35
Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที3 หนา 1 ที่ผานมาในการวางแผนการเคลื่อนทีเราตองมีแบบจําลองของสิ่งแวดลอมเปนขอมูล เขา จากนั้นแผนการเคลื่อนที่ที่ไดจะถูกนําไปใชโปรแกรมหุนยนตจริง Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที3 หนา 2 Introduction

3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

1

Chapter 3 Sensing the World

3.1 Introduction3.2 Sensors3.4 Occupancy grid method

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 1

ที่ผานมาในการวางแผนการเคลื่อนที่ เราตองมีแบบจําลองของสิ่งแวดลอมเปนขอมูลเขา จากนั้นแผนการเคลื่อนที่ที่ไดจะถูกนําไปใชโปรแกรมหุนยนตจริง

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 2

Introduction

Page 2: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

2

แตหากขณะทํางานจริงเกิดมีสิ่งกีดขวางที่ไมอยูในแบบจําลอง หุนยนตควรตองมีความสามารถที่จะหลบหลีกสิ่งกีดขวางเหลานี้ไดดวย

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 3

ยิ่งไปกวานั้น หากหุนยนตตองทํางานในสถานที่ซึ่งไมเคยมีใครไปมากอนละ

Mars Exploration Rovers (Spirit and Opportunity) ที่ถูกสงไปดาวอังคารเมื่อ 10 มิ.ย. 46 และกําหนดการถึงดาวอังคารราวตนป 47

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 4

Page 3: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

3

Animation of the rovers from NASA

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 5

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 6

Page 4: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

4

เรารูไดอยางไรวามีไกยางวางอยูขางหนา

• เปดตาดูสักเสี้ยววินาที

• สูดกลิ่นดู

• ลองชิมดู

• ลองคลําๆ ดู

• ตะโกนถามดู โชคดีคงมีคนบอก

ประสาทรับรูทั้งหาที่ทํางานประสานกัน ใหขอมูลใชในการประมวลขอสรุปที่นาเชื่อถือมากที่สุด

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 7

สอนใหหุนยนตรูจกัไกยาง ทําอยางไรดี

• ใหหุนยนตเห็นไกยางแบบตางๆ จากมุมที่แตกตาง จากสภาพแสงที่แตกตางกัน ฯลฯ

• ใหหุนยนตเห็นสิ่งที่ไมใชไกยาง

เมื่อไรหุนยนตถึงจะรูจักไกยางเหมือนเราละ

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 8

Page 5: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

5

ที่เรารูจักไกยางอาจไมใชเกี่ยวกับไกยางอยางเดียว แตเปนประสบการณและความรูที่เราสะสมมา

• เราเห็นไกยางเพราะสมองสั่งใหเราเห็นเปนไกยาง เชนรูปสามเหลี่ยมที่ไมไดวาด

• ไมใชเรื่องเซนเซอรอยางเดียวแลว แตเกี่ยวกับระบบประมวลผลดวย การรับรูสิ่งแวดลอมไมใชเรื่องงายเลย

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 9

วัตถุนิยม ???

ModelIntelligence algorithmTasks (work cycle)Motion algorithmControl algorithmProgram

Control componentsActuatorsTransmissionMechanical systemSensors

Computer

Robot

Workspace

Interaction (force/motion)

Internal stateSensory feedback

Control signals

Sensors

Programming(teaching)

แผนผังแสดงสวนประกอบของระบบหุนยนต

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 10

Page 6: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

6

เซนเซอร (Sensor)• Internal sensors

– Status– Location

• External sensors– Environment– Quality control– Safety

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 11

Internal sensorsใหขอมูลเกีย่วกับตัวหุนยนตเอง

• Status sensors บอกสถานะของอปุกรณในตัวหุนเชนตําแหนงของ joint ตางๆ force/torque ความเร็ว ความเรง สถานะของระบบควบคุม

• Location sensors บอกตําแหนงของหุนยนตในบริเวณทํางาน

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 12

Page 7: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

7

Status sensors• Joint position sensor (encoder) บอกมุมของ joint วาหมุนไปกี่องศาแลว

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 13

Optical encoder

Encoder plate

Revolute joint

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 14

Page 8: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

8

Optical encoder

• Absolute encoder

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 15

Optical encoder

• Incremental encoder

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 16

Page 9: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

9

Optical encoder

ตัวอยาง encoder ทั้งแบบที่มาแยกและแบบที่ติดมากับ motor

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 17

Positional transducerใชบอกความยาวของ prismatic joint (ขอตอแบบเลื่อน) วายาวเทาไร คลายสายวัด

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 18

Page 10: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

10

Accelerometerหลักการ สําหรับเชือกยาว 25 cm กับตุมน้ําหนักและไมโปรฯ

มุม (องศา) ความเรง (g)

142745647276

0.250.51.02.03.04.0

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 19

Accelerometer

หรือวัดความยาวของสปริงที่เปลี่ยนไป

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 20

Page 11: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

11

Accelerometer

ความเก็บประจุแปรผันกับระยะหางระหวาง plate

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 21

AccelerometerMEMS (Micro-ElectroMechanical Systems) sensor

Resolution:1 mg

Range: 1.7 g

Cost: 4-10$

Used in airbag

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 22

Page 12: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

12

Force sensorหลักการ แรงทําใหวัตถุงอโคงได ระยะที่เปลี่ยนไปแปลตามแรงที่กระทํา

Strain gauge

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 23

Force sensor

Strain gauge แบบตางๆ ในทองตลาด

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 24

Page 13: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

13

Force/torque sensor

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 25

Force/torque sensor

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 26

Page 14: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

14

Use of status sensors

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 27

Location sensorบอกตําแหนงของหุนยนตที่เคลื่อนที่ไดในบริเวณทํางาน ปญหาการหาตําแหนงมีชื่อเฉพาะในวงการหุนยนตวา localization problemOdometry: dead reckoning• wheel encoder• compassLandmark based• barcode• visionTriangulation• active beacon• active robot• GPS

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 28

Page 15: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

15

Active beacon

t3

เสาจะสงสัญญาณออกไปพรอมๆ กันเปนจังหวะ หุนยนตรับ infared ไดเกือบทันที จากนั้นรอวาจะไดรับยิน ultrasound จากเสาแตละตนเมื่อใด เมื่อทราบก็นํามาคํานวณระยะหางกับเสาแตละตน แลวนําไปคํานวณตําแหนงของหุนจากตําแหนงของเสาที่ทราบอยูแลว

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 29

Active robot

หุนยนตเปนตวัสงสัญญาณออกไปเปนจังหวะ และมีอยางนอยสามสถานีรับที่ตรวจจับสัญญาณเพื่อคํานวณระยะเวลาเดินทางของสัญญาณและหาระยะทางเพื่อคํานวณตําแหนง

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 30

Page 16: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

16

Environment sensor

บอกวามีอะไรอยูในสิ่งแวดลอมบาง

• Collision detection• Object detection

– Near object detection– Far object detection

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 31

Collision detection

• Photo transistor

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 32

Page 17: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

17

Collision detection

• Plunger switch

switch frame

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 33

Collision detection

• Pressure sensor

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 34

Page 18: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

18

Collision detection• Laser and fiber optics

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 35

Sonar Sound Navigation and Ranging

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 36

Page 19: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

19

Sonar

Polaroid 6500 Sonar Ranging Module

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 37

Sonar sensing

Why is sonar sensing limited to between ~12 in. and ~25 feet ?

“The sponge”

Polaroid sonar emitter/receivers

sonar timeline

0a “chirp” is emitted into the environment

75µstypically when reverberations from the initial chirp have stopped

.5sthe transducer goes into “receiving” mode and awaits a signal...

after a short time, the signal will be too weak to be detected

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 38

Page 20: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

20

Sonar effects

(d) Specular reflections cause walls to disappear

(e) Open corners produce a weak spherical wavefront

(f) Closed corners measure to the corner itself because of multiple reflections --> sonar ray tracing

(a) Sonar providing an accurate range measurement

(b-c) Lateral resolution is not very precise; the closest object in the beam’s cone provides the response

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 39

Sonar modelinginitial time response

spatial response

blanking time

accumulated responses

cone width

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 40

Page 21: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

21

Real sensorsReal sensors are• noisy• return an incomplete description of the environment• cannot usually be modeled completely

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 41

Sensor characteristics• Sensitivity: อัตราการเปลี่ยนแปลงของ output เมื่อเทียบกับ input• Linearity: การเปลี่ยนแปลงแบบคงที่ของ output เมื่อเทยีบกับ input• Measurement range: ชวงคาทีวัดได• Response time: ระยะเวลาที่ใหผลลัพธของการวัด• Accuracy: ความแมนยาํของคาที่วัด ขนาดของ error • Repeatability: การใหคาที่เหมือนกันของการวัดหลายครั้งที่เหมือนกนั• Resolution: ความละเอียด คาเล็กสุดที่วัดได• Type of output: ประเภทของ output ที่ไดเชนเปนแรงดันไฟฟา

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 42

Page 22: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

22

Sensor modeling• เราสามารถเขยีนความสัมพนัธระหวางสิง่แวดลอมที่เราตองการวัดคา e กับคาที่ไดจากการอานเซนเซอร r ดวยแบบจําลอง r = f(e) โดยหลักการแบบจําลองนีต้องจําลองสวนของ internal noise และ noise จากสวนอ่ืนๆ ดวย

• เราเรียกปญหาการคํานวณ e จากคาที่อานไดคือ r วา inverse problem

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 43

Sensor modeling• Solutions of inverse problems are typically difficult to solve

without additional assumption or information• We call that the inverse problems are ill-posed

– A solution is undefined– A solution is not unique– A solution is not stable

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 44

Page 23: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

23

Sensor modelingตัวอยางปญหาที่ ill-posed เชนการหาคาอนุพันธของสญัญาณ f0(x) ที่ถกูรบกวนดวย ksin(wx):

f(x) = f0(x) + ksin(wx)เราจะไดวา

f’(x) =f’0(x) + kwcos(wx) นั่นคือถาสัญญาณ noise มีความถี่สูง (w มีคามาก) เราไมสามารถหาอนุพันธได --> unstable

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 45

Data from sensors• ทั่วไปคาที่ไดจาก sensor มกัไมมีความแมนยํา หากเราสามารถใชผลที่ไดจากการอานคาจาก sensor หลายครั้งหรือจาก sensor หลายแบบมารวมกัน กน็าจะไดขอสรุปที่นาเชื่อถือมากขึ้น

• เราสามารถใชสถิติในการชวยใหไดขอสรุปดังกลาว• พิจารณา Bayesian inference

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 46

Page 24: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

24

Bayes’ rule

( )( | )( )

P A BP A BP B

∧=

( | ) ( )( | )( )

P A B P BP B AP A

=

A B

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 47

Bayesian reasoning• มีสมมุติฐาน h ที่ตองการรูวาเปนจริงรึเปลาเชน “คนไขเปนมะเร็งรึเปลา”

• มีขอมูล d ที่สังเกตไดซึ่งเปนผลจากสมมุติฐาน h• โดยทั่วไปเรามกัจะรู P(d|h)• แตเราอยากรู P(h|d) จะทําอยางไร? (เราเรียกความนาจะเปนนี้วา

posterior probability)

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 48

Page 25: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

25

Bayesian reasoningตัวอยาง• สมมุติฐาน h แทนคนไขเปนมะเร็ง• ผลการตรวจ d มีสองกรณีคือ d+ (เปน) และ d- (ไมเปน)• จากขอมูลที่เกบ็มาเรารูวาความนาจะเปนที่คนหนีง่เปนมะเร็งคือ

P(h)=0.008• จากการวิจยัพบวาความแมนยําของผลการตรวจเปนดังนี้

– ถาเปนมะเร็งจะตรวจไดผลบวกดวยความนาจะเปน P(d+| h)=0.98– ถาไมเปนจะตรวจไดผลลบดวยความนาจะเปน P(d-| h)=0.97

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 49

Bayesian reasoningตัวอยาง• ถามีคนไขมาตรวจและไดผลเปน d+ จะสรุปอยางไรดี• เร่ิมดูขอมูลที่มี

P(h) = 0.008 P(~h)=0.992P(d+ | h)=0.98 P(d- | h)=0.02P(d+ | ~h)=0.03 P(d- | ~h)=0.97

• ตองการรูวาจะสรุป P(h | d+) หรือ P(~h | d+)P(h | d+) = P(d+ | h) P(h) / P(d+) = 0.0078 / P(d+)P(~h | d+) = P(d+ | ~h) P(~h) / P(d+) = 0.0298 / P(d+)

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 50

Page 26: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

26

Bayesian reasoningตัวอยาง• เพราะ P(h | d+) + P(~h | d+) = 1 จึงไดวา P(h | d+) = 0.21 และ

P(~h | d+) = 0.79 สรุปวาไมเปนมะเรง็นาเชื่อถือมากกวา • และก็ไดอีกวา P(d+) = 0.0078/0.21 = 0.037

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 51

Bayesian reasoning“judging” one’s intuition

Scenario: Suppose a crime has been committed. Blood is found at the scene for which there is no innocent explanation. It is of a blood type which is present in 1% of the population and present in the defendant.

Defendant: The crime occurred in a city of 800,000 people (suppose true). There, the blood type would be found in approximately 8,000 people, so this evidence only provides a negligible 0.0125% (= 1/8000) chance of guilt.

Prosecutor:There is a 1% chance that the defendant would have the crime scene’s blood type if innocent, so there is a 99% chance that the defendant is guilty.

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 52

Page 27: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

27

Using sonar to create mapsWhat should we conclude if this sonar reads 10 feet?

10 feet

what would a local map look like?

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 53

Using sonar to create mapsWhat should we conclude if this sonar reads 10 feet?

10 feet

there is something somewhere around here

there isn’t something here

Local Mapunoccupiedoccupied

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 54

Page 28: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

28

Using sonar to create mapsWhat should we conclude if this sonar reads 10 feet?

10 feet

there is something somewhere around here

there isn’t something here

Local Map

unoccupied

occupied

or ...

no information

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 55

Using sonar to create mapsWhat should we conclude if this sonar reads 10 feet...

10 feet

and how do we add the information that the next sonar reading (as the robot moves) reads 10 feet, too?

10 feet

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 56

Page 29: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

29

Combining probabilities

How to combine two sets of probabilities into a single map ?

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 57

Occupancy gridใชขอมูลจากเซนเซอรเพื่อวิเคราะหทางสถิติวามีสิ่งกีดขวางอยูที่ไหนบาง

สมมุติวาเซนเซอรไดคากลับมาเปน a ไดวาวัตถุใกลสุดอยูหางจากเซนเซอรในชวง f(a) ถึง f(a)+ ε

ใหคาที่ไดจากเซนเซอรแปลผันตรงกับระยะหางของวัตถุใกลสุดที่อยูในกรวยเซนเซอร

ไมนาจะมีวัตถุในบริเวณนี้ มิเชนนั้นควรจะไดคาจากเซนเซอรนอยกวา a

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 58

Page 30: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

30

Occupancy gridRegion I C=“มีวัตถุในชอง x”

Pr( )2

R rR

C M

β αβ

⎛ ⎞− −⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠= ×

M = ความนาจะเปนมากสุดที่จะมีวัตถุที่ชอง x นอยกวา 1 เสมอ

Pr( ) 1 Pr( )C C= −

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 59

Occupancy gridRegion II

Pr( )2

R rR

C

β αβ

⎛ ⎞− −⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠=

Pr( ) 1 Pr( )C C= −

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 60

Page 31: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

31

Occupancy grid

• จริงๆ โดยทั่วไปเราอานคาจากเซนเซอรหลายครั้ง แตละครั้งอาจเปลี่ยนตําแหนงของเซนเซอร เชนเซนเซอรที่ติดอยูกับ mobile robot

• ให si แทนคาที่ไดจากการอานเซนเซอรคร้ังที่ i• จริงๆ แทนที่จะเปน Pr(C) แลวสูตรที่กลาวถึงคือ Pr(si|C) ซ่ึงก็คือ

“ความนาจะเปนที่ไดคา si จากเซนเซอรถามีวัตถุอยูที่ชอง x”• แตส่ิงที่เราตองการรูไมใช Pr(si|C) แตเปน Pr(C|s1,s2,…sn)

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 61

Occupancy grid

อานเซนเซอรสองครั้ง สรุปอะไรไดเพิ่มขึ้นเกี่ยวกับการมีวัตถุที่ชอง x

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 62

Page 32: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

32

Occupancy gridใชกฎของเบส (Bayes’ law)

Pr( | ) Pr( )Pr( | )Pr( | ) Pr( ) Pr( | ) Pr( )

s C CC ss C C s C C

=+

1 2

1 2

1 2 1 2

Pr( | , ,..., )Pr( , ,..., | ) Pr( )

Pr( , ,..., | ) Pr( ) Pr( , ,..., | ) Pr( )

n

n

n n

C s s ss s s C C

s s s C C s s s C C

=

+

ซึ่งขยายในกรณีทั่วไปไดเปน

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 63

Occupancy gridและเมื่อแทนที่ ดวย จากความเปนอิสระของ และแทนที่ ดวยกฎความนาจะเปนแบบมเีงื่อนไขที่วา

1 2Pr( , ,..., | )ns s s C1 2 1Pr( | ) Pr( , ,..., | )n ns C s s s C−

1 2, ,..., ns s s 1 2 1Pr( | , ,..., )nC s s s −

1 2 11 2 1

1 2 1

Pr( , ,..., | ) Pr( )Pr( | , ,..., )Pr( , ,..., )

nn

n

s s s C CC s s ss s s

−−

=

เราจะได ในรูปการเรียกตัวเองไดคือ1 2Pr( | , ,..., )nC s s s

1 2

1 2 1

1 2 1 1 2 1

Pr( | , ,..., )Pr( | ) Pr( | , ,..., )

Pr( | ) Pr( | , ,..., ) Pr( | ) Pr( | , ,..., )

n

n n

n n n n

C s s ss C C s s s

s C C s s s s C C s s s−

− −

=

+

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 64

Page 33: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

33

Occupancy grid

ตัวอยาง กําหนดให R=10 และ β=15 คํานวณเร่ิมตนดวยการเดาอยางยุติธรรมนั่นคือ

1 2Pr( | , ,..., )nC s s s

Pr( ) Pr( ) 0.5C C= =

สําหรับการอานคาครั้งแรก s1 ไดคา r1=6 และ α1=5

1

10 6 15 510 15Pr( | ) 0.98 0.52

2s C

− −⎛ ⎞ ⎛ ⎞+⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠= × =

1Pr( | ) 1 0.52 0.48s C = − =

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 65

Occupancy grid1

11 1

Pr( | ) Pr( )Pr( | )Pr( | ) Pr( ) Pr( | ) Pr( )

0.52 0.5 0.520.52 0.5 0.48 0.5

s C CC ss C C s C C

=+

×= =

× + ×

1Pr( | ) 0.48C s =

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 66

Page 34: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

34

Occupancy gridสําหรับการอานคาครั้งที่สอง s2 ไดคา r2=6 และ a2=4

2

10 6 15 410 15Pr( | ) 0.98 0.56

2s C

− −⎛ ⎞ ⎛ ⎞+⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠= × =

2Pr( | ) 0.44s C =

2 11 2

2 1 2 1

Pr( | ) Pr( | )Pr( | , )Pr( | ) Pr( | ) Pr( | ) Pr( | )

0.56 0.52 0.580.56 0.52 0.44 0.48

s C C sC s ss C C s s C C s

=+

×= =

× + ×

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 67

Occupancy grid

known map and estimated evidence gridIntroduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 68

Page 35: 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid methodattawith/class/class3.pdf · 1 Chapter 3 Sensing the World 3.1 Introduction 3.2 Sensors 3.4 Occupancy grid method Introduction

35

Occupancy grid

แตเราอาจไมรูตําแหนงของหุนยนตขณะใชเซนเซอร

Introduction to Robotics อรรถวิทย สุดแสง บทที่ 3 หนา 69