5
วารสารวิชาการพระจอมเกลาพระนครเหนือ ปที15 ฉบับที3 ..-.. 2548 The Journal of KMITNB., Vol. 15, No. 3, Jul. – Sep. 2005 56 การประยุกตใชวิธี Capture-Recapture เพื่อประมาณขนาดของประชากร ในงานดานระบาดวิทยา Application of Capture – Recapture Method for Estimation of Population Size in Epidemiology นวลพรรณ หนังสือ 1. บทนํา วิธี Capture-Recapture นั้นโดยทั่วไปเปนวิธีการ ที่ใชในการประมาณขนาดของประชากรสัตวปา เนื่องจากการเก็บรวบรวมขอมูลจากทุกหนวยของ ประชากรทําไดยากหรือบางครั้งไมสามารถทําไดเพราะ ประชากรสัตวมีการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา ตอมาจึงมีการ ประยุกตใชวิธีนี้กับการประมาณประชากรคน เชน การ ประมาณจํานวนคนที ่ติดยาเสพติดซึ่งไดรับเชื้อ HIV [1] จํานวนของโสเภณี [2] จํานวนผูปวยโรคมะเร็ง [3] และ จํานวนผูไดรับอุบัติเหตุบนทองถนน [4-5] เปนตน โดย ในปจจุบันนี้นิยมนํามาประยุกตใชในงานดานระบาด วิทยา ซึ่งนํามาใชในการประมาณจํานวนผูปวยเพื่อนําไป คํานวณหาอัตราการเกิดโรค (Incidence) และความชุก ของโรค (Prevalence) เนื่องจากพบวามีปญหาเกี่ยวกับ จํานวนผูปวยที่ไมสอดคลองกันในแตละแหลงขอมูลที่มี การรายงาน รวมทั้งปญหาอันเนื่องมาจากการเลือก รายงานผูปวย (Case Ascertainment) ดังนั้นจึงนํา วิธีการ capture-recapture นี้มาประยุกตใชในการ ประมาณคาหรือทําการปรับคาขอมูลที่มีความไมสมบูรณ เพื่อใหไดคาประมาณที่ถูกตองใกลเคียงกับคาประชากรทีแทจริง การประยุกตใชวิธี Capture-Recapture ในงาน ดานระบาดวิทยา เชน ในป 1990 Modesitt และคณะ [6] ไดนําวิธีการ Capture–Recapture มาใชในการประมาณ จํานวนผูติดเชื้อเอดสใน Oregon ตอมาในป 1992 Rubin และคณะ [7] นํามาประยุกตใชในการประมาณขนาดของ ประชากรที่มีความเสี ่ยงตอการติดโรคทางเพศสัมพันธ และในป 2003 Goldman [8] ใชในการประเมินอัตราการ เกิดโรคอีสุกอีใสภายใตการเฝาระวังทางสาธารณสุขใน ชุมชน 2. วิธี Capture-Recapture วิธีการ Capture-Recapture ที่รูจักกันอยาง แพรหลายคือวิธีของ Lincoln-Petersen [9-10] ซึ่งเปน วิธีการประมาณขนาดของประชากรอยางงาย การ ประมาณโดยวิธีนี้จะทําการสุมตัวอยางขนาด M จาก ประชากรที่มีขนาด N และนําตัวอยางที่สุมไดมาทํา เครื่องหมายไว แลวปลอยกลับไปสูประชากร รอจน ชวงเวลาหนึ่งเพื่อใหตัวอยางสุมที่ถูกทําเครื่องหมาย รวมอยูในประชากร หลังจากนั้นจะทําการสุมตัวอยางอีก ครั้งหนึ่งขนาด n แลวทําการจดบันทึกตัวอยางสุมที่ถูก ทําเครื่องหมายไว ซึ่งการสุมลักษณะนี้เปนการสุตัวอยางแบบ 2 ครั้ง โดยอยูภายใตขอตกลงตอไปนี้คือ (1) ประชากรที่ศึกษาเปนประชากรแบบปด นั่นคือในทาง สถิติประชากรไมมีการเกิดหรือตาย และทางภูมิศาสตร ไมมีการอพยพยายถิ่นหรือการอพยพเขามาอยูในถิ่นใหม (2) สมาชิกแตละตัวมีโอกาสถูกเลือกเปนตัวอยางดวย ความนาจะเปนเทาๆ กัน และความนาจะเปนนี้ไม เปลี่ยนแปลงตามเวลา (3) การสุมตัวอยางในแตละครั้ง เปนไปอยางสุมและ (4) สมาชิกที่ถูกทําเครื่องหมายจะไม สูญหายในระหวางการสุมทั้งสองครั้ง รวมทั้งถูกบันทึก และรายงานการคนพบอีกครั้งในการในการสุมตัวอยาง ครั้งที2 โดยวิธีของ Lincoln- Petersen ภาควิชาสถิติประยุกต คณะวิทยาศาสตรประยุกต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

272910255019162

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Citation preview

  • 15 3 ..-.. 2548 The Journal of KMITNB., Vol. 15, No. 3, Jul. Sep. 2005

    56

    Capture-Recapture

    Application of Capture Recapture Method for Estimation of Population Size in Epidemiology

    1.

    Capture-Recapture HIV [1] [2] [3] [4-5] (Incidence) (Prevalence) (Case Ascertainment) capture-recapture

    Capture-Recapture 1990 Modesitt [6] CaptureRecapture Oregon 1992 Rubin [7]

    2003 Goldman [8] 2. Capture-Recapture

    Capture-Recapture Lincoln-Petersen [9-10] M N n 2 (1) (2) (3) (4) 2 Lincoln- Petersen

  • 15 3 ..-.. 2548 The Journal of KMITNB., Vol. 15, No. 3, Jul. Sep. 2005

    57

    2

    NM =

    nm

    (1)

    mM n N = (2)

    M = n = 2 m = 2 N =

    Lincoln-Petersen 1951 Chapman [11]

    11)(m

    1)M 1)((n N +++= (3)

    Lincoln-Petersen Chapman N = 500 M n [12] 1 3. capture-recapture

    1 N =500 M n

    M n M/N f1 = n/N f 2 = N 50 100 0.1 0.2 Lincoln-

    Petersen Chapman

    545.84 500.77

    100 50 0.2 0.1 Lincoln-Petersen Chapman

    547.91 502.49

    75 150 0.15 0.3 Lincoln-Petersen Chapman

    513.85 499.56

    150 75 0.3 0.15 Lincoln-Petersen Chapman

    515.26 500.85

    (Surveillance System) Capture-Recapture

  • 15 3 ..-.. 2548 The Journal of KMITNB., Vol. 15, No. 3, Jul. Sep. 2005

    58

    CaptureRecapture 2 (1) (2) (3) 2 (4) 2

    Capture-Recapture

    Capture-Recapture (Pilot Study) Cost-Effectiveness Analysis

    (1) (2) (Stratification) Capture-Recapture [13] Log-Linear 2 [14] Log-Linear Log-It [15] (3) 2 2 Log-Linear (4)

  • 15 3 ..-.. 2548 The Journal of KMITNB., Vol. 15, No. 3, Jul. Sep. 2005

    59

    Chapman Lincoln-Petersen

    11)(m

    1)M 1)((n N +

    ++= (4)

    M = 1 n = 2 m = 1 2 N =

    var

    ( N ) = 2)(m1)(m

    m)m)(n1)(M1)(n(M2 ++

    ++

    (5) 95% N ( )Nvar1.96N (6)

    Goldman [8] capture-recapture 1995 Antelope Valley 1995

    2 2 1 19 1,648 (M = 1,648) 2 662 (n = 662) 2 242 (m = 242) (4) Capture Recapture 4,498 ( N =4,498) 4. CaptureRecapture 2

  • 15 3 ..-.. 2548 The Journal of KMITNB., Vol. 15, No. 3, Jul. Sep. 2005

    60

    1. Mastro, T. D., et al. Estimating the number of

    HIV-infected drug users in Bangkok: a capture-recapture method. American Journal of Public Health. 7 (1994) :10941099.

    2. McKeganey, N.,et al. Female streetworking prostitution and HIV infection in Glasgow. BMJ. 305 (1992):801-804.

    3. Robles, SC.,et al. An application of capture-recapture methods to the estimation of completeness of cancer registration. J Clin Epidemiology. 41 (1988) :495-501.

    4. Tercero, F., and Anderson, R. Measuring transport injuries in a developing country: an application of the capture-recapture method. Accident Analysis and Prevention. (2002) : 13-20.

    5. Aptel, I., et al. Road accident statistics: discrepancies between police and hospital data in a French island. Accident Analysis and Prevention. (1998) : 101-108.

    6. Modesitt, SK., Julman, S., and Fleming, D. Evaluation of active versus passive AIDS surveillance in Oregon. Am J Pubilc Health. 80 (1990) :463-464.

    7. Rubin, G.,et al. Using mark-recapture methodology to estimate the size of a population at risk for sexually transmitted disease. Statistics in Medicine. 11 (1992) :1533-1549.

    8. Goldman, G.S. Using capture-recapture methods to assess varicella incidence in a community under active surveillance. Vaccine. (2003) : 4250-4255.

    9. Lincoln, F.C. Calculating waterfowl abundance on the basis of banding returns. U.S. Department of Agricultural Circular. 118 (1930) : 1-4.

    10. Petersen, G. G. J. The yearly immigration of young place into the limford from the german sea. Report of Danish Biology Statistics.6 (1896) : 148.

    11. Chapman, D. G. Some properties of the hypergeometric distribution with applications to zoological censuses. University of California Pubilcations Stiatistics. (1951):131160.

    12. . Capture Recapture. 5, 2547.

    13. Sekar, CC., and Deming, WE. On a method of estimating birth and death rates and the extent of registration. J Am Statist Assoc. 44(1949) : 101-115.

    14. McCarty, DJ., et al. Ascertainment corrected rates:application of capture-recapture method. Int J Epidemiol. 22 (1993) : 559-565.

    15. Alho, JM. Logistic regression in capture-recapture models. Biometrics. 46 (1990) : 623-635.

    16. Tilling, K., Sterne, JAC. Capture-recapture models including covariate effects. Am J Epidemiol. 149 (1999) : 392-400.