18
ผูสอน...นางสาวจร ยา ใจยศ วชาเทคนคปฏ บัตการ ชั นมัธยมศ กษาปท4/1 (พ) โรงเร ยนสา อาเภอเวยงสา จังหวัดนาน

การทดลองที่ 2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การทดลองที่ 2

ผู้สอน...นางสาวจรยิา ใจยศวิชาเทคนิคปฏบิัติการ

ชัน้มัธยมศกึษาปีท่ี 4/1 (พ)โรงเรยีนสา อ าเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

Page 2: การทดลองที่ 2

การท าสารให้บริสุทธ์ิการแยกสารเป็นวิธีการท าสารให้บริสุทธิ์หรือเป็นวิธีแยกสารออกจากกัน ในการแยกสารให้บริสุทธิ์มีหลายวิธีข้ึนอยู่กับสมบัติของสารที่ผสมกันอยู่และองค์ประกอบอ่ืน เช่น เคร่ืองมอืท่ีมีประสิทธภิาพ วิธีการแยกสารให้บริสุทธิ์ทั่วไปมีดังนี้

ใช้สมบัติจุดเดือดในการแยก - การกลั่น

ใช้สมบัติการละลายในการแยก – การใช้กรวยแยก, การกรอง,

การสกัด, โครมาโทกราฟี, การ ตกผลึก

Page 3: การทดลองที่ 2

การสกัดด้วยตัวท าละลายการสกัดด้วยตัวท าละลายนั้นเป็นการแยกสารโดยไม่ต้อง

ใช้ความร้อนเข้าช่วย แต่อาศัยหลักการละลายของสาร ที่สาร 2 ชนิดละลายได้ในตัวท าละลายท่ีแตกต่างกัน

Page 4: การทดลองที่ 2

การเลือกตัวท าละลายท่ีน ามาใช้ในการสกัดมีหลักทั่วไป ดังน้ี

1. ต้องละลายสารท่ีต้องการสกัดได้ดี

2. ไม่ท าปฏิกริิยากับสารท่ีต้องการสกดั

3. ถ้าต้องการแยกสี ตัวท าละลายจะตอ้งไม่มีสี ถ้าตอ้งการแยกกลิ่น ตัวท าละลายต้องไม่มีกล่ิน

4. ไม่มีพิษ มีจุดเดือดต่ า และแยกตัวออกจากสารท่ีตอ้งการสกัดได้ง่าย

5. ไม่ละลายปนเป็นเนื้อเดียวกับสารท่ีน ามาสกัด

6. มีราคาถูก

Page 5: การทดลองที่ 2

ประโยชน์ของการสกัดด้วยด้วยตัวท าละลาย

1. ใช้สกัดน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช เช่น น้ ามันงา ถั่ว ปาล์ม นุ่น บัว เป็นต้น นิยมใช้เฮกเซนเป็นตัวท าละลาย

2. สกัดสารมีสีออกจากพืช

3. ใช้สกัดน้ ามันหอมระเหยออกจากพืช

4. ใช้สกัดยาออกจากสมุนไพร

Page 6: การทดลองที่ 2

จากตัวอย่างข้างต้น สรุปได้ดังนี ้

1. ตัวท าละลายขมิน้ 2 ชนดิ คือ น้ า และเอทานอลให้ผลการสกัดสารต่างกันคือ ทัง้น้ าและเอทานอลสามารถสกัดสีขมิ้นได้ แตน่้ าสามารถสกัดกลิ่นขมิ้นได้ดกีว่าเอทานอล เนื่องจากเอทานอลมีกลิ่นแต่น้ าไม่มีกลิ่น

2. การหั่นขมิน้เป็นชิ้นเล็ก ๆ มีผลต่อการสกัด เพราะย่ิงขมิ้นช้ินเล็ก การสกัดสารยิ่งดี เนื่องจากผวิหน้าสารที่ถูกสกัดเพิ่มมากขึ้นเม่ือสารนัน้ชิ้นเล็กลง

Page 7: การทดลองที่ 2

โครมาโทรกราฟีวิธีนี้สามารถแยกสารท่ีผสมกันอยู่โดยอาศัยหลักการท่ีว่า สารต่าง

ชนิดกันจะกระจายตัวอยู่ในวัฏภาคนิ่ง (stationary phase) หรือตัวดูดซับ และวัฏภาคเคล่ือนที่ (mobile phase) หรอืตัวท าละลายได้ไม่เท่ากัน สารต่างชนิดกันจึงเดินทางผ่านวัฏภาคน่ิงออกมากับวัฎภาคเคล่ือนที่ได้ไม่พร้อมกันจึงเกิดการแยกข้ึน

Page 8: การทดลองที่ 2

Paper Chromatography

Column Chromatography Thin-Layer Chromatography

Page 9: การทดลองที่ 2

หลักการแยกสารโดยใช้วิธีโครมาโทกราฟี มีดังนี้1. แยกสารผสมท่ีมีสีและสารที่ไมม่ีสี

2. สารที่ผสมกันจะต้องมีความสามารถในการละลายในตัวท าละลายชนิดเดียวกันได้ต่างกัน และความสามารถในการถูกดูดซับโดยตัวดูดซับชนิดเดียวกันได้ต่างกัน

3. สารที่ละลายได้ดีส่วนใหญ่จะถูกดูดซึมได้น้อยจงึเคล่ือนที่ไปได้ไกล สารที่ละลาย ได้น้อยส่วนใหญ่จะถูกดูดซับได้ดี จงึเคล่ือนที่ไปได้ระยะทางน้อยกว่า

Page 10: การทดลองที่ 2

โครมาโทกราฟีกระดาษ (Paper chromatography)อุปกรณ์ท่ีส าคัญ คือ

- กระดาษโครมาโทกราฟหีรือกระดาษกรอง เพ่ือท าหน้าที่เป็นตัวดูดซับ

- ตัวท าละลาย ซ่ึงเป็นสารละลายชนิดต่าง ๆ และอุปกรณ์เสริมต่าง ๆ

เม่ือต้องการตรวจสอบสีท่ีน ามาจากพืช

1. ใช้ปลายเข็มหรือปลายหลอดแคปิลารี จุ่มสีที่สกัดจากพืช มาแตะที่เส้นดินสอที่ขีดไว้ ทิ้งไวใ้ห้แห้งแล้วหยดซ้ า ที่เดิมเพ่ือให้เข้มข้ึน

2. น าแผ่นกระดาษกรองหรือกระดาษโครมาโทกราฟ ีที่เตรียมไว้มาแขวน ให้ปลายกระดาษกรองอยู่ในของเหลวในบีกเกอร์ แต่ไม่แตะกันกับบกีเกอร์

Page 11: การทดลองที่ 2

สรุปผลที่ได้1. สารท่ีสกัดจากพืชที่เห็นเป็นสารเนื้อเดียว อาจมีองค์ประกอบชนิดเดียว

หรือมากกว่า 1 ชนิดก็ได้2. ถ้าแยกได้หลายสี แสดงว่า มีองค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด 3. ถ้าแยกได้สีเดียว อาจมีองค์ประกอบเดียว หรือมีหลายองค์ประกอบที่

เคล่ือนที่ได้เร็ว ใกล้เคียงกนัมากจะต้องตรวจสอบซ้ า โดยใช้ตัวท าละลายชนิดอ่ืน หรือเพ่ิมระยะทางของตัวดูดซับให้ยาวข้ึน

Page 12: การทดลองที่ 2

การวิเคราะห์สารว่าเป็นชนิดเดียวกันหรือไม่ มีหลักการดังน้ี 1. มีสีเดียวกนั 2. มีค่า Rf เดียวกัน

3. มีระบบการทดลองเดียวกัน

Page 13: การทดลองที่ 2

อัตราการเคลื่อนที่ของสาร (Rf = Rate of flow)

สมบัติของ Rf1. ค่า Rf ไม่มีหน่วย2. ค่า Rf หาได้จากการทดลองเท่านั้น3. ค่า Rf มีค่าไม่เกิน 14. ค่า Rf ข้ึนอยู่กับชนิดของสารและชนิดตัวท าละลาย5. ค่า Rf เป็นค่าเฉพาะค่าคงท่ีของแต่ละสาร

Page 14: การทดลองที่ 2

ผู้สอน...นางสาวจรยิา ใจยศวิชาเทคนิคปฏบิัติการ

ชัน้มัธยมศกึษาปีท่ี 4/1 (พ)โรงเรยีนสา อ าเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

Page 15: การทดลองที่ 2

กิจกรรม 1 การสกัดสีเขียวจากพืช

หั่นใบเตย บดให้ละเอียด

Page 16: การทดลองที่ 2

น้ า แอลกอฮอล์ เฮกเซน

กรอง กรอง กรอง

ท าการทดลองในตู้ดูดควัน

Page 17: การทดลองที่ 2

ตัวอย่างตารางบันทึกผล

Page 18: การทดลองที่ 2

กิจกรรม 2 การวิเคราะห์องค์ประกอบสีจากใบไม้

ท าการทดลองในตู้ดูดควัน