2
ใบงานที4 เรื่อง โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาความหมาย โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media) ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อ การศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บท ทบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม โครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วย การเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวนและคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถ เรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามา ศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ สอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น สาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียน อาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล หลัก ภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ วิถีชีวิตของคน ไทยพวน โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก โปรแกรมความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต โปรแกรมสานวน ไทยพาสนุก โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โปรแกรมเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตัวแปรต่างๆ ที่มี ผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น

ใบงานที่4

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ใบงานที่4

ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา” ความหมาย โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media) ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานท่ีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และค าถามค าตอบไว้พร้อม โครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวนและค าถามค าตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ สอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอ่ืน ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนท่ัวไปท่ีท าความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ การเคลื่อนท่ีแบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล หลักภาษาไทย และสถานท่ีส าคัญของประเทศไทย โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ วิถีชีวิตของคนไทยพวน โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก โปรแกรมความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต โปรแกรมส านวนไทยพาสนุก โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โปรแกรมเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตัวแปรต่างๆ ท่ีมีผลต่อการช ากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานท่ีส าคัญของประเทศไทย เป็นต้น

Page 2: ใบงานที่4

ตัวอย่างโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media Development) 1. สารานุกรมไทยฉบับมัลติมีเดีย 2. สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล 3. พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย 4. โปรแกรมช่วยสอนการถ่ายภาพ 5. 76 จังหวัดของไทย 6. สูตรขนมไทยอร่อยท่ัวโลก 7. คอมพิวเตอร์สอนพิมพ์ดีด 8. ยาไทยและยาจีน 9. โปรแกรมช่วยสอนการท างานของทรานซิสเตอร์ ที่มา: http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html

http://blog.eduzones.com/jipatar/85915 http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7