KIDS-D AND BEYOND

Preview:

DESCRIPTION

คลังความรู้เปิด: KIDS-D AND BEYOND

Citation preview

คลังความรู้เปิด:KIDS-D AND BEYOND

ดร.พงศ์ธวัช ชีพพมิลชัย

© 2010 Knowledge Sharing – Collaborative Thinking ProjectAsian Institute of Technology

2Dr. Pongtawat Chippimolchai

สงวนสิทธิ์บางประการภายใต้สัญญาอนุญาตครเีอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย

ท่านสามารถน าเนื้อหาไปใช้ แสดง ดัดแปลง เผยแพร่ โดยต้องอ้างอิงที่มา ห้ามใช้เพื่อการค้าและต้องใช้สัญญาอนุญาตชนิดเดียวกันนี้กับงานดัดแปลงต่อยอดที่เผยแพร่ต่อ

245 _aHello World

พงศ์ธวัช ชีพพิมลชัย, D.Eng (Computer Science)Asian Institute of Technology Technical Resource, GMSARN Best Practice Project

พัฒนาและดูแลระบบ, โครงการแบ่งกันรู้ รว่มกันคิด

Email: pongtawat@ait.ac.th

3

Agenda

แนะน า KIDS-D และโครงการแบ่งกันรู้ ร่วมกันคิด เครือข่ายคลังความรู้เปิด

เครือข่ายคลังความรู้ สู่ เครือข่ายการเรียนรู้

รู้จักกับ KIDS-D

KIDS-D

• KnowledgeK

• ImaginationI

• DiscoveryD

• SharingS

• DigitalD

KIDS-D คืออะไร?

เครือข่ายห้องสมุดดิจิทัลเพื่อการศึกษา เป็นส่วนหนึง่ของโครงการ “แบ่งกันรู้ ร่วมกันคิด”

ริเริ่มโดย ศ.คร.วิลาศ ววูงศ์, สถาบันเอไอที เริ่มต้นอย่างเป็นทางการในปี 2550MOU: เอไอที-สพฐ.-มศว

เครือข่ายห้องสมุดดิจิทัล KIDS-D เครือข่ายห้องสมุดดิจิทัลเพื่อการศึกษา จัดเก็บสื่อการศึกษาในรูปแบบต่างๆ เช่น หนังสือ บทความ วีดิทัศน์

แฟ้มเสียง เป็นต้น ที่รวบรวมจากหน่วยงานต่างๆ ที่ต้องการเผยแพร่เนื้อหาที่มีคุณค่าต่อสาธารณชน เช่น

ส านกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ส านกัหอสมดุแหง่ชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี(สสวท.) ส านกังานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ฯลฯ

เครือข่ายห้องสมุดดิจิทัล KIDS-D

พัฒนาในรปูแบบเครือข่ายห้องสมุดดิจิทัล ผลักดันให้เกิดห้องสมุดดิจิทัลที่ได้มาตรฐานในหน่วยงานที่มี

ความพร้อม ผู้ผลิตสื่อ หน่วยงานสนับสนุน

เชื่อมโยงห้องสมุดดิจิทัลเข้าเป็นเครือข่าย ที่สามารถสืบค้น และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้

เครือข่าย KIDS-D

KIDS-D @ AIT

KIDS-D @ SWU

@ กกต

@ สสวท

10

dl.kids-d.org

ที่มาของโครงการ

ปัญหาของประเทศไทย

ปัญหาการเมือง

ปัญหาสังคม

ปัญหาเศรษฐกิจ

ปัญหาการศึกษา

ปัญหาการศึกษา

ขาดแคลนครู โดยเฉพาะด้านวิทย-์คณิต

คุณภาพการสอน ครู “จ าเป็น” ต้องสอนไม่ตรงตามวุฒิการศึกษา

โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรการเรียนรู้ที่ดี ของครู และ นักเรียน

ปัญหาการศึกษาเป็นปัญหาใหญ่ ที่ต้องช่วยกันแก้ไข

แล้วนักสารสนเทศจะช่วยแก้ปัญหาได้อย่างไรบ้าง?

ข้อสังเกต 1

เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้สูง สามารถเรียนรู้ได้ตัวเองอย่างรวดเร็ว แต่ขาด “ทรัพยากร” ที่ดีส าหรับการเรียนรู้

แล้ว Internet กับ อ.กู้ ล่ะ?

ค าค้นยอดนิยมปี 2552 เกมส์ hi5 youtube hotmail ดูดวง ฟังเพลง 4shared ดูหนังออนไลน์ ผลบอล รถมือสอง

ที่มา: http://www.google.com/intl/th/press/zeitgeist2009/regional.html#thailand

กลับมาที่ข้อสังเกต

ข้อสังเกต 2

เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้สูง สามารถเรียนรู้ได้ตัวเองอย่างรวดเร็ว แต่ขาด “ทรัพยากร” ที่ดีส าหรับการเรียนรู้

ครูก็มีความสามารถในการเรียนรู้และการสอนสูง แต่ขาด “ทรัพยากร” ที่ดีส าหรับการเรียนรู้ และการสอน

ครูที่สอนเก่ง ถ้านับรวมทั้งประเทศ มีเป็นจ านวนมาก แต่มีไม่พอ และไม่ทั่วถึงทุกพื้นที่

ข้อสังเกต 3

สื่อการสอนที่ดีมีเป็นจ านวนมาก แต่กระจัดกระจาย และจัดเก็บไม่เป็นระบบ เข้าถึง และประยุกต์ใช้ได้ยาก

กระทรวงศึกษาธิการ

แล้วนักสารสนเทศจะช่วยแก้ปัญหาได้อย่างไรบ้าง?

แนวทางการร่วมแก้ปัญหา

หาวิธีการจัดการ“ทรัพยากรการเรียนรู้” อย่างมีประสิทธิภาพ

โครงการฯ ระยะเริ่มต้น

หาวิธีการจัดการ“ทรัพยากรการเรียนรู้” อย่างมีประสิทธิภาพ

เครื่องมือ (ระบบ) ที่ดี

ระบบห้องสมุดดิจิทัล

ระบบห้องสมุดคิดดี (DSpace)

ห้องสมุดดิจิทัล KIDS-D (2550)

สิ่งที่เราได้เรียนรู้

ระบบที่ดีอย่างเดียวไม่ช่วยแก้ปัญหา สิ่งที่ส าคัญคือ “เครือข่าย” และ “ทรัพยากรการเรียนรู้”

แบบเปิด

ดิจิทัลอย่างเดียวไม่เพียงพอ (ณ ปัจจุบัน)

ระบบรวมศูนย์มักไม่ยั่งยืนในประเทศไทย

โครงการฯ ในปัจจุบัน

เครื่องมือ (ระบบ) ที่ดี

ระบบห้องสมุดดิจิทัล

ระบบห้องสมุดคิดดี (DSpace)

เครือข่ายห้องสมุดดิจิทัล

เครือข่ายคลังความรู้เปิด

โครงการฯ ในปัจจุบัน

โครงสร้างพื้นฐาน มาตรฐาน, มาทาดาทา, การเชือ่มโยงเครือข่าย

ระบบต้นแบบ (ที่ใช้งานได้จริง) อ้างอิงโครงสร้างพื้นฐานที่วางไว้ ระบบห้องสมุดผสม HyLib

ความร่วมมือ เครือข่าย

เครือข่ายคลังความรู้เปิด

เครือข่ายคลังความรู้เปิด

Senayan

เบื้องหลัง

36

TU

KIDS-D

KU

STKS

HyLibDrupal

AgDB

จินดามณี

E-Prints ฯลฯ

DSpace

Open

เบื้องหลังเครือข่าย

Standard

TU

DSpace

STKS

Drupal

KIDS-D

HyLib

KU

AgDB

Common Infrastructure

Resources

The Basis: Standard & Open

38

Standard Standard Format Standard Metadata Standard Protocol

Open Open Content Open System Open Source

Open Mind (most important!)

Standard

Format PDF, ODF, OOXML, HTML, EPUB, Daisy, SCORM,

MPEG-4, PNG, JPG, … Metadata Dublin Core, MARC, LOM, MODS, …

Protocol Z39.50, OAI-PMH, OAI-ORE, SRU, SQI, Atom Pub, …

Open

Open Content Creative Commons

Open Source DSpace, Koha, Greenstone, Drupal, Senayan,

DokuWiki, …

เครือข่ายคลังความรู้สู่

เครือข่ายการเรียนรู้

เครือข่ายการเรียนรู้

คลังความรู้ เป็นเพียงแค่องค์ประกอบหนึ่งของการเรียนรู้

คลังความรู้

เราจะสร้าง “เครือข่ายการเรียนรู”้ ได้อย่างไร?

การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้

เริ่มต้นจากเครือข่ายคลังความรู้เปิด แล้ว...

ก็มาช่วยกันคิดหน่อยครับ

ตัวอย่างเครือข่ายคลังความรู้เปิด / เครือข่ายการเรียนรู้เปิด

ระดับประเทศ

KERIS

KERIS (2)

http://www.edunet4u.net

ระดับทวีป

European Schoolnet’s LRE

http://lreforschools.eun.org/LRE-Portal/Index.iface

European Schoolnet’s LRE (2) The Federal Ministry for Education,

Austria Cambridge Hitachi Cité des Sciences et de l'Industrie Contento EDUCATIO FWU, Germany National Board of Education Finland Promethean Skolavefurinn Tiger Leap Foundation XTEC

Centre of Information Technologies of Education, Lithuania

INDIRE Israeli Government Portal ARIADNE Foundation KlasCement Ministry of Education, Iceland OER Commons Research Institute of Education in

Prague Skolverket: The Swedish National

Agency for Education

ระดับโลก

OAIster

GLOBE

GLOBE (2)

GLOBE (3)

ประเทศไทย?

มาร่วมกันสร้างเครือข่ายการเรียนรู้เปิดส าหรับประเทศไทย

58

National Open Source for Library Initiativehttp://www.nstda.or.th/nosl

สมาชิก: STKS, AIT, SWU, SUT, KU, TU, KKU, NECTEC, CU, SIPA, หอสมุดแห่งชาติ และอีกมากมาย

เครือข่ายความร่วมมือ

ผู้ใช้

สนับสนุน

วิจัยพัฒนา

บริการ

ห้องสมุด, ศูนย์ข้อมูล

STKS, SIPA

มหาวิทยาลัย, NECTECมหาวิทยาลัย, ธุรกิจ

ธุรกิจ, มหาวิทยาลัย

เครือข่ายความร่วมมือ

ผู้ใช้

สนับสนุน

วิจัยพัฒนา

บริการ

61

“If you have knowledge,let other light their candles at it.”

- Margaret Fuller

ระบบห้องสมุดผสม HyLibระบบต้นแบบส าหรับคลังความรู้เปิด

ระบบห้องสมุดผสมคืออะไร?

ระบบห้องสมุดผสมคือระบบส าหรับ: บริหารจัดการทรัพยากร กายภาพ ของห้องสมุด บริหารจัดการทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ ของห้องสมุด อ านวยความสะดวกในการ ค้นพบ และ เข้าถึง ทรัพยากร

ทั้งหมด

Hybrid Library System63

ระบบห้องสมุดผสมLibrary Management Digital Repository Resource Discovery

Hybrid Library System

64

ระบบห้องสมุดผสม HyLibLibrary Management Digital Repository Resource Discovery

Hybrid Library System

HyLib65

ระบบห้องสมุดผสม HyLib

A Free Hybrid Library System from AIT Open Source Open Standard Open for Contributions สนับสนุนภาษาไทย Based on world-class open source software

HyLib

66

ระบบห้องสมุดผสม HyLib

A Free Hybrid Library System from AIT Open Source Open Standard Open for Contributions สนับสนุนภาษาไทย Based on world-class open source software

HyLib

67

องค์ประกอบของ HyLib• ค้นหา

• เรียกดู

• แลกเปลี่ยน

Resource Discovery

• หนังสือ/ วารสาร สิ่งพิมพ์

• ไมโครฟอร์ม

•CD-ROMs, ฯลฯ

Library Management

• E-Books

• E-Journals/ E-Magazines

• ไฟล์มัลติมีเดีย, ฯลฯ

Digital Library

• E-Theses/ Dissertations

• E-Research/ Papers

• E-Courseware, etc.

Institutional Repository

Search via One Retrieve from All

HyLib

68

การค้นหาใน HyLib

Library Management Digital Library Institutional Repository

Resource Discovery

Search via One

Retrieve from All

69

สถาปัตยกรรมของ HyLib

Library Management

Digital Library

Institutional Repository

Resource Discovery

Standard Metadata, Format and Protocol

Web 2.0Open

SourceOpen

Standard

Metadata Harvester

Future Module

70

สถาปัตยกรรมของ HyLib

HyLibKoha

HyLibDSpace

HyLibDSpace

HyLib VuFind

Standard Metadata, Format and Protocol

Web 2.0Open

SourceOpen

Standard

HyLib Harvester

Future Module

71

เครือข่าย HyLib

72

Network

Sharing between HyLib sites

HyLib 1 HyLib 2

HyLib 5

HyLib 4

HyLib 3

Network of Hybrid Libraries

73

Network

System ASystem B

HyLib 1

HyLib 2

System C

Standard Metadata, Format and Protocol

74

“If you have knowledge,let other light their candles at it.”

- Margaret Fuller

Recommended