย์ประจ า (FTES) บรรณานุกรม

Page 4: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

1

การเข้าใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการสืบค้นขอ้มลูประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรระดับคณะ

ระบบสารสนเทศกับการประกันคุณภาพการศึกษา ความส าคัญของระบบสารสนเทศกับการประกันคุณภาพการศึกษา โลกในยุคปัจจุบันเป็นยุคโลกาภิวัตน์ที่มีความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงจ าเป็นที่แต่ละประเทศต้องเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาและเตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับความท้าทาย โดยปัจจัยส าคัญที่จะเผชิญการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายดังกล่าว คือคุณภาพของคน การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงเป็นเร่ืองที่มีความจ าเป็นอย่างยิ่งโดยจะต้องเป็นการศึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อท าให้ศักยภาพที่มีอยู่ในตัวคนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ท าให้เป็นคนที่รู้จักคิดวิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีจริยธรรม คุณธรรม รู้จักพึ่งตนเองและสามารถด ารงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข ดังนั้นงานประกันคุณภาพการศึกษา มีความส าคัญกับการประกันคุณภาพการศึกษา 3 ประการ คือ 1. ท าให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาที่เชื่อถือได้ เกิดความเชื่อมั่นและสามารถตัดสินใจเลือกใช้บริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน 2. ป้องกันการจัดการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพ ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองเพื่อให้เกิดความเสมอภาคในโอกาสที่จะได้รับการบริการการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง 3. ท าให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบริหารจัดการศึกษาสู่คุณภาพและมาตรฐานอย่างจริงจัง ซึ่งมีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาให้มีคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นการด าเนินกิจกรรมใด ๆ ประเมินคุณภาพการศึกษา โดยในแต่ละขั้นตอน ต่างก็ต้องใช้ข้อมูลข่าวสารสนเทศในการด าเนินงานทั้งสิ้น เพื่อสร้างความมั่นใจต่อผู้ปกครอง ชุมชน และสังคมว่า การด าเนินงานของโรงเรียนที่ก าหนดไว้นั้นจะได้ผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพอันพึงประสงค์ตามความคาดหวังของชุมชนและสังคม ซึ่งในระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาประกอบด้วย 3 ขัน้ตอน คือการควบคุมคุณภาพการศึกษาการตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาและการประเมินคุณภาพการศึกษา โดยในแต่ละขั้นตอนต่างก็ต้องใช้ข้อมูลสารสนเทศในการด าเนินงาน กรมสามัญศึกษา (2542) ดังนี้ 1. ระบบควบคุมการศึกษา ประกอบด้วยการก าหนดมาตรฐานการศึกษาและการพัฒนาเข้าสู่มาตรฐานการศึกษาการด าเนินงานของมหาวิทยาลัยจ าเป็นต้องมีข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับสภาพทั่วไปของท้องถิ่น ที่เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย ความต้องการของชุมชน ศักยภาพของมหาวิทยาลัย ตลอดจนแผนการพัฒนาแนวนโยบายและแนวการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงจะสามารถก าหนดมาตรฐานของมหาวิทยาลัย ได้เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น ศักยภาพของโรงเรียนและมาตรฐานการศึกษาระดับชาติและสามารถด าเนินการพัฒนาเข้าสู่ มาตรฐานการศึกษาที่ก าหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ระบบการตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยจ าเป็นต้องมีข้อมูล สารสนเทศเกี่ยวกับปัจจัยในการด าเนินงานของมหาวิทยาลัย กระบวนการการบริหารจัดการอันได้แก่ คุณลักษณะของผู้เรียนจึงจะเอ้ือต่อ

Page 5: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

2

การประเมินภายใน ทั้งที่ มหาวิทยาลัยด าเนินการเองและด าเนินการจากหน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนข้อมูลสารสนเทศที่แสดงถึงจุดเด่นและจุดด้อยที่ต้องการพัฒนาของมหาวิทยาลัย อันเป็นผลมาจากการประเมินผลภายใน จะน าไปสู่การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาอีกด้วย 3. ระบบการประเมินคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยจ าเป็นต้องมีสารสนเทศทั้งส่วนที่แสดงถึงบริบทของ มหาวิทยาลัย ปัจจัยในการด าเนินงานของมหาวิทยาลัย กระบวนการในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย และผลผลิต คือคุณลักษณะของผู้เรียน จึงจะช่วยให้การประเมินคุณภาพทั้งระบบของมหาวิทยาลัย เพื่อการรับรองคุณภาพของมหาวิทยาลัยเป็นไปได้สะดวกราบรื่น ความส าคัญของข้อมูลสารสนเทศข้างต้น เป็นการกล่าวถึงความส าคัญของข้อมูลสารสนเทศ ตามกระบวนการประกันคุณภาพ แต่ยังสามารถกล่าวถึงความส าคัญของขอ้มูลสารสนเทศ โดยจ าแนกตามประเภทของผู้ใช้ (กรมวิชาการ, 2544) ไว้ด้งนี้ 1. ผู้บริหารใช้สารสนเทศเพื่อก าหนดนโยบายการวางแผน การจัดสิ่งอ านวยความสะดวก การนิเทศก ากับและติดตาม การประเมินผลและการใช้ขวัญก าลังใจในการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดการจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพในสถานศึกษา 2. คณาจารย์ใช้สารสนเทศในการวางแผนการเรียนรู้จากการส ารวจความสนใจการตรวจสอบความรู้พื้นฐานผู้เรียน การจัดหาหลักสูตรและท าแผนการจัดการเรียนรู้ 3. นักเรียน ใช้สารสนเทศเพื่อการวางแผนการเรียนรู้ของตนเองด้วยการส ารวจความสนใจ การตรวจสอบความรู้พืน้ฐาน สร้างโอกาสในการมีส่วนร่วมจัดท าหลักสูตรและแผนการเรียนรู้ ในสถานศึกษา 4. ชุมชน ใช้สารสนเทศในการร่วมจัดหลักสูตรร่วมกิจกรรมการเรียนรู้สนับสนุน ทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้นิเทศกา กับและติดตาม ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนเพื่อให้บรรลุตามความต้องการของท้องถิ่น 5. สถานศึกษา ใช้สารสนเทศในการก าหนดมาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายในสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมส าหรับการประเมินภายนอกที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ 6. หน่วยงานการจัดการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา ใช้สารสนเทศของสถานศึกษา ในการตรวจสอบทบทวน และปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา รวมทั้งการใช้ประกอบการพิจารณาจัดปัจจัยสนับสนุนต่าง ๆ ให้แก่สถานศึกษาตามความต้องการจ าเป็นที่แท้จริงของสถานศึกษา 7. องค์กรภายนอกเป็นองค์กรที่จัด ตั้งขึ้นเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา สามารถ ใช้สารสนเทศในการประเมินและตัดสินใจรับรองคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษานั้น ๆ จากความส าคัญของระบบสารสนเทศที่กล่าวข้างต้น จะเห็นว่า นอกจากระบบสารสนเทศ จะจ าเป็นในงานประกันคุณภาพการศึกษาแล้ว ยังช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอีกด้วย

Page 6: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

3

บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประกนัคุณภาพการศึกษา 1. บุคลากรในคณะ เช่น คณาจารย์ และบุคลากร 2. นักศึกษา 3. ผู้ปกครอง หรือผู้ที่มีความเก่ียวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา (Quality Assurance : QA) ที่ได้มีการพฒันากันอยู่ในขณะนี้ มีแนวคิดเพื่อส่งเสริมและเสนอแนวทางเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา โดยมีการด าเนินงาน 3 ขั้นตอน ดังนี้

1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control : QC) เป็นการก าหนดมาตรฐานคุณภาพและการพัฒนาสถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐาน

2. การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit : QAu) เป็นการตรวจสอบและติดตามผลการด าเนินงานให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ก าหนด

3. การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment : QAs) เป็นการประเมินคุณภาพของสถานศึกษา โดยหน่วยงานที่ก ากับดูแลในเขตพื้นที่ และหน่วยงานต้นสังกัดในส่วนกลาง ซึ่งถึงแม้จะเป็นบุคคลภายนอก แต่ก็ยังถือว่าเป็นการประเมินภายใน (Internal Quality Assessment : IQAs) เพราะด าเนินการโดยหน่วยงานที่อยู่ในสายการบริหารของสถานศึกษา ซึ่งจะด าเนินการตรวจเยี่ยมและประเมินสถานศึกษาเป็นระยะ ๆตามที่ก าหนดโดยหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้ความช่วยเหลือ และส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาการพัฒนาคุณภาพอันเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนรับการประเมินภายนอก (External Quality Assessment : EQAs) จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นองค์การมหาชน

Page 7: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

4

การสืบค้นข้อมูลประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสตูรระดับคณะ ในระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (ERP)

ระบบสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง

บุคลากร คุณวุฒิการศึกษาของอาจารย ์ ต าแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ การพัฒนาบุคลากร จ านวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อ

จ านวนอาจารยป์ระจ า (FTES) เข้าใช้งานในระบบ ERP (https://erp.mju.ac.th) 1. เริ่มต้นเข้าใช้งานในระบบ ERP (https://erp.mju.ac.th) เปิดเว็บไซต์ www.rep.mju.ac.th ลงชื่อเข้าสู่ระบบ หน้าแรกของผู้ใช้ จากนั้น เลือกเมน ูบุคลากร

1. เข้าสู่เว็บไซต์ www.rep.mju.ac.th

2. คลิกปุ่ม บุคลากรเข้าสู่/ระบบ

Page 8: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

5

2. เริ่มต้นเข้าใช้งานในระบบ ERP

3. คลิกเลือก เมนู “ประกันคุณภาพ”

3. ป้อนข้อมูลรหัสผ่าน แล้ว

คลิกปุ่ม “ลงชื่อเข้าใช้งาน”

4. คลิก เมนู “ประกันคุณภาพ”

Page 9: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

6

4. หัวข้อ “บุคลากร” คลิกเลือก “คุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์”

5. เลือก ปีการศึกษาที่ต้องการข้อมูล เช่น ปีการศึกษา 2561

5. คลิกเลือก “คุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์”

6. คลิกเลือก “ปีการศึกษา 2561”

Page 10: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

7

6. เมื่อคลิก “ปีการศึกษา 2561” จะปรากฏ หน้าต่าง ไฟล์เอกสาร

7. หัวข้อ “บุคลากร” คลิกเลือก “ต าแหน่งทางวิชาการของอาจารย์”

7. คลิกเลือก “ต าแหน่งทางวิชาการของอาจารย์”

Page 11: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

8

8. เลือก ปีการศึกษาที่ต้องการข้อมูล เช่น ปีการศึกษา 2561

9. เมื่อคลิก “ปีการศึกษา 2561” จะปรากฏ หน้าต่าง ไฟล์เอกสาร

8. คลิกเลือก “ปีการศึกษา 2561”

Page 12: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

9

10. หัวข้อ “บุคลากร” คลิกเลือก “การพัฒนาบุคลากร”

11. เลือก รายงานข้อมูลการพัฒนาบุคลากร

9. คลิกเลือก “การพัฒนาบุคลากร”

Page 13: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

10

12. หัวข้อ “บุคลากร” คลิกเลือก “จ านวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจ านวนอาจารย์ประจ า (FTES)”

10. คลิกเลือก “จ านวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจ านวนอาจารย์ประจ า (FTES)”

Page 14: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

11

13. เลือก ปีการศึกษาที่ต้องการข้อมูล เช่น ปีการศึกษา 2561

14. เมื่อคลิก “ปีการศึกษา 2561” จะปรากฏ หน้าต่าง ไฟล์เอกสาร

11. คลิกเลือก “ปีการศึกษา 2561”

Page 15: คู่มือ การเข้าใช้งานระบบ ...doc.arch.mju.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/20190912... · 2019-09-12 · แนวคิดเกี่ยวกับการประกันคุณภาพทางการศึกษา

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ. 2544. แนวทางการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เล่ม 1. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. กรมสามัญศึกษา. 2542. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.