7
รังสีแกมมา จัดทำโดย นำยธงชัย คองโปงเกตุ เลขที่ 3 นำงสำววำรุณี วำนทุม เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ 6/1

เรื่อง รังสีแกมมา

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เรื่อง  รังสีแกมมา

รังสีแกมมาจัดท ำโดย

นำยธงชัย คองโปงเกตุ เลขที่ 3

นำงสำววำรุณี วำนทุม เลขที่ 16

ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/1

Page 2: เรื่อง  รังสีแกมมา

ความหมาย• รังสีแกมมำ (อังกฤษ: gamma ray) คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิด

หนึง่ ที่มีช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่ารงัสีเอกซ์ (X-ray) ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 10-13 ถึง 10-17 หรือก็คือคล่ืนที่มีความยาวคลื่นน้อยกวา่ 10-13 นั่นเอง การทีค่วามยาวคล่ืนสั้นนั้น ย่อมหมายถึงความถีท่ี่สูง และพลังงานที่สงูตามไปด้วย ดังนัน้รังสีแกมมาถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงที่สุดในบรรดาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่เหลือทั้งหมด

Page 3: เรื่อง  รังสีแกมมา

การค้นพบ• การค้นพบรังสีแกมมา โดย พอล วิลลาร์ด (Paul Villard) นักฟิสิกส์

ฝรั่งเศส พอล วิลลาร์ด ค้นพบรังสีแกมมาจากการศึกษากัมมันตภาพรังสีที่ออกมาจากยูเรเนียม ซึง่ถูกค้นพบมาก่อนแล้วว่าบางส่วนจะเบนไปทางหนึ่ง เมื่อผ่านสนามแม่เหล็กบางส่วนจะเบนไปอกีทางหนึ่ง กัมมันตภาพรังสีทั้งสองประเภทนี้ คือ รังสีแอลฟา และรังสีบีตา

Page 4: เรื่อง  รังสีแกมมา

แสดงการสลายตัวของสารแลว้ให้รังสีแกมมา

Page 5: เรื่อง  รังสีแกมมา

การแผ่รังสีแกมมา• การแผ่รังสีแกมมา นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่แผ่รังสีแอลฟาหรือ

รังสีบีตาแล้ว มักท าให้นิวเคลียสที่เกิดใหม่มีพลังงานสูงกว่าปกติ จึงปล่อยพลังงานส่วนเกินออกมาในรูปรงัสีแกมมาซึ่งไม่มปีระจุและมวล ดังนั้นการแผ่รังสีแกมมาจึงไม่ท าให้ทัง้เลขอะตอมและเลขมวลเปลี่ยนแปลงไปเลย

Page 6: เรื่อง  รังสีแกมมา

การประยุกต์ใช้งาน

• เทคโนโลยีพนัธุกรรม (Genetic Technology)

• กล้องโทรทัศน์รังสีแกมมำ

• กำรถนอมอำหำร

• กำรใช้รังสีแกมมำในทำงกำรแพทย์

Page 7: เรื่อง  รังสีแกมมา

การใช้รังสีแกมมาในทางการแพทย์

• การใช้รังสีแกมมาในทางการแพทย์ สามารถแบ่งออกเปน็ 3 แบบ คือ

• 1) การรักษาโรคมะเร็งหรือเนื้องอก2) การตรวจและวินิจฉัยโรค3) การปลอดเชื้อผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์