4
745 การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554 “การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554 การคัดเลือกพันธุ์สบู่ดำาเพื่อผลิตไบโอดีเซลสำาหรับชุมชน Jatropha Accession Selections for Biodiesel Production of the Community สุรชัย มัจฉาชีพ 1 อุดมลักษณ์ มัจฉาชีพ 1 1 คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 60 หมู่ 3 ถ.สายเอเซีย (กรุงเทพฯ - นครสวรรค์) ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท์ : 035-709103 โทรสาร: 035-709105 E – mail: [email protected] บทคัดย่อ ความต้องการพลังงานจากไบโอดีเซล เพิ่มสูงขึ้นอย่าง รวดเร็วตามการเจริญเติบโตในภาคอุตสาหกรรมและการขนส่ง รวม ทั้งนโยบายที่สนับสนุนการผลิตไบโอดีเซลใช้เองในชุมชน สบู่ดำาพืช ที่ไม่ใช่พืชอาหารจึงเป็นพืชหนึ่งที่สำาคัญให้พลังงานชีวมวลที่ไม่ก่อให้ เกิดมลภาวะ แต่ปัญหาใหญ่ของสบู่ดำาคือพันธุ์ที่มีอยู่ในประเทศไทยให้ ผลผลิตตำำา จึงได้ทำาการรวบรวมพันธุ์สบู่ดำาของไทยและต่างประเทศมา ปลูกทดสอบโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกสบู่ดำาพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิต สูงเพื่อผลิตไบโอดีเซล โดยทำาการทดลองที่คณะเทคโนโลยีการเกษตร และอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ซึ่งมีสภาพดินเป็นดินเหนียว ระหว่างเดือน ตุลาคม 2548 – กันยายน 2553 ผลการทดลองพบว่าสบู่ดำาสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มจากการ ตรวจสอบดีเอ็นเอโดยวิธี Microsatellite Markers คือกลุ่มที่มีพิษและ ไม่มีพิษ กลุ่มที่มีพิษ พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ Tox3 ให้ผลผลิตเฉลี่ย 635.20 กิโลกรัมต่อไร่ กลุ่มพันธุ์ที่ไม่มีพิษ พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ พันธุ์จากเม็กซิโก (Mex) ให้ผลผลิตเฉลี่ย 745.58 กิโลกรัมต่อไร่ คำาสำาคัญ : สบู่ดำา พันธุ์ ไบโอดีเซล Abstract The increasing industrialization and transportation of the world led to steep rise in the demand of petroleum-based fuels. Bio – energy can be a preferable alternative energy, moreover when it produced from non-edible oil crop like physic nut (Jatropha curcas L.). Although the economic importance of Jatropha curcas has been increasing due to the use of its oil as biodiesel, the physic nut found in Thailand were low- yielded varieties.This study was aimed at investigating high-yielded accessions among some selected accessions of Jatropha curcas L. from local and introduced accessions.It was conducted at the Faculty of Agricultural Technology and Agro-Industry, Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, Pranakhonsri Ayutthaya Province during October2005 –September2010. The microsatellite technique has shown that there were two groups of Jatropha :the toxic and nontoxic accessions. Among the toxic accessions the Tox3 gave the highest yield, 635.20 kg/ rai but the nontoxic accession from Mexico (Mex) gave higher yield with 745.58 kg/rai. Keywords : Jatropha accessions biodiesel 1. บทนำา สบู่ดำา(Physic nut, Purging nut)มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Jatropha curcas L. วงศ์ Euphorbiaceae เป็นพืชพื้นเมืองทางแถบ เม็กซิโก อเมริกา และอเมริกาใต้ [1];[2] ชาวโปรตุเกสนำาเข้ามาปลูก ในประเทศไทยช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา เพื่อนำาเมล็ดมาบีบนำำามัน ทำาสบู่ และนำำามันจากเมล็ดสบู่ดำามีคุณสมบัติใกล้เคียงกับนำำามันดีเซล แต่มีความหนืดมากกว่า เมื่อนำาไปผ่านกระบวนการtransesterification จะลดความหนืดได้เท่านำำามันดีเซล สามารถใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล และไม่พบการเกิดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและลด สภาวะโลกร้อน ขณะที่นำำามันดิบธรรมชาติซึ่งเกิดจากการทับถมของ ซากพืชซากสัตว์ นับวันจะลดน้อยลงและจะหมดไปจากโลกในเวลา ไม่ถึง 40 ปี และการเผาไหม้ของนำำามันเชื้อเพลิงยังส่งผลกระทบต่อ สภาวะแวดล้อม ก่อให้เกิดสภาวะเรือนกระจก ก่อให้เกิดสภาวะโลก ร้อน [3];[4] สบู่ดำาจึงเป็นพืชที่น่าสนใจในการผลิตไบโอดีเซลเพื่อเป็น พลังงานทดแทนสำาหรับชุมชน เนื่องจากผลผลิตเมล็ดสบู่ดำาสามารถ บีบอัดได้นำำามันสบู่ดำาที่ใช้กับเครื่องยนต์เล็กในฟาร์มได้โดยตรงหรือ จำาหน่ายในท้องถิ่น จะสามารถลดการนำาเข้านำำามันดิบ รักษาสมดุล เศรษฐกิจของประเทศและช่วยลดสภาวะโลกร้อน มีรายงานการขยายพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นทั้งในทวีปเอเชีย อาฟริกา และแถบลาตินอเมริกา คาดการณ์ว่าปี ค.ศ. 2010 จะมีการขยาย พื้นที่ปลูกถึง 5,000,000 เฮกตาร์และจะถึง 13,000,000 เฮกตาร์ใน ปี ค.ศ. 2015 [5] อย่างไรก็ตามผลงานวิจัยและนักวิชาการยังมองว่าสบู่ดำา ให้ปริมาณผลผลิตไม่คุ้มค่าเมื่อเปรียบเทียบกับพืชเศรษฐกิจอื่นๆ เนื่องจากสบู่ดำาให้ผลผลิตต่อไร่ตำำา [6] ดังนั้นความต้องการสบู่ดำาพันธุดีที่ให้ผลผลิตสูงและให้นำำามันมีคุณภาพดีจึงเป็นความสำาคัญ อันดับ แรก เพื่อให้ความมั่นใจแก่เกษตรกรได้ว่าเมื่อปลูกสบู่ดำาไปแล้วจะได้ ผลผลิตเท่าไร มีผลตอบแทนเท่าไร เพื่อเป็นทางเลือกของเกษตรกร จึงได้ทำาการรวบรวมสบู่ดำาจากแหล่งปลูกต่างๆทั้งในประเทศและต่าง ประเทศ นำามาปลูกทดสอบเพื่อคัดเลือกหาสบู่ดำาพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตสูง สำาหรับการผลิตไบโอดีเซลเพื่อเป็นพลังงานทางเลือกอีกพืชหนึ่ง 2. วัตถุประสงค์ เพื่อคัดเลือกสบู่ดำาพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตสูงเพื่อผลิตไบโอดีเซล

1. บทนำา - CSCD Bootstrap CI · 2011-09-06 · บท นำา ... การเจริญเติบโตทางด้านกิ่งใบของสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆที่อายุ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1. บทนำา - CSCD Bootstrap CI · 2011-09-06 · บท นำา ... การเจริญเติบโตทางด้านกิ่งใบของสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆที่อายุ

745

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

การคัดเลือกพันธุ์สบู่ดำาเพื่อผลิตไบโอดีเซลสำาหรับชุมชน

Jatropha Accession Selections for Biodiesel Production of the Community

สุรชัย มัจฉาชีพ1 อุดมลักษณ์ มัจฉาชีพ1

1คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

60 หมู่ 3 ถ.สายเอเซีย (กรุงเทพฯ - นครสวรรค์) ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 13000

โทรศัพท์ : 035-709103 โทรสาร: 035-709105 E – mail: [email protected]

บทคัดย่อ ความต้องการพลังงานจากไบโอดีเซล เพิ่มสูงขึ้นอย่าง

รวดเร็วตามการเจริญเติบโตในภาคอุตสาหกรรมและการขนส่ง รวม

ทั้งนโยบายที่สนับสนุนการผลิตไบโอดีเซลใช้เองในชุมชน สบู่ดำาพืช

ที่ไม่ใช่พืชอาหารจึงเป็นพืชหนึ่งที่สำาคัญให้พลังงานชีวมวลที่ไม่ก่อให้

เกดิมลภาวะ แตป่ญัหาใหญข่องสบูด่ำาคอืพนัธุท์ีม่อียูใ่นประเทศไทยให้

ผลผลติตำ่ำา จงึไดท้ำาการรวบรวมพนัธุส์บูด่ำาของไทยและตา่งประเทศมา

ปลูกทดสอบโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกสบู่ดำาพันธุ์ดีที่ให้ผลผลิต

สงูเพือ่ผลติไบโอดเีซล โดยทำาการทดลองทีค่ณะเทคโนโลยกีารเกษตร

และอตุสาหกรรมเกษตร มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลสวุรรณภมู ิ

ซึ่งมีสภาพดินเป็นดินเหนียว ระหว่างเดือน ตุลาคม 2548 – กันยายน

2553 ผลการทดลองพบวา่สบูด่ำาสามารถแบง่ออกเปน็ 2 กลุม่จากการ

ตรวจสอบดีเอ็นเอโดยวิธี Microsatellite Markers คือกลุ่มที่มีพิษและ

ไมม่พีษิ กลุม่ทีม่พีษิ พนัธุท์ีใ่หผ้ลผลติสงูสดุคอื Tox3 ใหผ้ลผลติเฉลีย่

635.20 กิโลกรัมต่อไร่ กลุ่มพันธุ์ที่ไม่มีพิษ พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือ

พันธุ์จากเม็กซิโก (Mex) ให้ผลผลิตเฉลี่ย 745.58 กิโลกรัมต่อไร่

คำาสำาคัญ : สบู่ดำา พันธุ์ ไบโอดีเซล

Abstract The increasing industrialization and transportation of

the world led to steep rise in the demand of petroleum-based

fuels. Bio – energy can be a preferable alternative energy,

moreover when it produced from non-edible oil crop like physic

nut (Jatropha curcas L.). Although the economic importance of

Jatropha curcas has been increasing due to the use of its oil

as biodiesel, the physic nut found in Thailand were low- yielded

varieties.This study was aimed at investigating high-yielded

accessions among some selected accessions of Jatropha curcas L.

from local and introduced accessions.It was conducted at

the Faculty of Agricultural Technology and Agro-Industry,

Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, Pranakhonsri

Ayutthaya Province during October2005 –September2010.

The microsatellite technique has shown that there were two

groups of Jatropha :the toxic and nontoxic accessions. Among

the toxic accessions the Tox3 gave the highest yield, 635.20 kg/

rai but the nontoxic accession from Mexico (Mex) gave higher

yield with 745.58 kg/rai.

Keywords : Jatropha accessions biodiesel

1. บทนำา สบู่ดำา(Physic nut, Purging nut)มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า

Jatropha curcas L. วงศ์ Euphorbiaceae เป็นพืชพื้นเมืองทางแถบ

เม็กซิโก อเมริกา และอเมริกาใต้ [1];[2] ชาวโปรตุเกสนำาเข้ามาปลูก

ในประเทศไทยชว่งปลายสมยักรงุศรอียธุยา เพือ่นำาเมลด็มาบบีนำ้ำามนั

ทำาสบู่ และนำ้ำามันจากเมล็ดสบู่ดำามีคุณสมบัติใกล้เคียงกับนำ้ำามันดีเซล

แตม่คีวามหนดืมากกวา่ เมือ่นำาไปผา่นกระบวนการtransesterification

จะลดความหนืดได้เท่านำ้ำามันดีเซล สามารถใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล

และไม่พบการเกิดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและลด

สภาวะโลกร้อน ขณะที่นำ้ำามันดิบธรรมชาติซึ่งเกิดจากการทับถมของ

ซากพืชซากสัตว์ นับวันจะลดน้อยลงและจะหมดไปจากโลกในเวลา

ไม่ถึง 40 ปี และการเผาไหม้ของนำ้ำามันเชื้อเพลิงยังส่งผลกระทบต่อ

สภาวะแวดล้อม ก่อให้เกิดสภาวะเรือนกระจก ก่อให้เกิดสภาวะโลก

ร้อน [3];[4] สบู่ดำาจึงเป็นพืชที่น่าสนใจในการผลิตไบโอดีเซลเพื่อเป็น

พลังงานทดแทนสำาหรับชุมชน เนื่องจากผลผลิตเมล็ดสบู่ดำาสามารถ

บีบอัดได้นำ้ำามันสบู่ดำาที่ใช้กับเครื่องยนต์เล็กในฟาร์มได้โดยตรงหรือ

จำาหน่ายในท้องถิ่น จะสามารถลดการนำาเข้านำ้ำามันดิบ รักษาสมดุล

เศรษฐกิจของประเทศและช่วยลดสภาวะโลกร้อน

มีรายงานการขยายพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นทั้งในทวีปเอเชีย

อาฟรกิา และแถบลาตนิอเมรกิา คาดการณว์า่ป ีค.ศ. 2010 จะมกีารขยาย

พื้นที่ปลูกถึง 5,000,000 เฮกตาร์และจะถึง 13,000,000 เฮกตาร์ใน

ปี ค.ศ. 2015 [5]

อย่างไรก็ตามผลงานวิจัยและนักวิชาการยังมองว่าสบู่ดำา

ให้ปริมาณผลผลิตไม่คุ้มค่าเมื่อเปรียบเทียบกับพืชเศรษฐกิจอื่นๆ

เนือ่งจากสบูด่ำาใหผ้ลผลติตอ่ไรต่ำ่ำา [6] ดงันัน้ความตอ้งการสบูด่ำาพนัธุ์

ดีที่ให้ผลผลิตสูงและให้นำ้ำามันมีคุณภาพดีจึงเป็นความสำาคัญ อันดับ

แรก เพื่อให้ความมั่นใจแก่เกษตรกรได้ว่าเมื่อปลูกสบู่ดำาไปแล้วจะได้

ผลผลิตเท่าไร มีผลตอบแทนเท่าไร เพื่อเป็นทางเลือกของเกษตรกร

จงึไดท้ำาการรวบรวมสบูด่ำาจากแหลง่ปลกูตา่งๆทัง้ในประเทศและตา่ง

ประเทศ นำามาปลกูทดสอบเพือ่คดัเลอืกหาสบูด่ำาพนัธุด์ทีีใ่หผ้ลผลติสงู

สำาหรับการผลิตไบโอดีเซลเพื่อเป็นพลังงานทางเลือกอีกพืชหนึ่ง

2. วัตถุประสงค์ เพือ่คดัเลอืกสบูด่ำาพนัธุด์ทีีใ่หผ้ลผลติสงูเพือ่ผลติไบโอดเีซล

Page 2: 1. บทนำา - CSCD Bootstrap CI · 2011-09-06 · บท นำา ... การเจริญเติบโตทางด้านกิ่งใบของสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆที่อายุ

746

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

3. วิธีการดำาเนินงาน รวบรวมสายพันธุ์สบู่ดำาจากแหล่งปลูกต่างๆได้แก่ เชียงใหม่

น่าน ขอนแก่น นครราชสีมา ชลบุรี สุพรรณบุรี และสายพันธุ์จากต่าง

ประเทศได้แก่ กัมพูชา ลาว อินเดีย ศรีลังกาและเม็กซิโก นำามาปลูก

ทดลองทีแ่ปลงทดลองของคณะเทคโนโลยกีารเกษตรและอตุสาหกรรม

เกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ต.หันตรา

อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีสภาพเป็นดินเหนียว

(55 % clay) มีอินทรียวัตถุปานกลาง 2.16% ฟอสฟอรัสปานกลาง

10 ppm โพแทสเซียมสูงมาก 110 ppm ปริมาณนำ้ำาฝนเฉลี่ย 1,150

มิลลิเมตรต่อปี โดยศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเจริญเติบโต จำานวนช่อ

ดอก จำานวนดอกต่อช่อ จำานวนผลต่อช่อ ขนาดของเมล็ด นำ้ำาหนัก

เมล็ด และผลผลิตเมล็ดต่อไร่ของสบู่ดำาทุกพันธุ์ที่อายุ 2 ปี

ตรวจสอบดีเอ็นเอของสบู่ดำาทุกพันธุ์ที่ทดลองด้วยเทคนิค

Microsatellite Markers เพื่อจำาแนกความแตกต่างของดีเอ็นเอเพื่อ

ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์ และคัดเลือกพันธุ์

เริ่มการทดลองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2553 รวมระยะเวลา

ทดลอง 5 ปี

4. ผลการศึกษา 4.1 การศึกษาพันธุ์สบู่ดำา

ได้ทำาการรวบรวมพันธุ์สบู่ดำาจากแหล่งปลูกต่างๆ มา

ทำาการคัดเลือกเพื่อหาพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง โดยทำาการทดลองระยะ

แรกระหวา่งป ีพ.ศ. 2548 – 2550 ไดส้บูด่ำาพนัธุด์ทีีค่ดัเลอืกไวจ้ำานวน

หนึ่งซึ่งเป็นพันธุ์จากเชียงใหม่(C) นครราชสีมา(N) สุพรรณบุรี(Sup)

และ Tox3 ไม่ทราบแหล่งที่มาชัดเจน ระยะต่อมาได้รวบรวมพันธุ์

จากต่างประเทศเพิ่มขึ้น เป็นพันธุ์ที่มีพิษจากอินเดีย(In) และลาว(La)

และพันธุ์ที่ไม่มีพิษจากเม็กซิโก(Mex) และศรีลังกา(Sri) มาทำาการ

เปรียบเทียบเพื่อคัดเลือกหาพันธุ์สบู่ดำาที่ให้ผลผลิตสูง และได้ตรวจ

สอบดีเอ็นเอของสบู่ดำาทุกพันธุ์ที่ทดลอง เพื่อหาความแตกต่างของ

ดีเอ็นเอ เพื่อนำามาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ ผลการตรวจสอบดีเอ็นเอ

ด้วยเทคนิค Microsatellite Markers สามารถแยกสบู่ดำาออกเป็น 2

กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีพิษได้แก่สายพันธุ์ที่ปลูกอยู่ทั่วไปในประเทศไทย

อินเดีย และลาว และกลุ่มที่ไม่มีพิษได้แก่สบู่ดำาจากเม็กซิโก และ

ศรีลังกา (ภาพที่ 1) สอดคล้องกับการศึกษาของ B.N. Divakara et

al [7]; S. D. Basha and M. Sujatha [8]; H. P. S. Makkar et al [9]

อยา่งไรกต็าม จากการทีส่บูด่ำาถกูนำาไปปลกูในประเทศตา่งๆทีม่สีภาพ

ภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันเป็นระยะเวลายาวนาน

อาจจะทำาให้เกิดการกลายพันธุ์ ทำาให้ลักษณะ Phenotype แตกต่าง

กัน ก็สามารถนำามาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์ได้ [7]

ภาพที่ 1 การตรวจสอบดีเอ็นเอในสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆด้วยเทคนิค

Microsatellite Markers

4.2 ขนาดของต้น

การเจริญเติบโตทางด้านกิ่งใบของสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆที่อายุ

2 ปี พบว่าสบู่ดำาพันธุ์ C0 N16 และ Mex มีขนาดความกว้างทรงพุ่ม

เฉลี่ย 190 ซม. ขณะที่พันธุ์อื่นๆมีขนาดความกว้างของทรงพุ่มน้อย

กว่า (เฉลี่ย 170 – 180 ซม.)

ส่วนความสูงของทรงพุ่มพบว่าพันธุ์ N16 C0 C1 La N80

Sup Tox3 Mex และ Sri มีขนาดความสูงเฉลี่ย 2.00 – 2.10 ซม. สูง

กว่าพันธุ์ In (180ซม.) อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ

4.3 จำานวนช่อดอกต่อต้น

สบู่ดำาพันธุ์ N80 C1 และ In ให้จำานวนช่อดอกต่อต้นเฉลี่ย

147.75 145.15 และ 138.45 ช่อต่อต้นต่อปีตามลำาดับ รองลงมาคือ

พันธุ์ La และ N16 ให้จำานวนช่อดอกเฉลี่ย 131.82 และ128.86 ช่อต่อ

ตน้ตอ่ป ีสว่นพนัธุท์ีใ่หจ้ำานวนชอ่ดอกตอ่ตน้ตอ่ปตีำ่ำาทีส่ดุคอืพนัธุ ์Mex

102.50 ช่อ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะพันธุ์ Mex ให้จำานวนผลต่อช่อสูงที่สุด

จึงต้องนำาธาตุอาหารไปใช้ในการเจริญเติบโตของผล ปริมาณช่อดอก

จึงลดลง (ตารางที่ 1)

4.4 จำานวนดอกต่อช่อ

สบู่ดำาพันธุ์ Mex และ Tox3 มีจำานวนดอกต่อช่อเฉลี่ย 232

และ 218 ดอกตอ่ชอ่ตามลำาดบั มากกวา่พนัธุอ์ืน่ๆทีม่จีำานวนดอกเฉลีย่

162 – 185 ดอกต่อช่อ

4.5 จำานวนผลต่อช่อ

สบูด่ำาพนัธุ ์Mex และ Tox3 ใหจ้ำานวนผลตอ่ชอ่สงูสดุเฉลีย่

14.35 และ 13.12 ผลต่อช่อตามลำาดับ สูงกว่าพันธุ์อื่นๆที่ให้จำานวน

ผลต่อช่อเฉลี่ย 7.90 – 9.25 ผลต่อช่อ เนื่องจากสบู่ดำาพันธุ์ Mex และ

Tox3 มีจำานวนดอกตอ่ช่อมากกว่าจึงมีโอกาสตดิผลตอ่ช่อไดม้ากกวา่

(ตารางที่ 1)

ผลผลิตเทาไร มีผลตอบแทนเทาไร เพื่อเปนทางเลือกของเกษตรกร จึงไดทําการรวบรวมสบูดําจากแหลงปลูกตางๆทั้งในประเทศและตางประเทศ นํามาปลูกทดสอบเพื่อคัดเลือกหาสบูดําพันธุดีที่ใหผลผลิตสูงสําหรับการผลิตไบโอดีเซลเพื่อเปนพลังงานทางเลือกอีกพืชหนึ่ง

2. วัตถุประสงค เพื่อคัดเลือกสบูดําพันธุดีที่ใหผลผลิตสูงเพื่อผลิตไบโอดีเซล 3. วิธีการดําเนินงาน

รวบรวมสายพันธุสบูดํ าจากแหลงปลูกตางๆไดแก เชียงใหม นาน ขอนแกน นครราชสีมา ชลบุรี สุพรรณบุรี และสายพันธุจากตางประเทศไดแก กัมพูชา ลาว อินเดีย ศรีลังกาและเม็กซิโก นํามาปลูกทดลองที่แปลงทดลองของคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีสภาพเปนดินเหนียว (55 % clay) มีอินทรียวัตถุปานกลาง 2.16% ฟอสฟอรัสปานกลาง 10 ppm โพแทสเซียมสูงมาก 110 ppm ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,150 มิลลิเมตรตอป โดยศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการเจริญเติบโต จํานวนชอดอก จํานวนดอกตอชอ จํานวนผลตอชอ ขนาดของเมล็ด น้ําหนักเมล็ด และผลผลิตเมล็ดตอไรของสบูดําทุกพันธุที่อายุ 2 ป

ตรวจสอบดีเอ็นเอของสบูดําทุกพันธุที่ทดลองดวยเทคนิค Microsatellite Markers เพื่อจําแนกความแตกตางของดีเอ็นเอเพื่อประโยชนในการปรับปรุงพันธุ และคัดเลือกพันธุ

เร่ิมการทดลองตั้งแตป พ.ศ. 2549-2553 รวมระยะเวลาทดลอง 5 ป 4. ผลการศึกษา 4.1 การศึกษาพันธุสบูดํา ไดทําการรวบรวมพันธุสบูดําจากแหลงปลูกตางๆ มาทําการคัดเลือกเพื่อหาพันธุที่ใหผลผลิตสูง โดยทําการทดลองระยะแรกระหวางป พ.ศ. 2548 – 2550 ไดสบูดําพันธุดีที่คัดเลือกไวจํานวนหนึ่งซึ่งเปนพันธุจากเชียงใหม(C) นครราชสีมา(N) สุพรรณบุรี(Sup) และ Tox3 ไมทราบแหลงที่มาชัดเจน ระยะตอมาไดรวบรวมพันธุจากตางประเทศเพิ่มขึ้น เปนพันธุที่มีพิษจากอินเดีย(In) และลาว(La) และพันธุที่ไมมีพิษจากเม็กซิโก(Mex) และศรีลังกา(Sri) มาทําการเปรียบเทียบเพื่อคัดเลือกหาพันธุสบูดําที่ใหผลผลิตสูง และไดตรวจสอบดีเอ็นเอของสบูดําทุกพันธุที่ทดลอง เพื่อหาความแตกตางของดีเอ็นเอ เพื่อนํามาใชในการปรับปรุงพันธุ ผลการตรวจสอบดีเอ็นเอดวยเทคนิค Microsatellite Markers สามารถแยกสบูดําออกเปน 2 กลุม คือ กลุมที่มีพิษไดแกสายพันธุที่ปลูกอยูทั่วไปในประเทศไทย อินเดีย และลาว และกลุมที่ไมมีพิษไดแกสบูดําจากเม็กซิโก และ ศรีลังกา (ภาพที่ 1) สอดคลองกับการศึกษาของ B.N. Divakara et al

[7]; S. D. Basha and M. Sujatha [8]; H. P. S. Makkar et al [9] อยางไรก็ตาม จากการท่ีสบูดําถูกนําไปปลูกในประเทศตางๆที่มีสภาพภูมิอากาศ และสภาพแวดลอมท่ีแตกตางกันเปนระยะเวลายาวนานอาจจะทําใหเกิดการกลายพันธุ ทําใหลักษณะ Phenotype แตกตางกัน ก็สามารถนํามาใชประโยชนในการปรับปรุงพันธุได [7]

ภาพที่ 1 การตรวจสอบดีเอ็นเอในสบูดําพันธุตางๆดวยเทคนิค Microsatellite Markers

4.2 ขนาดของตน การเจริญเติบโตทางดานกิ่งใบของสบูดําพันธุตางๆที่อายุ 2 ป พบวาสบูดําพันธุ C0 N16 และ Mex มีขนาดความกวางทรงพุมเฉลี่ย 190 ซม. ขณะที่พันธุอื่นๆมีขนาดความกวางของทรงพุมนอยกวา (เฉลี่ย 170 – 180 ซม.) สวนความสูงของทรงพุมพบวาพันธุ N16 C0 C1 La N80 Sup Tox3 Mex และ Sri มีขนาดความสูงเฉลี่ย 2.00 – 2.10 ซม. สูงกวาพันธุ In (180ซม.) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 4.3 จํานวนชอดอกตอตน สบูดําพันธุ N80 C1 และ In ใหจํานวนชอดอกตอตนเฉลี่ย 147.75 145.15 และ 138.45 ชอตอตนตอปตามลําดับ รองลงมาคือพันธุ La และ N16 ใหจํานวนชอดอกเฉลี่ย 131.82 และ128.86 ชอตอตนตอป สวนพันธุที่ใหจํานวนชอดอกตอตนตอปตํ่าที่สุดคือพันธุ Mex 102.50 ชอ ทั้งนี้อาจเปนเพราะพันธุ Mex ใหจํานวนผลตอชอสูงที่สุด จึงตองนําธาตุอาหารไปใชในการเจริญเติบโตของผล ปริมาณชอดอกจึงลดลง (ตารางที่ 1) 4.4 จํานวนดอกตอชอ สบูดําพันธุ Mex และ Tox3 มีจํานวนดอกตอชอเฉลี่ย 232 และ 218 ดอกตอชอตามลําดับ มากกวาพันธุอื่นๆที่มีจํานวนดอกเฉลี่ย 162 – 185 ดอกตอชอ 4.5 จํานวนผลตอชอ สบูดําพันธุ Mex และ Tox3 ใหจํานวนผลตอชอสูงสุดเฉลี่ย 14.35 และ 13.12 ผลตอชอตามลําดับ สูงกวาพันธุอื่นๆที่ใหจํานวนผลตอชอเฉลี่ย 7.90 – 9.25 ผลตอชอ เนื่องจากสบูดําพันธุ Mex และ Tox3 มีจํานวนดอกตอชอมากกวาจึงมีโอกาสติดผลตอชอไดมากกวา (ตารางที่ 1)

C N LA IN MEX SUP SRI TOX

Page 3: 1. บทนำา - CSCD Bootstrap CI · 2011-09-06 · บท นำา ... การเจริญเติบโตทางด้านกิ่งใบของสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆที่อายุ

747

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

ตารางที่ 1 ขนาดทรงพุ่ม จำานวนช่อดอกต่อต้น จำานวนดอก และ

จำานวนผลต่อช่อของสบู่ดำาสายพันธุ์ต่างๆ ที่ปลูกทดลองในจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา

สูงอยู่ในเกณฑ์ที่จะแนะนำาให้เกษตรกรปลูกได้ เพราะจากการศึกษา

ของ กัลยา[10] ได้รายงานว่า กรณีที่เกษตรกรใช้แรงงานของตนเอง

ปลูกสบู่ดำาเพื่อผลิตไบโอดีเซล จะได้ผลตอบแทนคุ้มค่าก็ต่อเมื่อ สบู่

ดำาให้ผลผลิตไม่ตำ่ำากว่า 600 กิโลกรัมต่อไร่ และราคาเมล็ดสบู่ดำาไม่

ตำ่ำากว่า 6 บาท ต่อกิโลกรัม อย่างไรก็ตามควรมีการปรับปรุงพันธุ์ให้

ได้พันธุ์ดีที่ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

ตารางที่ 2 จำานวนเมล็ดต่อผล ขนาดเมล็ด นำ้ำาหนักเมล็ด และผลผลิต

ต่อไร่ของสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

5. สรุปผลการศึกษา 5.1 พันธุ์สบู่ดำากลุ่มที่มีพิษ กับกลุ่มที่ไม่มีพิษมีลักษณะ

ของดีเอ็นเอแตกต่างกัน

5.2 สบูด่ำากลุม่ทีไ่มม่พีษิทีใ่หผ้ลผลติสงูทีส่ดุคอืพนัธุ ์Mex

ให้ผลผลิตเฉลี่ย 725.58 กิโลกรัมต่อไร่

5.3 สบู่ดำากลุ่มมีพิษที่ให้ผลผลิตสูงสุดคือพันธุ์ Tox3 ให้

ผลผลิตเฉลี่ย 635.20 กิโลกรัมต่อไร่

6. กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ได้รับงบประมาณจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลสุวรรณภูมิ และขอขอบคุณ ดร. ฐิตาภรณ์ ภูมิชัย จาก

สถาบันวิจัยยางแห่งประเทศไทยที่สนับสนุนการตรวจดีเอ็นเอ

ตารางที่ 1 ขนาดทรงพุม จํานวนชอดอกตอตน จํานวนดอก และจํานวนผลตอชอของสบูดําสายพันธุตางๆ ที่ปลูกทดลองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ขนาดทรงพุม (เมตร) พันธุ

กวาง สูง

จํานวนชอดอก

ตอตนตอป

จํานวนดอกตอชอ

จํานวน ผลตอชอ

Toxic group C0 1.90 a 2.00 ab 116.40 def 170 b 9.25 b C1 1.88 a 2.00 ab 145.15 a 185 b 8.79 b In 1.70 b 1.80 c 138.45 ab 178 b 7.90 b La 1.80 b 2.00 ab 131.82 bc 168 b 9.19 b N16 1.90 a 2.10 a 128.86 bcd 176 b 8.95 b N65 1.70 b 1.90 bc 109.32 efg 174 b 8.83 b N80 1.80 b 2.00 ab 147.75 a 180 b 8.46 b Sup 1.80 b 2.00 ab 119.50 cde 174 b 8.50 b Tox3 1.80 b 2.00 ab 105.20 fg 218 a 13.12 a Non – toxic group Mex 1.90 a 2.00 ab 102.50 g 232 a 14.35 a Sri 1.80 b 2.00 ab 105.24 fg 162 b 8.65 b F – test ** ** ** ** ** C.V. (%) 4.68 6.72 5.56 8.94 6.53

คาเฉลี่ยท่ีกํากับดวยอักษรเหมือนกนัในแนวตัง้เดียวกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT

4.6 จํานวนเมล็ดตอผล จํานวนเมล็ดในแตละผลของสบูดําทุกพันธุที่ทดลอง พบวา ไมมีความแตกตางกัน ทุกพันธุมีจํานวนเมล็ดตอผลเฉลี่ย 2.83 – 2.95 เมล็ด (ตารางที่ 2) 4.7 ขนาดของเมล็ด สบูดําพันธุ N80 C1 C0 Sri In และ La มีขนาดความกวางของเมล็ดเฉลี่ย 1.15 – 1.19 ซม. กวางกวาพันธุอื่นๆที่ทดลอง สวนความยาวของเมล็ด สบูดําพันธุ La C0 N80 Sri N65 Sup และ Tox3 มีความยาวเมล็ดเฉลี่ย 1.96 – 2.03 ซม. สวนพันธุ C1 เมล็ดมีความยาวเฉลี่ยตํ่าสุด 1.71 ซม. 4.8 น้ําหนักเมล็ด น้ําหนักเมล็ดสบูดําพันธุตางๆที่ความชื้น 8% พบวาพันธุ Mex มีน้ําหนักเมล็ดสูงสุดเฉลี่ย 0.87 กรัม รองลงมาคือพันธุ Tox3 มีน้ําหนักเมล็ดเฉลี่ย 0.78 กรัม สวนพันธุ La เมล็ดมีน้ําหนักนอยที่สุดเฉลี่ย 0.61 กรัม (ตารางที่ 2)

4.9 ผลผลติ สบูดําพันธุ Mex ใหผลผลิตสูงสุด 745.58 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือพันธุ Tox3 ใหผลผลิตเฉลี่ย 635.20 กิโลกรัมตอไร สูงกวาพันธุอื่นๆที่ทดลอง (ตารางที่ 2) ทั้งนี้เนื่องจากพันธุ Mex และ Tox3 มีจํานวนดอกตอชอมากกวาพันธุอื่น และมีจํานวนผลตอชอสูงกวาพันธุอื่น และเมล็ดก็มีน้ําหนักเฉลี่ยสูงกวาพันธุอื่น จึงมีผลผลิตสูงอยูในเกณฑที่จะแนะนําใหเกษตรกรปลูกได เพราะจากการศึกษาของ กัลยา (10) ไดรายงานวา กรณีที่เกษตรกรใชแรงงานของตนเองปลูกสบูดําเพื่อผลิตไบโอดีเซล จะไดผลตอบแทนคุมคาก็ตอเมื่อ สบูดําใหผลผลิตไมตํ่ากวา 600 กิโลกรัมตอไร และราคาเมล็ดสบูดําไมตํ่ากวา 6 บาท ตอกิโลกรัม อยางไรก็ตามควรมีการปรับปรุงพันธุใหไดพันธุดีที่ใหผลผลิตเพิ่มขึ้น ตารางที่ 2 จํานวนเมล็ดตอผล ขนาดเมล็ด น้ําหนักเมล็ด และผลผลิต

ตอไรของสบูดําพันธุตางๆในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ขนาดเมล็ด (ซม.) พันธุ

จํานวนเมล็ด /ผล กวาง ยาว

น้ําหนักเมล็ด (กรัม) ที่

ความชื้น 8%

ผลผลิต (กก./ไร)

Toxic group C0 2.95 1.16 abc 2.01 a 0.69 c 450.52 d C1 2.88 1.17 ab 1.71 d 0.65 ef 498.85 c In 2.90 1.15 abc 1.85 c 0.66 de 432.65 def La 2.87 1.15 abc 2.03 a 0.61 g 442.85 de N16 2.91 1.08 e 2.00 bc 0.63 de 435.38 de N65 2.92 1.09 de 1.96 ab 0.70 c 404.92 fg N80 2.95 1.19 a 2.01 a 0.66 de 500.12 c Sup 2.93 1.08 e 1.96 ab 0.68 cd 413.74 efg Tox3 2.90 1.12 cde 1.96 ab 0.78 b 635.20 b Non – toxic group Mex 2.85 1.13 bcd 1.91 bc 0.87 a 745.58 a Sri 2.83 1.16 abc 1.97 ab 0.70 c 395.56 g F – test Ns ** ** ** ** C.V. (%) 4.46 2.54 3.09 2.22 4.93

คาเฉลี่ยท่ีกํากับดวยอักษรเหมือนกนัในแนวตัง้เดียวกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT หมายเหตุ เมล็ดสบูดําทุกพันธุท่ีทดลองมีปรมิาณน้ํามนั 25 – 33 %

ตารางที่ 1 ขนาดทรงพุม จํานวนชอดอกตอตน จํานวนดอก และจํานวนผลตอชอของสบูดําสายพันธุตางๆ ที่ปลูกทดลองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ขนาดทรงพุม (เมตร) พันธุ

กวาง สูง

จํานวนชอดอก

ตอตนตอป

จํานวนดอกตอชอ

จํานวน ผลตอชอ

Toxic group C0 1.90 a 2.00 ab 116.40 def 170 b 9.25 b C1 1.88 a 2.00 ab 145.15 a 185 b 8.79 b In 1.70 b 1.80 c 138.45 ab 178 b 7.90 b La 1.80 b 2.00 ab 131.82 bc 168 b 9.19 b N16 1.90 a 2.10 a 128.86 bcd 176 b 8.95 b N65 1.70 b 1.90 bc 109.32 efg 174 b 8.83 b N80 1.80 b 2.00 ab 147.75 a 180 b 8.46 b Sup 1.80 b 2.00 ab 119.50 cde 174 b 8.50 b Tox3 1.80 b 2.00 ab 105.20 fg 218 a 13.12 a Non – toxic group Mex 1.90 a 2.00 ab 102.50 g 232 a 14.35 a Sri 1.80 b 2.00 ab 105.24 fg 162 b 8.65 b F – test ** ** ** ** ** C.V. (%) 4.68 6.72 5.56 8.94 6.53

คาเฉลี่ยท่ีกํากับดวยอักษรเหมือนกนัในแนวตัง้เดียวกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT

4.6 จํานวนเมล็ดตอผล จํานวนเมล็ดในแตละผลของสบูดําทุกพันธุที่ทดลอง พบวา ไมมีความแตกตางกัน ทุกพันธุมีจํานวนเมล็ดตอผลเฉลี่ย 2.83 – 2.95 เมล็ด (ตารางที่ 2) 4.7 ขนาดของเมล็ด สบูดําพันธุ N80 C1 C0 Sri In และ La มีขนาดความกวางของเมล็ดเฉลี่ย 1.15 – 1.19 ซม. กวางกวาพันธุอื่นๆที่ทดลอง สวนความยาวของเมล็ด สบูดําพันธุ La C0 N80 Sri N65 Sup และ Tox3 มีความยาวเมล็ดเฉลี่ย 1.96 – 2.03 ซม. สวนพันธุ C1 เมล็ดมีความยาวเฉลี่ยตํ่าสุด 1.71 ซม. 4.8 น้ําหนักเมล็ด น้ําหนักเมล็ดสบูดําพันธุตางๆที่ความชื้น 8% พบวาพันธุ Mex มีน้ําหนักเมล็ดสูงสุดเฉลี่ย 0.87 กรัม รองลงมาคือพันธุ Tox3 มีน้ําหนักเมล็ดเฉลี่ย 0.78 กรัม สวนพันธุ La เมล็ดมีน้ําหนักนอยที่สุดเฉลี่ย 0.61 กรัม (ตารางที่ 2)

4.9 ผลผลติ สบูดําพันธุ Mex ใหผลผลิตสูงสุด 745.58 กิโลกรัมตอไร รองลงมาคือพันธุ Tox3 ใหผลผลิตเฉลี่ย 635.20 กิโลกรัมตอไร สูงกวาพันธุอื่นๆที่ทดลอง (ตารางที่ 2) ทั้งนี้เนื่องจากพันธุ Mex และ Tox3 มีจํานวนดอกตอชอมากกวาพันธุอื่น และมีจํานวนผลตอชอสูงกวาพันธุอื่น และเมล็ดก็มีน้ําหนักเฉลี่ยสูงกวาพันธุอื่น จึงมีผลผลิตสูงอยูในเกณฑที่จะแนะนําใหเกษตรกรปลูกได เพราะจากการศึกษาของ กัลยา (10) ไดรายงานวา กรณีที่เกษตรกรใชแรงงานของตนเองปลูกสบูดําเพื่อผลิตไบโอดีเซล จะไดผลตอบแทนคุมคาก็ตอเมื่อ สบูดําใหผลผลิตไมตํ่ากวา 600 กิโลกรัมตอไร และราคาเมล็ดสบูดําไมตํ่ากวา 6 บาท ตอกิโลกรัม อยางไรก็ตามควรมีการปรับปรุงพันธุใหไดพันธุดีที่ใหผลผลิตเพิ่มขึ้น ตารางที่ 2 จํานวนเมล็ดตอผล ขนาดเมล็ด น้ําหนักเมล็ด และผลผลิต

ตอไรของสบูดําพันธุตางๆในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ขนาดเมล็ด (ซม.) พันธุ

จํานวนเมล็ด /ผล กวาง ยาว

น้ําหนักเมล็ด (กรัม) ที่

ความชื้น 8%

ผลผลิต (กก./ไร)

Toxic group C0 2.95 1.16 abc 2.01 a 0.69 c 450.52 d C1 2.88 1.17 ab 1.71 d 0.65 ef 498.85 c In 2.90 1.15 abc 1.85 c 0.66 de 432.65 def La 2.87 1.15 abc 2.03 a 0.61 g 442.85 de N16 2.91 1.08 e 2.00 bc 0.63 de 435.38 de N65 2.92 1.09 de 1.96 ab 0.70 c 404.92 fg N80 2.95 1.19 a 2.01 a 0.66 de 500.12 c Sup 2.93 1.08 e 1.96 ab 0.68 cd 413.74 efg Tox3 2.90 1.12 cde 1.96 ab 0.78 b 635.20 b Non – toxic group Mex 2.85 1.13 bcd 1.91 bc 0.87 a 745.58 a Sri 2.83 1.16 abc 1.97 ab 0.70 c 395.56 g F – test Ns ** ** ** ** C.V. (%) 4.46 2.54 3.09 2.22 4.93

คาเฉลี่ยท่ีกํากับดวยอักษรเหมือนกนัในแนวตัง้เดียวกัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติโดยวิธี DMRT หมายเหตุ เมล็ดสบูดําทุกพันธุท่ีทดลองมีปรมิาณน้ํามนั 25 – 33 %

4.6 จำานวนเมล็ดต่อผล

จำานวนเมลด็ในแตล่ะผลของสบูด่ำาทกุพนัธุท์ีท่ดลอง พบวา่

ไมม่คีวามแตกตา่งกนั ทกุพนัธุม์จีำานวนเมลด็ตอ่ผลเฉลีย่ 2.83 – 2.95

เมล็ด (ตารางที่ 2)

4.7 ขนาดของเมล็ด

สบู่ดำาพันธุ์ N80 C1 C0 Sri In และ La มีขนาดความกว้าง

ของเมล็ดเฉลี่ย 1.15 – 1.19 ซม. กว้างกว่าพันธุ์อื่นๆ ที่ทดลอง ส่วน

ความยาวของเมล็ด สบู่ดำาพันธุ์ La C0 N80 Sri N65 Sup และ Tox3

มีความยาวเมล็ดเฉลี่ย 1.96 – 2.03 ซม. ส่วนพันธุ์ C1 เมล็ดมีความ

ยาวเฉลี่ยตำ่ำาสุด 1.71 ซม.

4.8 นำ้ำาหนักเมล็ด

นำ้ำาหนักเมล็ดสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆที่ความชื้น 8% พบว่าพันธุ์

Mex มีนำ้ำาหนักเมล็ดสูงสุดเฉลี่ย 0.87 กรัม รองลงมาคือพันธุ์ Tox3

มนีำำ้ำาหนกัเมลด็เฉลีย่ 0.78 กรมั สว่นพนัธุ ์La เมลด็มนีำ้ำาหนกันอ้ยทีส่ดุ

เฉลี่ย 0.61 กรัม (ตารางที่ 2)

4.9 ผลผลิต

สบู่ดำาพันธุ์ Mex ให้ผลผลิตสูงสุด 745.58 กิโลกรัมต่อ

ไร่ รองลงมาคือพันธุ์ Tox3 ให้ผลผลิตเฉลี่ย 635.20 กิโลกรัมต่อไร่

สูงกว่าพันธุ์อื่นๆที่ทดลอง (ตารางที่ 2) ทั้งนี้เนื่องจากพันธุ์ Mex และ

Tox3 มีจำานวนดอกต่อช่อมากกว่าพันธุ์อื่น และมีจำานวนผลต่อช่อสูง

กว่าพันธุ์อื่น และเมล็ดก็มีนำ้ำาหนักเฉลี่ยสูงกว่าพันธุ์อื่น จึงมีผลผลิต

Page 4: 1. บทนำา - CSCD Bootstrap CI · 2011-09-06 · บท นำา ... การเจริญเติบโตทางด้านกิ่งใบของสบู่ดำาพันธุ์ต่างๆที่อายุ

748

การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำาปี 2554“การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” 27-29 มกราคม 2554

7. เอกสารอ้างอิง[1] รักษ์ พฤกษชาติ. การปลูกและการพัฒนาสบู่ดำาเพื่อทดแทน

นำ้ำามันดีเซล.สำานักพิมพ์นีออน บุ๊ค มีเดีย. นนทบุรี. 2549.

[2] สมบัติ ชิณะวงศ์. การปลูกและการใช้ประโยชน์จากสบู่ดำา.

เอกสารเผยแพร่ อันดับที่ 74มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วิทยาเขตกำาแพงแสน นครปฐม. 2549.

[3] ชำานาญ ฉัตรแก้ว. สบู่ดำาพืชพลังงาน. ห้างหุ้นส่วนจำากัด ฟันนี่

พับลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 2549.

[4] กระทรวงวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลย.ี ประเดน็อบุตัใิหมท่ีต่อ้งใช ้

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: พลังงานทางเลือก การประชุม

สมัชชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา ครั้งที่ 6 16

กรกฎาคม 2550 เมืองทองธานี. 2550.

[5] GEXSI LLP. Global Market Study on Jatropha.Final Report-

Abstract. Prepared for the World Wide Fund for Nature.2-6

Cannon Street, London.www.gexsi.com. 2008.

[6] สุรชัย มัจฉาชีพ อุดมลักษณ์ มัจฉาชีพ ศรีปาน เชยกลิ่นเทศ

และพิชัย ถิ่นสันติสุข. การเพิ่มศักยภาพการผลิตเมล็ดสบู่ดำาใน

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รายงานความก้าวหน้าผลงานวิจัย ปี

งปม.2549 มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลสวุรรณภมู.ิ 2550.

[7] Divakara, B.N., H.D. Upadhyaya., S.P. Wani and C.L.

Laxmipathi Gowda. Biology and genetic improvement of

Jatropha curcas L.: A review. Applied Energy. 84(3): 732-

742. 2010.

[8] Basha, S. D. and M. Sujatha. Inter and intra-population

variability of Jatropha curcas (L.) characterized by RAPD

and ISSR markers and development of population-specific

SCAR markers. Euphytica. 156:375–386.2007.

[9] Makkar, H. P. S., A. O. Aderibigbe and K. Becker. Comparative

evaluation of non-toxic and toxic varieties of Jatropha curcas

for chemical composition, digestibility, protein degradability

and toxic factors. Food Chemistry. 62(2): 207-215. 1998.

[10] กัลยา ตันมณี บุริม โอทกานนท์ สุวัฒนา ตุ้งสวัสดิ์ และ

เอกชยั พวงกลิน่. การวเิคราะหต์น้ทนุและผลตอบแทนจากการ

แปรรูปพืชสบู่ดำามาเป็นเชื้อเพลิง Biodiesel มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ พระนครศรีอยุธยา. 2552