เมื่อ “ เกิดเพลิงไหม้ ” ใน...

Preview:

Citation preview

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

เมื่อ “ เกิดเพลิงไหม้ ” ในพื้นที่รับผิดชอบของท่าน.......ท่านควรจะปฏิบัติ ดังนี ้ก. ภายหลังที่เพลิงสงบ....ควรเข้าตรวจสอบพื้นที่บริเวณที่เกิด

เพลิงไหม้มีอาคารที่ถูเพลิงไหม้ มีจ านวนถึงสามสิบหลังคาเรือนขึ้นไป หรือไม่

ข. หรืออาคารที่ถูกเพลิงไหม้ มีพื้นที่เฉพาะบริเวณที่ถูกเพลิงไหม้ถึงหนึ่งไร่ขึ้นไปหรือไม่

ค. เมื่อได้ข้อมูลแล้วให้พิจารณา...ดังนี้

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “ ไม่เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (ไม่เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

๑. เมื่อไม่เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. ราชการส่วนท้องถิ่นที่ไม่ได้ ประกาศ เป็นเขตควบคุมอาคาร ห้ามน าพระราชบัญญัติควบคมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ไปบังคับใช้ ส่วนราชการส่วนท้องถิ่นที่ได้ประกาศเป็นเขตควบคุมอาคาร ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณาด าเนินการตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้ตามปกติ แต่มิให้น า หมวดที่ ๗ ว่าด้วยเขตเพลิงไหม้ ไปพิจารณา ๒. ส่วนราชการส่วนท้องถิ่นที่ได้ประกาศเป็นเขตควบคุมอาคารให้เจ้าพนักงาน

ท้องถิ่นแจ้งเจ้าของอาคารที่ถูกเพลิงไหม้ได้รับทราบว่า กรณีการด าเนินการเกี่ยวกับซากอาคาร ไม่ว่าจะเป็นการรื้อถอน การเก็บกอง การขนย้าย ฯลฯ ต้องแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นได้รับทราบก่อน ทั้งนี้ เนื่องจากกรณีการรื้อถอนหรืออื่นๆ อาจก่อให้ เกิดอันตรายต่อเจ้าหน้าที่หรือคนงาน ซึ่งจะเป็นความรับผิดชอบของเจ้าพนักงานท้องถิ่น

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “ไม่เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (ไม่เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

๓. แจ้งเจ้าของอาคารเมื่อจะด าเนินการก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือ เคลื่อนย้ายอาคารให้เจ้าของอาคารขออนุญาตต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น พิจารณาด าเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒

๔. พิจารณาจากสภาพอาคารที่ถูกเพลิงไหม้ อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อ เจ้าของอาคารหรือประชาชนทั่วไป อาจออกค าสั่งให้เจ้าของอาคาร ปรับปรุง (กรณีสามารถซ่อมแซม แก้ไขได้) หรือแจ้งให้รื้อถอน อาคาร (กรณีพิจารณาแล้ว เห็นว่าอาคารไม่มีความปลอดภัยต่อผู้เข้าใช้สอย) ทั้งนี้ เจ้าของอาคารสามารถที่จะหาวิศวกรมารับรองความมั่นคง แข็งแรงของอาคารได้ กรณีเจ้าของอาคารไม่เห็นด้วยกับความเห็นของ เจ้าพนักงานท้องถิ่น

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

๑. ราชการส่วนท้องถิ่นที่ไม่ได้มีการประกาศเป็นเขตควบคุมอาคาร ให้ถือว่าได้มีพระราชกฤษฎีกาให้ใช้บังคับพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ บังคับในท้องที่นั้น นับตั้งแต่วันที่ได้เกิด เพลิงไหม้ขึ้น (ตามมาตรา ๖๒ แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ) รวมทั้งราชการส่วนท้องถิ่นที่ได้ประกาศเป็นเขต ควบคุมอาคารแล้ว ให้ด าเนินการประกาศแสดงเขตเพลิงไหม้ไว้ ณ ส านักงานของราชการส่วนท้องถิ่นนั้น และบริเวณเพลิงไหม้ โดยระบุให้ทราบถึงการกระท าอันต้องห้ามตามบทบัญญัติแห่ง พระราชบัญญัตินี้ (มาตรา ๕๗ ) ดังนี้

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

๒. ประกาศแสดงเขตเพลิงไหม้ต้องมีการก าหนดระยะเวลาภายในสี่สิบห้า วัน นับแต่วันที่เกิดเพลิงไหม้ห้ามมิให้ผู้ใดก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือ เคลื่อนย้ายอาคารในเขตเพลิงไหม้ และให้ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้ท า การก่อสร้าง ดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคาร หรือผู้แจ้งตาม มาตรา ๓๙ ทวิ ในเขตเพลิงไหม้อยู่แล้ว ก่อนวันที่เกิดเพลิงไหม้ ระงับ การกระท าตามที่ได้รับอนุญาต หรือที่ได้แจ้ง (ตามมาตรา ๓๙ ทวิ) ไว้นั้นให้ระงับการ กระท าตามระยะเวลาดังกล่าวด้วย แต่การห้ามนี้ มิให้ ใช้บังคับกับ

๒.๑ การก่อสร้างอาคารชั่วคราวเพื่อประโยชน์ในการบรรเทา ทุกข์ ซึ่งจัดท าหรือควบคุมโดยทางราชการ

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

๒.๒ การดัดแปลงหรือซ่อมแซมอาคารเพียงเท่าที่จ าเป็นเพื่อ อยู่อาศัยหรือใช้สอยชั่วคราว

๓. ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่เกิดเพลิงไหม้ ให้ราชการส่วนท้องถิ่นที่มี เขตเพลิงไหม้นั้น พิจารณาว่าสมควรจะมีการปรับปรุงเขตเพลิงไหม้ หรือไม่ (ความหมายค าว่าปรับปรุงตามความเห็นของคณะกรรมการ ควบคุมอาคารส่วนใหญ่หมายความว่า การด าเนินการปรับปรุงเขต เพลิงไหม้ให้มีสภาพการเข้าถึง การจราจร การป้องกันและเข้าระงับ อัคคีภัย ฯ ที่สะดวกกว่าเดิม (เช่น...การตัดถนนใหม่ หรือขยายถนนเดิม

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

เข้าไปภายในเขตเพลิงไหม้พร้อมระบบสาธารณูปโภคที่จ าเป็น เช่น... ระบบท่อระบายน้ า ระบบท่อดับเพลิงและหัวจ่ายน้ า (หัวแดง) ของการ ประปา ฯ มิใช่การก่อสร้างอาคารให้กับประชาชนผู้ประสบเหตุ เพลิงไหม้ โดยกรมโยธาธิการและผังเมืองจะเป็นหน่วยงานที่จัดท า แผนผังปรับปรุงเขตเพลิงไหม้ แต่การด าเนินการให้เป็นไปตามแผนผัง ไม่ว่าจะเป็นงบประมาณในการปรับปรุง วัสคุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เป็น หน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ทั้งนี้ จะต้องเสนอหนังสือ ความเห็นให้คณะกรรมการควบคุมอาคารได้พิจารณาภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่เกิดเพลิงไหม้ พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

เอกสารที่เกี่ยวข้องในการพิจารณามีดังนี้ ๓.๑ ประกาศแสดงเขตเพลิงไหม้ ๓.๒ แผนที่สังเขปแสดงแนวเขตเพลิงไหม้ (ถ้ามีขนาดเล็กให้

ขยายมาตราส่วนเป็น ๑ : ๕๐๐) พร้อมระบายสีบริเวณที่ถูกเพลิงไหม้ เป็นสีแดง และบริเวณโดยรอบในระยะ ๓๐.๐๐ เมตร เป็นสีเหลือง

๓.๕ แผนที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแสดงที่ตั้งบริเวณ เพลิงไหม้(แผนที่แสดงแนวเขตปกครองขององค์กรปกครองท้องถิ่น, แผนที่ภาษ,ีแผนที่แสดงแนวเขตที่ดิน ฯลฯ) ที่เกี่ยวข้อง

๓.๓ แบบฟอร์มข้อมูลประกอบการพิจารณาเขตเพลิงไหม้

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

เอกสารที่เกี่ยวข้องในการพิจารณามีดังนี้ ๓.๔ รูปถ่ายอาคารบริเวณเพลิงไหม้และบริเวณโดยรอบระยะ

๓๐.๐๐ เมตร พร้อมรูปโครงข่ายถนนในบริเวณเพลิงไหม้และบริเวณ โดยรอบที่เชื่อมโยงถึงกัน

๓.๕ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับบริเวณเพลิงไหม้ที่ควรเตรียมไว้ ๓.๕.๑ กฎกระทรวงผังเมืองรวมในเขตเพลิงไหม้นั้นๆ

(ถ้าม)ี ๓.๕.๒ กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในเขตเพลิงไหม้นั้นๆ

(ถ้าม)ี

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

เอกสารที่เกี่ยวข้องในการพิจารณามีดังนี้ ๓.๕.๓ หนังสือมอบหมายให้ เจ้าหน้าที่ ในองค์กร

ปกครองท้องถิ่นที่รับผิดชอบเขตเพลิงไหม้นั้นๆ เข้าร่วมประชุมชี้แจง ความเห็นต่อคณะอนุกรรมการพิจารณาแผนผังปรับปรุงเขตเพลิงไหม้ (แต่งตั้งโดยคณะกรรมการควบคุมอาคารเพื่อกลั่นกรองในเบื้องต้น) และคณะกรรมการควบคุมอาคาร (กรณีเจ้าพนักงานท้องถิ่นไม่สามารถ เข้าร่วมประชุมได้)

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี ้ เอกสารที่เกี่ยวข้องในการพิจารณามีดังนี้ ๓.๕.๔ กรณีพิจารณาปรับปรุงเขตเพลิงไหม้ ควรมีการสรุป ข้อมูลโครงการปรับปรุงฯ ในเบื้องต้นเสนอต่อกรรมการฯ ด้วย ๓.๖ จัดท ารายละเอียดน าเสนอคณะอนุกรรมการฯ และคณะกรรมการฯ ในรูปแบบ FILE งาน PowerPoint เสนอรายละเอียดที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เป็นแผ่น CD-ROM (ตามตัวอย่างที่ส านักควบคุมและ ตรวจสอบอาคารท าไว้ให้นี้)

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้ ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

และเนื่องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องพิจารณาตาม ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน โดยจะต้องเสนอเรื่องให้อ าเภอและ จังหวัดทราบตามล าดับ ดังนั้น จะต้องติดตามเรื่องจนถึงขั้นตอนการ พิจารณาของจังหวัดเพื่อผ่านเรื่องให้ได้เร็วที่สุดก่อนวันประชุมของ คณะอนุกรรมการพิจารณาแผนผังปรับปรุงเขตเพลิงไหม้และ คณะกรรมการควบคุมอาคาร เพื่อน าไปเป็นเอกสารประกอบการ พิจารณา ทั้งนี้ เพราะแนวทางการการพิจารณาต้องการทราบว่าจังหวัด มีความเห็นชอบหรือขัดแย้งกับความเห็นขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นด้วยเหตุผลใด

LOGO www.themegallery.com

แนวปฏิบตัิของเจ้าพนักงานท้องถิ่น “ กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ ”

กรณี “เข้าลักษณะตามข้อ ก. หรือข้อ ข. (เข้าลักษณะเป็นเขตเพลิงไหม้) ” ..ท่านควรปฏิบัติ ดังนี้

หมายเหตุ เอกสารตาม ๓.๑ – ๓.๔ เมื่อผ่านความเห็นของจังหวัดแล้ว ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโทรสาร (FAX) มาที่ 0 2299 4352 หรือ 0 2299 4352 มาให้ทราบภายในก าหนด ๑๕ วัน นับแต่วันที่เกิด เพลิงไหม้ เพื่อที่ฝ่ายเลขานุการฯ คณะกรรมการควบคุมอาคารจะได้ ด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องล่วงหน้าไปก่อน ส่วนตัวจริงจ านวน ๑ ชุด และส าเนาจ านวน ๓๐ ชุด ที่จะเสนอต่อคณะอนุกรรมการฯ จ านวน ๑๒ ชุด เสนอต่อคณะกรรมการฯ จ านวน ๑๘ ชุด โดยให้เรียนถึงประธาน คณะกรรมการควบคุมอาคาร แล้วส่ง จ่าหน้ามาที่ กรมโยธาธิการและ ผังเมือง อาคารเลขที่ ๒๑๘ / ๑ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ ๑๐๔๐๐ ทั้งนี้ เพราะการ พิจารณามีขั้นตอนมากมายที่จะต้องด าเนินการให้แล้วเสร็จตาม กระบวนการทางกฎหมาย หากช้าไปขั้นตอนหนึ่งก็จะกระทบถึง ขั้นตอนต่อไป

Recommended